ให้นักศึกษาในรายวิชา BA315 ตอบคำถามต่อไปนี้


ให้นักศึกษาตอบคำถามดังกล่าว มีส่วนได้คะแนนเพิ่มนะคร้า...สนใจมั๊ย!!!

ให้นักศึกษาในรายวิชา BA315 การประกอบธุรกิจชุมชน ของอ.อรวรรณ Orawan Pairodwoottipong ตอบคำถามดังต่อไปนี้

**ภายในระยะเวลา 1 สัปดาห์ นับตั้งแต่ วันที่ 19 - 23 กันยายนนี้ จะได้สิทธิพิเศษนะคร้า

"จงอธิบายความหมาย คำว่า "ธุรกิจชุมชน" คืออะไร พร้อมยกตัวอย่างประกอบด้วย อธิบายพอสังเขป

 

** โปรดอย่าลืม!!! พิมพ์ ชื่อนามสกุล/ รหัสประจำตัว /กลุ่มที่ มาด้วยนะจ๊ะ
หมายเลขบันทึก: 460165เขียนเมื่อ 13 กันยายน 2011 09:36 น. ()แก้ไขเมื่อ 18 มิถุนายน 2012 20:32 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (92)

ธุรกิจชุมชน หมายถึง กิจกรรมทางเศรษฐกิจของชุมชน ซึ่งอาจประกอบไปว่า กิจกรรมทางการค้าขาย กิจกรรมการซื้อ กิจกรรมทางการผลิต และการบริโภคของชุมชน ชุมชนจะเข้มแข็งหรือยืนหยัดด้วยตัวเอง ต้องมีความร่วมมือกันในชุมชนครับ และอาจนำไปสู่การพัฒนาชุมชมให้ยั่งยืนต่อไปครับ จารย์ ^^

ธุรกิจชุมชน คือ ชุมชนจะต้องยืนหยัดด้วยลำแข้งของชุมชนเอง โดยอาศัยความร่วมมือหรือการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนในอันที่จะพัฒนากลุ่มธุรกิจของชุมชนที่จัดตั้งขึ้นให้มีความเจริญเติบโต เป็นพื้นฐานในการพัฒนาความเป็นอยู่ของประชาชนที่อยู่ในภาคชนบทให้มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นต่อไป ยกตัวอย่าง ธุรกิจเฉาก๊วยชากังราว กำแพงเพชร เป็นสินค้า OTOP ของจังหวัดกำแพงเเพชร เป็นการสร้างสรรค์อาชีพเสริมเพื่อเพิ่มรายได้ให้กับตนเองและครอบครัว และก็มีหลายรายที่ประสบความสําเร็จ จนสามารถยกระดับอาชีพเสริมนั้นมาเป็นอาชีพหลักของตนเอง สุดท้ายผู้ประกอบการหลายรายก็เลือกที่จะลาออกจากอาชีพหลัก เพื่อหันมาทําอาชีพเสริมให้เป็นธุรกิจของตนเองอย่างจริงจัง เช่นเดียวกับผู้ประกอบการ เฉาก๊วยชากังราว ประโยชน์ของเฉาก๊วย : แก้ร้อนใน แก้หวัด ลดความดันโลหิตสูง แก้กล้ามเนื้ออักเสบ ข้ออักเศบ ตับอักเสบ และเบาหวาน

น.ส. พัชริดา ศรีบุญมา 524407013 การจัดการทั่วไป กลุ่ม 1

ธุรกิจชุมชน คือ การรวมกันของประชาชนในท้องถิ่นเพื่อร่วมกัน ประกอบธุรกิจที่สามารถสร้างรายได้เพิ่มให้แก่ประชาชนในชุมชน หรือการสร้าง ศักยภาพที่มีอยู่ภายในชุมชนให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจโดยการจัดตั้งร้านค้าชุมชน

ร้านค้าชุมชน หมายถึง ร้านค้าที่กลุ่มหรือคณะบุคคลร่วมกันทำการค้าขายในหมู่บ้านโดยชาวบ้านเป็นสมาชิกถือหุ้น มีการเลือกตั้งกรรมการ บริหารร้านค้าโดยคัดเลือกจากสมาชิกผู้ถือหุ้น และมีการปันผลกำไร (เงินปันผลจากค่าหุ้นหรือเงินปันผลคืนจากการซื้อสินค้า) ของร้านค้าคืนให้

ตัวอย่างธุรกิจชุมชน สมุนไพรเพื่อสุขภาพ "กระชายดำ" เมืองภูเรือ วิสาหกิจชุมชนชมรมผู้เลี้ยงโคแนวใหม่

ธุรกิจเฉาก๊วยชากังราว กำแพงเพชร เป็นสินค้า OTOP ของจังหวัดกำแพงเเพชร

ณัฐประภา ถาวร การจัดการทั่วไปกลุ่ม 2 รหัส 524407065

น.ส ชลธิชา สามงามยา การจัดการทั่วไป 4/54

ธุรกิจชุมชน หมายถึง "กิจกรรมทางเศรษฐกิจของชุมชนอันประกอบด้วย กิจกรรมทางการผลิต กิจกรรมทางการขายผลผลิต กิจกรรมการซื้อ และการบริโภคของชุมชน"(สุพรรณีอัสวศิริเลิศและกุศลฐินะกุล.ออนไลน์.2545:7)จากความหมายของธุรกิจชุมชนข้างต้นจะเห็นได้ว่าชุมชนซึ่งเป็นรากฐานของชนบทไทยจะเข้มแข็งได้นั้น ชุมชนจะต้องยืนหยัดด้วยลำแข้งของชุมชนเอง โดยอาศัยความร่วมมือหรือการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนในอันที่จะพัฒนากลุ่มธุรกิจของชุมชนที่จัดตั้งขึ้นให้มีความเจริญเติบโต ซึ่งเป็นพื้นฐานในการพัฒนาความเป็นอยู่ของประชาชนที่อยู่ในภาคชนบทให้มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นต่อไป

นางสาวอารี นิ่มชัยพงศ์ การจัดการทั่วไป 524407118 ก.1/52

ธุรกิจชุมชนคือ"กิจกรรมทางเศรษฐกิจของชุมชนอันประกอบด้วย กิจกรรมทางการผลิต กิจกรรมทางการขายผลผลิต กิจกรรมการซื้อ และการบริโภคของชุมชนซึ่งธุรกิจชุมชนนั้นเป็นรากฐานของชนบทไทยจะเข้มแข็งได้นั้นชุมชนจะต้องยืนหยัดด้วยลำแข้งของชุมชนเอง โดยอาศัยความร่วมมือหรือการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนในอันที่จะพัฒนากลุ่มธุรกิจของชุมชนที่จัดตั้งขึ้นให้มีความเจริญเติบโต ซึ่งเป็นพื้นฐานในการพัฒนาความเป็นอยู่ของประชาชนที่อยู่ในภาคชนบทให้มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น

เช่น การทำธุรกิจโรงสีข้าว ทอผ้า แปรรูปสมุนไพร เป็นต้น และได้มีการปรับปรุงผลผลิตและเน้นการจัดจำหน่ายมากขึ้น ซึ่งอาชีพส่วนใหญ่นั้นจะเป็นอาชีพที่ชาวบ้านทำกันมาดังเดิม

นางสาวสุภาภรณ์ ทวีศรีสมวงศ์

ธุรกิจชุมชน คือ การรวมกันของประชาชนในท้องถิ่นเพื่อร่วมกัน ประกอบธุรกิจที่สามารถสร้างรายได้เพิ่มให้แก่ประชาชนในชุมชน หรือการสร้าง ศักยภาพที่มีอยู่ภายในชุมชนให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจโดยการจัดตั้งร้านค้าชุมชน

ตัวอย่าง ธุรกิจผ้าทอนาหมื่นศรี

ด้วยความมุ่งมั่นอุตสาหะและความตั้งใจจริงของสมาชิกในกลุ่ม กลุ่มผ้าทอนาหมื่นศรี จึงได้รับการช่วยเหลือจากหน่วยงานต่าง ๆ นับตั้งแต่ปี 2540 อาทิ กองทุนส่งเสริมและพัฒนาผ้าทอพื้นบ้านภาคใต้ องค์การบริหารส่วนตำบล สำนักงานเลขาธิการวัฒนธรรมแห่งชาติ และกองทุนเพื่อสังคม (SIF) เข้าให้ความช่วยเหลือทั้งเรื่องเงินทุนหมุนเวียน และการจัดหาอุปกรณ์ในการทอ ทั้งกี่และเส้นใย การอบรมดูงาน ตลอดจนการสร้างอาคารศูนย์ฝึกอาชีพทอผ้านาหมื่นศรี ตั้งอยู่ที่ 119 หมู่ 8 ตำบลนาหมื่นศรี อำเภอยาโยง จังหวัดตรัง

ปัจจุบันสมาชิกนับร้อยชีวิต ร่วมกันฟื้นฟูผ้าทอ โดยมีเป้าหมายหลักเพื่อการพัฒนากลุ่มให้เข้มแข็ง สืบสานมรดกวัฒนธรรมให้สามารถเป็นอาชีพที่พึ่งพาตนเองได้ เน้นการทำงานระบบกลุ่มจนไปสู่ระบบเศรษฐกิจชุมชน ส่งเสริมให้สมาชิกมีกิจกรรมร่วมกัน ซึ่งสามารถสร้างรายได้ให้กับสมาชิกในกลุ่มได้อย่างดี จนผ้าทอนาหมื่นศรีนับเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีชื่อเสียงเรียกได้ว่าเป็นอีกหนึ่ง ของดีเมืองตรัง

....นางสาวสุภาภรณ์ ทวีศรีสมวงศ์ เอกการจัดการทั่วไป กลุ่ม1 รหัส 524407038

นางสาวอุบล พันธ์นุช การจัดการทั่วไป ก.2/52

ธุรกิจชุมชนคือ"กิจกรรมทางเศรษฐกิจของชุมชนอันประกอบด้วย กิจกรรมทางการผลิต กิจกรรมทางการขายผลผลิต กิจกรรมการซื้อ และการบริโภคของชุมชนซึ่งธุรกิจชุมชนนั้นเป็นรากฐานของชนบทไทยจะเข้มแข็งได้นั้นชุมชนจะต้องยืนหยัดด้วยลำแข้งของชุมชนเอง โดยอาศัยความร่วมมือหรือการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนในอันที่จะพัฒนากลุ่มธุรกิจของชุมชนที่จัดตั้งขึ้นให้มีความเจริญเติบโต ซึ่งเป็นพื้นฐานในการพัฒนาความเป็นอยู่ของประชาชนที่อยู่ในภาคชนบทให้มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น

เช่น การทำธุรกิจโรงสีข้าว ทอผ้า แปรรูปสมุนไพร เป็นต้น และได้มีการปรับปรุงผลผลิตและเน้นการจัดจำหน่ายมากขึ้น ซึ่งอาชีพส่วนใหญ่นั้นจะเป็นอาชีพที่ชาวบ้านทำกันมาดังเดิม

นางสาวศศิฉาย แสนขุรัง การจัดการทั่วไป ก. 2/52

ธุรกิจชุมชน คือ การรวมกันของประชาชนในท้องถิ่นเพื่อร่วมกัน ประกอบธุรกิจที่สามารถสร้างรายได้เพิ่มให้แก่ประชาชนในชุมชน หรือการสร้าง ศักยภาพที่มีอยู่ภายในชุมชนให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจโดยการจัดตั้งร้านค้าชุมชนจากความพยายามพัฒนาความเป็นอยู่ของชาวบ้านในภาคอีสานให้ดีขึ้น ในด้านรายได้ ทำให้มีการส่งเสริมอาชีพเสริม ที่มักเป็นการผลิตสินค้าหัตถกรรมหรือการแปรรูปผลิตทางการเกษตร เพื่อเพิ่มมูลค่าแก่กลุ่มชาวบ้านจำนวนมาก หลายกลุ่มประสบความสำเร็จในการผลิตเป็นอย่างดีแต่กลับขายผลผลิตไม่ได้ ทำให้ไม่เกิดรายได้เป็นตัวเงินอย่างแท้จริง จึงต้องหันมาจัดการด้านการตลาดด้วยตนเอง กลายเป็นกลุ่มลักษณะใหม่ที่ถูกเรียกต่างๆ กันไปเช่น กลุ่มธุรกิจขนาดย่อมในชุมชน องค์กรเศรษฐกิจชาวบ้าน เป็นต้น

นางสาวนิตยา เกตุบำรุง การจัดการทั่วไปกลุ่ม 2/52

ธุรกิจชุมชน หมายถึง "กิจกรรมทางเศรษฐกิจของชุมชนอันประกอบด้วย กิจกรรมทางการผลิต กิจกรรมทางการขายผลผลิต กิจกรรมการซื้อ และการบริโภคของชุมชน"(สุพรรณีอัสวศิริเลิศและกุศลฐินะกุล.ออนไลน์.2545:7)จากความหมายของธุรกิจชุมชนข้างต้นจะเห็นได้ว่าชุมชนซึ่งเป็นรากฐานของชนบทไทยจะเข้มแข็งได้นั้น ชุมชนจะต้องยืนหยัดด้วยลำแข้งของชุมชนเอง โดยอาศัยความร่วมมือหรือการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนในอันที่จะพัฒนากลุ่มธุรกิจของชุมชนที่จัดตั้งขึ้นให้มีความเจริญเติบโต ซึ่งเป็นพื้นฐานในการพัฒนาความเป็นอยู่ของประชาชนที่อยู่ในภาคชนบทให้มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นต่อไป

ยกตัวอย่าง ธุรกิจเฉาก๊วยชากังราว กำแพงเพชร เป็นสินค้า OTOP ของจังหวัดกำแพงเเพชร เป็นการสร้างสรรค์อาชีพเสริมเพื่อเพิ่มรายได้ให้กับตนเองและครอบครัว และก็มีหลายรายที่ประสบความสําเร็จ จนสามารถยกระดับอาชีพเสริมนั้นมาเป็นอาชีพหลักของตนเอง สุดท้ายผู้ประกอบการหลายรายก็เลือกที่จะลาออกจากอาชีพหลัก เพื่อหันมาทําอาชีพเสริมให้เป็นธุรกิจของตนเองอย่างจริงจัง

  ธุรกิจชุมชน คือ การรวมกันของประชาชนในท้องถิ่นเพื่อร่วมกัน ประกอบธุรกิจที่สามารถสร้างรายได้เพิ่มให้แก่ประชาชนในชุมชน หรือการสร้าง ศักยภาพที่มีอยู่ภายในชุมชนให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจโดยการจัดตั้งร้านค้าชุมชน  เช่น สมุนไพรเพื่อสุขภาพ "กระชายดำ" เมืองภูเรือ , หมู่บ้านโฮมสเตย์บ้านจอมแจ้ง  เป็นต้น

นางสาวเวรุลี  แจ้งสว่าง การจัดการทั่วไปกลุ่ม 4/54  รหัสนักศึกษา 544407208

น.ส ละอองดาว เปรมกมล

ธุรกิจชุมชน หมายถึง "กิจกรรมทางเศรษฐกิจของชุมชนอันประกอบด้วย กิจกรรมทางการผลิต กิจกรรมทางการขายผลผลิต กิจกรรมการซื้อ และการบริโภคของชุมชน"

ธุรกิจชุมชนเป็นแนวทางหนึ่งในการยกระดับรายได้ ชีวิตความเป็นอยู่ และคุณภาพชีวิตของชาวบ้านหรือเกษตรกรในชนบทที่เป็นคนส่วนใหญ่ของประเทศ แต่เป็นกลุ่มคนที่ยากจนที่สุดของประเทศ หากกลุ่มชาวบ้านหรือกลุ่มเกษตรกรเหล่านี้มีรายได้สูงขึ้นจะส่งผลกระทบด้านบวกต่อภาวะเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ โดยในการประกอบธุรกิจชุมชนควรมุ่งเน้นสร้างความเข้มแข็งของชุมชน ส่งเสริมให้เกิดเศรษฐกิจชุมชนแบบพึ่งตนเอง ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัตถุดิบใน

ชุมชน โดยคนในชุมชน เพื่อคนในชุมชน

ตัวอย่างธุรกิจชุมชน

สมุนไพรเพื่อสุขภาพ "กระชายดำ" เมืองภูเรือ

นางศรีภัสสร ศรีบุรินทร์ ชาวบ้านหนองแซง ตำบลสานตม อำเภอภูเรือ จังหวัดเลย ประธานกลุ่มแม่บ้านหนองแซง ซึ่งได้จัดตั้งรวมกลุ่มกันขึ้น เพื่อแปรรูปผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ จากสมุนไพร "กระชายดำ" โดยปัจจุบันมีสมาชิกทั้งหมด 36 คน โดยทำเป็นอาชีพเสริมในหมู่บ้าน

จากในอดีต ชาวบ้านหนองแซงทำไร่ทำนาเป็นอาชีพหลัก ชีวิตความเป็นอยู่ไม่ดีนัก มีหนี้สินเรื่อยมาจนกระทั่งปัจจุบัน จึงคิดหาวิธีการหารายได้เสริมจากการทำนา จึงได้รวมกลุ่มกันขึ้น ทำการแปรรูปผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ จากสมุนไพร "กระชายดำ" โดยเริ่มดำเนินการประมาณปี พ.ศ. 2543 โดยเริ่มแรกนั้นได้รับเงินทุนจากงบมิยาซาวาแพลน ประมาณ 150,000 บาท จึงทำกันเรื่อยมา จนได้รับความสนใจและเป็นที่ยอมรับ จึงมีหลายหน่วยงานเข้ามาให้การสนับสนุน อาทิเช่น กรมการศึกษานอกโรงเรียน กรมพัฒนาชุมขน เกษตรจังหวัด เป็นต้น

ทำให้กลุ่มแม่บ้านหนองแซงมีอาชีพเสริม ที่ทำให้เกิดรายได้เฉลี่ยแล้วประมาณ 3,000 - 5,000 บาท ต่อคนต่อเดือน จึงทำให้ความเป็นอยู่ของชาวบ้านในละแวกนี้ดีขึ้น ไม่เป็นหนี้เป็นสินอีกต่อไป ทั้งยังสามารถมีเงินฝากที่ธนาคารกัน

น.ส ละอองดาว เปรมกมล 544407203 การจัดการทั่วไป 54/4

  ธุรกิจชุมชน คือ การรวมกันของประชาชนในท้องถิ่นเพื่อร่วมกัน ประกอบธุรกิจที่สามารถสร้างรายได้เพิ่มให้แก่ประชาชนในชุมชน หรือการสร้าง ศักยภาพที่มีอยู่ภายในชุมชนให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจโดยการจัดตั้งร้านค้าชุมชน 

ตัวอย่างเช่น น้ำพริกแม่มานิตที่ต.แม่ระกา ซึ่งอยู่ในตำบลของดิฉันเองเป็นธุรกิจชุมชนที่สร้างรายได้มากแก่ผู้ประกอบการและชาวบ้าน

ชื่อ นางสาววลัยรัตน์  จอมมาลัย  การจัดการทั่วไป กลุ่ม4/54 รหัสนักศึกษา544407206

คือ  กิจกรรมที่บุคคลหรือองค์กรในชุมชนมีส่วนเป็นเจ้าของกิจการ  หรือช่วยดำเนินงานบางส่วนหรือทั้งหมด  โดยการประสานความร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆ มีการเรียนรู้ และการจัดการร่วมกัน เพื่อดำเนินกิจกรรมการผลิต การแปรรูป การค้า และการบริการที่มุ่งพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนได้อย่างดีต่อสังคม วัฒนธรรม และสภาพแวดล้อมในชุมชน เพื่อจะนำไปสู่ชีวิตที่ดี และการพัฒนาที่ยั่งยืน   เช่น  ธนาคารหมู่บ้านสมพรรัตน์  อ.บุณฑริก จ.อุบลราชธานี เป็นต้น

 

       นางสาวเปรมใจ  เดชมัด  รหัส 544407197  กลุ่ม  4  การจัดการทั่าไป

คือ  กิจกรรมที่บุคคลหรือองค์กรในชุมชนมีส่วนเป็นเจ้าของกิจการ  หรือช่วยดำเนินงานบางส่วนหรือทั้งหมด  โดยการประสานความร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆ มีการเรียนรู้ และการจัดการร่วมกัน เพื่อดำเนินกิจกรรมการผลิต การแปรรูป การค้า และการบริการที่มุ่งพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนได้อย่างดีต่อสังคม วัฒนธรรม และสภาพแวดล้อมในชุมชน เพื่อจะนำไปสู่ชีวิตที่ดี และการพัฒนาที่ยั่งยืน   เช่นสมุนไพรเพื่อสุขภาพ "กระชายดำ" เมืองภูเรือ

 

   นางสาวชัญญาพัชร์   ชัยกุล  รหัส 544407188  กลุ่ม 4  การจัดการทั้วไป

นางสาวขนิษฐา เมืองสร้อย

ธุรกิจชุมชน คือ กิจกรรมทางเศรษฐกิจของชุมชนอันประกอบด้วย กิจกรรมทางการผลิต กิจกรรมทางการขายผลผลิต กิจกรรมการซื้อ และการบริโภคของชุมชน จากความหมายของธุรกิจชุมชนข้างต้นจะเห็นได้ว่าชุมชนซึ่งเป็นรากฐานของชนบทไทยจะเข้มแข็งได้นั้น ชุมชนจะต้องยืนหยัดด้วยลำแข้งของชุมชนเอง โดยอาศัยความร่วมมือหรือการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนในอันที่จะพัฒนากลุ่มธุรกิจของชุมชนที่จัดตั้งขึ้นให้มีความเจริญเติบโต ซึ่งเป็นพื้นฐานในการพัฒนาความเป็นอยู่ของประชาชนที่อยู่ในภาคชนบทให้มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นต่อไป

ยกตัวอย่าง

น้ำพริกกุ้ง ของกลุ่มตำบลแม่ปะ อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก เป็นกลุ่มของแม่บ้านที่มีรายได้ช่วยเหลือครอบครัว และชาวบ้านอีกหลายคน

นางสาวขนิษฐา เมืองสร้อย รหัส 544407133 กลุ่ม 3/54 การจัดการทั่วไป

ธุรกิจชุมชน คือ การรวมกันของประชาชนในท้องถิ่นเพื่อร่วมกัน ประกอบธุรกิจที่สามารถสร้างรายได้เพิ่มให้แก่ประชาชนในชุมชน หรือการสร้าง ศักยภาพที่มีอยู่ภายในชุมชนให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจโดยการจัดตั้งร้านค้าชุมชน

ตัวอย่างเช่น ส้มโอกวน ต.โพธิ์ประทับช้าง จ.พิจิตรค่ะ อาจารย์ ภูมิใจนำเสนอจังหวัดตัวเองค่ะ

นางสาวจิราภรณ์ อ่อนสำอางค์ รหัส 544407136 การจัดการทั่วไป 3/54

นางสาวนพรัตน์ ปองคำมี

ธุรกิจชุมชน คือ การรวมกันของประชาชนในท้องถิ่นเพื่อร่วมกัน ประกอบธุรกิจที่สามารถสร้างรายได้เพิ่มให้แก่ประชาชนในชุมชน หรือการสร้าง ศักยภาพที่มีอยู่ภายในชุมชนให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจโดยการจัดตั้งร้านค้าชุมชน

ยกตัวอย่าง

พรมเช็ดเท้า เป็นสินค้าที่สมาชิกในชุมชนร่วมกันจัดทำขึ้นมา และได้นำออกขายสู้ท้องตลาดของหมู่บ้านเรา

ธุรกิจชุมชน คือ การรวมกันของประชาชนในท้องถิ่นเพื่อร่วมกัน ประกอบธุรกิจที่สามารถสร้างรายได้เพิ่มให้แก่ประชาชนในชุมชน หรือการสร้าง ศักยภาพที่มีอยู่ภายในชุมชนให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจโดยการจัดตั้งร้านค้าชุมชน

ยกตัวอย่าง

พรมเช็ดเท้า เป็นสินค้าที่สมาชิกในชุมชนร่วมกันจัดทำขึ้นมา และได้นำออกขายสู้ท้องตลาดของหมู่บ้านเรา

นางสาวนพรัตน์ ปองคำมี รหัส 544407194 4/54 การจัดการทั่วไป

ธุรกิจชุมชน คือ กิจกรรมที่บุคคลหรือองค์กรในชุมชนมีส่วนเป็นเจ้าของกิจกรรม และส่วนดำเนินงานบางส่วนหรือทั้งหมด อันจะนำไปสู่ความเป็นอยู่ที่ดี และการพัฒณาที่ยั่งยืน

ตัวอย่าง

ไม้กวาด ผลิตภัณฑ์ที่ชาวบ้านในชุมชนได้ร่วมกันจัดทำแล้วนำออกมาขายสู่ท้องตลอด

นางสาว วรรณวิสา  สมสี รหัส 544407205 4/54 การจัดการทั่วไป

ธุรกิจชุมชน คือ การรวมกันของประชาชนในท้องถิ่นเพื่อร่วมกัน ประกอบธุรกิจที่สามารถสร้างรายได้เพิ่มให้แก่ประชาชนในชุมชน หรือการสร้าง ศักยภาพที่มีอยู่ภายในชุมชนให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจโดยการจัดตั้งร้านค้าชุมชน

ตัวอย่าง การทำส้มโอกวน การทำกรเป๋าจากผักตบชวา การทำพรมเช็ดเท้า

นางสาวชุลีพร ใบทับทิม การจัดการทั่วไป กลุ่ม 1 รหัส 524407120

ธุรกิจชุมชน หมายถึง "กิจกรรมทางเศรษฐกิจของชุมชนอันประกอบด้วย กิจกรรมทางการผลิต กิจกรรมทางการขายผลผลิต กิจกรรมการซื้อ และการบริโภคของชุมชน"จากความหมายของธุรกิจชุมชนข้างต้นจะเห็นได้ว่าชุมชนซึ่งเป็นรากฐานของชนบทไทยจะเข้มแข็งได้นั้น ชุมชนจะต้องยืนหยัดด้วยลำแข้งของชุมชนเอง โดยอาศัยความร่วมมือหรือการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนในอันที่จะพัฒนากลุ่มธุรกิจของชุมชนที่จัดตั้งขึ้นให้มีความเจริญเติบโต ซึ่งเป็นพื้นฐานในการพัฒนาความเป็นอยู่ของประชาชนที่อยู่ในภาคชนบทให้มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นต่อไป

ตัวอย่าง กล้วยแผ่นอบ ซอสมะขาม เป็นสินค้าที่ดีแล้วชาวบ้านช่วยกันทำเพื่อหารายได้

นางสาวสุวิมล ศรีสัง การจัดการทั่วไป กลุ่ม 1 รหัส 524407119

นางสาว รุ่งนภา กัลยารอง

ธุรกิจชุมชน หมายถึง "กิจกรรมทางเศรษฐกิจของชุมชนอันประกอบด้วย กิจกรรมทางการผลิต กิจกรรมทางการขายผลผลิต กิจกรรมการซื้อ และการบริโภคของชุมชน"(สุพรรณีอัสวศิริเลิศและกุศลฐินะกุล.ออนไลน์.2545:7)จากความหมายของธุรกิจชุมชนข้างต้นจะเห็นได้ว่าชุมชนซึ่งเป็นรากฐานของชนบทไทยจะเข้มแข็งได้นั้น ชุมชนจะต้องยืนหยัดด้วยลำแข้งของชุมชนเอง โดยอาศัยความร่วมมือหรือการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนในอันที่จะพัฒนากลุ่มธุรกิจของชุมชนที่จัดตั้งขึ้นให้มีความเจริญเติบโต ซึ่งเป็นพื้นฐานในการพัฒนาความเป็นอยู่ของประชาชนที่อยู่ในภาคชนบทให้มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นต่อไป

ดังนั้นขั้นตอนการดำเนินงานของกลุ่มธุรกิจชุมชนที่จะนำไปสู่การประสบความสำเร็จได้นั้น ควรมีขั้นตอนที่สำคัญดังต่อไปนี้

1. ค้นหาความต้องการของตลาด

2. เลือกวิธีการผลิตที่เหมาะสม

3. ใครคือกลุ่มเป้าหมาย

4. กำหนดรูปแบบที่เหมาะสม

ตัวอย่างของกลุ่มแม่บ้านที่รวมตัวกันก่อตั้งธุรกิจชุมชนขนาดย่อยขึ้นมา เช่น

1.การทำไม้กวาดดอกหญ้า ต. ราวต้นจันทร์ อ.ศรีสำโรง จ .สุโขทัย

2.การทำผ้าทอศรีสัช ต.หาดเสี้ยว อ .ศรีสัชนาลัย จ.สุโขทัย

นางสาว รุ่งนภา กัลยารอง รหัสนักศึกษา 544407229 กลุ่ม4/54

ธุรกิจชุมชน คือ การรวมกันของประชาชนในท้องถิ่นเพื่อร่วมกัน ประกอบธุรกิจที่สามารถสร้างรายได้เพิ่มให้แก่ประชาชนในชุมชน หรือการสร้าง ศักยภาพที่มีอยู่ภายในชุมชนให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจโดยการจัดตั้งร้านค้าชุมชน

ตัวอย่าง การทำกล้วยมาแปรรูป หรือการทำน้ำพริกแปรรูป เรียกง่าย ๆว่า OTOP

นางสาว เบญจมาศ ตุ้มเรือง การจัดการทั่วไป 3 / 54 รหัส 149

อัมรินทร์ เรืองศรี

ธุรกิจชุมชน หมายถึง "กิจกรรมทางเศรษฐกิจของชุมชนอันประกอบด้วย กิจกรรมทางการผลิต กิจกรรมทางการขายผลผลิต กิจกรรมการซื้อ และการบริโภคของชุมชน"(สุพรรณีอัสวศิริเลิศและกุศลฐินะกุล.ออนไลน์.2545:7)จากความหมายของธุรกิจชุมชนข้างต้นจะเห็นได้ว่าชุมชนซึ่งเป็นรากฐานของชนบทไทยจะเข้มแข็งได้นั้น ชุมชนจะต้องยืนหยัดด้วยลำแข้งของชุมชนเอง โดยอาศัยความร่วมมือหรือการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนในอันที่จะพัฒนากลุ่มธุรกิจของชุมชนที่จัดตั้งขึ้นให้มีความเจริญเติบโต ซึ่งเป็นพื้นฐานในการพัฒนาความเป็นอยู่ของประชาชนที่อยู่ในภาคชนบทให้มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดี

ตัวอย่างก็คือ กรอบรูป ทำจากใยธรรมชาติแปรรูปผลิตภัณฑ์(ใยต้นกล้วย-ใยใบสับปะรด)

กรอบรูปนาฬิกาประดับดอกไม้ทำจากรังไหม

นางสาว อัมรินทร์ เรืองศรี การจัดการทั่วไป กลุ่ม 1 524407042

นางสาว มินตรา โพพริก

ธุรกิจชุมชน หมายถึง ธุรกิจที่เป็นของชุมชนเพื่อชุมชนและบริหารจัดการโดยชุมชน ซึ่งเป็นการบริหารเน้นการกระทำในเชิงธุรกิจแตกต่างจากการกุศลหรือการช่วยเหลือเกื้อกูลในลักษณะของสหกรณ์ ตัวอย่าง การทำกระชายดำ โฮมสเต ทำเฟอร์นนิเจอร์หวาย

นางสาวมินตรา โพพริก การจัดการทั่วไป    รหัส544407199 4/54

อนุพงค์ (โตโต้ซัง) จันทร์แสน

ความหมาย

ธุรกิจชุมชน คือ การรวมกันของประชาชนในท้องถิ่นเพื่อร่วมกัน ประกอบธุรกิจที่สามารถสร้างรายได้เพิ่มให้แก่ประชาชนในชุมชน หรือการสร้าง ศักยภาพที่มีอยู่ภายในชุมชนให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจโดยการจัดตั้งร้านค้าชุมชน

ร้านค้าชุมชน หมายถึง ร้านค้าที่กลุ่มหรือคณะบุคคลร่วมกันทำการค้าขายในหมู่บ้านโดยชาวบ้านเป็นสมาชิกถือหุ้น มีการเลือกตั้งกรรมการ บริหารร้านค้าโดยคัดเลือกจากสมาชิกผู้ถือหุ้น และมีการปันผลกำไร (เงินปันผลจากค่าหุ้นหรือเงินปันผลคืนจากการซื้อสินค้า) ของร้านค้าคืนให้กับสมาชิก

ความเป็นมาของร้านค้าชุมชน

จากการที่รัฐบาลมีนโยบายการกระจายรายได้และความเจริญไปสู่ภูมิภาค เพื่อมิให้เกิดการกระจุกตัวในส่วนกลาง ซึ่งทำให้ประชาชนในชนบทส่วนใหญ่มีปัญหาในการถูกเอารัดเอาเปรียบในการหาซื้อสินค้าอุปโภคบริโภคที่จำเป็นต่อการดำรงชีพและไม่ได้รับความเป็นธรรมในการขายผลผลิต รวมทั้งขาดความรู้ ประสบการณ์ และขาดอำนาจต่อรองทางการค้าตลอดจนมองไม่เห็นโอกาสและช่องทางที่จะนำภูมิปัญญาของตนเองมาพัฒนาในเชิงธุรกิจ ประกอบกับเกิดผลกระทบจากวิกฤติเศรษฐกิจของประเทศทำให้ประชากรมีรายได้ลดลงจึงจำเป็นที่หน่วยงานของภาครัฐจะประสานร่วมมือกันในการเสริมสร้างประสิทธิภาพ การดำเนินกิจกรรมให้แก่ชุมชนและกลุ่มอาชีพ

จากนโยบายกระทรวงพาณิชย์ได้ดำเนินการสนับสนุนการรวมกลุ่มของ ประชาชนเพื่อจัดตั้งร้านค้าชุมชนในชนบทที่อยู่ห่างไกลให้สามารถซื้อสินค้าอุปโภคบริโภคในราคาที่เป็นธรรมและเพิ่มอำนาจในการต่อรองทางการค้า รวมทั้งสามารถใช้ร้านค้าชุมชนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ภายใต้การบริหารของกลุ่มคนในชุมชนและภาครัฐเป็นผู้ให้การสนับสนุนด้านเงินทุน และวิชาการด้านการบริหารจัดการ การบัญชี

โครงสร้างการบริหารงานร้านค้าชุมชน ประกอบด้วย

3.1 สมาชิกผู้ถือหุ้น สมาชิกผู้ถือหุ้นของร้านค้าชุมชนจะสิทธิมีส่วนร่วมในการบริหารงาน โดยมีสิทธิในการเลือกตั้งกรรมการเพื่อมาบริหารร้านค้าแทนสมาชิก และร่วมกันกำหนดระเบียบ หลักเกณฑ์ของร้านค้า เพื่อใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงานของคณะกรรมการ ในขณะเดียวกันสมาชิกต้องให้ความ ร่วมมือในการซื้อสินค้า

3.2 คณะกรรมการ จะมีจำนวนประมาณ 7 - 10 คน โดยคัดเลือกให้ดำรงตำแหน่ง ประธาน รองประธาน คณะกรรมการจัดซื้อ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบัญชี คณะกรรมการฝ่ายการเงิน ซึ่งคณะกรรมการ จะต้องเป็นผู้ที่มีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์สุจริตและมีความเสียสละ

3.3 ผู้จัดการร้านค้า จะคัดเลือกจากคณะกรรมการ เพื่อทำหน้าที่บริหารจัดการ ควบคุมดูแลร้านค้า เช่น การขายสินค้า การซื้อสินค้าเข้าร้าน ฯลฯ โดยการดำเนินการ ทั้งหมดจะต้องอยู่ภายใต้ความเห็นชอบของคณะกรรมการ

การคัดเลือกและการจัดตั้งร้านค้าชุมชน

ในการส่งเสริมจัดตั้งร้านค้าชุมชน จะต้องพิจารณาจากความพร้อมและความ ประสงค์ของสมาชิกในชุมชนเป็นหลัก ทั้งนี้ หากไม่ได้รับความร่วมมือจากสมาชิก เช่น การไม่เข้ามาช่วยในการบริหารงานของร้าน การไม่ซื้อสินค้าจากร้านค้าฯลฯ การดำเนินงานของร้านค้าก็ไม่สามารถดำเนินงานต่อไปได้

จากการดำเนินการที่ผ่านมามีข้อสังเกต คือ การจัดตั้งร้านค้าชุมชนในหมู่บ้านที่อยู่ห่างไกลหรือการคมนาคมไม่สะดวกจะได้เปรียบและประสบความสำเร็จ มากกว่าร้านค้าที่อยู่ใกล้ตัวเมืองและมีการคมนาคมสะดวก ดังนั้น ในการคัดเลือกและส่งเสริมจัดตั้งร้านค้าชุมชนให้ประสบความสำเร็จได้ จะต้องพิจารณา ดังนี้

1) สมาชิกในชุมชน มีความพร้อมและประสงค์จะจัดตั้งร้านค้า

2) เป็นหมู่บ้านที่อยู่ห่างไกลหรือการคมนาคมไม่สะดวก

3) สมาชิกต้องให้ความร่วมมือในการบริหารงานและการซื้อสินค้าจากร้านค้า

4) กรรมการบริหารร้านค้ามีความเสียสละซื่อสัตย์สุจริตและมีความโปร่งใสในการบริหาร

5) ร้านค้ามีการขายสินค้าเป็นเงินสด หรือมีการขายสินค้าเป็นเงินเชื่อในปริมาณน้อย

การจัดหาสถานที่ในการจัดตั้งร้านค้าชุมชน

การจัดหาสถานที่สำหรับการจัดตั้งร้านค้าชุมชน ควรเป็นแหล่งชุมชน และมีการสัญจรผ่านไปมาของสมาชิกร้านค้าและประชาชนในชุมชน ซึ่งสถานที่ใช้ในกรณีที่เป็นสาธารณะหรือที่ส่วนบุคคลจะต้องมีหลักฐานยินยอมให้ใช้ประโยชน์จากผู้มีอำนาจในการอนุญาตใช้สถานที่

5.ปัญหาของร้านค้า ปัจจุบันสภาพแวดล้อมทางสังคมและเศรษฐกิจเปลี่ยนแปลงไป ทำให้พฤติกรรมของประชาชนเปลี่ยนแปลงการคมนาคมระหว่างพื้นที่สะดวก การประกอบธุรกิจขยายตัวในทุกระดับพื้นที่ การแข่งขันทางการค้าเพิ่มขึ้น ทำให้ความจำเป็นในการจัดตั้งร้านค้าชุมชนลดลงปัจจุบันกรมฯ จะมุ่งเน้นพัฒนาร้านค้าที่มีอยู่ให้เข้มแข็งสามารถอยู่ได้อย่างยั่งยืน สำหรับเงินทุนรายใหม่ จะเป็นหมู่บ้านที่มีความจำเป็นทางเศรษฐกิจและที่จังหวัดที่เห็นสมควร

ร้านค้าชุมชนที่ได้รับการส่งเสริมจากกรมพัฒนาธุรกิจการค้าตั้งแต่ปี 2530-2548 และยังคงดำเนินการอยู่จำนวน 456 ร้านค้า (ประกอบด้วยทุนครั้งแรก 428 ร้านค้า และ ทุนขั้นพัฒนา 28 ร้านค้า ) ในพื้นที่ 67 จังหวัด

การพัฒนาธุรกิจชุมชนในความส่งเสริมของกรมพัฒนาธุรกิจการค้า คือ

1) ให้ความรู้ในการบริหารจัดการ การวางระบบบริหารจัดการ

2) ให้คำปรึกษาแนะนำ ร่วมแก้ไขปัญหา และตรวจเยี่ยมการดำเนินงานจากสำนักงานพัฒนาธุรกิจการค้าจังหวัด

3) ได้มีการพัฒนาการจัดวางสินค้าและภาพลักษณ์ของร้านค้าชุมชนเป็นร้านค้าซื้อสะดวก เพื่อให้สามารถแข่งขันกับร้านค้าปลีกต่าง ๆ รวมทั้งได้มีการจัดประกวดร้านค้าชุมชนดีเด่นระดับประเทศเพื่อเป็นขวัญและกำลังใจแก่ร้านค้า

นางสาว อโณทัย บุญยงค์

ธุรกิจชุมชน หมายถึง ธุรกิจที่ชาวบ้านมีส่วนร่วมเป็นเจ้าของกิจการ ทั้งในลักษณะการเป็นเจ้าของเองทั้งหมด หรือบางส่วนในฐานะผู้ร่วมทุน ตัวอย่าง ดอกไม้จัน เรือนไทยจิ๋ว กระเป๋าผักตบ   นางสาวอโณทัย บุญยงค์ การจัดการทั่วไป รหัส 544407220  4/54

นางสาวราตรี ดอนเทศน์ การจัดการทั่วไป

ธุรกิจชุมชน คือ กิจกรรมที่บุคคลหรือองค์กรในชุมชนมีส่วนเป็นเจ้าของกิจกรรม และช่วยดำเนินงานบางส่วนหรือทั้งหมด โดยประสานความร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆ มีการเรียนรู้ และการจัดการร่วมกับเพื่อดำเนินการกิจกรรมการผลิต การแปรรูป การค้า และการบริการการพัฒนาเศรษฐกิจของชุมชน ตัวอย่างเช่น กล้วยตาก อำเภอบางกระทุ่ม จังหวัดพิษณุโลก ภาชนะตะกล้าหวาย จังหวัดฉะเชิงเทรา ขนมหม้อแกง จังหวัดเพชรบุรี

นางสาวราตรี ดอนเทศน์ การจัดการทั่วไป 3/54 544407163

ธุรกิจชุมชน คือ กิจกรรมที่บุคคลหรือองค์กรในชุมชนมีส่วนเป็นเจ้าของกิจกรรม และช่วยดำเนินงานบางส่วนหรือทั้งหมด โดยประสานความร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆ มีการเรียนรู้ และการจัดการร่วมกับเพื่อดำเนินการกิจกรรมการผลิต การแปรรูป การค้า และการบริการการพัฒนาเศรษฐกิจของชุมชน ตัวอย่างเช่น กล้วยตาก อำเภอบางกระทุ่ม จังหวัดพิษณุโลก ภาชนะตะกล้าหวาย จังหวัดฉะเชิงเทรา ขนมหม้อแกง จังหวัดเพชรบุรี

นายอนุพงค์ จันทร์แสน 544407178

ความหมาย ของธุรกิจ

ธุรกิจชุมชน คือ การรวมกันของประชาชนในท้องถิ่นเพื่อร่วมกัน ประกอบธุรกิจที่สามารถสร้างรายได้เพิ่มให้แก่ประชาชนในชุมชน หรือการสร้าง ศักยภาพที่มีอยู่ภายในชุมชนให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจโดยการจัดตั้งร้านค้าชุมชน

ร้านค้าชุมชน หมายถึง ร้านค้าที่กลุ่มหรือคณะบุคคลร่วมกันทำการค้าขายในหมู่บ้านโดยชาวบ้านเป็นสมาชิกถือหุ้น มีการเลือกตั้งกรรมการ บริหารร้านค้าโดยคัดเลือกจากสมาชิกผู้ถือหุ้น และมีการปันผลกำไร (เงินปันผลจากค่าหุ้นหรือเงินปันผลคืนจากการซื้อสินค้า) ของร้านค้าคืนให้กับสมาชิก

ความเป็นมาของร้านค้าชุมชน

จากการที่รัฐบาลมีนโยบายการกระจายรายได้และความเจริญไปสู่ภูมิภาค เพื่อมิให้เกิดการกระจุกตัวในส่วนกลาง ซึ่งทำให้ประชาชนในชนบทส่วนใหญ่มีปัญหาในการถูกเอารัดเอาเปรียบในการหาซื้อสินค้าอุปโภคบริโภคที่จำเป็นต่อการดำรงชีพและไม่ได้รับความเป็นธรรมในการขายผลผลิต รวมทั้งขาดความรู้ ประสบการณ์ และขาดอำนาจต่อรองทางการค้าตลอดจนมองไม่เห็นโอกาสและช่องทางที่จะนำภูมิปัญญาของตนเองมาพัฒนาในเชิงธุรกิจ ประกอบกับเกิดผลกระทบจากวิกฤติเศรษฐกิจของประเทศทำให้ประชากรมีรายได้ลดลงจึงจำเป็นที่หน่วยงานของภาครัฐจะประสานร่วมมือกันในการเสริมสร้างประสิทธิภาพ การดำเนินกิจกรรมให้แก่ชุมชนและกลุ่มอาชีพ

จากนโยบายกระทรวงพาณิชย์ได้ดำเนินการสนับสนุนการรวมกลุ่มของ ประชาชนเพื่อจัดตั้งร้านค้าชุมชนในชนบทที่อยู่ห่างไกลให้สามารถซื้อสินค้าอุปโภคบริโภคในราคาที่เป็นธรรมและเพิ่มอำนาจในการต่อรองทางการค้า รวมทั้งสามารถใช้ร้านค้าชุมชนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ภายใต้การบริหารของกลุ่มคนในชุมชนและภาครัฐเป็นผู้ให้การสนับสนุนด้านเงินทุน และวิชาการด้านการบริหารจัดการ การบัญชี

โครงสร้างการบริหารงานร้านค้าชุมชน ประกอบด้วย

3.1 สมาชิกผู้ถือหุ้น สมาชิกผู้ถือหุ้นของร้านค้าชุมชนจะสิทธิมีส่วนร่วมในการบริหารงาน โดยมีสิทธิในการเลือกตั้งกรรมการเพื่อมาบริหารร้านค้าแทนสมาชิก และร่วมกันกำหนดระเบียบ หลักเกณฑ์ของร้านค้า เพื่อใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงานของคณะกรรมการ ในขณะเดียวกันสมาชิกต้องให้ความ ร่วมมือในการซื้อสินค้า

3.2 คณะกรรมการ จะมีจำนวนประมาณ 7 - 10 คน โดยคัดเลือกให้ดำรงตำแหน่ง ประธาน รองประธาน คณะกรรมการจัดซื้อ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบัญชี คณะกรรมการฝ่ายการเงิน ซึ่งคณะกรรมการ จะต้องเป็นผู้ที่มีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์สุจริตและมีความเสียสละ

3.3 ผู้จัดการร้านค้า จะคัดเลือกจากคณะกรรมการ เพื่อทำหน้าที่บริหารจัดการ ควบคุมดูแลร้านค้า เช่น การขายสินค้า การซื้อสินค้าเข้าร้าน ฯลฯ โดยการดำเนินการ ทั้งหมดจะต้องอยู่ภายใต้ความเห็นชอบของคณะกรรมการ

การคัดเลือกและการจัดตั้งร้านค้าชุมชน

ในการส่งเสริมจัดตั้งร้านค้าชุมชน จะต้องพิจารณาจากความพร้อมและความ ประสงค์ของสมาชิกในชุมชนเป็นหลัก ทั้งนี้ หากไม่ได้รับความร่วมมือจากสมาชิก เช่น การไม่เข้ามาช่วยในการบริหารงานของร้าน การไม่ซื้อสินค้าจากร้านค้าฯลฯ การดำเนินงานของร้านค้าก็ไม่สามารถดำเนินงานต่อไปได้

จากการดำเนินการที่ผ่านมามีข้อสังเกต คือ การจัดตั้งร้านค้าชุมชนในหมู่บ้านที่อยู่ห่างไกลหรือการคมนาคมไม่สะดวกจะได้เปรียบและประสบความสำเร็จ มากกว่าร้านค้าที่อยู่ใกล้ตัวเมืองและมีการคมนาคมสะดวก ดังนั้น ในการคัดเลือกและส่งเสริมจัดตั้งร้านค้าชุมชนให้ประสบความสำเร็จได้ จะต้องพิจารณา ดังนี้

1) สมาชิกในชุมชน มีความพร้อมและประสงค์จะจัดตั้งร้านค้า

2) เป็นหมู่บ้านที่อยู่ห่างไกลหรือการคมนาคมไม่สะดวก

3) สมาชิกต้องให้ความร่วมมือในการบริหารงานและการซื้อสินค้าจากร้านค้า

4) กรรมการบริหารร้านค้ามีความเสียสละซื่อสัตย์สุจริตและมีความโปร่งใสในการบริหาร

5) ร้านค้ามีการขายสินค้าเป็นเงินสด หรือมีการขายสินค้าเป็นเงินเชื่อในปริมาณน้อย

การจัดหาสถานที่ในการจัดตั้งร้านค้าชุมชน

การจัดหาสถานที่สำหรับการจัดตั้งร้านค้าชุมชน ควรเป็นแหล่งชุมชน และมีการสัญจรผ่านไปมาของสมาชิกร้านค้าและประชาชนในชุมชน ซึ่งสถานที่ใช้ในกรณีที่เป็นสาธารณะหรือที่ส่วนบุคคลจะต้องมีหลักฐานยินยอมให้ใช้ประโยชน์จากผู้มีอำนาจในการอนุญาตใช้สถานที่

5.ปัญหาของร้านค้า ปัจจุบันสภาพแวดล้อมทางสังคมและเศรษฐกิจเปลี่ยนแปลงไป ทำให้พฤติกรรมของประชาชนเปลี่ยนแปลงการคมนาคมระหว่างพื้นที่สะดวก การประกอบธุรกิจขยายตัวในทุกระดับพื้นที่ การแข่งขันทางการค้าเพิ่มขึ้น ทำให้ความจำเป็นในการจัดตั้งร้านค้าชุมชนลดลงปัจจุบันกรมฯ จะมุ่งเน้นพัฒนาร้านค้าที่มีอยู่ให้เข้มแข็งสามารถอยู่ได้อย่างยั่งยืน สำหรับเงินทุนรายใหม่ จะเป็นหมู่บ้านที่มีความจำเป็นทางเศรษฐกิจและที่จังหวัดที่เห็นสมควร

ร้านค้าชุมชนที่ได้รับการส่งเสริมจากกรมพัฒนาธุรกิจการค้าตั้งแต่ปี 2530-2548 และยังคงดำเนินการอยู่จำนวน 456 ร้านค้า (ประกอบด้วยทุนครั้งแรก 428 ร้านค้า และ ทุนขั้นพัฒนา 28 ร้านค้า ) ในพื้นที่ 67 จังหวัด

การพัฒนาธุรกิจชุมชนในความส่งเสริมของกรมพัฒนาธุรกิจการค้า คือ

1) ให้ความรู้ในการบริหารจัดการ การวางระบบบริหารจัดการ

2) ให้คำปรึกษาแนะนำ ร่วมแก้ไขปัญหา และตรวจเยี่ยมการดำเนินงานจากสำนักงานพัฒนาธุรกิจการค้าจังหวัด

3) ได้มีการพัฒนาการจัดวางสินค้าและภาพลักษณ์ของร้านค้าชุมชนเป็นร้านค้าซื้อสะดวก เพื่อให้สามารถแข่งขันกับร้านค้าปลีกต่าง ๆ รวมทั้งได้มีการจัดประกวดร้านค้าชุมชนดีเด่นระดับประเทศเพื่อเป็นขวัญและกำลังใจแก่ร้านค้า

ยกตัวอย่างเช่น ร่ม ทางภาคเหนือเรียกว่า จ้อง โดยเฉพาะฤดูฝน ร่มจึงเป็นเครื่องใช้ประจำตัวที่ขาดไม่ได้ ร่มกระดาษสาเป็นสัญลักษณ์ ของคนเชียงใหม่ แหล่งผลิตร่มกระดาษสาคือ บ้านสันต้นแหน อำเภอดอยสะเก็ด ส่วนแหล่งจัดจำหน่ายคือ บ้านบ่อสร้าง อำเภอ สันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่

ร่มกระดาษสามีส่วนประกอบคือ ก้านร่ม ซี่ค้ำร่ม หัวร่ม ตุ้มร่ม กลอนร่ม ฝ้ายร้อยร่ม จุกครอบร่ม และกระดาษสา ร่มคันหนึ่งใช้ฝีมือช่างหลายคน ช่างแต่ละคนแบ่งหน้าที่ตามที่ตนถนัด วัสดุที่ใช้ทำร่ม ได้แก่ ไม้ไผ่บง สำหรับทำก้านร่ม ซี่ร่มและกลอนร่ม ต้นงิ้วดอกขาว ต้นแคแน ใช้สำหรับทำตุ้มร่ม หัวร่มและจุกหิดหัวร่ม ต้นแคดอกแดง และไผ่ซาง ใช้ทำคันถือร่ม ฝ้ายสำหรับ ผูกร้อยซี่ร่มและก้านร่มเข้ากับหัวตุ้มร่มกระดาษสาสีน้ำเงิน สำหรับเขียนลายบนร่ม น้ำยางตะโก น้ำยางลูกมะตั๊บตองสำหรับทาก้านร่ม เพื่อหุ้มกระดาษ น้ำมันมะพอกสำหรับทาบนกระดาษ ป้องกันไม่ให้น้ำฝนเกาะติดหลังร่ม

ส่วนเครื่องทำร่มได้แก่ มีดตัดไม้ ผ่าไม้ มีดเหลาไม้ มีดเจียนไม้ เลื่อยมือ แฮ้วเคี่ยนหรือกลึง โยนมือสำหรับเจาะรูกลอนร่ม ดือร่ม และซี่ร่ม ขนาดของร่มมีตั้งแต่เส้นผ่าศูนย์กลาง ๖ นิ้วถึงโตที่สุด ๗๒ นิ้ว สำหรับกางกันแดดตามชายหาด หรือตามที่โล่ง สำหรับตั้งโต็ะอาหารเป็นชุด สำหรับเป็นของที่ระลึก ดังนั้นกว่าจะได้เป็นร่มกระดาษสาหนึ่งคันต้องอาศัยช่างฝีมือไม่ต่ำกว่า ๑๐ คน ปัจจุบันร่มกระดาษสาไม่ได้มีไว้สำหรับกางกันแดดกันฝนเท่านั้น แต่ยังรับใช้สังคมอีกหลายหน้าที่ เช่น เป็นโคมไฟ เป็นโมบาย และ ประดับตามโรงแรม ร้านอาหาร เพื่อความสวยงามอีกด้วย

นายอยุพงค์ (โตโต้ซัง) จันทร์แสน การจัดการทั่วไป กลุ่ม 3/2554 รหัส 544407178

ธุรกิจชุมชน หมายถึง "กิจกรรมทางเศรษฐกิจของชุมชนอันประกอบด้วย กิจกรรมทางการผลิต กิจกรรมทางการขายผลผลิต กิจกรรมการซื้อ และการบริโภคของชุมชน"โดยอาศัยความร่วมมือหรือการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนในอันที่จะพัฒนากลุ่มธุรกิจของชุมชนที่จัดตั้งขึ้นให้มีความเจริญเติบโต

ตัวอย่าง

การถักกระเป๋า การท้อเสื้อผ้า นี้ก็เป็นอีตัวอย่างหนึ่งที่แสดงให้เห็นถึงวัฒนธรรมและยังเป็นธุรกิจภายในชุมชนอีกด้วย

นางสาว สุชญา สวัสดี การจัดการทั่วไป 3 / 54 รหัส 171

ธุรกิจชุมชน คือ การผลิตสินค้าที่ออกมาจากความคิดของคน 1 คน มารวมกันทำให้เกิดความต้องการสินค้าและบริการของตลาด และทางด้านการผลิตหรือการแข่งขันเพราะชุมชนแต่ละพื้นที่มีความได้เปรียบทางด้านทรัพยากรที่แตกต่างกัน นั่นคือชุมชนควรตระหนักว่า จะนำทรัพยากรของชุมชนที่มีอยู่มาผลิตสินค้าออกสู่ตลาด

ตัวอย่าง

การทำดอกไม้จากผ้าใยบัว

นางสาว สุพัตรา ทัพงาม การจัดการทั่วไป 3 / 54 รหัส 173

นายธเนศ หยุยั้ง การจัดการทั่วไป ก.1 52407049

ธุรกิจชุมชน คือ การรวมกันของประชาชนในท้องถิ่นเพื่อร่วมกัน ประกอบธุรกิจที่สามารถสร้างรายได้เพิ่มให้แก่ประชาชนในชุมชน หรือการสร้าง ศักยภาพที่มีอยู่ภายในชุมชนให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจโดยการจัดตั้งร้านค้าชุมชนจากความพยายามพัฒนาความเป็นอยู่ของชาวบ้านในภาคอีสานให้ดีขึ้น ในด้านรายได้ ทำให้มีการส่งเสริมอาชีพเสริม ที่มักเป็นการผลิตสินค้าหัตถกรรมหรือการแปรรูปผลิตทางการเกษตร เพื่อเพิ่มมูลค่าแก่กลุ่มชาวบ้านจำนวนมาก หลายกลุ่มประสบความสำเร็จในการผลิตเป็นอย่างดีแต่กลับขายผลผลิตไม่ได้ ทำให้ไม่เกิดรายได้เป็นตัวเงินอย่างแท้จริง จึงต้องหันมาจัดการด้านการตลาดด้วยตนเอง กลายเป็นกลุ่มลักษณะใหม่ที่ถูกเรียกต่างๆ กันไป เช่นการทอผ้า การทำกล้วยตาก

รัศมี ศรีเจริญ การจัดการทั่วไป 4/54

ธุรกิจชุมชน หมายถึง "กิจกรรมทางเศรษฐกิจของชุมชนอันประกอบด้วย กิจกรรมทางการผลิต กิจกรรมทางการขายผลผลิต กิจกรรมการซื้อ และการบริโภคของชุมชนจากความหมายของธุรกิจชุมชนข้างต้นจะเห็นได้ว่าชุมชนซึ่งเป็นรากฐานของชนบทไทยจะเข้มแข็งได้นั้น ชุมชนจะต้องยืนหยัดด้วยลำแข้งของชุมชนเอง โดยอาศัยความร่วมมือหรือการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนในอันที่จะพัฒนากลุ่มธุรกิจของชุมชนที่จัดตั้งขึ้นให้มีความเจริญเติบโต ซึ่งเป็นพื้นฐานในการพัฒนาความเป็นอยู่ของประชาชนที่อยู่ในภาคชนบทให้มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นต่อไป

ดังนั้นขั้นตอนการดำเนินงานของกลุ่มธุรกิจชุมชนที่จะนำไปสู่การประสบความสำเร็จได้นั้น ควรมีขั้นตอนที่สำคัญดังต่อไปนี้

1. ค้นหาความต้องการของตลาด

ธุรกิจชุมชนจะต้องทราบถึง ความต้องการสินค้าและบริการของตลาด ความได้เปรียบทางด้านการผลิตหรือการแข่งขันเพราะชุมชนแต่ละพื้นที่มีความได้เปรียบทางด้านทรัพยากรที่แตกต่างกัน นั่นคือชุมชนควรตระหนักว่า จะนำทรัพยากรของชุมชนที่มีอยู่มาผลิตสินค้าอะไร

ซึ่งในทางเศรษฐศาสตร์ ปัญหาดังกล่าวนี้จะเรียกว่าปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจที่ว่า ผลิตอะไร (What)

2. เลือกวิธีการผลิตที่เหมาะสม

ธุรกิจชุมชนต้องทราบว่าผู้ที่จะลงมือผลิตมีใครบ้าง และผู้ที่เกี่ยวข้องกับการผลิตมีใครบ้าง จึงควรให้ผู้ที่มีความสามารถนี้เป็นผู้ลงมือผลิต ให้คำแนะนำในการผลิต ให้มีการระดมสมองของคนเหล่านี้ และยังสามารถพึ่งพาผู้ที่เกี่ยวข้องกับการผลิต เช่น หน่วยงานราชการ สถาบันวิชาการต่างๆ นอกจากนี้ในการผลิตที่เหมาะสมของธุรกิจจะต้องคำนึงถึง ปัจจัยการผลิต อันประกอบด้วย

ที่ดิน(Land) แรงงาน (Labor) ทุนที่ใช้ในการดำเนินงาน (Capital) และ ผู้ประกอบการ (Entrepreneur) ซึ่งในทางเศรษฐศาสตร์ ปัญหานี้จะเรียกว่าปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจที่ว่า

ผลิตอย่างไร (How)

3. ใครคือกลุ่มเป้าหมาย

ธุรกิจชุมชนจะต้องทราบว่าควรขายสินค้าให้กับใคร และลูกค้าจะซื้อสินค้าของเราได้อย่างไร ซึ่งลูกค้าอาจแบ่งเป็น ลูกค้าท้องถิ่น และลูกค้านอกท้องถิ่น ซึ่งขึ้นอยู่กับตัวสินค้าและความต้องการสินค้าจะเป็นตัวกำหนดว่า ลูกค้าเป็นใคร เช่น กรณีผ้าทอเกาะยอ ลูกค้าเป็นคนนอกท้องถิ่น กรณีปั๊มน้ำมัน ลูกค้าจะเป็นคนในท้องถิ่น สำหรับการเข้าถึงลูกค้านั้น สามารถแบ่งลูกค้าออกเป็นอีก 2 ประเภท ประกอบด้วย ลูกค้าปลีก คือ ลูกค้ารายย่อยที่ซื้อสินค้าเพื่อนำไปบริโภคเอง

และลูกค้าส่ง คือ ลูกค้าที่ซื้อสินค้าในปริมาณมากเพื่อนำไปขายต่อ ซึ่งในทางเศรษฐศาสตร์ ปัญหานี้จะเรียกว่าปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจที่ว่า ผลิตเพื่อใคร (For whom)

4. กำหนดรูปแบบที่เหมาะสม

รูปแบบที่เหมาะสมของธุรกิจชุมชน แบ่งเป็น 1) กลุ่มที่ไม่เป็นทางการ(Informal Group) คือ ไม่มีการจดทะเบียนตามกรอบกฎหมายใดๆ มีความเป็นอิสระในการดำเนินงาน แต่ไม่สามารถทำนิติกรรมในนามของกลุ่มได้ ข้อเสียของการตั้งกลุ่มแบบนี้คือ ไม่สามารถระดมเงินทุนได้ และ

ข้อดี คือ การบริหารงานภายในกลุ่มมีความคล่องตัวเนื่องจากสมาชิกจะบริหารงานภายในกลุ่ม

2) กลุ่มที่เป็นทางการ (Formal Group) คือ กลุ่มที่มีการจดทะเบียนตามกฎหมายไม่ว่าจะเป็นในรูปของสหกรณ์ หรือบริษัท จำกัด ข้อเสียของการจัดตั้งกลุ่มคือ การบริหารงานมีความซับซ้อนมากขึ้นและมีความล่าช้า สำหรับข้อดี คือ การระดมทุนสามารถทำได้รวดเร็ว

ปัจจัยที่กำหนดความสำเร็จของการจัดตั้งธุรกิจชุมชุมชนนั้น มีดังต่อไปนี้

1) ความเข้าใจของสมาชิก

สมาชิกจะต้องเข้าใจในความแตกต่าง ขอบเขต และข้อจำกัดของกลุ่มที่จัดตั้งขึ้น

2) ความต้องการและเป้าหมายของธุรกิจชุมชน

ซึ่งบางชุมชนอาจทำการผลิตแค่พออยู่พอกิน รูปแบบของกลุ่มอาจเป็นเพียงกลุ่มเพื่อ

การผลิต เช่น กลุ่มทำนา หรือกลุ่มเลี้ยงสัตว์ บางชุมชนอาจมีเป้าหมายคือกำไร เพื่อนำกำไร มายกระดับชีวิตความเป็นอยู่ของสมาชิกให้ดีขึ้น

3) เงินทุน

เพราะเงินทุนเป็นปัจจัยหนึ่งที่กำหนดความสำเร็จของธุรกิจชุมชน ดังนั้นการดำเนินธุรกิจชุมชนจึงควรเริ่มจากกิจกรรมเล็กไปใหญ่ ค่อยๆ สะสมเงินทุนจากชุมชนเพื่อสร้างความแข็งแกร่งให้เกิดกับธุรกิจ การรวมทุนทีละเล็กละน้อยอาจช้าเกินไป ชุมชนอาจสามารถระดมทุนในรูปของ

สหกรณ์หรือบริษัทก็ได้

4) ทรัพยากรบุคคล

ซึ่งบุคคลประเหล่านี้จะต้องมีความรู้ความสามารถ ทั้งด้านภูมิปัญญาท้องถิ่นและวิทยาการใหม่ๆ ทั้งนี้จะต้องเป็นคนที่รักงานของชุมชน ชอบงานท้าทาย มีความเสียสละ ไม่หวังผลตอบแทนมากเกินไป

5) การมีส่วนร่วมของชุมชน

เป็นสิ่งที่สำคัญที่สุดในการจัดตั้งธุรกิจชุมชน ถ้าสมาชิกไม่ร่วมมือธุรกิจชุมชนก็เกิดขึ้นไม่ได้ โดยที่สมาชิกควรมี 4 ร่วม คือ ร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ ร่วมทำ และร่วมรับผิดชอบ

ธุรกิจชุมชนเป็นแนวทางหนึ่งในการยกระดับรายได้ ชีวิตความเป็นอยู่ และคุณภาพชีวิตของชาวบ้านหรือเกษตรกรในชนบทที่เป็นคนส่วนใหญ่ของประเทศ แต่เป็นกลุ่มคนที่ยากจนที่สุดของประเทศ หากกลุ่มชาวบ้านหรือกลุ่มเกษตรกรเหล่านี้มีรายได้สูงขึ้นจะส่งผลกระทบด้านบวกต่อภาวะเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ โดยในการประกอบธุรกิจชุมชนควรมุ่งเน้นสร้างความเข้มแข็งของชุมชน ส่งเสริมให้เกิดเศรษฐกิจชุมชนแบบพึ่งตนเอง ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัตถุดิบใน

ชุมชน โดยคนในชุมชน เพื่อคนในชุมชน

น.ส. รัศมี ศรีเจริญ การจัดการทั่วไป 4/54 รหัส544407201

นางสาวราตรี เพ็งพล

ธุรกิจชุมชน หมายถึง กิจกรรมที่บุคคลหรือองค์กรในชุมชนมีส่วนเป็นเจ้าของกิจกรรมหรือช่วยดำเนินงานบางส่วนหรือทั้งหมด โดยประสานความร่วมมือกับหน่วยงานต่าง ๆ มีการเรียนรู้และจัดการร่วมกันเพื่อดำเนินการในกิจกรรมการผลิต การแปรรูป การค้า และการบริหารที่มุ่งพัฒนาเศรษฐกิจของชุมชนสอดคล้องกับสังคม วัฒนธรรม ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมของชุมชน อันนำไปสู่ความเป็นอยู่ที่ดี และการพัฒนาที่ยั่งยืน มุ่งเน้นเพื่อช่วยเหลือคนในชุมชน เช่น การทำเครื่องจักสาน หรือเครื่องปั้นดินเผา

นางสาวราตรี เพ็งพล การจัดการทั่วไป 4/54 รหัส 202

นางสาวนุชจรีย์ จันทร์ทอง

ธุรกิจชุมชน คือ กิจกรรมที่บุคคลหรือองค์กรมีส่วนร่วมในการเป็นเจ้าของกิจกรรมหรือช่วยดำเนินงานบางส่วนหรือทั้งหมดโดยประสานความร่วมมือจากหน่วยงานต่างๆมีการเรียนรู้และการจัดการร่วมกันเพื่อดำเนินการในกิจกรรมการผลิต

เป็นการรวมกันของประชาชนในท้องถิ่นเพื่อร่วมกัน ประกอบธุรกิจที่สามารถสร้างรายได้เพิ่มให้แก่ประชาชนในชุมชน หรือการสร้าง ศักยภาพที่มีอยู่ภายในชุมชนให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจ

ตัวอย่างเช่น การจัดตั้งร้านค้าชุมชน / การรวมตัวกันทำเครื่องปั้นดินเผาที่สุโขทัย / สินค้าOTOPบ้านเรือนไทยจิ๋วที่พิษณุโลกผลิตจากกลุ่มชาวบ้านหรือผู้ที่สนใจ

นางสาวนุชจรีย์ จันทร์ทอง

ธุรกิจชุมชน คือ กิจกรรมที่บุคคลหรือองค์กรมีส่วนร่วมในการเป็นเจ้าของกิจกรรมหรือช่วยดำเนินงานบางส่วนหรือทั้งหมดโดยประสานความร่วมมือจากหน่วยงานต่างๆมีการเรียนรู้และการจัดการร่วมกันเพื่อดำเนินการในกิจกรรมการผลิต

เป็นการรวมกันของประชาชนในท้องถิ่นเพื่อร่วมกัน ประกอบธุรกิจที่สามารถสร้างรายได้เพิ่มให้แก่ประชาชนในชุมชน หรือการสร้าง ศักยภาพที่มีอยู่ภายในชุมชนให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจ

ตัวอย่างเช่น การจัดตั้งร้านค้าชุมชน / การรวมตัวกันทำเครื่องปั้นดินเผาที่สุโขทัย / สินค้าOTOPบ้านเรือนไทยจิ๋วที่พิษณุโลกผลิตจากกลุ่มชาวบ้านหรือผู้ที่สนใจ

นางสาวนุชจรีย์ จันทร์ทอง การจัดการทั่วไป 4/54 รหัส 544407195

นางสาววรรณนิษา กล่อมดี

การรวมกันของประชาชนในท้องถิ่นเพื่อร่วมกัน ประกอบธุรกิจที่สามารถสร้างรายได้เพิ่มให้แก่ประชาชนในชุมชน หรือการสร้าง ศักยภาพที่มีอยู่ภายในชุมชนให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจโดยการจัดตั้งร้านค้าชุมชน

นส. ศุภลักษณ์ เขียวขุ้ย

ธุรกิจชุมชน คือ ธุรกิจที่ชาวบ้านมีส่วนร่วมเป็นเจ้าของกิจการ เป็นกิจกรรมที่บุคคลหรือองค์กรในชุมชนมีส่วนเป็นเจ้าของกิจกรรม และ/หรือช่วยดำเนินงาน โดยประสานความร่วมมือกับหน่วยงานต่าง ๆ มีการเรียนรู้ และการจัดการร่วมกัน มุ่งพัฒนาเศรษฐกิจของชุมชนได้อย่างสอดคล้องกับสังคม วัฒนธรรม ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมของชุมชน อันจะนำไปสู่ชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีและการพัฒนาที่ยั่งยืน

ยกตัวอย่าง คือในชุมชนวัดโบสถ์ค่ะ จะมีการร่วมกลุ่มของสมาชิกในหมู่บ้านมาผลิดน้ำตาลสด และผลิตภัณฑ์จากตาลสด เพื่อนำออกขายสู่ตลาดและเป็นของฝากประจำหมู่บ้าน

นายณัฐพล จอมมาลัย รหัส 524407044 การจัดการทั่วไป(กลุ่ม 1)

ธุรกิจชุมชน คือ การรวมกันของประชาชนในท้องถิ่นเพื่อร่วมกัน ประกอบธุรกิจที่สามารถสร้างรายได้เพิ่มให้แก่ประชาชนในชุมชน หรือการสร้าง ศักยภาพที่มีอยู่ภายในชุมชนให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจโดยการจัดตั้งร้านค้าชุมชน

ร้านค้าชุมชน หมายถึง ร้านค้าที่กลุ่มหรือคณะบุคคลร่วมกันทำการค้าขายในหมู่บ้านโดยชาวบ้านเป็นสมาชิกถือหุ้น มีการเลือกตั้งกรรมการ บริหารร้านค้าโดยคัดเลือกจากสมาชิกผู้ถือหุ้น และมีการปันผลกำไร (เงินปันผลจากค่าหุ้นหรือเงินปันผลคืนจากการซื้อสินค้า) ของร้านค้าคืนให้กับสมาชิก ธุรกิจชุมชนได้เเก่ การท้อผ้า การจักรสาน เป็นต้น

**นายณัฐพล จอมมาลัย รหัส 524407044 การจัดการทั่วไป(กลุ่ม 1)**

นางสาวพรพิไล สาดรุ่ง รหัส 544407198 การจัดการทั่วไป (กลุ่ม 2)

ธุรกิจชุมชน หมายถึง "กิจกรรมทางเศรษฐกิจของชุมชนอันประกอบด้วย กิจกรรมทางการผลิต กิจกรรมทางการขายผลผลิต กิจกรรมการซื้อ และการบริโภคของชุมชน" จากความหมายของธุรกิจชุมชนข้างต้นจะเห็นได้ว่าชุมชนซึ่งเป็นรากฐานของชนบทไทยจะเข้มแข็งได้นั้น ชุมชนจะต้องยืนหยัดด้วยลำแข้งของชุมชนเอง โดยอาศัยความร่วมมือหรือการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนในอันที่จะพัฒนากลุ่มธุรกิจของชุมชนที่จัดตั้งขึ้นให้มีความเจริญเติบโต ซึ่งเป็นพื้นฐานในการพัฒนาความเป็นอยู่ของประชาชนที่อยู่ในภาคชนบทให้มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นต่อไป 

สมุนไพรเพื่อสุขภาพ “กระชายดำ” เมืองภูเรือ

  นางศรีภัสสร ศรีบุรินทร์ ชาวบ้านหนองแซง ตำบลสานตม อำเภอภูเรือ จังหวัดเลย ประธานกลุ่มแม่บ้านหนองแซง ซึ่งได้จัดตั้งรวมกลุ่มกันขึ้น เพื่อแปรรูปผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ จากสมุนไพร "กระชายดำ" โดยปัจจุบันมีสมาชิกทั้งหมด 36 คน โดยทำเป็นอาชีพเสริมในหมู่บ้าน

"นางสาวพรพิไล  สาดรุ่ง รหัส 544407198 การจัดการทั่วไป กลุ่ม 2"

 

ธุรกิจชุมชน คือ การรวมกันของประชาชนในท้องถิ่นเพื่อร่วมกัน ประกอบธุรกิจที่สามารถสร้างรายได้เพิ่มให้แก่ประชาชนในชุมชน หรือการสร้าง ศักยภาพที่มีอยู่ภายในชุมชนให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจโดยการจัดตั้งร้านค้าชุมชน เช่น กล้วยแปรรูปแม่กุหลาบ กล้วยตาก นำพริกแม่กุหลาบ พริกแกงบ้านท่าเยี่ยม เป็นต้น

นางสาว วาสนา ควรชื่นใจ การจัดการทั่วไป 3/54 รหัสนักศึกษา 166

น.ส. เสาวลักษณ์ จะปิน 4/54 การจัดการทั่วไป 544407219

ธุรกิจชุมชน คือ การรวมกันของประชาชนในท้องถิ่นเพื่อร่วมกัน ประกอบธุรกิจที่สามารถสร้างรายได้เพิ่มให้แก่ประชาชนในชุมชน หรือการสร้าง ศักยภาพที่มีอยู่ภายในชุมชนให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจโดยการจัดตั้งร้านค้าชุมชน

(ยกตัวอย่าง) ร้านค้าชุมชน หมายถึง ร้านค้าที่กลุ่มหรือคณะบุคคลร่วมกันทำการค้าขายในหมู่บ้านโดยชาวบ้านเป็นสมาชิกถือหุ้น มีการเลือกตั้งกรรมการ บริหารร้านค้าโดยคัดเลือกจากสมาชิกผู้ถือหุ้น และมีการปันผลกำไร (เงินปันผลจากค่าหุ้นหรือเงินปันผลคืนจากการซื้อสินค้า) ของร้านค้าคืนให้กับสมาชิก

น.ส.เสาวลักษณ์ จะปิน การจักการทั่วไป กลุ่ม4/54 รหัส 544407219

"กิจกรรมทางเศรษฐกิจของชุมชนอันประกอบด้วย กิจกรรมทางการผลิต กิจกรรมทางการขายผลผลิต กิจกรรมการซื้อ และการบริโภคของชุมชน" จากความหมายของธุรกิจชุมชนข้างต้นจะเห็นได้ว่าชุมชนซึ่งเป็นรากฐานของชนบทไทยจะเข้มแข็งได้นั้น ชุมชนจะต้องยืนหยัดด้วยลำแข้งของชุมชนเอง โดยอาศัยความร่วมมือหรือการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนในอันที่จะพัฒนากลุ่มธุรกิจของชุมชนที่จัดตั้งขึ้นให้มีความเจริญเติบโต ซึ่งเป็นพื้นฐานในการพัฒนาความเป็นอยู่ของประชาชนที่อยู่ในภาคชนบทให้มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นต่อไป ยกตัวอย่างธุรกิจชุมชน ในตำบลบ้านหลุมค่ะ มีการร่วมกลุ่มของสมาชิกแม่บ้านในหมู่บ้านมาผลิตน้ำปลา เพื่อนำออกขายสู่ตลาด

นางสาวสิริพร ท้วมทอง รหัส 544407215 การจัดการทั่วไป กลุ่ม 4

ธุรกิจชุมชน คือ การรวมกันของประชาชนในท้องถิ่นเพื่อร่วมกัน ประกอบธุรกิจที่สามารถสร้างรายได้เพิ่มให้แก่ประชาชนในชุมชน หรือการสร้าง ศักยภาพที่มีอยู่ภายในชุมชนให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจโดยการจัดตั้งร้านค้าชุมชน

ยกตัวอย่างธุรกิจชุชนร้านค้าชุมชน หมายถึง ร้านค้าที่กลุ่มหรือคณะบุคคลร่วมกันทำการค้าขายในหมู่บ้านโดยชาวบ้านเป็นสมาชิกถือหุ้น มีการเลือกตั้งกรรมการ บริหารร้านค้าโดยคัดเลือกจากสมาชิกผู้ถือหุ้น และมีการปันผลกำไร (เงินปันผลจากค่าหุ้นหรือเงินปันผลคืนจากการซื้อสินค้า) ของร้านค้าคืนให้กับสมาชิก

นางสาวนิศาชล ทิพย์รี รหัส 544407147 การจักการทั่วไป กลุ่ม 3/54

ธุรกิจชุมชน คือ การรวมกันของประชาชนในท้องถิ่นเพื่อร่วมกัน ประกอบธุรกิจที่สามารถสร้างรายได้เพิ่มให้แก่ประชาชนในชุมชน หรือการสร้าง ศักยภาพที่มีอยู่ภายในชุมชนให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจโดยการจัดตั้งร้านค้าชุมชน

ร้านค้าชุมชน หมายถึง ร้านค้าที่กลุ่มหรือคณะบุคคลร่วมกันทำการค้าขายในหมู่บ้านโดยชาวบ้านเป็นสมาชิกถือหุ้น มีการเลือกตั้งกรรมการ บริหารร้านค้าโดยคัดเลือกจากสมาชิกผู้ถือหุ้น และมีการปันผลกำไร (เงินปันผลจากค่าหุ้นหรือเงินปันผลคืนจากการซื้อสินค้า) ของร้านค้าคืนให้กับสมาชิก

การพัฒนาธุรกิจชุมชนในความส่งเสริมของกรมพัฒนาธุรกิจการค้า คือ

1) ให้ความรู้ในการบริหารจัดการ การวางระบบบริหารจัดการ

2) ให้คำปรึกษาแนะนำ ร่วมแก้ไขปัญหา และตรวจเยี่ยมการดำเนินงานจากสำนักงานพัฒนาธุรกิจการค้าจังหวัด

3) ได้มีการพัฒนาการจัดวางสินค้าและภาพลักษณ์ของร้านค้าชุมชนเป็นร้านค้าซื้อสะดวก เพื่อให้สามารถแข่งขันกับร้านค้าปลีกต่าง ๆ รวมทั้งได้มีการจัดประกวดร้านค้าชุมชนดีเด่นระดับประเทศเพื่อเป็นขวัญและกำลังใจแก่ร้านค้า

น.ส.วรรณา จันทร รหัส 544407164 การจัดการทั่วไป กลุ่ม 3 / 54

นางสาวจิราภรณ์ นันเขียว 524407005 การจัดการทั่วไปกลุ่ม1

ธุรกิจชุมชน คือ การผลิตสินค้าที่ออกมาจากความคิดของคน 1 คน มารวมกันทำให้เกิดความต้องการสินค้าและบริการของตลาด และทางด้านการผลิตหรือการแข่งขันเพราะชุมชนแต่ละพื้นที่มีความได้เปรียบทางด้านทรัพยากรที่แตกต่างกัน นั่นคือชุมชนควรตระหนักว่า จะนำทรัพยากรของชุมชนที่มีอยู่มาผลิตสินค้าออกสู่ตลาด ประกอบธุรกิจที่สามารถสร้างรายได้เพิ่มให้แก่ประชาชนในชุมชน หรือการสร้าง ศักยภาพที่มีอยู่ภายในชุมชนให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจโดยการจัดตั้งร้านค้าชุมชนจากความพยายามพัฒนาความเป็นอยู่ของชาวบ้านในภาคอีสานให้ดีขึ้น ในด้านรายได้ ทำให้มีการส่งเสริมอาชีพเสริม ที่มักเป็นการผลิตสินค้าหัตถกรรมหรือการแปรรูปผลิตทางการเกษตร เพื่อเพิ่มมูลค่าแก่กลุ่มชาวบ้านจำนวนมาก หลายกลุ่มประสบความสำเร็จในการผลิตเป็นอย่างดีแต่กลับขายผลผลิตไม่ได้ ทำให้ไม่เกิดรายได้เป็นตัวเงินอย่างแท้จริง จึงต้องหันมาจัดการด้านการตลาดด้วยตนเอง กลายเป็นกลุ่มลักษณะใหม่ที่ถูกเรียกต่างๆ กันไป เช่นการทอผ้า การทำกล้วยตาก

ธุรกิจชุมชน คือ ธุรกิจที่ชาวบ้านมีส่วนร่วมเป็นเจ้าของกิจการ  ทั้งในลักษณะการเป็นเจ้าของเองทั้งหมด หรือบางส่วนในฐานะผู้ร่วมทุน ผู้ถือหุ้น อันจะนำไปสู่การมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดี และยั่งยืน มีลักษณะการพึ่งพาซึ่งกันและกัน และมีผลในการป้องกันการย้ายถิ่น

ตัวอย่าง เฟอร์นิเจอร์หวาย โฮมสเตย์  กระเป๋าผักตบชวา

นางสาวปุริมปรัชญ์  คำชนแดน รหัส 544407196 การจัดการทั่วไป กลุ่ม 4/54

นางสาวดวงจันทร์ สุขสำราญ

ธุรกิจชุมชน หมายถึง ธุรกิจที่เกิกจากการรวมตัวกันของคนในชุมชนอาจเป็นกิจการเล็ก ๆ ไม่ใหญ่มากแต่สามารถทำให้คนในชุมชนสามารถมีรายได้เจือจูลครอบครัวได้ ยกตัวอย่างเช่น บ้านเรือนไทยจิ้วของ ชุมชนกลุ่มแม่บ้านของหมู่ที่ 5 ตำบลอรัญญิก อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก

นางสาวดวงจันทร์  สุขสำราญ  รห้ส 544407191 การจัดการทั่วไป กลุ่ม 4

นางสาวชุติมา หอมเนียม 544407139 3/54

ธุรกิจชุมชน คือ ธุรกิจที่ชาวบ้านมีส่วนร่วมเป็นเจ้าของกิจการทั้งในลักษณะการเป็นเจ้าของเองทั้งหมด หรือบางส่วนในฐานะผู้ร่วมทุน ผู้ถือหุ้น อันจะนำไปสู่การมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น และการพัฒนาที่ยั่งยืน

นางสาวศรัญญา ภู่ระหงษ์ รหัส 544407209 การจัดการทั่วไป กลุ่ม 4

ธุรกิจชุมชน คือ กิจกรรมที่บุคคลหรือองค์กรในนชุมชนมีส่วนเป็นเจ้าของกิจกรรม หรือช่วยดำเนินงานบางส่วนหรือทั้งหมด โดยประสานความร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆ มีการเรียนรู้ และการจัดการร่วมกันเพื่อดำเนินการกิจกรรมการผลิต การแปรรูป การค้า และการบริการที่มุ่งพัฒนาเศรษฐกิจของชุมชนได้อย่างสอดคล้องกับสังคม วัฒนธรรม ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมของชุมชน อันนำไปสู่ชีวิตความเป็นอยู่ที่ดี และการพัฒนาที่ยั่งยืน

ตัวอย่าง ครีมล้างหน้าสมุนไพร วิสาหกิจชุมชนสมุนไพรตำบลบึงพระ , กล้วยตากจิราพร อำเภอบางกระทุ่ม ซึ่งเป็นการรวมกลุ่มของกลุ่มแม่่บ้านอำเภอบางกระทุ่มผลิตออกมาเพื่อจำหน่ายเป็นของฝากจังหวัดพิษณุโลก

ธุรกิจชุมชน คือ การรวมตัวกันของประชาชนในท้องถิ่นเพื่อร่วมกัน ประกอบธุรกิจที่สามารถสร้างรายได้เพิ่มให้แก่ประชาชนในชุมชน หรือการสร้าง ศักยภาพที่มีอยู่ภายในชุมชนให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจโดยการจัดตั้งร้านค้าชุมชน เพื่อสร้างรายได้ให้กับชุมชนและคนในชุมชน ให้สามารถพึ่งพาตนเองได้และสามารถนำทรัพยากรที่มีอยู่ในหมู่บ้านมาใช้ประโยชน์และแปรรูปเป็นสินค้าที่สร้างรายได้ให้กับตนเองและคนในหมู่บ้านของตนเองได้

ยกตัวอย่างเช่น

1 เครื่องสวรรคโลก ที่ จังหวัด สุโขทัย ที่ดินแถวนั้นดินสามารถนำมาใช้ในการสร้างเครื่องสวรรคโลก

2 เครื่องจักสาน ที่ พิษณุโลก

นางสาวแพรวพรรณ บางฉนวน 544407156 3/54

ธุรกิจชุมชน คือ การดำเนินกิจกรรมซึ่งส่งเสริมให้ประชาชนมีรายได้โดยพัฒนาความรู้ความสามารถของประชาชนในการบริหารและจัดการ มีลักษณะการพึ่งพาซึ่งกันและกัน และมีผลในการป้องกันการย้ายถิ่น

ตัวอย่างเช่น หมี่กรอบทรงเครื่อง ขนมทับทิมเสวย จังหวัดอุตรดิตถ์

ธุรกิจชุมชน คือ การรวมตัวกันของประชาชนในท้องถิ่นเพื่อร่วมกัน ประกอบธุรกิจที่สามารถสร้างรายได้เพิ่มให้แก่ประชาชนในชุมชน หรือการสร้าง ศักยภาพที่มีอยู่ภายในชุมชนให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจโดยการจัดตั้งร้านค้าชุมชน เพื่อสร้างรายได้ให้กับชุมชนและคนในชุมชน ให้สามารถพึ่งพาตนเองได้และสามารถนำทรัพยากรที่มีอยู่ในหมู่บ้านมาใช้ประโยชน์และแปรรูปเป็นสินค้าที่สร้างรายได้ให้กับตนเองและคนในหมู่บ้านของตนเองได้

ยกตัวอย่างเช่น

1 เครื่องสวรรคโลก ที่ จังหวัด สุโขทัย ที่ดินแถวนั้นดินสามารถนำมาใช้ในการสร้างเครื่องสวรรคโลก

2 เครื่องจักสาน ที่ พิษณุโลก

ธุรกิจชุมชน คือ การรวมตัวกันของประชาชนในท้องถิ่นเพื่อร่วมกัน ประกอบธุรกิจที่สามารถสร้างรายได้เพิ่มให้แก่ประชาชนในชุมชน หรือการสร้าง ศักยภาพที่มีอยู่ภายในชุมชนให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจโดยการจัดตั้งร้านค้าชุมชน เพื่อสร้างรายได้ให้กับชุมชนและคนในชุมชน ให้สามารถพึ่งพาตนเองได้และสามารถนำทรัพยากรที่มีอยู่ในหมู่บ้านมาใช้ประโยชน์และแปรรูปเป็นสินค้าที่สร้างรายได้ให้กับตนเองและคนในหมู่บ้านของตนเองได้

ยกตัวอย่างเช่น

1 เครื่องสวรรคโลก ที่ จังหวัด สุโขทัย ที่ดินแถวนั้นดินสามารถนำมาใช้ในการสร้างเครื่องสวรรคโลก

2 เครื่องจักสาน ที่ พิษณุโลก

ธุรกิจชุมชน คือ การรวมตัวกันของประชาชนในท้องถิ่นเพื่อร่วมกัน ประกอบธุรกิจที่สามารถสร้างรายได้เพิ่มให้แก่ประชาชนในชุมชน หรือการสร้าง ศักยภาพที่มีอยู่ภายในชุมชนให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจโดยการจัดตั้งร้านค้าชุมชน เพื่อสร้างรายได้ให้กับชุมชนและคนในชุมชน ให้สามารถพึ่งพาตนเองได้และสามารถนำทรัพยากรที่มีอยู่ในหมู่บ้านมาใช้ประโยชน์และแปรรูปเป็นสินค้าที่สร้างรายได้ให้กับตนเองและคนในหมู่บ้านของตนเองได้

ยกตัวอย่างเช่น

1 เครื่องสวรรคโลก ที่ จังหวัด สุโขทัย ที่ดินแถวนั้นดินสามารถนำมาใช้ในการสร้างเครื่องสวรรคโลก

2 เครื่องจักสาน ที่ พิษณุโลก

นาย กิตติพงศ์ แก้วทองแท้ กลุ่ม 4 / 54 เจฟฟี่คราฟฟฟ

นางสาวมนรักษ์ รอดทอง 544407159 3/54

ธุรกิจชุมชน คือ การสร้างงานสร้างอาชีพและเพิ่มรายได้ การส่งเสริมให้กลุ่ม องค์กรประชาชนและเอกชนในชุมชนดำเนินกิจกรรมด้านอาชีพ ฝึกทักาษะด้านอาชีพ และหมายรวมถึงการให้ความรู้ทางด้านการบริหารธุรกิจการตลาด การผลิต ทุน และการจัดการขั้นต้น

ตัวอย่างเช่น กรอบกระดาษใยสับปะรด กรอบรูปนาฬิกาสมุนไพร จังหวัดพิจิตร

นางสาวชุติมา หอมเนียม 544407139 3/54

ธุรกิจชุมชน คือ ธุรกิจที่ชาวบ้านมีส่วนร่วมเป็นเจ้าของกิจการทั้งในลักษณะการเป็นเจ้าของเองทั้งหมด หรือบางส่วนในฐานะผู้ร่วมทุน ผู้ถือหุ้น อันจะนำไปสู่การมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น และการพัฒนาที่ยั่งยืน

ตัวอย่างเช่น กล้วยกวน เจลสมุนไพร อำเภอพรมพิราม จังหวัดพิษณุโลก

นางสาวศรัณย์พร ศรีโสภา

ธุรกิจชุมชน หมายถึง "กิจกรรมทางเศรษฐกิจของชุมชนอันประกอบด้วย กิจกรรมทางการผลิต กิจกรรมทางการขายผลผลิต กิจกรรมการซื้อ และการบริโภคของชุมชน"จะเห็นได้ว่าชุมชนซึ่งเป็นรากฐานของชนบทไทยจะเข้มแข็งได้นั้น ชุมชนจะต้องยืนหยัดด้วยลำแข้งของชุมชนเอง โดยอาศัยความร่วมมือหรือการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนในอันที่จะพัฒนากลุ่มธุรกิจของชุมชนที่จัดตั้งขึ้นให้มีความเจริญเติบโต ซึ่งเป็นพื้นฐานในการพัฒนาความเป็นอยู่ของประชาชน

นางสาวศรัณย์พร ศรีโสภา การจัดการทั่วไปกลุ่ม 3 (544407169)

ธุรกิจชุมชน หมายถึง "กิจกรรมทางเศรษฐกิจของชุมชนอันประกอบด้วย กิจกรรมทางการผลิต กิจกรรมทางการขายผลผลิต กิจกรรมการซื้อ และการบริโภคของชุมชน"จะเห็นได้ว่าชุมชนซึ่งเป็นรากฐานของชนบทไทยจะเข้มแข็งได้นั้น ชุมชนจะต้องยืนหยัดด้วยลำแข้งของชุมชนเอง โดยอาศัยความร่วมมือหรือการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนในอันที่จะพัฒนากลุ่มธุรกิจของชุมชนที่จัดตั้งขึ้นให้มีความเจริญเติบโต ซึ่งเป็นพื้นฐานในการพัฒนาความเป็นอยู่ของประชาชน

ชุติมา หอมเนียม 3/54 137

ธุรกิจชุมชน หมายถึง "กิจกรรมทางเศรษฐกิจของชุมชนอันประกอบด้วย กิจกรรมทางการผลิต กิจกรรมทางการขายผลผลิต กิจกรรมการซื้อ และการบริโภคของชุมชน"โดยอาศัยความร่วมมือหรือการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนในอันที่จะพัฒนากลุ่มธุรกิจของชุมชนที่จัดตั้งขึ้นให้มีความเจริญเติบโต

ตัวอย่างเช่น

การทำกล้วยตาก การถักกระเป๋า การท้อเสื้อผ้า

ธุรกิจชุมชน คือ การดำเนินกิจกรรมซึ่งส่งเสริมให้ประชาชนมีรายได้โดยพัฒนาความรู้ความสามารถของประชาชนในการบริหารและจัดการ มีลักษณะการพึ่งพาซึ่งกันและกัน และมีผลในการป้องกันการย้ายถิ่น

ตัวอย่าง 1. เครื่องจักสาน ที่ พิษณุโลก

2. กล้วยตาก ที่ บางกระทุ่ม

(น.ส ศุทธินี มณีจันทร์ การจัดการทั่วไป กลุ่ม 4/54 รหัส 544407211)

ธุรกิจชุมชน คือ"กิจกรรมทางเศรษฐกิจของชุมชนอันประกอบด้วย กิจกรรมทางการผลิต กิจกรรมทางการขายผลผลิต กิจกรรมการซื้อ และการบริโภคของชุมชน"(สุพรรณีอัสวศิริเลิศและกุศลฐินะกุล.ออนไลน์.2545:7)จากความหมายของธุรกิจชุมชนข้างต้นจะเห็นได้ว่าชุมชนซึ่งเป็นรากฐานของชนบทไทยจะเข้มแข็งได้นั้น ชุมชนจะต้องยืนหยัดด้วยลำแข้งของชุมชนเอง โดยอาศัยความร่วมมือหรือการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนในอันที่จะพัฒนากลุ่มธุรกิจของชุมชนที่จัดตั้งขึ้นให้มีความเจริญเติบโต ซึ่งเป็นพื้นฐานในการพัฒนาความเป็นอยู่ของประชาชนที่อยู่ในภาคชนบทให้มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นต่อไป

ยกตัวอย่างเช่น

ชุมชนที่หมู่บ้านได้ทำมะขามแปรรูปเป็นมะขามกระป๋องจะมี2รสมีรสสามรสกับรสบ้วย

น.ส.มาริสา ชูชีพ การจัดการทั่วไป กลุ่ม 2 รหัสนักศึกษา 524407079

ธุรกิจชุมชน คือ การดำเนินกิจกรรมซึ่งส่งเสริมให้ประชาชนมีรายได้โดยพัฒนาความรู้ความสามารถของประชาชนในการบริหารและจัดการ มีลักษณะการพึ่งพาซึ่งกันและกัน และมีผลในการป้องกันการย้ายถิ่น

ตัวอย่าง เช่น กลัวยตาก ส้มโอกวน

ธุรกิจชุมชน คือ ชุมชนจะต้องยืนหยัดด้วยลำแข้งของชุมชนเอง โดยอาศัยความร่วมมือหรือการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนในอันที่จะพัฒนากลุ่มธุรกิจของชุมชนที่จัดตั้งขึ้นให้มีความเจริญเติบโต เป็นพื้นฐานในการพัฒนาความเป็นอยู่ของประชาชนที่อยู่ในภาคชนบทให้มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นต่อไป ยกตัวอย่าง ธุรกิจเฉาก๊วยชากังราว กำแพงเพชร เป็นสินค้า OTOP ของจังหวัดกำแพงเเพชร เป็นการสร้างสรรค์อาชีพเสริมเพื่อเพิ่มรายได้ให้กับตนเองและครอบครัว และก็มีหลายรายที่ประสบความสําเร็จ จนสามารถยกระดับอาชีพเสริมนั้นมาเป็นอาชีพหลักของตนเอง สุดท้ายผู้ประกอบการหลายรายก็เลือกที่จะลาออกจากอาชีพหลัก เพื่อหันมาทําอาชีพเสริมให้เป็นธุรกิจของตนเองอย่างจริงจัง ตัวอย่าง เช่น กลุ่มอาชีพทำกรงนกเขา หัตถกรรมผลิตภัณฑ์โต๊ะมุข เป็นต้น

 *นางสาวเวรุลี แจ้งสว่าง การจัดการทั่วไป กลุ่ม 4 รหัสนักศึกษา 544407208*

ธุรกิจชุมชน คือ การดำเนินกิจกรรมซึ่งส่งเสริมให้ประชาชนมีรายได้โดยพัฒนาความรู้ความสามารถของประชาชนในการบริหารและจัดการ มีลักษณะการพึ่งพาซึ่งกันและกัน และมีผลในการป้องกันการย้ายถิ่น

ตัวอย่าง เช่น กลัวยตาก ส้มโอกวน

นางสาวศศิธร สิงสถิตย์ การจัดการทั่วไป กลุ่ม 1 รหัส 524407029

นางสาววิลาวัลย์ ทองน้อย การจัดการทั่วไปกลุ่ม 1 524407028

ธุรกิจชุมชน คือ การร่วมกลุ่มกันของคนในชุมชน เพื่อประกอบธุรกิจที่คนในกลุ่มคิดกันขึ้นมา เพิ่มรายได้ให้แก่คนในชุมชนนั้นๆให้มีอาชีพมีรายได้เพิ่มขึ้น เช่น ร่มของหมู่บ้านบ่อสร้าง อ.สันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่ เริ่มแรกเดิมทีนั้น การทำร่มมีเพียงแบบเดียวคือการทำร่ม จากโครงไม้ไผ่ที่หุ้มด้วยกระดาษ ร่มประเภทดังกล่าวนี้จะนำ ไปถวายวัดในฤดูเทศกาลประเพณีต่างๆ ต่อมาการทำร่มได้มี

การขยายตัวขึ้น ชาวบ้านจึงได้ทำร่มเพื่อจำหน่ายกันทั่วไปใน ตลาด และยังได้มีการพัฒนาแบบอย่างและวิธีการให้มีมากขึ้นกระดาษที่ใช้คลุมร่มนั้น ผู้ผลิตสามารถผลิตขึ้นใช้เองจากเปลือกของต้นไม้ ชนิดหนึ่งซึ่งเรียกกันตามภาษาพื้นบ้านว่า ต้นสา หรือที่ภาคกลางเรียกกันว่า ต้นปอกระสา ต้นไม้ชนิดนี้มีอยู่ทั่วไปในภาคเหนือ หัวร่ม และตุ้มร่ม ได้แก่ไม้โมก การทำหัวและตุ้มนี้ใช้วิธีกลึงโดย เครื่องมือโบราณ ซี่กลอนและค้ำ ทำมาจากไม้ไผ่บง (ไผ่ตง ) คันถือ ทำจากไม้เนื้ออ่อน ม้า เป็นสลักที่กางร่มออกแล้วไม่ให้หุบคืน สำหรับร่มคันเล็กทำด้วยลวด สปริงร่มคันใหญ่ทำด้วยไม้ไผ่เหลา ปลอกลาน เป็นศูนย์รวมระหว่างหัวร่มคันถือและซี่ร่มทำหน้าที่เป็นตัวเคลื่อน

ขึ้น- ลงเวลากางหรือหุบทำจากใบลาน

นางสาว มินตรา โพพริก

ธุรกิจชุมชน หมายถึงการดำเนินกิจกรรมซึ่งจะช่วยส่งเสริมให้ประชาชนในชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้น มีลักษณะพึ่งพาซึ่งกันและกัน ตัวอย่งเช่น ทำส้มโอกวน บ้านไม้เรือนจิ๋ว

นางสาว มินตรา โพพริก

ธุรกิจชุมชน หมายถึงการดำเนินกิจกรรมซึ่งจะช่วยส่งเสริมให้ประชาชนในชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้น มีลักษณะพึ่งพาซึ่งกันและกัน ตัวอย่งเช่น ทำส้มโอกวน บ้านไม้เรือนจิ๋ว

นางสาว มินตรา โพพริก รหัส544407119 4/54 การจัดการทั่วไป

นางสาวอโณทัย บุญยงค์

ธรูกิจชุมชน คือ การรวมตัวของคนในชุมชนเป็นกลุ่มเกษตรกร  สหกรณ์ หรือธุรกิจขนาดเล็ก ในชนบทดำเนินการทางธุรกิจที่มุ่งพัฒนาเศรษฐกิจของชุมชน ธุรกิจชุมชนจะประกอบโดยกลุ่ม หรือองค์กรชุมชนชุมชนร่วมเป็นเจ้าของ และร่วมดำเนินกิจการตลอดจนร่วมรับผลประโยชน์จากการดำเนินงาน

อโณทัย บุญยงค์  การจัดการทั่วไป  กลุ่ม  4

544407220

ธุรกิจชุมชน คือ การรวมกันของประชาชนในท้องถิ่นเพื่อร่วมกัน ประกอบธุรกิจที่สามารถสร้างรายได้เพิ่มให้แก่ประชาชนในชุมชน หรือการสร้าง ศักยภาพที่มีอยู่ภายในชุมชนให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจโดยการจัดตั้งร้านค้าชุมชน

ตัวอย่าง ชื่อกลุ่ม วิสาหกิจชุมชน พันธกิจน้ำพริกแม่มานิต สถานที่ผลิต 205/1 หมู่ 6 ตำบลแม่ระกา อำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก วัตถุดิบในการผลิตนำมาจากในชุมชน ที่คนในชุมชนได้นำมาจำหน่าย แรงงาน กระบวนการผลิตให้แรงงานจากคนในชุมชน โดยมีการถ่านทอดภูมิปัญญาการทำน้ำพริกจากรุ่นย่า รุ่นยาย จนถึงรุ่นลูก หลาน มีการบริหารจัดการในลักษณะกลุ่ม และจดทะเบียนเป็นวิสาหกิจชุมชน การดำเนินงานมีระบบการผลิต การจำหน่าย การบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ และมีการถ่ายทอดภูปัญญาจากรุ่นสู่รุ่นอย่างต่อเนื่อง

นางสาวอนัญญา อัยโก การจัดการทั่วไป กลุ่ม 4 รหัส 544407221

นางสาวนุชจรีย์ จันทร์ทอง

ธุรกิจชุมชน หมายถึง "กิจกรรมทางเศรษฐกิจของชุมชนอันประกอบด้วย กิจกรรมทางการผลิต กิจกรรมทางการขายผลผลิต กิจกรรมการซื้อ และการบริโภคของชุมชน

จากความหมายของธุรกิจชุมชนข้างต้นจะเห็นได้ว่าชุมชนซึ่งเป็นรากฐานของชนบทไทยจะเข้มแข็งได้นั้น ชุมชนจะต้องยืนหยัดด้วยลำแข้งของชุมชนเอง โดยอาศัยความร่วมมือหรือการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนในอันที่จะพัฒนากลุ่มธุรกิจของชุมชนที่จัดตั้งขึ้นให้มีความเจริญเติบโต ซึ่งเป็นพื้นฐานในการพัฒนาความเป็นอยู่ของประชาชนที่อยู่ในภาคชนบทให้มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นต่อไป

ตัวอย่าง เช่น หมู่บ้านโฮมสเตย์บ้านจอมแจ้ง หมู่ที่ 1 ตำบลสีกาย อำเภอเมือง จังหวัดหนองคาย

เป็นหมู่บ้านขนาดกลางมีครัวเรือน 103 ครัวเรือน มีประชากร 465 คน

อาชีพหลักคือ เกษตรกรรม ได้ดำเนินธุรกิจโฮมสเตย์อย่างเป็นทางการมาตั้งแต่ปี พ.ศ.2543 จากเหตุที่มีผู้เข้ามาดูบั้งไฟพญานาคจำนวนมากจนไม่มีที่พักอาศัย ปัจจุบันได้รับการยอมรับให้เป็นต้นแบบโฮมสเตย์จังหวัดหนองคาย

และได้รับคัดเลือกให้เป็นหมู่บ้านตัวอย่าง 1 ใน 120 หมู่บ้านของประเทศ รวมไปถึงความต่อเนื่องของการจัดกิจกรรมที่ไม่กระจุกอยู่เพียงในช่วงเทศกาลบั้งไฟพญานาคหรือเทศกาลสำคัญของจังหวัด หากแต่มีการดำเนินกิจกรรมต่อเนื่องตลอดทั้งปี

ธุรกิจชุมชน เป็นแนวทางหนึ่งที่จะพลิกฟื้นชะตากรรมของชุมชนให้ดำรงตนอยู่ได้ภายใต้ความเป็นโลกาภิวัตน์ในยุคสมัยเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่เกิดการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา เป็นการปรับตัวของชุมชนในการที่จะเอาชนะจากแรงกดดันทั้งปวง

นางสาวนุชจรีย์ จันทร์ทอง การจัดการทั่วไป 4/54 รหัส 544407195

นางสาวสิริวรรณ อ่อนพรม การจัดการทั่วไปกลุ่ม1 รหัส 524407035

ธุรกิจชุมชน คือ การรวมกันของประชาชนในท้องถิ่นเพื่อร่วมกัน ประกอบธุรกิจที่สามารถสร้างรายได้เพิ่มให้แก่ประชาชนในชุมชน หรือการสร้าง ศักยภาพที่มีอยู่ภายในชุมชนให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจโดยการจัดตั้งร้านค้าชุมชน

โครงสร้างการบริหารงานร้านค้าชุมชน ประกอบด้วย

3.1 สมาชิกผู้ถือหุ้น สมาชิกผู้ถือหุ้นของร้านค้าชุมชนจะสิทธิมีส่วนร่วมในการบริหารงาน โดยมีสิทธิในการเลือกตั้งกรรมการเพื่อมาบริหารร้านค้าแทนสมาชิก และร่วมกันกำหนดระเบียบ หลักเกณฑ์ของร้านค้า เพื่อใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงานของคณะกรรมการ ในขณะเดียวกันสมาชิกต้องให้ความ ร่วมมือในการซื้อสินค้า

3.2 คณะกรรมการ จะมีจำนวนประมาณ 7 - 10 คน โดยคัดเลือกให้ดำรงตำแหน่ง ประธาน รองประธาน คณะกรรมการจัดซื้อ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบัญชี คณะกรรมการฝ่ายการเงิน ซึ่งคณะกรรมการ จะต้องเป็นผู้ที่มีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์สุจริตและมีความเสียสละ

3.3 ผู้จัดการร้านค้า จะคัดเลือกจากคณะกรรมการ เพื่อทำหน้าที่บริหารจัดการ ควบคุมดูแลร้านค้า เช่น การขายสินค้า การซื้อสินค้าเข้าร้าน ฯลฯ โดยการดำเนินการ ทั้งหมดจะต้องอยู่ภายใต้ความเห็นชอบของคณะกรรมการ

การคัดเลือกและการจัดตั้งร้านค้าชุมชน

ในการส่งเสริมจัดตั้งร้านค้าชุมชน จะต้องพิจารณาจากความพร้อมและความ ประสงค์ของสมาชิกในชุมชนเป็นหลัก ทั้งนี้ หากไม่ได้รับความร่วมมือจากสมาชิก เช่น การไม่เข้ามาช่วยในการบริหารงานของร้าน การไม่ซื้อสินค้าจากร้านค้าฯลฯ การดำเนินงานของร้านค้าก็ไม่สามารถดำเนินงานต่อไปได้

จากการดำเนินการที่ผ่านมามีข้อสังเกต คือ การจัดตั้งร้านค้าชุมชนในหมู่บ้านที่อยู่ห่างไกลหรือการคมนาคมไม่สะดวกจะได้เปรียบและประสบความสำเร็จ มากกว่าร้านค้าที่อยู่ใกล้ตัวเมืองและมีการคมนาคมสะดวก ดังนั้น ในการคัดเลือกและส่งเสริมจัดตั้งร้านค้าชุมชนให้ประสบความสำเร็จได้ จะต้องพิจารณา ดังนี้

1) สมาชิกในชุมชน มีความพร้อมและประสงค์จะจัดตั้งร้านค้า

2) เป็นหมู่บ้านที่อยู่ห่างไกลหรือการคมนาคมไม่สะดวก

3) สมาชิกต้องให้ความร่วมมือในการบริหารงานและการซื้อสินค้าจากร้านค้า

4) กรรมการบริหารร้านค้ามีความเสียสละซื่อสัตย์สุจริตและมีความโปร่งใสในการบริหาร

5) ร้านค้ามีการขายสินค้าเป็นเงินสด หรือมีการขายสินค้าเป็นเงินเชื่อในปริมาณน้อย

นางสาวสิริวรรณ อ่อนพรม การจัดการทั่วไปกลุ่ม1 รหัส 524407035

นางสาวอุบลรัตน์ คุยสี

ธุรกิจชุมชน คือ การรวมกันของประชาชนในท้องถิ่นเพื่อร่วมกัน ประกอบธุรกิจที่สามารถสร้างรายได้เพิ่มให้แก่ประชาชนในชุมชน หรือการสร้าง ศักยภาพที่มีอยู่ภายในชุมชนให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจโดยการจัดตั้งร้านค้าชุมชน

ตัวอย่างเช่น สมุนไพรเพื่อสุขภาพ "กระชายดำ" เมืองภูเรือ

ผ้าทอนาหมื่นศรี อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง

นางสาวอุบลรัตน์ คุยสี การจัดการทั่วไป กลุ่ม 2 รหัส 544407176

ธรูกิจชุมชน คือ การรวมตัวของคนในชุมชนเป็นกลุ่มเกษตรกร สหกรณ์ หรือธุรกิจขนาดเล็ก ในชนบทดำเนินการทางธุรกิจที่มุ่งพัฒนาเศรษฐกิจของชุมชน ธุรกิจชุมชนจะประกอบโดยกลุ่ม หรือองค์กรชุมชนชุมชนร่วมเป็นเจ้าของ และร่วมดำเนินกิจการตลอดจนร่วมรับผลประโยชน์จากการดำเนินงาน

นางสาวชัญญพัชร์ ชัยกุล รหัส 544407188 การจัดการทั่วไป 54/4

นาย ณัฐพล ตั้งใจ การจัดการทั่วไป ก.1 524407045

ธุรกิจชุมชน คือ "กิจกรรมทางเศรษฐกิจของชุมชนอันประกอบด้วย กิจกรรมทางการผลิต กิจกรรมทางการขายผลผลิต กิจกรรมการซื้อ และการบริโภคของชุมชน"(สุพรรณีอัสวศิริเลิศและกุศลฐินะกุล.ออนไลน์.2545:7)จากความหมายของธุรกิจชุมชนข้างต้นจะเห็นได้ว่าชุมชนซึ่งเป็นรากฐานของชนบทไทยจะเข้มแข็งได้นั้น ชุมชนจะต้องยืนหยัดด้วยลำแข้งของชุมชนเอง โดยอาศัยความร่วมมือหรือการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนในอันที่จะพัฒนากลุ่มธุรกิจของชุมชนที่จัดตั้งขึ้นให้มีความเจริญเติบโต ซึ่งเป็นพื้นฐานในการพัฒนาความเป็นอยู่ของประชาชนที่อยู่ในภาคชนบทให้มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นต่อไป

เช่น การะบูล กล้วยตาก เป้นต้น

นางสาวพิศิพร ทัศนา การจัดการทั่วไป กลุ่ม 1 524407014

ธุรกิจชุมชน คือ การรวมกันของคนในท้องถิ่นเพื่อร่วมกัน ประกอบธุรกิจที่สามารถสร้างรายได้เพิ่มให้แก่คนในชุมชน หรือการสร้าง ศักยภาพที่มีอยู่ภายในชุมชนให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจโดยการจัดตั้งร้านค้าชุมชน

ตัวอย่างเช่น การทำกระดาษสา ต.บ้านแยง อ.นครไทย

นางสาวพิศิพร ทัศนา การจัดการทั่วไปกลุ่ม 1 524407014

นางสาวมุกมณี โรจนทรัพย์กุล

ธุรกิจชุมชน คือ กิจกรรมที่คนในชุมชนมีส่วนร่วม  ร่วมกันเรียนรู้  และร่วมมือกันดำเนินกิจกรรมต่างๆ  ในการผลิต  การแปรรูป สินค้าต่างๆ  และมุ่งพัฒนาเศรษฐกิจของชุมชนอันนำไปสู้ความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ของคนในชุมชน

เช่น การทำกล้วยตาก ของอำเภอบางกระทุ่ม  การทำบ้านเรือนไทยจิ๋ม ของ จังหวัดพิษณุโลก  ค่ะ

นางสาวมุกมณี  โรจนทรัพย์กุล

การจัดการทั่วไป 4/54  กลุ่ม 4 ห้อง 2

รหัสนักศึกษา 544407200

จิราภรณ์ อ่อนสำอางค์

ธุรกิจชุมชน คือ การร่วมกลุ่มกันของคนในชุมชน เพื่อประกอบธุรกิจที่คนในกลุ่มคิดกันขึ้นมา เพิ่มรายได้ให้แก่คนในชุมชนนั้นๆให้มีอาชีพมีรายได้เพิ่มขึ้น เช่น ส้มโอกวน งานทอผ้า เป็นต้น

นางสาวจิราภรณ์ อ่อนสำอางค์ รหัส 544407136 ห้อง 3/54

นายธันยพงศ์ เพ็งสุวรรณ์ การจัดการทั่วไปกลุ่ม2 รหัส 524407102

ธุรกิจชุมชน

ธุรกิจเป็นเครื่องมือที่จะทำให้ระบบทุนหมุนเวียนได้โดยให้ความสำคัญกับผู้บริโภค และมีจุดมุ่งหมายที่จะทำกำไรการที่ธุรกิจเป็นเช่นนี้จึงเป็นส่วนที่ดีที่จะทำให้ทุนหมุนเวียนตามระบบทุนที่จำเป็น เพราะถ้าไม่มีการหมุนเวียนทุน จะส่งผลต่อการพัฒนาทั้งระบบ เพราะทุนเป็นเรื่องของทรัพยากรที่มีจำกัดแต่มีผู้ที่ต้องการจะเข้าถึงเป็นจำนวนมาก ดังนั้นระบบทุนจึงทำให้เกิดการกระจายไหลเวียนไปถึงคนทั้งหมดได้ แต่ในความเป็นจริงแล้วกลับไม่ได้เป็นเช่นนั้น เพราะธุรกิจกลายเป็นเรื่องของกลุ่มคนที่มีอำนาจ และไม่ได้ปล่อยให้ระบบทุนเป็นไปตามที่ควรจะเป็น แต่กลับใช้โอกาสใช้เงื่อนไขต่างๆ ให้ได้ประโยชน์จากระบบนั้นๆ เพื่อให้เกิดกำไรมาก การเริ่มต้นทำธุรกิจโดยต้องการกำไรมาก จึงเป็นการสร้างความขัดแย้งกับคนที่อยู่ด้วยกันในชุมชนหนึ่งๆ เมื่อมีคนกลุ่มหนึ่งๆ ได้กำไรมากขึ้น คนอีกลุ่มหนึ่งก็กลายเป็นคนที่ขาดทุน เพราะกำไรกับขาดทุนเป็นเรื่องที่ต้องเกิดขึ้นด้วยกัน เมื่อเป็นเช่นนี้ระบบทุนที่จะทำให้ทุกคนได้มีโอกาสใช้ทรัพยากรมันก็เริ่มไม่จริง คนที่เสียโอกาสหรือคนที่ขาดทุน ก็จะเริ่มไม่ชอบใจ ดังนั้นการเป็นชุมชนของคนก็เสียไป ความรักใคร่ ความเห็นใจกัน ความคิดที่จะช่วยเหลือกันก็จะหมดลงไป เพราะทุกคนคิดแต่จะแสวงหากำไร นี่คือ ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในสังคมของเราในขณะนี้

อย่างไรก็ตามเราก็คงไม่สามารถปฏิเสธได้ว่าธุรกิจนั้นก็ยังเป็นทางเลือกที่ดีที่สุดในขณะนี้ ด้วยเหตุผลว่าทุกวันนี้เรามีทรัพยากรจำกัด แต่เรามีจำนวนประชากรเพิ่มมากขึ้น เรามีปัญหาที่ทำให้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างกระจัดกระจายนั้นถูกจำกัดน้อยลงไปหมด เพราะธรรมชาติเองก็เริ่มไม่เอื้ออำนวยต่อชีวิตความเป็นอยู่ของเราเหมือนเคย จึงทำให้คำว่าธุรกิจกลายเป็นความจำเป็น แต่ธุรกิจที่แบ่งแยกคนและทำให้คนไม่เป็นมิตรกันนั้นเป็นอันตราย เพราะในชุมชนที่เป็นเกษตรกร มีการปลูกข้าว ปลูกพืชไรต่างๆ ถึงแม้จะขาดทุนขนาดไหนก็ไม่เดือดร้อน เพราะอยู่กับสภาพแวดล้อมที่มีอาหารกิน แต่ในขณะนี้กลับกลายเป็นว่า เกษตรกรมีปัญหาเรื่องการขายซึ่งขาดทุน เนื่องจากเราต้องไปพึ่งพาปัจจัยในการดำรงชีพ หรือการยังชีพทั้งหมดจากภายนอก ทำให้คนเริ่มมีปัญหารุนแรงขึ้น ประกอบกับธุรกิจต้องการกำไรก็ทำให้คนมีความเป็นพวกกันน้อยลง หรือไม่มีพวกในชุมชน

การที่จะทำให้ระบบธุรกิจกลายเป็นเครื่องมือในการจัดการทรัพยากร หรือเป็นเครื่องมือในการพัฒนานทุนให้ดำรงอยู่และคลี่คลายปัญหาของชุมชนไปได้นั้น ทุนจำเป็นต้องมีเพียงระบบเดียว จากที่เป็นธุรกิจที่มุ่งกำไรในเรื่องของบุคคลจะต้องเปลี่ยนมาเป็นธุรกิจที่มีความร่วมมือกันของคนในชุมชนซึ่งเราเรียกว่าเป็น "ธุรกิจชุมชน" ถ้าเราทำให้ธุรกิจชุมชนเกิดขึ้นได้ กำไรที่เกิดขึ้นจากการทำธุรกิจ ก็จะสามารถแบ่งปันและกระจายไปในชุมชนได้ ทำให้คนที่อยู่ด้วยกันในชุมชนลดความขัดแย้งกัน นอกจากจะต้องให้ความเป็นธรรมกับการกระจายทรัพยากร คือ กระจายกำไรที่เกิดจากทรัพยากรในท้องถิ่นให้ทั่วถึงแล้ว เราก็ต้องกลับไปให้ความสำคัญกับเรื่องอุตสาหกรรม การแปรรูปผลิตผลต่างๆ ที่มาจากท้องถิ่นให้มากขึ้นด้วย และทำต่อเนื่องด้วยระบบการจัดการที่เป็นเรื่องของตลาด การทำธุรกิจร่วมกันของตนในชุมชนก็จะสามารถคลี่คลายและแก้ไขปัญหาที่ขัดแย้งกันได้ เรื่องธุรกิจชุมชนจึงเป็นเรื่องการเรียนรู้ที่สำคัญ และเป็นเรื่องการจัดการที่จำเป็น เพราะการเรียนรู้ คือ รู้เรื่องการบริหารที่จะนำไปสู่การจัดการที่ทำให้เกิดกำไรดี แล้วนำมาแบ่งปันกันในชุมชน เพื่อจะทำให้คนลดความขัดแยงกัน ส่วนเรื่องการจัดการนั้น ก็จะทำให้เราสามารถคัดเลือกผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นจากการแปรรูปในท้องถิ่น ให้สอดคล้องกับสภาพท้องถิ่น และนำไปสู่การรวมตัวกันหรือร่วมมือกันเพื่อการจำหน่าย ซึ่งจะนำไปสู่การสร้างกำไรโดยรวมได้

สิ่งเหล่านี้เป็นเรื่องสำคัญในสถานการณ์นี้ เนื่องจากถ้าเราได้มีการร่วมมือกัน และทำให้เกิดระบบธุรกิจเช่นนี้ขึ้นมาได้ เราก็จะสามารถสร้างระบบเครือข่ายเชื่อมโยงกันเพราะแน่นอนว่าชุมชนที่ธุรกิจขึ้นมาและเจริญเติบโตได้วัตถุดิบภายในท้องถิ่นก็จะมีจำกัดลง แต่สิ่งสำคัญก็คือจะต้องเริ่มสร้างเครือข่ายระหว่างชุมชนกับชุมชน ชุมชนที่มีความพร้อมก็อาจจะต้องเข้าสู่การทำธุรกิจเช่นเดียวกัน การทำธุรกิจนั้นเริ่มจากการทำให้เกิดการจำหน่ายผลิตภัณฑ์หรือผลผลิตของชุมชนให้กับกลุ่มที่เป็นเครือข่ายสำหรับการนำไปแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ก็เกิดเป็นกระบวนการเชื่อมโยงกันใหม่ชุมชนที่ขายวัตถุดิบก็ไม่ขัดแย้งกับชุมชนที่ขายผลิตภัณฑ์เพราะเป็นเครือข่ายที่สามารถเชื่อมโยงจากพื้นฐานวิธีคิดอันเดียวกัน เรื่องนี้เป็นเรื่องเร่งด่วนที่ต้องทำให้เกิดขึ้น เพราะจะกลายเป็นการพัฒนาที่ทำให้ชุมชนพึ่งตนเองได้ และลดความรุนแรงในการขัดแย้งระหว่างชุมชน นอกจากนี้ก็ยังสามารถส่งออกผลผลิตที่เกิดจากท้องถิ่นผ่านกระบวนการแปรรูปในท้องถิ่นและนำไปสู่การจำหน่ายผลิตภัณฑ์ได้มากยิ่งขึ้น โดยกระบวนการความร่วมมือกันของชุมชน

สังคมไทยเรามีเงื่อนไขในการอยู่ร่วมกัน ช่วยเหลือกันมานาน เรามีวัฒนธรรมที่เป็นบุญประเพณี เป็นเทศกาลต่างๆ ที่คนจะต้องไปร่วมมือกัน ต้องเรียนรู้สิ่งต่างๆ ด้วยกันแก้ปัญหาด้วยกัน แต่เวลา 30-40 ปีที่ผานมา เราไปเน้นเรื่องการผลิตและเรื่องการจำหน่าย ไม่คิดหาทางแก้ไขปัญหาด้วยกัน ดังนั้นสิ่งแรกที่เกษตรกรจำเป็นต้องทำก็คือ เริ่มสร้างความเข้าใจให้คนได้เข้าสู่การใช้เงื่อนไขการ่วมมือกันทำงาน เช่น ร่วมมือกันแปรรูปที่เรียกว่าอุตสาหกรรมชุมชน ร่วมมือกันทำการตลาดโดยที่เราเรียกว่า ระบบรวมกลุ่มหรือหลักสหกรณ์มากขึ้น เพราะสิ่งเหล่านี้จะเป็นเครื่องมือที่ทำให้คนได้เรียนรู้เรื่องการร่วมมือกันเครื่องมือชิ้นหนึ่งที่ผมใช้ในการเริ่มต้นรวมกลุ่มคนก็คือ กิจกรรม ซึ่งจะนำไปสู่การทำร่วมกันเรื่อยๆ และพวกเขา ก็จะพบว่ามีคนที่มีปัญหาเช่นเดียวกับพวกเขาอีกมากมายหลายคน นำไปสู่การรวมเฉพาะกลุ่มปัญหา นี่คือ การฝึกให้คนได้เข้ามาร่วมมือกัน ก็จะทำให้คนเป็นพวกกันมากขึ้น

ดังนั้น เกษตรกรทั้งหลายคงยังไม่ต้องคิดไปถึงการแข่งขันกับโลกภายนอกที่เราพูดถึงในอนาคต แต่สิ่งที่เราต้องคิดในปัจจุบันก็คือ จะสร้างผลิตภัณฑ์ชนิดใดในพื้นที่ของตนเอง เพื่อจะลดการนำเข้า เพราะมีสินค้ามากมายที่ชุมชนจะต้องพึ่งพาจากภายนอก เช่น หนึ่งหมู่บ้าน มี 150 ครอบครัว ซึ่งต้องใช้น้ำปลาครอบครัวละ 4 ขวด คือ 600 ขวดต่อเดือน ก็ต้องเริ่มคิดว่าถ้าทำน้ำปลากินเอง ก็ไม่มีความจำเป็นต้องซื้ออีก และยังจะช่วยให้ปลอดภัยจากปัญหาสารเคมีที่เจือปนมาด้วย เมื่อคิดจะทำน้ำปลา ก็ต้องคิดถึงการลงทุนและต้องหาวิธีการจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ เมื่อน้ำปลาที่ผลิตออกมากลายเป็นสิ่งที่ได้ประโยชน์ ก็จะเริ่มขยายผลสู่ชุมชนข้างเคียง ขณะนี้เรามีบางหมู่บ้านที่ต้องทำน้ำปลา 7,000-8,000 ขวด เพื่อให้เพียงพอกับความต้องการ เพราะฉะนั้นชาวบ้านก็จะเริ่มเรียนรู้ไป ซึ่งการเรียนรู้เป็นเรื่องสำคัญเพราะถ้าเรียนรู้ที่จะผลิตเพื่อลดการนำเข้าแล้ว การลดการนำเข้านั้นก็ยังช่วยให้ส่งออกได้อีกด้วย ดังนั้น การคิดจากปัญหาผลกระทบจากสิ่งของใช้สอยประจำวัน ก็จะช่วยให้แก้ปัญหาได้เร็วมากยิ่งขึ้น

ผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม

เกษตรกรชุมชนห้วยหิน ต.ลาดกระทิง อ.สนามชัยเขต จ.ฉะเชิงเทรา

ธุรกิจชุมชน คือ อะไร

ธุรกิจ ชุมชน หมายถึง "กิจกรรมทางเศรษฐกิจของชุมชนอันประกอบด้วย กิจกรรมทางการผลิต กิจกรรมทางการขายผลผลิต กิจกรรมการซื้อ และการบริโภคของชุมชน"(สุพรรณีอัสวศิริเลิศและกุศลฐินะกุล.ออนไลน์.2545:7) จากความหมายของธุรกิจชุมชนข้างต้นจะเห็นได้ว่าชุมชนซึ่งเป็นรากฐานของชนบท ไทยจะเข้มแข็งได้นั้น ชุมชนจะต้องยืนหยัดด้วยลำแข้งของชุมชนเอง โดยอาศัยความร่วมมือหรือการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนในอันที่จะพัฒนากลุ่ม ธุรกิจของชุมชนที่จัดตั้งขึ้นให้มีความเจริญเติบโต ซึ่งเป็นพื้นฐานในการพัฒนาความเป็นอยู่ของประชาชนที่อยู่ในภาคชนบทให้มี ชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นต่อไป

ดังนั้นขั้นตอนการดำเนินงานของกลุ่มธุรกิจชุมชนที่จะนำไปสู่การประสบความสำเร็จได้นั้น ควรมีขั้นตอนที่สำคัญดังต่อไปนี้

1. ค้นหาความต้องการของตลาด ธุรกิจ ชุมชนจะต้องทราบถึง ความต้องการสินค้าและบริการของตลาด ความได้เปรียบทางด้านการผลิตหรือการแข่งขันเพราะชุมชนแต่ละพื้นที่มีความได้ เปรียบทางด้านทรัพยากรที่แตกต่างกัน นั่นคือชุมชนควรตระหนักว่า จะนำทรัพยากรของชุมชนที่มีอยู่มาผลิตสินค้าอะไร

ซึ่งในทางเศรษฐศาสตร์ ปัญหาดังกล่าวนี้จะเรียกว่าปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจที่ว่า ผลิตอะไร (What)

2. เลือกวิธีการผลิตที่เหมาะสม ธุรกิจชุมชนต้องทราบว่าผู้ที่จะลงมือผลิตมีใครบ้าง และผู้ที่เกี่ยวข้องกับการผลิตมีใครบ้าง จึงควรให้ผู้ที่มีความสามารถนี้เป็นผู้ลงมือผลิต ให้คำแนะนำในการผลิต ให้มีการระดมสมองของคนเหล่านี้ และยังสามารถพึ่งพาผู้ที่เกี่ยวข้องกับการผลิต เช่น หน่วยงานราชการ สถาบันวิชาการต่างๆ นอกจากนี้ในการผลิตที่เหมาะสมของธุรกิจจะต้องคำนึงถึง ปัจจัยการผลิต อันประกอบด้วย ที่ดิน(Land) แรงงาน (Labor) ทุนที่ใช้ในการดำเนินงาน (Capital) และ ผู้ประกอบการ (Entrepreneur) ซึ่งในทางเศรษฐศาสตร์ ปัญหานี้จะเรียกว่าปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจที่ว่า

ผลิตอย่างไร (How)

3. ใครคือกลุ่มเป้าหมาย ธุรกิจชุมชนจะต้องทราบว่าควรขายสินค้าให้กับใคร และลูกค้าจะซื้อสินค้าของเราได้อย่างไร ซึ่งลูกค้าอาจแบ่งเป็น ลูกค้าท้องถิ่น และลูกค้านอกท้องถิ่น ซึ่งขึ้นอยู่กับตัวสินค้าและความต้องการสินค้าจะเป็นตัวกำหนดว่า ลูกค้าเป็นใคร เช่น กรณีผ้าทอเกาะยอ ลูกค้าเป็นคนนอกท้องถิ่น กรณีปั๊มน้ำมัน ลูกค้าจะเป็นคนในท้องถิ่น สำหรับการเข้าถึงลูกค้านั้น สามารถแบ่งลูกค้าออกเป็นอีก 2 ประเภท ประกอบด้วย ลูกค้าปลีก คือ ลูกค้ารายย่อยที่ซื้อสินค้าเพื่อนำไปบริโภคเอง

และลูกค้าส่ง คือ ลูกค้าที่ซื้อสินค้าในปริมาณมากเพื่อนำไปขายต่อ ซึ่งในทางเศรษฐศาสตร์ ปัญหานี้จะเรียกว่าปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจที่ว่า ผลิตเพื่อใคร (For whom)

4. กำหนดรูปแบบที่เหมาะสม รูปแบบที่เหมาะสมของธุรกิจชุมชน แบ่งเป็น 1) กลุ่มที่ไม่เป็นทางการ(Informal Group) คือ ไม่มีการจดทะเบียนตามกรอบกฎหมายใดๆ มีความเป็นอิสระในการดำเนินงาน แต่ไม่สามารถทำนิติกรรมในนามของกลุ่มได้ ข้อเสียของการตั้งกลุ่มแบบนี้คือ ไม่สามารถระดมเงินทุนได้ และ

ข้อดี คือ การบริหารงานภายในกลุ่มมีความคล่องตัวเนื่องจากสมาชิกจะบริหารงานภายในกลุ่ม

2) กลุ่มที่เป็นทางการ (Formal Group) คือ กลุ่มที่มีการจดทะเบียนตามกฎหมายไม่ว่าจะเป็นในรูปของสหกรณ์ หรือบริษัท จำกัด ข้อเสียของการจัดตั้งกลุ่มคือ การบริหารงานมีความซับซ้อนมากขึ้นและมีความล่าช้า สำหรับข้อดี คือ การระดมทุนสามารถทำได้รวดเร็ว

ปัจจัยที่กำหนดความสำเร็จของการจัดตั้งธุรกิจชุมชุมชนนั้น มีดังต่อไปนี้

1) ความเข้าใจของสมาชิก

สมาชิกจะต้องเข้าใจในความแตกต่าง ขอบเขต และข้อจำกัดของกลุ่มที่จัดตั้งขึ้น

2) ความต้องการและเป้าหมายของธุรกิจชุมชน

ซึ่งบางชุมชนอาจทำการผลิตแค่พออยู่พอกิน รูปแบบของกลุ่มอาจเป็นเพียงกลุ่มเพื่อ

การผลิต เช่น กลุ่มทำนา หรือกลุ่มเลี้ยงสัตว์ บางชุมชนอาจมีเป้าหมายคือกำไร เพื่อนำกำไร มายกระดับชีวิตความเป็นอยู่ของสมาชิกให้ดีขึ้น

3) เงินทุน

เพราะเงินทุนเป็นปัจจัยหนึ่งที่กำหนดความสำเร็จ ของธุรกิจชุมชน ดังนั้นการดำเนินธุรกิจชุมชนจึงควรเริ่มจากกิจกรรมเล็กไปใหญ่ ค่อยๆสะสมเงินทุนจากชุมชนเพื่อสร้างความแข็งแกร่งให้ เกิดกับธุรกิจ การรวมทุนทีละเล็กละน้อยอาจช้าเกินไป ชุมชนอาจสามารถระดมทุนในรูปของสหกรณ์หรือบริษัทก็ได้

4) ทรัพยากรบุคคล

ซึ่งบุคคลประเหล่านี้จะต้องมีความรู้ความสามารถ ทั้งด้านภูมิปัญญาท้องถิ่นและวิทยาการใหม่ๆ ทั้งนี้จะต้องเป็นคนที่รักงานของชุมชน ชอบงานท้าทาย มีความเสียสละไม่หวังผลตอบแทนมากเกินไป

5) การมีส่วนร่วมของชุมชน เป็นสิ่งที่สำคัญที่สุดในการจัดตั้งธุรกิจชุมชน ถ้าสมาชิกไม่ร่วมมือธุรกิจชุมชนก็เกิดขึ้นไม่ได้ โดยที่สมาชิกควรมี 4 ร่วม คือ ร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ ร่วมทำและร่วมรับผิดชอบ

ธุรกิจชุมชนเป็นแนวทางหนึ่งในการยกระดับรายได้ ชีวิตความเป็นอยู่ และคุณภาพชีวิตของชาวบ้านหรือเกษตรกรในชนบทที่เป็นคนส่วนใหญ่ของประเทศ แต่เป็นกลุ่มคนที่ยากจนที่สุดของประเทศ หากกลุ่มชาวบ้านหรือกลุ่มเกษตรกรเหล่านี้มีรายได้สูงขึ้นจะส่งผลกระทบด้าน บวกต่อภาวะเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ โดยในการประกอบธุรกิจชุมชนควรมุ่งเน้นสร้างความเข้มแข็งของชุมชน ส่งเสริมให้เกิดเศรษฐกิจชุมชนแบบพึ่งตนเอง ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัตถุดิบใน

ชุมชน โดยคนในชุมชน เพื่อคนในชุมชน

สมุนไพรเพื่อสุขภาพ "กระชายดำ" เมืองภูเรือ

นางศรีภัสสร ศรีบุรินทร์ ชาวบ้านหนองแซง ตำบลสานตม อำเภอภูเรือ จังหวัดเลย ประธานกลุ่มแม่บ้านหนองแซง ซึ่งได้จัดตั้งรวมกลุ่มกันขึ้น เพื่อแปรรูปผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ จากสมุนไพร "กระชายดำ" โดยปัจจุบันมีสมาชิกทั้งหมด 36 คน โดยทำเป็นอาชีพเสริมในหมู่บ้าน

จากในอดีต ชาวบ้านหนองแซงทำไร่ทำนาเป็นอาชีพหลัก ชีวิตความเป็นอยู่ไม่ดีนัก มีหนี้สินเรื่อยมาจนกระทั่งปัจจุบัน จึงคิดหาวิธีการหารายได้เสริมจากการทำนา จึงได้รวมกลุ่มกันขึ้น ทำการแปรรูปผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ จากสมุนไพร "กระชายดำ" โดยเริ่มดำเนินการประมาณปี พ.ศ. 2543 โดยเริ่มแรกนั้นได้รับเงินทุนจากงบมิยาซาวาแพลน ประมาณ 150,000 บาท จึงทำกันเรื่อยมา จนได้รับความสนใจและเป็นที่ยอมรับ จึงมีหลายหน่วยงานเข้ามาให้การสนับสนุน อาทิเช่น กรมการศึกษานอกโรงเรียน กรมพัฒนาชุมขน เกษตรจังหวัด เป็นต้น

ทำให้กลุ่มแม่บ้านหนองแซงมีอาชีพเสริม ที่ทำให้เกิดรายได้เฉลี่ยแล้วประมาณ 3,000 - 5,000 บาท ต่อคนต่อเดือน จึงทำให้ความเป็นอยู่ของชาวบ้านในละแวกนี้ดีขึ้น ไม่เป็นหนี้เป็นสินอีกต่อไป ทั้งยังสามารถมีเงินฝากที่ธนาคารกัน

นางสาวเรขา อาจองค์ การจัดการทั่วไปกลุ่ม 1 รหัส 524407023

ธุรกิจชุมชน

ความหมาย

ธุรกิจชุมชน คือ การรวมกันของประชาชนในท้องถิ่นเพื่อร่วมกัน ประกอบธุรกิจที่สามารถสร้างรายได้เพิ่มให้แก่ประชาชนในชุมชน หรือการสร้าง ศักยภาพที่มีอยู่ภายในชุมชนให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจโดยการจัดตั้งร้านค้าชุมชน

ร้านค้าชุมชน หมายถึง ร้านค้าที่กลุ่มหรือคณะบุคคลร่วมกันทำการค้าขายในหมู่บ้านโดยชาวบ้านเป็นสมาชิกถือหุ้น มีการเลือกตั้งกรรมการ บริหารร้านค้าโดยคัดเลือกจากสมาชิกผู้ถือหุ้น และมีการปันผลกำไร (เงินปันผลจากค่าหุ้นหรือเงินปันผลคืนจากการซื้อสินค้า) ของร้านค้าคืนให้กับสมาชิก

ความเป็นมาของร้านค้าชุมชน

จากการที่รัฐบาลมีนโยบายการกระจายรายได้และความเจริญไปสู่ภูมิภาค เพื่อมิให้เกิดการกระจุกตัวในส่วนกลาง ซึ่งทำให้ประชาชนในชนบทส่วนใหญ่มีปัญหาในการถูกเอารัดเอาเปรียบในการหาซื้อสินค้าอุปโภคบริโภคที่จำเป็นต่อการดำรงชีพและไม่ได้รับความเป็นธรรมในการขายผลผลิต รวมทั้งขาดความรู้ ประสบการณ์ และขาดอำนาจต่อรองทางการค้าตลอดจนมองไม่เห็นโอกาสและช่องทางที่จะนำภูมิปัญญาของตนเองมาพัฒนาในเชิงธุรกิจ ประกอบกับเกิดผลกระทบจากวิกฤติเศรษฐกิจของประเทศทำให้ประชากรมีรายได้ลดลงจึงจำเป็นที่หน่วยงานของภาครัฐจะประสานร่วมมือกันในการเสริมสร้างประสิทธิภาพ การดำเนินกิจกรรมให้แก่ชุมชนและกลุ่มอาชีพ

จากนโยบายกระทรวงพาณิชย์ได้ดำเนินการสนับสนุนการรวมกลุ่มของ ประชาชนเพื่อจัดตั้งร้านค้าชุมชนในชนบทที่อยู่ห่างไกลให้สามารถซื้อสินค้าอุปโภคบริโภคในราคาที่เป็นธรรมและเพิ่มอำนาจในการต่อรองทางการค้า รวมทั้งสามารถใช้ร้านค้าชุมชนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ภายใต้การบริหารของกลุ่มคนในชุมชนและภาครัฐเป็นผู้ให้การสนับสนุนด้านเงินทุน และวิชาการด้านการบริหารจัดการ การบัญชี

โครงสร้างการบริหารงานร้านค้าชุมชน ประกอบด้วย

3.1 สมาชิกผู้ถือหุ้น สมาชิกผู้ถือหุ้นของร้านค้าชุมชนจะสิทธิมีส่วนร่วมในการบริหารงาน โดยมีสิทธิในการเลือกตั้งกรรมการเพื่อมาบริหารร้านค้าแทนสมาชิก และร่วมกันกำหนดระเบียบ หลักเกณฑ์ของร้านค้า เพื่อใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงานของคณะกรรมการ ในขณะเดียวกันสมาชิกต้องให้ความ ร่วมมือในการซื้อสินค้า

3.2 คณะกรรมการ จะมีจำนวนประมาณ 7 - 10 คน โดยคัดเลือกให้ดำรงตำแหน่ง ประธาน รองประธาน คณะกรรมการจัดซื้อ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบัญชี คณะกรรมการฝ่ายการเงิน ซึ่งคณะกรรมการ จะต้องเป็นผู้ที่มีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์สุจริตและมีความเสียสละ

3.3 ผู้จัดการร้านค้า จะคัดเลือกจากคณะกรรมการ เพื่อทำหน้าที่บริหารจัดการ ควบคุมดูแลร้านค้า เช่น การขายสินค้า การซื้อสินค้าเข้าร้าน ฯลฯ โดยการดำเนินการ ทั้งหมดจะต้องอยู่ภายใต้ความเห็นชอบของคณะกรรมการ

การคัดเลือกและการจัดตั้งร้านค้าชุมชน

ในการส่งเสริมจัดตั้งร้านค้าชุมชน จะต้องพิจารณาจากความพร้อมและความ ประสงค์ของสมาชิกในชุมชนเป็นหลัก ทั้งนี้ หากไม่ได้รับความร่วมมือจากสมาชิก เช่น การไม่เข้ามาช่วยในการบริหารงานของร้าน การไม่ซื้อสินค้าจากร้านค้าฯลฯ การดำเนินงานของร้านค้าก็ไม่สามารถดำเนินงานต่อไปได้

จากการดำเนินการที่ผ่านมามีข้อสังเกต คือ การจัดตั้งร้านค้าชุมชนในหมู่บ้านที่อยู่ห่างไกลหรือการคมนาคมไม่สะดวกจะได้เปรียบและประสบความสำเร็จ มากกว่าร้านค้าที่อยู่ใกล้ตัวเมืองและมีการคมนาคมสะดวก ดังนั้น ในการคัดเลือกและส่งเสริมจัดตั้งร้านค้าชุมชนให้ประสบความสำเร็จได้ จะต้องพิจารณา ดังนี้

1) สมาชิกในชุมชน มีความพร้อมและประสงค์จะจัดตั้งร้านค้า

2) เป็นหมู่บ้านที่อยู่ห่างไกลหรือการคมนาคมไม่สะดวก

3) สมาชิกต้องให้ความร่วมมือในการบริหารงานและการซื้อสินค้าจากร้านค้า

4) กรรมการบริหารร้านค้ามีความเสียสละซื่อสัตย์สุจริตและมีความโปร่งใสในการบริหาร

5) ร้านค้ามีการขายสินค้าเป็นเงินสด หรือมีการขายสินค้าเป็นเงินเชื่อในปริมาณน้อย

การจัดหาสถานที่ในการจัดตั้งร้านค้าชุมชน

การจัดหาสถานที่สำหรับการจัดตั้งร้านค้าชุมชน ควรเป็นแหล่งชุมชน และมีการสัญจรผ่านไปมาของสมาชิกร้านค้าและประชาชนในชุมชน ซึ่งสถานที่ใช้ในกรณีที่เป็นสาธารณะหรือที่ส่วนบุคคลจะต้องมีหลักฐานยินยอมให้ใช้ประโยชน์จากผู้มีอำนาจในการอนุญาตใช้สถานที่

5.ปัญหาของร้านค้า ปัจจุบันสภาพแวดล้อมทางสังคมและเศรษฐกิจเปลี่ยนแปลงไป ทำให้พฤติกรรมของประชาชนเปลี่ยนแปลงการคมนาคมระหว่างพื้นที่สะดวก การประกอบธุรกิจขยายตัวในทุกระดับพื้นที่ การแข่งขันทางการค้าเพิ่มขึ้น ทำให้ความจำเป็นในการจัดตั้งร้านค้าชุมชนลดลงปัจจุบันกรมฯ จะมุ่งเน้นพัฒนาร้านค้าที่มีอยู่ให้เข้มแข็งสามารถอยู่ได้อย่างยั่งยืน สำหรับเงินทุนรายใหม่ จะเป็นหมู่บ้านที่มีความจำเป็นทางเศรษฐกิจและที่จังหวัดที่เห็นสมควร

ร้านค้าชุมชนที่ได้รับการส่งเสริมจากกรมพัฒนาธุรกิจการค้าตั้งแต่ปี 2530-2548 และยังคงดำเนินการอยู่จำนวน 456 ร้านค้า (ประกอบด้วยทุนครั้งแรก 428 ร้านค้า และ ทุนขั้นพัฒนา 28 ร้านค้า ) ในพื้นที่ 67 จังหวัด

การพัฒนาธุรกิจชุมชนในความส่งเสริมของกรมพัฒนาธุรกิจการค้า คือ

1) ให้ความรู้ในการบริหารจัดการ การวางระบบบริหารจัดการ

2) ให้คำปรึกษาแนะนำ ร่วมแก้ไขปัญหา และตรวจเยี่ยมการดำเนินงานจากสำนักงานพัฒนาธุรกิจการค้าจังหวัด

3) ได้มีการพัฒนาการจัดวางสินค้าและภาพลักษณ์ของร้านค้าชุมชนเป็นร้านค้าซื้อสะดวก เพื่อให้สามารถแข่งขันกับร้านค้าปลีกต่าง ๆ รวมทั้งได้มีการจัดประกวดร้านค้าชุมชนดีเด่นระดับประเทศเพื่อเป็นขวัญและกำลังใจแก่ร้านค้า

ธุรกิจชุมชน คือ การรวมกันของประชาชนในท้องถิ่นเพื่อร่วมกัน ประกอบธุรกิจที่สามารถสร้างรายได้เพิ่มให้แก่ประชาชนในชุมชน หรือการสร้าง ศักยภาพที่มีอยู่ภายในชุมชนให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจโดยการจัดตั้งร้านค้าชุมชน

ตัวอย่างเช่น กล้วยตาก ของ อ.บางกระทุ่ม

นายอมรพันธ์ วงศ์วิเศษ การจัดการ3/54 รหัส 179

ธุรกิจชุมชน หมายถึง "กิจกรรมทางเศรษฐกิจของชุมชนอันประกอบด้วย กิจกรรมทางการผลิต กิจกรรมทางการขายผลผลิต กิจกรรมการซื้อ และการบริโภคของชุมชน" จากความหมายของธุรกิจชุมชนข้างต้นจะเห็นได้ว่าชุมชนซึ่งเป็นรากฐานของชนบทไทยจะเข้มแข็งได้นั้น ชุมชนจะต้องยืนหยัดด้วยลำแข้งของชุมชนเอง โดยอาศัยความร่วมมือหรือการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนในอันที่จะพัฒนากลุ่มธุรกิจของชุมชนที่จัดตั้งขึ้นให้มีความเจริญเติบโต ซึ่งเป็นพื้นฐานในการพัฒนาความเป็นอยู่ของประชาชนที่อยู่ในภาคชนบทให้มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นต่อไป

เครื่องจักสานพนัสนิคม มีการทำมาตั้งแต่สมัยบรรพบุรุษ โดยจะใช้ไม้ไผ่จักสานเป็นรูปแบบต่าง ๆ ที่แตกต่างกันไปในแต่ละชุมชน เช่น บ้านบุ่งคล้าและบ้านเรือนใหญ่ นิยมสานตะแกรง กะโล่และกระบุง บ้านหนองบึก นิยมสานกระบุงและตะกร้า บ้านนางู นิยมสานตะกร้อจิ๋วและตะแกรงช้อนปลา บ้านศรีวิชัย นิยมสาน หมวก ปิ่นปักผม บ้านหน้าพระธาตุ นิยมสาน ฝาชีดอกพิกุล กุ้งและกบ บ้านคลองหลวง ตำบลไร่หลักทอง นิยมสาน กระจาด ตะกร้า บ้านวัดหลวง วัดโบสถ์ นิยมสาน ตะกร้าจิ๋วหลายแบบ บ้านสระสี่เหลี่ยม นิยมสาน ตะกร้าทางมะพร้าว บ้านหัวถนน นิยมสาน กระบุง สุ่ม ไซ และรอบ เป็นต้น

ความหลากหลายและความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรการท่องเที่ยวของจังหวัดชลบุรี

(นางสาวนพรัตน์ กองดี) เอกวิชาการจัดการทั่วไป ห้อง 4 รหัส 544407193

นางสวงดวงดาว อ่ำดี

ธุรกิจชุมชน หมายถึง "กิจกรรมทางเศรษฐกิจของชุมชนอันประกอบด้วย กิจกรรมทางการผลิต กิจกรรมทางการขายผลผลิต กิจกรรมการซื้อ และการบริโภคของชุมชน"(สุพรรณีอัสวศิริเลิศและกุศลฐินะกุล.ออนไลน์.2545:7)จากความหมายของธุรกิจชุมชนข้างต้นจะเห็นได้ว่าชุมชนซึ่งเป็นรากฐานของชนบทไทยจะเข้มแข็งได้นั้น ชุมชนจะต้องยืนหยัดด้วยลำแข้งของชุมชนเอง โดยอาศัยความร่วมมือหรือการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนในอันที่จะพัฒนากลุ่มธุรกิจของชุมชนที่จัดตั้งขึ้นให้มีความเจริญเติบโต ซึ่งเป็นพื้นฐานในการพัฒนาความเป็นอยู่ของประชาชนที่อยู่ในภาคชนบทให้มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นต่อไป

นางสาวดวงดาว อ่ำดี การจัดการทั่วไป กลุ่ม 4 รหัส 544407192

นางสาวขนิษฐา พรมราช การจัดการทั่วไป กลุ่มที่4 รหัส 544407231

ความหมาย

ธุรกิจชุมชน คือ การรวมกันของประชาชนในท้องถิ่นเพื่อร่วมกัน ประกอบธุรกิจที่สามารถสร้างรายได้เพิ่มให้แก่ประชาชนในชุมชน หรือการสร้าง ศักยภาพที่มีอยู่ภายในชุมชนให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจโดยการจัดตั้งร้านค้าชุมชน

ร้านค้าชุมชน หมายถึง ร้านค้าที่กลุ่มหรือคณะบุคคลร่วมกันทำการค้าขายในหมู่บ้านโดยชาวบ้านเป็นสมาชิกถือหุ้น มีการเลือกตั้งกรรมการ บริหารร้านค้าโดยคัดเลือกจากสมาชิกผู้ถือหุ้น และมีการปันผลกำไร (เงินปันผลจากค่าหุ้นหรือเงินปันผลคืนจากการซื้อสินค้า) ของร้านค้าคืนให้กับสมาชิก

ความเป็นมาของร้านค้าชุมชน

จากการที่รัฐบาลมีนโยบายการกระจายรายได้และความเจริญไปสู่ภูมิภาค เพื่อมิให้เกิดการกระจุกตัวในส่วนกลาง ซึ่งทำให้ประชาชนในชนบทส่วนใหญ่มีปัญหาในการถูกเอารัดเอาเปรียบในการหาซื้อสินค้าอุปโภคบริโภคที่จำเป็นต่อการดำรงชีพและไม่ได้รับความเป็นธรรมในการขายผลผลิต รวมทั้งขาดความรู้ ประสบการณ์ และขาดอำนาจต่อรองทางการค้าตลอดจนมองไม่เห็นโอกาสและช่องทางที่จะนำภูมิปัญญาของตนเองมาพัฒนาในเชิงธุรกิจ ประกอบกับเกิดผลกระทบจากวิกฤติเศรษฐกิจของประเทศทำให้ประชากรมีรายได้ลดลงจึงจำเป็นที่หน่วยงานของภาครัฐจะประสานร่วมมือกันในการเสริมสร้างประสิทธิภาพ การดำเนินกิจกรรมให้แก่ชุมชนและกลุ่มอาชีพ

จากนโยบายกระทรวงพาณิชย์ได้ดำเนินการสนับสนุนการรวมกลุ่มของ ประชาชนเพื่อจัดตั้งร้านค้าชุมชนในชนบทที่อยู่ห่างไกลให้สามารถซื้อสินค้าอุปโภคบริโภคในราคาที่เป็นธรรมและเพิ่มอำนาจในการต่อรองทางการค้า รวมทั้งสามารถใช้ร้านค้าชุมชนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ภายใต้การบริหารของกลุ่มคนในชุมชนและภาครัฐเป็นผู้ให้การสนับสนุนด้านเงินทุน และวิชาการด้านการบริหารจัดการ การบัญชี

กานต์ธีรา บุญช่วยสุขรหัส 54407180 กลุ่ม 4 การจัดการทั่วไป

ธุรกิจชุมชน คือ อะไร

ธุรกิจชุมชน หมายถึง "กิจกรรมทางเศรษฐกิจของชุมชนอันประกอบด้วย กิจกรรมทางการผลิต กิจกรรมทางการขายผลผลิต กิจกรรมการซื้อ และการบริโภคของชุมชน"(สุพรรณีอัสวศิริเลิศและกุศลฐินะกุล.ออนไลน์.2545:7)จากความหมายของธุรกิจชุมชนข้างต้นจะเห็นได้ว่าชุมชนซึ่งเป็นรากฐานของชนบทไทยจะเข้มแข็งได้นั้น ชุมชนจะต้องยืนหยัดด้วยลำแข้งของชุมชนเอง โดยอาศัยความร่วมมือหรือการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนในอันที่จะพัฒนากลุ่มธุรกิจของชุมชนที่จัดตั้งขึ้นให้มีความเจริญเติบโต ซึ่งเป็นพื้นฐานในการพัฒนาความเป็นอยู่ของประชาชนที่อยู่ในภาคชนบทให้มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นต่อไป

ต่อจากข้อความอันแรกนะครับอาจารย์

ตัวอย่าง

เช่น การทำธุรกิจโรงสีข้าว ทอผ้า แปรรูปสมุนไพร เป็นต้น และได้มีการปรับปรุงผลผลิตและเน้นการจัดจำหน่ายมากขึ้น ซึ่งอาชีพส่วนใหญ่นั้นจะเป็นอาชีพที่ชาวบ้านทำกันมาดังเดิม

นางสาวปัทมา บุญโพธิ์ รหัส 544407150 การจัดการทั่วไป กลุ่ม 3

ธุรกิจชุมชน หมายถึง "กิจกรรมทางเศรษฐกิจของชุมชนอันประกอบด้วย กิจกรรมทางการผลิต กิจกรรมทางการขายผลผลิต กิจกรรมการซื้อ และการบริโภคของชุมชน"(สุพรรณีอัสวศิริเลิศและกุศลฐินะกุล.ออนไลน์.2545:7)จากความหมายของธุรกิจชุมชนข้างต้นจะเห็นได้ว่าชุมชนซึ่งเป็นรากฐานของชนบทไทยจะเข้มแข็งได้นั้น ชุมชนจะต้องยืนหยัดด้วยลำแข้งของชุมชนเอง โดยอาศัยความร่วมมือหรือการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนในอันที่จะพัฒนากลุ่มธุรกิจของชุมชนที่จัดตั้งขึ้นให้มีความเจริญเติบโต ซึ่งเป็นพื้นฐานในการพัฒนาความเป็นอยู่ของประชาชนที่อยู่ในภาคชนบทให้มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นต่อไป

ดังนั้นขั้นตอนการดำเนินงานของกลุ่มธุรกิจชุมชนที่จะนำไปสู่การประสบความสำเร็จได้นั้น ควรมีขั้นตอนที่สำคัญดังต่อไปนี้

1. ค้นหาความต้องการของตลาด

ธุรกิจชุมชนจะต้องทราบถึง ความต้องการสินค้าและบริการของตลาด ความได้เปรียบทางด้านการผลิตหรือการแข่งขันเพราะชุมชนแต่ละพื้นที่มีความได้เปรียบทางด้านทรัพยากรที่แตกต่างกัน นั่นคือชุมชนควรตระหนักว่า จะนำทรัพยากรของชุมชนที่มีอยู่มาผลิตสินค้าอะไร

ซึ่งในทางเศรษฐศาสตร์ ปัญหาดังกล่าวนี้จะเรียกว่าปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจที่ว่า ผลิตอะไร (What)

2. เลือกวิธีการผลิตที่เหมาะสม

ธุรกิจชุมชนต้องทราบว่าผู้ที่จะลงมือผลิตมีใครบ้าง และผู้ที่เกี่ยวข้องกับการผลิตมีใครบ้าง จึงควรให้ผู้ที่มีความสามารถนี้เป็นผู้ลงมือผลิต ให้คำแนะนำในการผลิต ให้มีการระดมสมองของคนเหล่านี้ และยังสามารถพึ่งพาผู้ที่เกี่ยวข้องกับการผลิต เช่น หน่วยงานราชการ สถาบันวิชาการต่างๆ นอกจากนี้ในการผลิตที่เหมาะสมของธุรกิจจะต้องคำนึงถึง ปัจจัยการผลิต อันประกอบด้วย

ที่ดิน(Land) แรงงาน (Labor) ทุนที่ใช้ในการดำเนินงาน (Capital) และ ผู้ประกอบการ (Entrepreneur) ซึ่งในทางเศรษฐศาสตร์ ปัญหานี้จะเรียกว่าปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจที่ว่า

ผลิตอย่างไร (How)

3. ใครคือกลุ่มเป้าหมาย

ธุรกิจชุมชนจะต้องทราบว่าควรขายสินค้าให้กับใคร และลูกค้าจะซื้อสินค้าของเราได้อย่างไร ซึ่งลูกค้าอาจแบ่งเป็น ลูกค้าท้องถิ่น และลูกค้านอกท้องถิ่น ซึ่งขึ้นอยู่กับตัวสินค้าและความต้องการสินค้าจะเป็นตัวกำหนดว่า ลูกค้าเป็นใคร เช่น กรณีผ้าทอเกาะยอ ลูกค้าเป็นคนนอกท้องถิ่น กรณีปั๊มน้ำมัน ลูกค้าจะเป็นคนในท้องถิ่น สำหรับการเข้าถึงลูกค้านั้น สามารถแบ่งลูกค้าออกเป็นอีก 2 ประเภท ประกอบด้วย ลูกค้าปลีก คือ ลูกค้ารายย่อยที่ซื้อสินค้าเพื่อนำไปบริโภคเอง

และลูกค้าส่ง คือ ลูกค้าที่ซื้อสินค้าในปริมาณมากเพื่อนำไปขายต่อ ซึ่งในทางเศรษฐศาสตร์ ปัญหานี้จะเรียกว่าปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจที่ว่า ผลิตเพื่อใคร (For whom)

4. กำหนดรูปแบบที่เหมาะสม

รูปแบบที่เหมาะสมของธุรกิจชุมชน แบ่งเป็น 1) กลุ่มที่ไม่เป็นทางการ(Informal Group) คือ ไม่มีการจดทะเบียนตามกรอบกฎหมายใดๆ มีความเป็นอิสระในการดำเนินงาน แต่ไม่สามารถทำนิติกรรมในนามของกลุ่มได้ ข้อเสียของการตั้งกลุ่มแบบนี้คือ ไม่สามารถระดมเงินทุนได้ และ

ข้อดี คือ การบริหารงานภายในกลุ่มมีความคล่องตัวเนื่องจากสมาชิกจะบริหารงานภายในกลุ่ม

2) กลุ่มที่เป็นทางการ (Formal Group) คือ กลุ่มที่มีการจดทะเบียนตามกฎหมายไม่ว่าจะเป็นในรูปของสหกรณ์ หรือบริษัท จำกัด ข้อเสียของการจัดตั้งกลุ่มคือ การบริหารงานมีความซับซ้อนมากขึ้นและมีความล่าช้า สำหรับข้อดี คือ การระดมทุนสามารถทำได้รวดเร็ว

นางสาวชไมพร พรมตา การจัดการทั่วไป กลุ่ม 3/54 รหัส 544407137

ธุรกิจชุมชน หมายถึง "กิจกรรมทางเศรษฐกิจของชุมชนอันประกอบด้วย กิจกรรมทางการผลิต กิจกรรมทางการขายผลผลิต กิจกรรมการซื้อ และการบริโภคของชุมชน"(สุพรรณีอัสวศิริเลิศและกุศลฐินะกุล.ออนไลน์.2545:7)จากความหมายของธุรกิจชุมชนข้างต้นจะเห็นได้ว่าชุมชนซึ่งเป็นรากฐานของชนบทไทยจะเข้มแข็งได้นั้น ชุมชนจะต้องยืนหยัดด้วยลำแข้งของชุมชนเอง โดยอาศัยความร่วมมือหรือการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนในอันที่จะพัฒนากลุ่มธุรกิจของชุมชนที่จัดตั้งขึ้นให้มีความเจริญเติบโต ซึ่งเป็นพื้นฐานในการพัฒนาความเป็นอยู่ของประชาชนที่อยู่ในภาคชนบทให้มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นต่อไป

ตัวอย่าง

หมู่บ้านโฮมสเตย์บ้านจอมแจ้ง หมู่ที่ 1 ตำบลสีกาย อำเภอเมือง จังหวัดหนองคาย

สิ่งที่ทำให้ธุรกิจชุมชนโฮมสเตย์ประสบความสำเร็จ

1) ทุนทางธรรมชาติ ซึ่งแม่น้ำโขงได้ทำให้เกิดปรากฏการณ์บั้งไฟพญานาคโดยในปี พ.ศ.2542 บ้านจอมแจ้งมีลูกไฟขึ้นมากกว่า 400 ลูก มีนักท่องเที่ยวจำนวนมากถามหาที่พัก ชาวบ้านจึงปรึกษาหารือกันจัดตั้งโฮมสเตย์ขึ้นมา

2) ทุนทางสังคมและวัฒนธรรม เป็นการนำเอาวัฒนธรรมพื้นบ้านเข้ามาช่วยในการดึงดูดลูกค้า โดยเฉพาะวิถีชีวิตแบบพื้นบ้านที่เป็นเสน่ห์เฉพาะ วิถีชีวิตลุ่มน้ำโขง การทำนา ความยิ้มแย้ม แจ่มใส ความเป็นกันเอง การแสดงพื้นบ้าน อาหารพื้นบ้าน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมที่บริการแก่ผู้เข้าพัก

3) ผู้นำ ซึ่งมีบทบาทสำคัญยิ่งต่อการจุดประกาย การเติมเต็มสนับสนุนซึ่งกันและกัน การประสานงานเชื่อมร้อยคนในชุมชนเข้าด้วยกัน เป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน สร้างความสามัคคี สร้างความเชื่อมั่น กระตุ้นให้เกิดการดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง การสร้างความไว้วางใจ เป็นแบบอย่าง และสร้างความเชื่อมั่น โดยผู้นำเข้าร่วมเป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมกลุ่มโดยตลอด

4) การมีส่วนร่วม ซึ่งทุกคนในหมู่บ้านมีส่วนร่วมในกิจกรรมไม่ว่าจะเป็นการเข้าร่วมแบบรายบุคคล ในรายกิจกรรมที่ว่างเว้นจากงานปกติ เช่น นักเรียน ผู้สูงอายุ เป็นต้น หรือการมีส่วนร่วมในฐานะกลุ่ม เช่น กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มทอผ้า กลุ่มออมทรัพย์ เป็นต้น หรือการมีส่วนร่วมในฐานะสถาบันทางสังคมในชุมชน เช่น วัด โรงเรียน เป็นต้น

5) การสนับสนุนของหน่วยงานภาครัฐ โดยเฉพาะการเข้ามาใช้บริการของหน่วยงานภาครัฐที่กระตุ้นให้กิจกรรมโฮมสเตย์ดำเนินมาอย่างต่อเนื่อง รวมถึงการสนับสนุนในด้านอื่นๆ เช่น การประชาสัมพันธ์ เงินทุนหมุนเวียน เป็นต้น

6) การสร้างเครือข่าย เป็นการเชื่อมโยงกับเครือข่ายทั้งภายในหมู่บ้าน เช่น เครือข่ายกลุ่มแม่บ้าน กลุ่มเยาวชน กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มออมทรัพย์ และภายนอก เช่น เครือข่ายหมู่บ้านโฮมสเตย์ เครือข่ายกับหน่วยงานภาครัฐ ทั้งในรูปเครือข่ายการผลิต และเครือข่ายการเรียนรู้

7) การสร้างข้อตกลงร่วมกัน เพื่อใช้เป็นบทบัญญัติร่วมกันในการประพฤติ ปฏิบัติ และปฏิสัมพันธ์ระหว่างกัน เช่น ห้ามทะเลาะวิวาท ห้ามยุ่งเกี่ยวยาเสพติด ห้ามยิงปืนหรือจุดประทัด ห้ามส่งเสียงดัง เป็นต้น รวมถึงข้อตกลงในการจัดสรรผลประโยชน์ที่เกิดขึ้นจากการทำธุรกิจชุมชน เช่น การแบ่งผลกำไร การปันผล เป็นต้น ซึ่งข้อตกลงคนในชุมชนร่วมกันตั้งขึ้น ทำให้ทุกคนยอมรับและปฏิบัติตาม

8) การกระจายรายได้ เป็นการกระจายผลประโยชน์ไปสู่กลุ่มคนต่างๆ ในหมู่บ้านอย่างทั่วถึง ทุกคนมีงานทำ มีรายได้มีความพึงพอใจ โดยไม่กระจุกตัวอยู่เฉพาะกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง ซึ่งรายได้ที่เกิดขึ้นล้วนเป็นของสมาชิกและของคนในชุมชนทุกคน

9) ความโปร่งใส โดยเฉพาะอย่างยิ่งการจัดทำระบบบัญชีรายรับ-รายจ่ายของกลุ่ม ซึ่งสมาชิกมีส่วนร่วม รับรู้ รับทราบ ตรวจสอบได้ ภายใต้ข้อตกลงที่กลุ่มตั้งขึ้น มีการลงเวลาปฏิบัติงานเพื่อจ่ายค่าตอบแทนตามที่ตกลงไว้ ตามที่สมาชิกเห็นสมควร ไม่เอารัดเอาเปรียบกัน ยุติธรรม

10) มีกิจกรรมต่อเนื่อง เป็นความต่อเนื่องทั้งในรูปของกิจกรรมที่นำเสนอต่อผู้เข้าพักกระตุ้นให้ผู้เข้าพักรู้สึกอยากเรียนรู้ตลอดเวลา ตื่นเต้น น่าสัมผัส ไม่รู้สึกเบื่อหน่าย

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท