การจัดการเชิงกลยุทธ์


การจัดการเชิงกลยุทธ์

 การจัดการเชิงกลยุทธ์

 

 

 

1. หลักพื้นฐานเกี่ยวกับการวางแผนในสถานภาพและบริบทต่างๆ

1.1

สถานภาพของการวางแผนในกระบวนการบริหารและความสัมพันธ์กับภารกิจการบริหารอื่นๆ

1.2

นิยาม ความหมาย และแนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการวางแผนและองค์ประกอบหรือแง่มุมต่างๆของการวางแผน

1.3

และ
สถานภาพของทฤษฎีการวางแผน

1.4

สถานภาพของการวางแผนในระบบเศรษฐกิจต่างๆ

เอกสารอ่านประกอบ

1. Weihrich and Koontz,

The Function of Planning and Its Contribution to Purpose

and Objectives

2. Weihrich and Koontz,

The Primacy of Planning

3. Weihrich and Koontz,

The Pervasiveness of Planning

4. Weihrich and Koontz,

The Efficiency of Plans

5.

กฤช เพิ่มทันจิตต์ แนวความคิดเกี่ยวกับการวางแผนและองค์ประกอบต่างๆของแผน

6.

7.

ลักษณะและส่วนประกอบของแผน

8. Friedman,

J. The Terrain of Planning Theory

รอ

3

2. แนวความคิดและทฤษฎีการวางแผน

. 640 การจัดการเชิงกลยุทธ์ คณะรัฐประศาสนศาสตร์MPPM ภาคปกติ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ประจำภาคการศึกษา 1/2549 ระหว่างวันที่ 5 มิถุนายน - 6 ตุลาคม 2549

2.1

วิวัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการวางแผน กับแนวคิดและทฤษฎีการบริหารและการจัดการ

2.2

ทฤษฎีการวางแผนแบบกระบวนวิธีการ (Procedural Planning Theory) และทฤษฎีการวางแผนแบบเนื้อหา (Substantive Planning Theory)

2.3

สองศตวรรษของทฤษฎีการวางแผน

2.4

ปัญหาและคำถามบางประการในทฤษฎีการวางแผนเอกสารอ่านประกอบ

1. Friedmann, J. and Hudson, B.

Knowledge and Action: A Guide to Planning Theory

2. Friedmann, J.

Two Centuries of Planning Theory: An Overview

3. Faludi, A.

Three Paradigms of Planning Theory

3. การกำหนดจุดมุ่งหมายขององค์การ การวางแผนและแผน

(Establishing Organizational

Goals, Planning and Plan)

Goals, Planning and Plan)

3.1

หลักพื้นฐานและองค์ประกอบหลักสำหรับการวางแผนองค์การ

3.2

กระบวนการวางแผนองค์การและขั้นตอนในการวางแผน

3.3

ธรรมชาติหรือลักษณะของจุดมุ่งหมายขององค์การ และความสัมพันธ์ของจุดมุ่งหมายกับแผน

3.4

การเชื่อมโยงจุดมุ่งหมายกับแผนในการวางแผนองค์การ

3.5

กระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ์และการแปลงกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติและการควบคุม

เอกสารอ่านประกอบ

1. Bovee, C. L. and Thill, J. V.

Organizational Goals and Planning

2. Bartol, K. M. and Martin, D. C.

Establishing Organizational Goals and Pla ns

3. Weihrich, H and Koontz, H

a) The Nature and Purpose of Planning and Plans

b) Objectives

c) Strategies, Policies, and Planning Premises

4

4. การวางแผนพัฒนา

4.1

องค์ประกอบของการบริหารการพัฒนา

4.2

ความหมายและความสำคัญของการพัฒนา

4.3

หลักการในการพัฒนาประเทศ

4.4

4.5

ภารกิจของการวางแผนพัฒนาประเทศในทัศนะของ Bryant and Whiteกระบวนการวางแผนพัฒนาตามทัศนะตะวันตก

4.6

การวางแผนระบบตลาดและบทบาทของรัฐ

4.7

การวางแผนนโยบายกับการวางแผนพัฒนาประเทศไทยตามทัศนะไทย

4.8

การวางแผนพัฒนาและแผนพัฒนาในประเทศไทย

เอกสารอ่านประกอบ

1. Bryant, C. and White, L. G.

Development Planning and Its Management

2. Conyers, D. and Hills, P.

Organization and Planning

3.

กฤช เพิ่มทันจิตต์ พัฒนาการกลยุทธ์การพัฒนาภายใต้แนวความคิดความจำเป็นพื้นฐาน

4.

กฤช เพิ่มทันจิตต์ สถานภาพ ปัญหา และทิศทางของรัฐประศาสนศาสตร์ในกระบวนการ

บริหารการพัฒนาในบริบทสากลและในประเทศไทย

5. Todaro, M. P.

Economic Development

5. สรุปความเข้าใจ วิจารณ์ และสังเคราะห์ทฤษฎีและการปฏิบัติเกี่ยวกับการวางแผน

(Thesis, Antithesis, and Synthesis of Theories and Practices in Planning)

5.1 Thesis:

สรุปความเข้าใจในทฤษฎีและการปฏิบัติเกี่ยวกับการวางแผน

5.2 Antithesis

5.3 Synthesis

ศาสตราจารย์กฤษ เพิ่มทันจิต

ประจำภาคการศึกษา 1/2549 ระหว่างวันที่ 5 มิถุนายน - 6 ตุลาคม 2549
รอ. 640 การจัดการเชิงกลยุทธ์ คณะรัฐประศาสนศาสตร์MPPM ภาคปกติ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
อนันต์ เกตุวงศ์ แนวความคิดทั่วไปเกี่ยวกับการวางแผนอนันต์ เกตุวงศ์

ชั้นภูมิและสถานภาพของการวางแผนในบริบทต่างๆ (The terrain of planning theory)
หมายเลขบันทึก: 453813เขียนเมื่อ 14 สิงหาคม 2011 15:08 น. ()แก้ไขเมื่อ 19 มิถุนายน 2012 22:34 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท