Workshop : การพัฒนาทักษะการสื่อสารทางวิทยาศาสตร์สู่สาธารณะ สำหรับ สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน


 

ได้รับเกียรติจาก สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) ให้จัด

การอบรมเชิงปฏิบัติการ "การพัฒนาทักษะการสื่อสารทางวิทยาศาสตร์สู่สาธารณะ" 

ณ ภูวนาลี รีสอร์ท อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา

เสาร์ 31 มีนาคม & อาทิตย์ 1 เมษายน 2555

 


I. กลุ่มเป้าหมาย (ประมาณ 40 คน)

   1) นักวิทย์, นักวิจัย, นักวิจัยผู้ช่วย & วิศวกรในฝ่ายสถานีวิจัย
   2) เจ้าหน้าที่ที่ทำงานด้านการสื่อสารวิทยาศาสตร์ & การถ่ายทอดความรู้  
 

II. วัสดุ & อุปกรณ์ที่ต้องการ (ขอให้สถาบันฯ ช่วยจัดเตรียมให้)

   1) เครื่อง Computer + LCD Projector

   2) เครื่องฉาย Visualizer
       * ใช้ในกิจกรรม การปรับปรุงเอกสารเผยแพร่ (กิจกรรม B3) + Origami (กิจกรรม C2)

   3) เอกสารประชาสัมพันธ์ทั้งหมดของสถาบัน 
       * จัดให้มากพอที่ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 1 คน จะมีอย่างน้อย 1-2 ชุด และสามารถหมุนเวียนกับผู้เข้าร่วมคนอื่นได้

   4) กระดาษ Post-It + ปากกา 
       * กระดาษ Post It : อย่างน้อยคนละ 20 ชิ้น
       * ปากกา : แต่ละคนมีอย่างน้อย 2 สี เช่น น้ำเงิน+แดง หรือ ดำ+แดง

   5) หม้อต้มน้ำร้อน 
   6) แก้วน้ำใส 4 ใบ
   7) น้ำแข็ง 2 ถ้วย 
       * อุปกรณ์ 5-7 ใช้ในกลวิทยาศาสตร์ ช่วงกิจกรรม A2

 

III. กิจกรรม

  0) แนะนำตัว

  A) การสื่อสารวิทยาศาสตร์สู่สาธารณะ

      A1) หลักการ & กรณีศึกษา
      A2) กลวิทยาศาสตร์ : จากปรากฏการณ์...สู่การประยุกต์
      A3) การทดลองสาธิต : สถิติ & ความน่าจะเป็น

      ระยะเวลา : เสาร์ 10-12 น. (ประมาณ 2 ชั่วโมง)

  B) ภาษา & รูปแบบการนำเสนอ     

     B1) หลักการ & ตัวอย่าง
        - การใช้ภาษา : ข้อควรรู้ + ตัวอย่าง
        - รูปแบบการนำเสนอ : ข้อสังเกต

     B2) มอบหมายโจทย์สำหรับ นักวิจัย / นักวิจัยผู้ช่วย / วิศวกร
       
เช่น นักวิจัยพูดถึงกรณีตัวอย่างความสำเร็จในการประยุกต์แสงซินโครตรอน & วิศวกรพูดถึงขึีคความสามารถในการออกแบบและจัดสร้างชิ้นส่วน อุปกรณ์และระบบ (เช่น ระบบสุญญากาศ) เป็นต้น

       เสนอตัวแทน 6-8 คน ครอบคลุมทุกกลุ่ม

     * นำเสนอคนละ 5 นาที ในช่วง D2 เช้าวันอาทิตย์

     B3) ตั้งข้อสังเกต & เสนอการปรับปรุงเอกสารเผยแพร่ของสถาบันฯ
       แบ่งกลุ่ม 5 กลุ่ม กลุ่มละ 8 คน ให้มีทั้งนักวิจัย วิศวกร เจ้าหน้าที่สนับสนุน ฯลฯ คละกัน -> พิจารณาเอกสาร -> เสนอการปรับปรุง
       อาจมีการเสนอกิจกรรมเผยแพร่ในรูปแบบอื่นๆ เพิ่มเติม เช่น ใช้ Social Media, จัดทำ clip, จัดรายการ TV เผยแพร่ผ่านสื่อ (เช่น Internet TV) เป็นต้น

     * นำเสนอโดยตัวแทนของกลุ่ม ในช่วงที่ D1 เช้าวันอาทิตย์

     ระยะเวลา :  เสาร์ 13-15 น. (ประมาณ 2 ชั่วโมง)

   C) ศาสตร์ & ศิลป์ของการพับกระดาษ 

      C1) บรรยาย & สาธิต
        * แสดงความเชื่อมโยง ศิลปะ-คณิตศาสตร์-วิศวกรรม-การประยุกต์
      C2) ภาคปฏิบัติ

     ระยะเวลา : เสาร์ 15:30-17:00 น. (ประมาณ 1 ชั่วโมง 30 นาที)

   D) การนำเสนอ & การแสดงความคิดเห็นของบุคลากรของสถาบันฯ

      D1) การปรับปรุงเอกสารของสถาบัน & ข้อเสนอเกี่ยวกับการ PR และเผยแพร่ในรูปแบบอื่นๆ (ผลจากกิจกรรม B3)

      นำเสนอกลุ่มละ 5 นาที + รับฟังข้อคิดเห็นจากเพื่อนร่วมงาน 5-10 นาที
      (ใช้เวลา 15 นาที/กลุ่ม x 5 กลุ่ม = 1 ชั่วโมง 15 นาที) 

      ระยะเวลา : อาทิตย์ 9:00-10:15 น.

      D2) การนำเสนอผลงาน & การให้ความรู้ โดยนักวิจัย นักวิจัยผู้ช่วย & วิศวกร (ผลจากกิจกรรม B2)

      นำเสนอ 5 นาที/คน + รับฟังข้อคิดเห็นจากเพื่อนร่วมงาน 5 นาที
      (ใช้เวลา 10 นาที/คน x 8 คน = 1 ชั่วโมง 20 นาที) 

      ระยะเวลา : อาทิตย์ 10:30-12:00 น.

 


หมายเลขบันทึก: 483154เขียนเมื่อ 25 มีนาคม 2012 09:37 น. ()แก้ไขเมื่อ 22 มิถุนายน 2012 09:19 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท