จริยธรรมในการฎิบัติงาน


สำนึกรู้

ด้วยที่ได้ปฎิบัติหน้าที่หลายตำแหน่ง ระยะเวลายาวนาน พบปัญหาอุสรรคนานับปการ การแก้ปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้นทำให้เราได้เรียนรู้ ปรับปรุงแก้ไข สถานที่ต่างกัน สังคมต่างกัน บุคคลต่างกัน เวลาต่างกัน วิธีแก้ต่างกัน

      จริยธรรมในการปฎิบัติงาน หมายถึง ระบบการทำความดีละเว้นกระทำชั่ว ในเรื่องเกี่ยวกับความรับผิดชอบของผู้ปฏิบัติงาน เกี่ยวกับสถานการณ์การทำงาน ผลงาน ตลอดจนผู้ได้รับประโยชน์และโทษ การทำงานราชการเป็ที่นการทำงานเพื่อประชาชนและปรวนเทศชาติ มากกว่าที่มีผลต่อตนเองและพวกพ้อง ตนเองได้รับประโยชน์จากการปฏิบัติหน้าที่ ทำหน้าที่เพื่อหน้าที่มีผลกระทบต่อสังคม เป็นการลงทุนที่ไม่มีกำไรโดยตรงต่อผู้ทำงาน หน่วยงาน แต่มีผลต่อส่วนรวม จิตสำนึกความเป็นข้าชการต้องฝังหยั่งลึกในใจ

      ๑.เจ้าหน้าที่ปปฎิบัติงาน รับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายเพียงใด

      ๒.มีความมุ่งมั่นทุ่มเทกับงานมากน้อยเพียงใด

      ๓.การเสียสละในการทำงานมีมากน้อยเพียงใด

      ๔.การทำงานเพื่อให้ตัวเองรอดพ้นซึ่งเป็นการเห็นแก่ตัว

      ๕.มองงานทุกงานเพื่อความสำเร็จของหน่วยงาน บั้นปลายคือประชาชน

        จริยธรรมในการปฎิบัติงาน จึงเป็นการสำนึกรู้ในการทำหน้าที่ของตน เพือประชาชนและประเทศชาติ ทำหน้าที่เพื่อหน้าที่ มิใช่เพื่อตัวเอง การทำหน้าที่ด้วยสำนึกในความรับผิดชอบ ต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ชึ่งทำด้วยใจที่มุ่งมั่นก็จะได้งานที่สำเร็จเป็นที่น่าชื่นใจ

   

คำสำคัญ (Tags): #จริยธรรม
หมายเลขบันทึก: 450459เขียนเมื่อ 22 กรกฎาคม 2011 21:45 น. ()แก้ไขเมื่อ 11 สิงหาคม 2013 12:39 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท