เทคนิคการเล่านิทาน


1. ควรทำความเข้าใจกับเนื้อเรื่องนิทานที่จะเล่าเสียก่อนโดยจินตนาการออกมา

เป็นภาพอ่านเรื่องช้าๆ เพื่อจับใจความ

2. ควรเลือกคำที่เป็นคำง่ายๆ ที่เด็กฟังหรือนึกออก เป็นภาพในจินตนาการได้

3. เมื่อในเนื้อเรื่องมีตัวละครคุยกันให้ใช้บทสนทนา เพราะทำให้เด็กตื่นเต้นกว่า

4. เริ่มต้นเรื่องให้ดีเพื่อเรียกร้องความสนใจ พยายามหลีกเลี่ยงการบรรยายและ

การอธิบายที่ไม่จำเป็น

18

5. การเล่าเรื่องควรใช้เสียงแบบสนทนากัน คือ ช้า ชัดเจน มีหนักเบา แต่ไม่ควรมี

เอ้อ อ้า ที่นี้

6. ขณะที่เล่านิทานควรจับเวลาให้ดี เว้นจังหวะตามอารมณ์ของเรื่อง เช่น ถ้าเนื้อเรื่อง

มีสิ่งเร้าใจก็พูดให้เร็วขึ้นทำท่าจริงจัง

7. นิทานที่นำมาเล่าให้ยาวพอๆกับระยะความสนใจของเด็กคือ ประมาณ 15–25 นาที

สำหรับเด็กประถมศึกษา หรือเป็นคำก็จะประมาณ 1,000 คำ

8. เวลาเล่าต้องพยายามเป็นกันเองให้มากที่สุด ให้ความรักความสนิทสนมกับเด็ก

อย่างจริงจัง

9. เวลาเล่าควรมีรูปภาพ ประกอบ อาจเป็นหนังสือภาพ หุ่นสื่อการสอนอื่นๆ จะช่วย

ให้เด็กสนใจยิ่งขึ้น

10. เวลาเล่าอย่าย่อเรื่อง ให้สั้นมากจนเกินไปจนขาดความน่าสนใจไป และจะทำให้

เด็กไม่รู้เรื่อง

11. จัดบรรยากาศของห้องให้เหมาะ เช่น อาจนั่งเล่ากับพื้น หรือเชิดหุน่ ประกอบ

การเล่าหรืออาจจะไปเล่าใต้ต้นไม้ นอกห้องเรียนก็ได้

12. อย่าแสดงท่าทางประกอบการเล่ามากเกินไปจะทำให้นิทานหมดสนุกพยายามเล่า

ให้เป็นไปตามธรรมชาติง่ายๆ และมีชีวิตชีวา

13. ขณะที่เล่าอาจให้เด็กได้มีส่วนร่วมในการเล่านิทานด้วยก็ได้ เช่น แสดงท่าตาม

เนื้อเรื่องแต่ไม่ควรจะให้บ่อยนัก

14. ขณะที่เล่านิทานสายตาของครูจะต้องมองกวาดดู นักเรียนได้ทุกคน อาจจะนั่ง

เป็นครึ่งวงกลม หรือนั่งกับพื้นก็ได้

15. ขณะที่กำลังเล่านิทานถ้าหากมีเด็กพูด หรือถามขัดจังหวะ ครูควรบอกให้รอ

จนกว่าจะจบเรื่อง

16. หลังจากการเล่านิทาน ควรเปิดโอกาสให้เด็กถามและวิพากษ์ วิจารณ์แต่ไม่

ควรบังคับเด็กให้พูด ให้ถาม เพราะจะทำให้เด็กเสียความเพลิดเพลิน

17. หลังจากการเล่านิทานแล้วอาจจะให้เด็กได้แข่งขันกันตั้งชื่อเรื่องก็ได้เพื่อเป็น

การส่งเสริมให้เด็กได้ติดตามและเพื่อความเข้าใจในเรื่องที่ครูได้เล่ามาแล้ว

18. ถ้านิทานเรื่องยาวครูอาจจะเล่าเป็นตอนๆ ก็ได้ เพื่อเป็นการเร้าให้เด็กอยากมา

โรงเรียนไม่ขาดเรียนเพื่อมาฟังนิทานต่อจนจบเรื่อง

 

1. ควรทำความเข้าใจกับเนื้อเรื่องนิทานที่จะเล่าเสียก่อนโดยจินตนาการออกมา

เป็นภาพอ่านเรื่องช้าๆ เพื่อจับใจความ

2. ควรเลือกคำที่เป็นคำง่ายๆ ที่เด็กฟังหรือนึกออก เป็นภาพในจินตนาการได้

3. เมื่อในเนื้อเรื่องมีตัวละครคุยกันให้ใช้บทสนทนา เพราะทำให้เด็กตื่นเต้นกว่า

4. เริ่มต้นเรื่องให้ดีเพื่อเรียกร้องความสนใจ พยายามหลีกเลี่ยงการบรรยายและ

การอธิบายที่ไม่จำเป็น

18

5. การเล่าเรื่องควรใช้เสียงแบบสนทนากัน คือ ช้า ชัดเจน มีหนักเบา แต่ไม่ควรมี

เอ้อ อ้า ที่นี้

6. ขณะที่เล่านิทานควรจับเวลาให้ดี เว้นจังหวะตามอารมณ์ของเรื่อง เช่น ถ้าเนื้อเรื่อง

มีสิ่งเร้าใจก็พูดให้เร็วขึ้นทำท่าจริงจัง

7. นิทานที่นำมาเล่าให้ยาวพอๆกับระยะความสนใจของเด็กคือ ประมาณ 15–25 นาที

สำหรับเด็กประถมศึกษา หรือเป็นคำก็จะประมาณ 1,000 คำ

8. เวลาเล่าต้องพยายามเป็นกันเองให้มากที่สุด ให้ความรักความสนิทสนมกับเด็ก

อย่างจริงจัง

9. เวลาเล่าควรมีรูปภาพ ประกอบ อาจเป็นหนังสือภาพ หุ่นสื่อการสอนอื่นๆ จะช่วย

ให้เด็กสนใจยิ่งขึ้น

10. เวลาเล่าอย่าย่อเรื่อง ให้สั้นมากจนเกินไปจนขาดความน่าสนใจไป และจะทำให้

เด็กไม่รู้เรื่อง

11. จัดบรรยากาศของห้องให้เหมาะ เช่น อาจนั่งเล่ากับพื้น หรือเชิดหุน่ ประกอบ

การเล่าหรืออาจจะไปเล่าใต้ต้นไม้ นอกห้องเรียนก็ได้

12. อย่าแสดงท่าทางประกอบการเล่ามากเกินไปจะทำให้นิทานหมดสนุกพยายามเล่า

ให้เป็นไปตามธรรมชาติง่ายๆ และมีชีวิตชีวา

13. ขณะที่เล่าอาจให้เด็กได้มีส่วนร่วมในการเล่านิทานด้วยก็ได้ เช่น แสดงท่าตาม

เนื้อเรื่องแต่ไม่ควรจะให้บ่อยนัก

14. ขณะที่เล่านิทานสายตาของครูจะต้องมองกวาดดู นักเรียนได้ทุกคน อาจจะนั่ง

เป็นครึ่งวงกลม หรือนั่งกับพื้นก็ได้

15. ขณะที่กำลังเล่านิทานถ้าหากมีเด็กพูด หรือถามขัดจังหวะ ครูควรบอกให้รอ

จนกว่าจะจบเรื่อง

16. หลังจากการเล่านิทาน ควรเปิดโอกาสให้เด็กถามและวิพากษ์ วิจารณ์แต่ไม่

ควรบังคับเด็กให้พูด ให้ถาม เพราะจะทำให้เด็กเสียความเพลิดเพลิน

17. หลังจากการเล่านิทานแล้วอาจจะให้เด็กได้แข่งขันกันตั้งชื่อเรื่องก็ได้เพื่อเป็น

การส่งเสริมให้เด็กได้ติดตามและเพื่อความเข้าใจในเรื่องที่ครูได้เล่ามาแล้ว

18. ถ้านิทานเรื่องยาวครูอาจจะเล่าเป็นตอนๆ ก็ได้ เพื่อเป็นการเร้าให้เด็กอยากมา

โรงเรียนไม่ขาดเรียนเพื่อมาฟังนิทานต่อจนจบเรื่อง

 

หมายเลขบันทึก: 473951เขียนเมื่อ 8 มกราคม 2012 13:05 น. ()แก้ไขเมื่อ 23 มิถุนายน 2012 18:32 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (3)

อ่านดูแล้วครบถ้วนทุกองค์ประกอบเลยจ้า คุณครูมืออาชีพ

เป็่นเทคนิคหน้าสนใจมากหน้าจะนำไปใช้ที่โรงเรียน

ถ้ามีโอกาศจะนำเทคนิคนี้ไปใช้ในแผนการเรียนการสอนเป็นเทคนิคทิคที่หน้านำไปใช้มากๆ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท