ความเสียใจวัดไม่ได้ว่าใครเสียใจมากน้อยกว่ากัน


บอกตัวเอง
เมื่อความเสียใจเกิดขึ้น
    เมื่อความเสียใจเกิดขึ้นกับใคร อย่า บอกว่าใครเสียใจมากน้อยกว่ากัน แม้นไม่ได้ร้องไห้ออกมา ก็ไม่ได้หมายความว่า ไม่เสียใจ  อย่าได้โทษว่าใครเสียใจมากน้อย เพราะทุกคน เสียใจเหมือนกัน แต่อาการแตกต่างกัน
     ตัวอย่างความเสียใจ ขึ้นอยู่กับว่า ใครจะแสดงอาการเสียใจแบบไหน แต่ทุกคน เสียใจและเจ็บปวด เหมือนกัน
 

                ไม่อยากให้โทษ ว่าความเสียใจที่แต่ละคนได้รับที่เกิดขึ้น กับคนทุกคน โทษว่าใครผิดใครถูก อย่าโทษว่าใครเลว ใครร้าย ทุกคนไม่อยากทำให้ใครเสียใจ เกิดมาคนละที่ พ่อแม่ คนละคน การเลี้ยงดูต่างกัน และหากสิ่งที่ได้กระทำไปทำให้ใครเสียใจมากมาย ก็ขอบอกว่า คนกระทำก็ไม่ได้เสียใจ น้อยไปกว่าใคร 

              ช่วงระหว่างที่เราเสีย เราต้องอดทน แล้วไม่นาน เชื่อว่ามันจะผ่านไปได้ด้วยการให้เวลา เป็นเครื่องช่วย


 

คำสำคัญ (Tags): #เสียใจ
หมายเลขบันทึก: 468150เขียนเมื่อ 14 พฤศจิกายน 2011 08:35 น. ()แก้ไขเมื่อ 18 มิถุนายน 2012 14:02 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (8)
  • เห็นด้วยค่ะ อาจารย์รัตน์ชนก พราหมณ์ศิริ"
  • เราจะตีความไม่ได่ว่า คนที่มีพฤติกรรมร้องไห้คร่ำครวญ (พฤติกรรมภายนอก : Overt Behavior) มีความโศกเศร้าเสียใจ (พฤติกรรมภายใน : Covert Behavior) มากกว่า คนที่ไม่ได้ร้องไห้แต่มีแววตาหม่นหมองโศกซึมเพราะเป็นไปตามหลักการของพฤติกรรมที่ว่า "สาเหตุหรือสิ่งเร้า (Stimulus) อย่างเดียวกัน อาจทำให้บุคคลมีพฤติกรรมตอบสนอง (Respose) แตกต่างกัน"
  • อย่างเช่น ความโศกเศร้าเสียใจ (สิ่งเร้าภายใน) อาจจะทำให้บางคนร้องให้คร่ำครวญ (พฤติกรรมตอบสนอง) แต่ดิฉันเองจะมีอาการที่เรียกว่า "น้ำตาตกใน" คือ ไม่ได้ร้องไห้ (พฤติกรรมตอบสนอง)
  • แต่ดิฉันจะร้องไห้ (พฤติกรรมตอบสนอง) เมื่อรู้สึกซาบซึ้งใจ หรือ ปลื้มปิติ (สิ่งเร้าภายใน) ซึ่งก็เป็นไปตามหลักการของพฤติกรรมที่ว่า "พฤติกรรมอย่างเดียวกัน อาจจะเกิดจากสาเหตุต่างกัน"     
  • ขอบคุณมากนะคะ สำหรับบันทึกพร้อมภาพประกอบน่ารักๆ ที่จะขออนุญาตนำไปใช้ประกอบการวิเคราะห์ฤติกรรมของมนุษย์ ในรายวิชา "พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน" ในระดับปริญญาตรี ค่ะ

ลอยกระทง ผันผ่าน บ้านยังท่วม

โอ้อกอ่วม อึดอัด ขัดข้องขุ่น

ท่านพระแม่ คงคา แสนทารุณ

เจ้าประคุ้ณ ลดเถิดหนอ ขอขมา

เรียนท่านอาจารย์คะ

Ico48
ผศ. วิไล แพงศรี  ขอบพระคุณที่อจ เข้ามาอ่านนะคะ พอดีช่วงนี้ บ้านเมืองของเรามีแต่เรื่องเสียใจ และตัวหนูเอง ก็เกิดความเสียใจ ก็เลย หารูปมาฝากคะ ยินดีอย่างยิ่งคะที่อจ สนใจ คะ

ขอบคุณคุณครูนะคะ

Ico48

คะ บ้านเมืองของเราปี นี้ได้รับผลกระทบมากจริงๆ คะ ไม่มียกเว้นตั้งแต่ คน สัตว์ สิ่งมีชีวิตไม่มีชีวิตคะ เกิดความเสียใจทั้งนั้นเลยคะ อยากให้ความเสียใจ หายไปจากชีวิตแต่ละคนจังเลยแต่ มันไปได้ไม่นาน มันมาอีกคะ 

 

 

  • ขอให้คุณมีผมนิยมเสมอ
  • ขอให้เธอมีผมสมสมัย
  • ขอให้เธอรักผมด้วยด้วงใจ
  • ผมคือใครใยเธอรักยิ่ิงนักเอย....

 

We often get asked in questionnaires/surveys to rate our 'satisfaction' with xyz...

We promptly tick one of [not at all, so-and-so, a little, yes, very happy].

I read that there is a hormone (dopamine?) associated with 'feeling' satisfied. And addictive drugs (ยาบ้า) raise this hormone level to a point where addicts are overwhelmed and need more to be satisfied.

Is there a 'sad' hormone produced when we feel sad? Angry hormone? Proud hormone?

We do recognize 'feeling' sad, disappointed, satisfied, happy, angry, ... so these feelings have at least 'on-off' levels (binary measure). If we are asked to rate our satisfaction, why can't we rate sadness, love, hate, ...?

Comparisons of individuals' 'on' levels may be difficult now (because of our lack of understanding of characters/attributes of 'feeling'?) but can we make it possible or easier in some way? Don't we have IQ tests, competency tests,..., and temperature tests (thermometers) for what we feel?

Note. We can do a lot with binary measure, we use binary bits in computers. ;=)

Great pictures!

ขอบคุณอาจารย์

Ico48
โสภณ เปียสนิท ที่สนใจเข้ามาทักทายคะ
 
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท