บทบาทของผู้บริหารยุคใหม่


 

 

 

  

 

หมายเลขบันทึก: 442136เขียนเมื่อ 3 มิถุนายน 2011 15:53 น. ()แก้ไขเมื่อ 11 ธันวาคม 2012 13:45 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (17)

สวัสดีค่ะอาจารย์ ส่งงานสรุปผลวิจัย ของนางสาวทิพวรรณ ศรีบรม เลขที่ 23 กลุ่มที่2 รหัส 532305978

สวัสดีค่ะอาจารย์ขอส่งงานการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์CAI นางธัญญธร รัตนวัน เลขที่่ 28

ส่งงาน1 บทเรียนคอมพิวเตอร์ CAI นางธัญญธร รัตนวัน เลขที่ 28 รหัสนักศึกษา 532306039 นักศึกษา ป.โท บริหารการศึกษา ม.นอร์ทกรุงเทพ

หัวข้อ การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ๒ เลขที่ ๒๒ – ๒๘

สรุปเรื่องที่ได้รับมอบหมายให้ศึกษา ดังนี้

บทที่1

บทนำ

ความสำคัญของปัญหา

ในการศึกษา ความปลอดภัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นสิ่งจำเป็นที่พนักงานธนาคาร

ทุกคนต้องศึกษา เนื่องจากธนาคารมีการนำระบบคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์รวมถึงระบบงาน

คอมพิวเตอร์มาใช้ในการปฏิบัติงานของธนาคาร ทั้งในส่วนการให้บริการลูกค้า ผ่านเครือข่าย

internet และการอำนวยความสะดวกแก่พนักงานที่ธนาคารผ่าน intranet อย่างต่อเนื่อง และจากการ

ปฏิบัติงานที่ผ่านมาพบว่าการรักษาความปลอดภัยด้านสารสนเทศ เป็นเรื่องที่มีความสำคัญในการเพิ่ม

ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการปฏิบัติงานของพนักงานที่ธนาคารทั้งในด้านความเชื่อมั่นและความ

ถูกต้องของข้อมูลสารสนเทศจากที่กล่าวมาทำให้ผู้ศึกษามีความสนใจที่จะทำการวิจัยเพื่อพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง ความปลอดภัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เมื่อได้ศึกษาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง

วัตถุประสงค์ของการวิจัย

1. พัฒนาและหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง ความปลอดภัยด้าน

เทคโนโลยีสารสนเทศ สำหรับพนักงาน ธนาคารยูโอบีจำกัด ตามเกณฑ์80/80

2. เปรียบเทียบคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียน ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่อง

ความปลอดภัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ สำหรับพนักงาน ธนาคารยูโอบีจำกัด

3. หาดัชนีประสิทธิผลของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่อง ความปลอดภัยด้าน

เทคโนโลยีสารสนเทศ สำหรับพนักงาน ธนาคารยูโอบีจำกัด

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

1. สามารถนำบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง ความปลอดภัยด้านเทคโนโลยี

สารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ มาใช้กับพนักงาน ธนาคารยูโอบีจำกัด

2. ผลการวิจัยจะเป็นแนวทางในการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนในเรื่องอื่นๆ และ

รูปแบบอื่นๆ ต่อไปในอนาคต

ขอบเขตของการวิจัย

1. ประชากรในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่พนักงาน ธนาคารยูโอบีจำกัด ฝ่ายเทคโนโลยี

สารสนเทศ ซึ่งมี3 แผนก คือแผนกพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์จำนวน 57 คน แผนกบริการระบบ

ข้อมูล จำนวน 42 คน แผนกความปลอดภัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ 30 คน รวมทั้งสิ้น 129 คน

2. กลุ่มตัวอย่างได้มาจากการสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม (cluster sampling) จากการจับสลากเพื่อ

เลือกมา 1 แผนก คือ แผนกความปลอดภัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ จำนวน 30 คน

3. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบสอนเนื้อหา (tutorial) เรื่อง ความปลอดภัยด้าน

มีเนื้อหาดังนี้

3.1 ภาพรวมนโยบาย (policy overview)

3.2 การจำแนกประเภทของข้อมูล (information classification)

3.3 การควบคุมการเข้าถึงระบบ (sytem access control)

3.4 การจัดการ User ID และ Password (user ID & password management)

3.5 การใช้งานอินเตอร์เน็ต (internet usage)

3.6 การใช้จดหมายอิเล็คทรอนิค (electronic mail usage)

3.7 การควบคุมไวรัส (virus control)

2. ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้

2.1 ตัวแปรต้น คือ การเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง ความ

ปลอดภัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ สำหรับพนักงาน ธนาคารยูโอบีจำกัด

2.2 ตัวแปรตาม คือ คะแนนหลังเรียน จาก บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง

ความปลอดภัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ สำหรับพนักงาน ธนาคารยูโอบีจำกัด

นิยามศัพท์

การวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยให้นิยามศัพท์ต่าง ๆ เพื่อให้เกิดความเข้าใจตรงกัน ดังนี้

บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หมายถึง บทเรียนที่นำคอมพิวเตอร์มาใช้เป็นสื่อในการสอน

เพื่อให้มีการโต้ตอบกัน ระหว่างผู้เรียนกับเครื่องคอมพิวเตอร์โดยมีเนื้อหาการเรียนรู้เกี่ยวกับความ

ปลอดภัยของเทคโนโลยีสารสนเทศ หลักความปลอดภัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ

พนักงาน หมายถึง พนักงาน ธนาคารยูโอบีจำกัด ฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ

แผนกความปลอดภัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ

บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่มีประสิทธิภาพ หมายถึง บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน

เรื่อง ความปลอดภัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ สำหรับพนักงาน ธนาคารยูโอบีจำกัด ที่มี

ประสิทธิภาพตามเกณฑ์80/80 ที่ผู้วิจัยกำหนดไว้โดยที่

80 ตัวแรก หมายถึง คะแนนเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ ของการที่ผู้เรียนสามารถตอบคำถามใน

แบบทดสอบหลังการเรียน ได้ถูกต้องโดยเฉลี่ยร้อยละ 80

80 ตัวหลัง หมายถึง ร้อยละของจำนวนผู้เรียนที่ตอบถูกแต่ละข้อ

แบบทดสอบ หมายถึง เครื่องมือที่สร้างขึ้นเพื่อวัดคะแนนการเรียน ของพนักงานหลักจาก

เรียนบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง ความปลอดภัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ แยกเป็น

แบบทดสอบก่อนเรียนและแบบทดสอบหลังเรียน

บทที่ 2

นิยามศัพท์

ความหมายของและลักษณะของคอมพิวเตอร์ช่วยสอน

ความหมายของคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer - assisted Instruction) หรือ CAI มีผู้

รวบรวมและให้ความหมาย ไว้ดังนี้

ศิริชัย สงวนแก้ว (2542) กล่าวว่า คอมพิวเตอร์ช่วยสอนหมายถึง การประยุกต์คอมพิวเตอร์

มาช่วยในการเรียนการสอน โดยมีการพัฒนาโปรแกรมขึ้นเพื่อเสนอเนื้อหาในรูปแบบต่าง ๆ เช่น

การเสนอแบบติวเตอร์ (tutorial) แบบจำลองสถานการณ์ (simulation) หรือ แบบการแก้ไขปัญหา

(problem solving) เป็นต้น การเสนอเนื้อหาดังกล่าวเป็นการเสนอโดยตรงไปยังผู้เรียนผ่านทาง

จอภาพหรือแป้นพิมพ์โดยเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วม วัสดุทางการสอนคือ โปรแกรมหรือ

courseware ซึ่งปกติจะถูกเก็บไว้ในดิสก์หรือหน่วยความจำของเครื่อง พร้อมที่จะเรียกใช้ได้

ตลอดเวลา การเรียนในลักษณะนี้ในบางครั้งผู้เรียนจะต้องโต้ตอบหรือตอบคำถามเครื่องคอมพิวเตอร์

ด้วยการพิมพ์การตอบคำถามจะถูกประเมิน โดยคอมพิวเตอร์และจะเสนอแนะขั้นตอนหรือระดับ

ในการเรียน ขั้นต่อ ๆ ไป กระบวนการเหล่านี้เป็นปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น ระหว่างผู้เรียนกับคอมพิวเตอร์

ดังนั้นสรุปความหมายของคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer-assisted Instruction) เป็น

กระบวนการเรียนการสอน โดยใช้สื่อคอมพิวเตอร์ในการนำเสนอเรื่องราวต่าง ๆ มีลักษณะเป็นการ

เรียนโดยตรงและเป็นการเรียนแบบมีปฏิสัมพันธ์ (interactive) คือ สามารถโต้ตอบระหว่างผู้เรียน

กับคอมพิวเตอร์ได้เป็นวิธีการเรียนการสอนที่ใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ซึ่งออกแบบไว้เพื่อ

นำเสนอบทเรียนแทนผู้สอน และผู้เรียนสามารถเรียนได้ด้วยตนเองตามลำดับขั้นตอนการเรียนอย่าง

เป็นระบบ เมื่อผู้เรียนโต้ตอบกับตัวบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแล้ว ผู้เรียนจะได้ข้อมูลย้อนกลับ

คุณลักษณะที่เป็นองค์ประกอบสำคัญของคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 4 ประการ ได้แก่

1. สารสนเทศ (information) ในที่นี้หมายถึง เนื้อหาสาระ (content) ที่ได้รับการเรียบเรียง

แล้วเป็นอย่างดีซึ่งทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้หรือได้รับทักษะอย่างหนึ่งอย่างใดตามที่ผู้สร้างได้

กำหนดวัตถุประสงค์ไว้โดยการนำเสนอเนื้อหานี้อาจจะเป็นการนำเสนอในรูปแบบต่าง ๆ

2. ความแตกต่างระหว่างบุคคล (individualization) การตอบสนองความแตกต่างระหว่าง

บุคคล คือลักษณะสำคัญของคอมพิวเตอร์ช่วยสอนบุคคลแต่ละบุคคลมีความแตกต่างกันทางการ

เรียนรู้ซึ่งเกิดจากบุคลิกภาพ สติปัญญา ความสนใจพื้นฐานความรู้ที่แตกต่างกันออกไป

(individualization) คอมพิวเตอร์ช่วยสอนซึ่งเป็นสื่อการเรียนการสอนรายบุคคลประเภทหนึ่งจึงต้อง

ได้รับการออกแบบให้มีลักษณะที่ตอบสนองต่อความแตกต่างส่วนบุคคลให้มากที่สุด

3. การโต้ตอบ (interaction) ในที่นี้คือ การมีปฏิสัมพันธ์กันระหว่างผู้เรียนกับคอมพิวเตอร์

ช่วยสอนการเรียนการสอนรูปแบบที่ดีที่สุด ก็คือการเรียนการสอนในลักษณะที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียน

ได้มีปฏิสัมพันธ์กับผู้สอนได้มากที่สุดนอกจากนี้การที่มนุษย์สามารถเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

4. การให้ผลป้อนกลับโดยทันที(immediate feedback) ลักษณะที่ขาดไม่ได้อีกประการหนึ่ง

ของคอมพิวเตอร์ช่วยสอนก็คือ การให้ผลป้อนกลับโดยทันทีตามแนวคิดของสกินเนอร์(skinner)

แล้ว ผลป้อนกลับ หรือการให้คำตอบนี้ถือเป็นการเสริมแรง (reinforcement) อย่างหนึ่ง การให้ผล

ป้อนกลับแก่ผู้เรียนในทันทีหมายรวมไปถึงการที่คอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่สมบูรณ์จะต้องมีการ

ทดสอบหรือประเมินความเข้าใจของผู้เรียนในเนื้อหาหรือทักษะต่างๆตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้

ลักษณะของการให้ผลป้อนกลับนี้เป็นสิ่งที่ทำให้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนแตกต่างไปจาก

มัลติมีเดีย-ซีดีรอมส่วนใหญ่ซึ่งได้มีการรวบรวม และนำเสนอเนื้อหาเกี่ยวกับเรื่องราวของสิ่งต่างๆ

หรือเหตุการณ์สำคัญต่างๆ ฯลฯ แต่มัลติมีเดียซีดีรอมไม่ได้มีการประเมินความเข้าใจของผู้ใช้แต่

อย่างใดไม่ว่าจะอยู่ในรูปแบบทดสอบแบบฝึกหัดหรือการตรวจสอบความเข้าใจในรูปแบบใด

รูปแบบหนึ่ง ซึ่งทำให้มัลติมีเดีย-ซีดีรอมเหล่านั้นถูกจัดว่าเป็นสื่อสำหรับการนำเสนอ (presentation

media) ไม่ใช่คอมพิวเตอร์ช่วยสอน

จากคุณลักษณะที่มีอาจจะสรุปได้ว่า (Computer - assisted Instruction) หรือ CAI เป็น

สื่อการเรียน การสอน เป็นกระบวนการเรียนการสอน โดยมีลักษณะการทำงานในรูปแบบของสื่อ

ประสม (multimedia) คือใช้สื่อร่วมกันมากกว่า 1 ชนิด เช่น ตัวอักษร ภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหว ที่

สำคัญคือสามารถโต้ตอบระหว่างผู้เรียนกับ คอมพิวเตอร์มีการประเมินผลเพื่อสนองตอบให้กับ

ผู้เรียนอย่างรวดเร็ว โดยจะต้องมีลักษณะสำคัญ4 ประการ ซึ่งเรียกย่อๆ ว่า 4-I คือ

1. Information: ต้องมีเนื้อหาสาระสำคัญ

2. Individualized: ต้องตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคล

3. Interactive: ต้องมีการโต้ตอบระหว่างผู้ใช้กับบทเรียนได้

4. Immediate Feedback: ต้องให้ผลย้อนกลับโดยทันที

ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน

บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน มีหลายรูปแบบด้วยกัน ซึ่งการแบ่งรูปแบบหรือประเภทของ

บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนด้วยคอมพิวเตอร์โดยสรุปแล้วมี5 รูปแบบด้วยกันคือ

1. การสอน (tutorial) บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนประเภทนี้ จะเป็นการสอนสิ่งใหม่

ให้แก่นักเรียน คอมพิวเตอร์จะเป็นเหมือนครูสอนนักเรียนเป็นรายบุคคล บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วย

สอนก็จะต้องดำเนินตามขั้นตอน วิธีการสอนหน่วยหนึ่งๆ เหมือนกับครูสอนในห้องเรียน

คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ส่วนใหญ่จะใช้ลักษณะนี้เพราะจะใช้กับวิชาใดก็ได้จะสอนอะไรก็ได้เช่นกัน

ขั้นตอนของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนในลักษณะการสอนมีโครงร่างและขั้นตอนดังนี้

แผนภูมิที่1 โครงสร้างและขั้นตอนของบทเรียนประเภทการสอน (tutorial)

2. ฝึกหัดและปฏิบัติ(drill and practice) การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เพื่อฝึกหัดและปฏิบัติ

นั้น จะใช้หลังจากการเรียนรู้สิ่งใหม่แล้วอาจจะเรียนจากการสอน หรืออาจจะเรียนจากเอกสาร

หนังสือหรือสื่ออื่นๆ ก็ได้การฝึกหัดและการปฏิบัตินี้ใช้ได้เกือบทุกสาขาวิชาไม่ใช่เพียงแต่สอนเลข

คณิตกับคำศัพท์ซึ่งบทเรียนจำนวนมากที่ทำในสองวิชานี้ แต่ยังอาจจะใช้ฝึกหัดวิชาอื่นๆได้เช่น

ภูมิศาสตร์ประวัติศาสตร์วิทยาศาสตร์เป็นต้น

นำเข้าสู่บทเรียน เสนอเนื้อหา คำถามและการตอบสนอง

จบบทเรียน ผลย้อนกลับและการแก้ไข ประเมินผลการ

ตอบสนอง

ส่งงานค่ะ อาจารย์ช่วยดูให้ด้วยนะคะว่าได้รับหรือเปล่า นางสาวสุรีย์ กลัดบุบผา กลุ่มที่ 2 รหัส 532306348

ชอบค่ะอาจารย์เนื้อหาดีมากๆๆค่ะ

สวัสดีค่ะ จารุวรรณ สิทธิโชค รายงานตัวค่ะ

บทความของอาจารย์ ได้แง่คิดในการบริหารคนและการบริหารตน

การจะบริหารคนนั้น ปัจจัยหลักต้องบริหารตน ให้เป็นหลักแก่คน

ขอบคุณสำหรับบทความดีๆๆครับ

สวัสดีครับคุณจารุวรรณ และคุณโชคชัย

สร้างบล็อกและเพิ่มบันทึกต่อไปได้เลยครับ ผมจะได้นำเข้าแพลนเน็ตได้

อ่านเมื่อไหร่ก็ซึ้งครับอาจารย์

สวัสดีค่ะพิศมัย นามอินทร์ รายงานตัวค่ะ

ขอบคุณ คุณโชคชัยครับ

สวัสดีครับคุณพิศมัย

สวัสดีครับ อาจารย์ พรุ่งนี้ ที่ม.บูรพา นะครับ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท