บทความ


ยุทธ์ศาสตร์ การมีส่วนร่วม กลุ่มสตรี

บทนำ

ยุทธ์ศาสตร์ การมีส่วนร่วมของกลุ่มพัฒนาสตรี บ้านทุ่งสงบ

ต. ไผ่เขียว        อ. สว่างอารมณ์           จ. อุทัยธานี

สรุปจาก วิทยานิพนธ์ ของ น ส มณฑา แก้วประจุ

นักศึกษา หลักสูตร์ ศิลปะศาสตร์ มหาบัณฑิต สาขา ยุทธศาสตร์ การพัฒนา  มหาวิทยาลัย ราชภัฎนครสวรรค์ ปี พส ๒๕๕๐

 

ยุทธศาสตร์การมีส่วนร่วมของกลุ่มสตรี ในการพัฒนาชุมชน บ้าน ทุ่งสงบ ต. ไผ่เขียว  อ. สว่างอารมณ์       จ. อุทัยธานี

  1. ภูมิหลัง/ความเป็นมา และความสำคัญของปัญหา
  • ชุมชนชนบทมีอาชีพทางการเกษตร์ เป็นส่วนมาก เช่น การเพราะปลูก การเลี้ยงสัตว์ หัตถกรรม และการประมง โดยพื้นฐาน ธรรมชาติ แต่ยังมี จำนวน หนืง ที่มีอาชีพหัตถกรรมพื้นฐาน และค้าขายเล็กๆ น้อยๆ. การประกอบอาชีพดั่งกล่าว ในประเทศ ที่ด้อย พัฒนา และประเทศ กำลังพัฒนา มักอาสัยเทคโนโลยี่ ที่ไม่ สลับ ชับช้อนมาก เพระมีต้นทุนต่ำ และอาสัย การ สนับสนุน ของธรรมชาติ
  • การพัฒนา คือการเปลี่ยนแปลง ทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง เพื่อคุณภาพชีวิต ที่ดีขื้น
  • ชนบท นอกจากเป็นจุดรวมของเกษตรกรแล้ว ยังเป็นแหล่งผลิต และเป็นตลาด รองรับการขยายตัวของเศรษฐกิจ สาขาอื่น
  • ชนบทเป็นรากฐานแห่งความเจริญ และความมั่งคั่งของชาติ เพราะฉะนั้น ปัญหา ชนบท จิ่งเป็นปัญหา สำคัญมากของประเทศชาติ
  •  หลักการอีกประการ หนึ่ง คือ การพัฒนาจะต้องค่อยเป็นค่อยไป และชุมชนควรพืงพาตนเองในเรื่องอาหารก่อนเป็นดับแรก จากนั้น จึ่งก้าวไปสู่การพัฒนา เศรษฐกิจ สังคม การเมือง เป็นลำดับต่อไป
  • กลุ่มสตรี ใน บ้าน ทุ่งสงบ                ต. ไผ่เขียว             อ. สว่างอารมณ์   จ. อุทัยธานี เป็นกลุ่มผลิต ที่ดำเนีนงานมาอย่างสม่ำเสมอ แต่พบว่า กลุ่ม ยังมีปัญหา ในการพัฒนาเศรษฐกิจ ในข่วงหลังการเก็บเกี่ยว หรืช่วงหว่างงานหลังฦดูเก็บเกี่ยวผลผลิต. การรวมกลุ่มก็ยังไม่เข้มแขงพอทำให้ผลผลิต มีราคาต่ำ และต้นทุนสูง

 

  • จุดมุ่งหมาย รวม ก็ เพื่อ ให้กลุ่มสตรีในชนบทเข้ามามีส่วนร่วมดำเนีนการศืกษา และพัฒนา โดยภากรัฐให้คำแนะนำสนับสนูน และส่งเสรีม
  • จุดมุ่งหมายของการวิจัยคือ ศืกษาปัญหาการมีส่วนร่วมของกลุ่มสตรีต่อการพัฒนาชุมชน และสร้างยุทธศาสตร์ กานพัฒนาการมีส่วนร่วมของกลุ่มสตรี
  • ขอบเขตการวิจัย

                                                                                                                            i.            ด้านเนื้อหา การวิจัย มุ่งศึกษาเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมของกลุ่มสตรีในการพัฒนาชุมชนปัญหา, ศึกษาเกี่ยวกับเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และเทคโนโลยี

                                                                                                                        ii.            ประชากรกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ในช่วง ที ๑ ช่วงศึกษาปัญหา ใช้ กลุ่มตัวอย่าง ๑๓๕คน (ตามหลักของ เครสชี และมอรแกน) และช่วงที ๒ สร้างยุทธศาสคร์ ใช้ผู้เชี่ยวชาญ จำนวน๗ คน

 

  1. เอกสาร และงานวิจัย ที่เกี่ยวข้อง

การวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยมุ่ง ศืกษายุทธศาสตร์ การมีส่วนร่วมของกลุ่มสตรีต่อการพัฒนาชุมชน และสร้างยุทธศาสตร์ การพัฒนาการมีส่วนร่วมของกลุ่มสตรี บ้าน ทุ่งสงบ        ต. ไผ่เขียว             อ. สว่างอารมณ์   จ. อุทัยธานี

ผู้วิจัย ได้ ค้นคว้าจากเอกสาร ตำราวารสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อความสมบูรณ์ของงานวิจัย ชึ่งมีสาระดังต่อไปนี้

1)            บริบท บ้าน ทุ่งสงบ ต. ไผ่เขียว อ. สว่างอารมณ์ จ. อุทัยธานี

บริบทประกอบด้วย

  • สภาพทั่วไป เช่น ที่ตั้ง พื้นที่ อาณาเขต, ภูมิประเทศ สภาวะแวดล้อม อากาศ ประเพศ ลักษณะ ประชากร จำนวนครัวเรือน ปัญหาของชุมขน, ปัญหาของกลุ่มพัฒนาสตรีต่อการพัฒนา, ..) สภาพทางเศรษฐกิจ เช่น อาชีพของประชากร สภาพทางสังคม และการศึกษา
  • สภาพปัญหา

ปัญหาทางด้านเศรษฐกิจ มี การว่างงานหลังการเก็บเกี่ยว ผนผลิต, ผนผลิต ต่ำ, กลุ่มยังไม่เขั้มแขงพอ

ปัญหาทางด้านสังคมคือ การเล่น กิฬายังมีน้อย, ยังขาดการอนุรักษ์ และส่งเสรีม วัฒนธรรม ประเพณี ต่างฯ  

ปัญหาทางด้านการเมือง คือ ขาดความรู้ เกี่ยวกับการเมือง, ข่าวสารไม่ทั่งถึง

ปัญหาทางด้านเทคโนโลยี ยังต้องมีการปรับปรุงถนน, ไฟฟ้าตก และบางครัวเรือนยังไม่มี

 

2)            นิยามศัพ ยุทธศาสตร์ ปะกอบด้วย ความหมาย คือการนำทางด้วยจุดมุ่งหมาย และวิธีการการ เพื่อความสำเร็จ, ลำดับขั้น, การกำหนดยุทธศาสตร์, ความสำคัญ, การตัดสินใจเลือกยุทธศาสตร์เป็นต้น

  • การนำยุทธศาสตร์ มาใช้ (พัฒนาประเทศ, จังหวัด, ท้องถิ่น)
  •  การพัฒนา ชุมชน (ทฦษฏีการพัฒนาชุมชน, ความหมาย, หลักการ, ยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชน)
  •  การมีส่วนร่วม (รวมมีทฤษฏีกานมีส่วนร่วม, ความหมาย, หลักการ, ขั้นตอน, กระบวรการการมีส่วนร่วม, ปัญหา, อุปสรรค ของการมีส่วนร่วม )
  •   มีการสนทนากลุ่มใหย่ ในหมู่บ้าน เพื่อการยื่นยันข้อมูล
  •  ได้มีการศึกษางานวิจัย ที่เกี่ยวข้อง (ทังใน และต่างประเทศ)
  •  กรอบความคิดในการวิจัย
  1. วิธีดำเนีนการวิจัย

ผู้วิจัยได้กำหนด ขั้นตอนการวิจัย เป็น 2 ช่วง คือ

ช่วงที๑ ศืกษาปัญหาการมีส่วนร่วมของกลุ่มสตรีต่อการพัฒนาชุมชน

มีการศึกษาทฤษฏี เกี่ยวกับการมีส่วนร่วมต่อการพัฒนาชุมชน,

กำหนด กรอบความคิด,

สร้างเคื่องอมืการวิจัย และ เก็บข้อมูล,

วิเคราะข้อมูล และสถิติ ที่ใช้

สรุปปัญหาเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมต่อการพัฒนาชุมชน

สรุปปัญหาเกี่ยวกับของกลุ่มสตรี ในการพัฒนาชุมชน

ช่วงที ๒ คือการสร้างยุทธศาสตร์การมีส่วนร่วมของกลุ่มสตรี ในการพัฒนาชุมชน

นำปัญหา ๓ อันดับแรก เกี่ยวกับการมีส่วนร่วมของกลุ่มสตรีในการพัฒนาชุมชนมาจัดการสนทนกลุ่ม

สรุปผล การสนทนากลุ่ม และสร้างยุทธศาสตร์การมีส่วนร่วมของกลุ่มสตรี ในการพัฒนาชุมชน

หมายเลขบันทึก: 488193เขียนเมื่อ 16 พฤษภาคม 2012 15:01 น. ()แก้ไขเมื่อ 24 มิถุนายน 2012 01:47 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท