thaicom


ดาวเทียมดวงแรกของไทย

ดาวเทียมไทยคม 1A

คุณสมบัติของดาวเทียมไทยคม 1A
ดาวเทียมไทยคม 1A และดาวเทียมไทยคม 2 เป็นดาวเทียมรุ่นแรกของโครงการดาวเทียมไทยคม ดาวเทียมทั้ง 2 ดวงเป็นดาวเทียมรุ่น HS-376 ผลิตโดย บริษัท ฮิวจ์ แอร์คราฟท์ ประเทศสหรัฐอเมริกาหรือบริษัทโบอิ้งในปัจจุบัน พื้นที่การให้บริการย่านความถี่ C-Band ของดาวเทียมไทยคม 1A และดาวเทียมไทยคม 2 ครอบคลุมประเทศไทย ลาว กัมพูชา เมียนมาร์ เวียดนาม มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ เกาหลี ญี่ปุ่น และชายฝั่งตะวันออกของประเทศจีน โดยมีความแรงของสัญญาณด้านขาลง (Down Link) ณ ประเทศไทย 36 dBW (เดซิเบลวัตต์) ส่วนพื้นที่การให้บริการในย่านความถี่ Ku-Band ของดาวเทียมไทยคม 1A และดาวเทียมไทยคม 2 ครอบคลุมประเทศไทยและประเทศในแถบอินโดจีน โดยมีความแรงของสัญญาณด้านขาลง (Down Link) 50 dBW (เดซิเบลวัตต์)

การออกแบบ ดาวเทียมรุ่น HS-376 แบบ Dual Spin
กำลัง 800 วัตต์ เมื่อสิ้นสุดอายุการใช้งาน
น้ำหนักขณะส่งขึ้นวงโคจรในอวกาศ 1,080 กิโลกรัม
มวลในวงโคจร เมื่อเริ่มใช้งานจะมีน้ำหนัก 629 กิโลกรัม เมื่อสิ้นสุดการใช้งานจะมีน้ำหนัก 450 กิโลกรัม
อายุการใช้งาน 15 ปี.
จำนวนช่องสัญญาณ C-Band ดาวเทียมไทยคม 1A มีจำนวน 12 ทรานสพอนเดอร์ ดาวเทียมไทยคม 2 มีจำนวน 10 ทรานสพอนเดอร์ โดยความถี่ของช่องสัญญาณของ ดาวเทียมทั้งสองดวงอยู่ที่ 36 เม็กกะเฮิร์ซ ส่วน Ku-Band ดาวเทียมไทยคม 1A และดาวเทียมไทยคม 2 มีจำนวนดวงละ 3 ทรานสพอนเดอร์ โดยความถี่ช่องสัญญาณ ของดาวเทียมทั้งสองดวงอยู่ที่ 54 เม็กกะเฮิร์ซ
ตำแหน่งวงโคจร ดาวเทียมไทยคม 1A อยู่ที่ตำแหน่งวงโคจร 120 องศาตะวันออก
ดาวเทียมไทยคม 2 อยู่ที่ตำแหน่งวงโคจร 78.5 องศาตะวันออก
บริษัทนำส่งดาวเทียมขึ้นสู่วงโคจร บริษัทเอเรียนสเปซ ประเทศฝรั่งเศส
วันกำหนดส่งดาวเทียม ขึ้นสู่วงโคจร และวันที่เริ่มให้บริการ ดาวเทียมไทยคม 1A
    ถูกส่งขึ้นสู่วงโคจรเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2536
  • มีการย้ายตำแหน่งวงโคจรจาก 78.5 องศาตะวันออก ไปที่ตำแหน่งวงโคจร 120 องศาตะวันออก เมื่อเดือนพฤษภาคม 2540
    เริ่มให้บริการ
  • ดาวเทียมไทยคม 1 เมื่อเดือนมกราคม 2537
  • ดาวเทียมไทยคม 1A เมื่อเดือนมิถุนายน 2540
    ดาวเทียมไทยคม 2
  • ถูกส่งขึ้นสู่วงโคจรเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2537
    เริ่มให้บริการในเดือนธันวาคม 2537

พื้นที่การให้บริการของดาวเทียมไทยคม 1A



(A) THAICOM-1A
C-Band Regional Beam

(B) THAICOM-2
C-Band Regional Beam

[C] THAICOM-1A
Ku-Band Spot Beam (Thailand)

[D] THAICOM-2
Ku-Band Spot Beam (Thailand)

 

 

ดาวเทียมไทยคม 2

คุณสมบัติของดาวเทียมไทยคม 2
ดาวเทียมไทยคม 1A และดาวเทียมไทยคม 2 เป็นดาวเทียมรุ่นแรกของโครงการดาวเทียมไทยคม ดาวเทียมทั้ง 2 ดวงเป็นดาวเทียมรุ่น HS-376 ผลิตโดย บริษัท ฮิวจ์ แอร์คราฟท์ ประเทศสหรัฐอเมริกาหรือบริษัทโบอิ้งในปัจจุบัน พื้นที่การให้บริการย่านความถี่ C-Band ของดาวเทียมไทยคม 1A และดาวเทียมไทยคม 2 ครอบคลุมประเทศไทย ลาว กัมพูชา เมียนมาร์ เวียดนาม มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ เกาหลี ญี่ปุ่น และชายฝั่งตะวันออกของประเทศจีน โดยมีความแรงของสัญญาณด้านขาลง (Down Link) ณ ประเทศไทย 36 dBW (เดซิเบลวัตต์) ส่วนพื้นที่การให้บริการในย่านความถี่ Ku-Band ของดาวเทียมไทยคม 1A และดาวเทียมไทยคม 2 ครอบคลุมประเทศไทยและประเทศในแถบอินโดจีน โดยมีความแรงของสัญญาณด้านขาลง (Down Link) 50 dBW (เดซิเบลวัตต์)

การออกแบบ ดาวเทียมรุ่น HS-376 แบบ Dual Spin
กำลัง 800 วัตต์ เมื่อสิ้นสุดอายุการใช้งาน
น้ำหนักขณะส่งขึ้นวงโคจรในอวกาศ 1,080 กิโลกรัม
มวลในวงโคจร เมื่อเริ่มใช้งานจะมีน้ำหนัก 629 กิโลกรัม เมื่อสิ้นสุดการใช้งานจะมีน้ำหนัก 450 กิโลกรัม
อายุการใช้งาน 15 ปี.
จำนวนช่องสัญญาณ C-Band ดาวเทียมไทยคม 1A มีจำนวน 12 ทรานสพอนเดอร์ ดาวเทียมไทยคม 2 มีจำนวน 10 ทรานสพอนเดอร์ โดยความถี่ของช่องสัญญาณ ของดาวเทียมทั้งสองดวงอยู่ที่ 36 เม็กกะเฮิร์ซ ส่วน Ku-Band ดาวเทียมไทยคม 1A และดาวเทียมไทยคม 2 มีจำนวนดวงละ 3 ทรานสพอนเดอร์ โดยความถี่ช่องสัญญาณ ของดาวเทียมทั้งสองดวงอยู่ที่ 54 เม็กกะเฮิร์ซ
ตำแหน่งวงโคจร ดาวเทียมไทยคม 1A อยู่ที่ตำแหน่งวงโคจร 120 องศาตะวันออก
ดาวเทียมไทยคม 2 อยู่ที่ตำแหน่งวงโคจร 78.5 องศาตะวันออก
บริษัทนำส่งดาวเทียมขึ้นสู่วงโคจร บริษัทเอเรียนสเปซ ประเทศฝรั่งเศส
วันกำหนดส่งดาวเทียมขึ้นสู่วงโคจร และวันที่เริ่มให้บริการ ดาวเทียมไทยคม 2
    ถูกส่งขึ้นสู่วงโคจรเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2536
  • มีการย้ายตำแหน่งวงโคจรจาก 78.5 องศาตะวันออก ไปที่ตำแหน่งวงโคจร 120 องศาตะวันออก เมื่อเดือนพฤษภาคม 2540
    เริ่มให้บริการ
  • ดาวเทียมไทยคม 1 เมื่อเดือนมกราคม 2537
  • ดาวเทียมไทยคม 1A เมื่อเดือนมิถุนายน 2540
    ดาวเทียมไทยคม 2
  • ถูกส่งขึ้นสู่วงโคจรเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2537
    เริ่มให้บริการในเดือนธันวาคม 2537

พื้นที่การให้บริการของดาวเทียมไทยคม 2



(A) THAICOM-1A
C-Band Regional Beam

(B) THAICOM-2
C-Band Regional Beam

[C] THAICOM-1A
Ku-Band Spot Beam (Thailand)

[D] THAICOM-2
Ku-Band Spot Beam (Thailand)

 

 

ดาวเทียมไทยคม 3

คุณสมบัติของดาวเทียมไทยคม 3
ดาวเทียมไทยคม 3 เป็นดาวเทียมรุ่น 3 แกน ผลิตโดย บริษัท อัลคาเทล สเปซ ซิสเต็ม ประกอบด้วยย่านความถี่ C-Band จำนวน 25 ทรานสพอนเดอร์ และย่านความถี่ Ku-Band จำนวน 14 ทรานสพอนเดอร์ โดยย่านความถี่ C-Band Global Beam ของไทยคม 3 ครอบคลุมพื้นที่ 4 ทวีป คือเอเชีย, ยุโรป, ออสเตรเลีย และแอฟริกา ส่วนพื้นที่การให้บริการของ Spot Beam ในย่านความถี่เคยู-แบนด์นั้นครอบคลุมประเทศไทย และประเทศในภูมิภาคอินโดจีน ส่วน Steerable Beam ในย่านความถี่ Ku-Band ของดาวเทียมไทยคม 3 สามารถให้บริการในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งในสี่ทวีปได้อีกด้วย

การออกแบบ ดาวเทียมรุ่น Spacebus-3000A ซึ่งเป็นดาวเทียมรุ่น 3 แกน
กำลัง 5,300 วัตต์ เมื่อสิ้นสุดอายุการใช้งาน
น้ำหนักเมื่อส่งขึ้นสู่วงโคจรในอวกาศ 2,652 กิโลกรัม
มวลในวงโคจร เมื่อเริ่มใช้งานจะมีน้ำหนัก 1,560 กิโลกรัม เมื่อสิ้นสุดการใช้งานจะมีน้ำหนัก 1,160 กิโลกรัม
อายุการใช้งาน 14 ปี
จำนวนช่องสัญญาณ C-Band
C-Band Global Beam จำนวน 7 ทรานสพอนเดอร์
C-Band Regional Beam จำนวน 18 ทรานสพอนเดอร์ มีความถี่ของช่องสัญญาณ ในย่านความถี่ซีแบนด์เท่ากับ 36 เม็กกะเฮิร์ซ

Ku-Band
Ku-Band Spot Beam จำนวน 7 ทรานสพอนเดอร์ แบ่งเป็น 2 ช่องทรานสพอนเดอร์ มีความถี่ของช่องสัญญาณ เท่ากับ 54 เม็กกะเฮิร์ซ ส่วนอีก 5 ช่องทรานสพอนเดอร์ มีความถี่ของช่องสัญญาณเท่ากับ 36 เม็กกะเฮิร์ซ
Ku-Band Steerable Beam มีความถี่ของช่องสัญญาณเท่ากับ 36 เม็กกะเฮิร์ซ

ความกว้างของช่องสัญญาณ C-Band เท่ากับ 500 เม็กกะเฮิร์ซ
Extended C-Band เท่ากับ 300 เม็กกะเฮิร์ซ
Ku-Band เท่ากับ 500 เม็กกะเฮิร์ซ
ตำแหน่งวงโคจร 78.5 องศาตะวันออก
บริษัทนำส่งดาวเทียมขึ้นสู่วงโคจร บริษัทเอเรียนสเปซ ประเทศฝรั่งเศส
วันที่กำหนดส่ง ดาวเทียมขึ้นสู่วงโคจร 16 เมษายน 2540
วันที่เริ่มให้บริการ พฤษภาคม 2540

พื้นที่การให้บริการของดาวเทียมไทยคม 1A

  • [A] C-Band Global Beam
  • [B] C-Band Regional Beam
  • [C] Ku-Band Spot Beam Thailand
  • [D] Ku-Band Steerable Beam

รายชื่อประเทศภายใต้พื้นที่การให้บริการของดาวเทียมไทยคม 3

AFRICA ASIA OCEANIA EUROPE
Algeria Afghanistan Australia Albania
Mali Armenia   Andorra
Angola Azerbaijan   Austria
Morocco Bahrain   Belarus
Benin Bangladesh   Belgium
Mozambique Bhutan   Bosnia
Botswana Brunei   Herzegovina
Namibia Cambodia   Bulgaria
Burkina Faso China   Croatia
Niger Georgia   Cyprus
Burundi Hong Kong   Czech Republic
Nigeria India   Estonia
Cameroon Indonesia   Finland
Rwanda Iran   France
Central African Iraq   Germany
Somalia Republic Israel   Greece
Chad Japan   Hungary
Republic of South Africa Jordan   Italy
Congo Kashmir   Latvia
Sudan Kazakhstan
  Lithuania
Cote D'Ivoire Korea North
  Luxembourg
Swaziland Korea South
  Macedonia
Djibouti
Kuwait
  Monaco
Tanzania
Kyrgyzstan
  Moldova
Egypt
Laos
  The
Togo
Lebanon
  Netherlands
Ethiopia Malaysia   Norway
Tunisia Mongolia   Poland
Gabon Myanmar   Romania
Uganda Nepal   Russia
Ghana Oman   Federation
Zaire Palestine   Serbia
Equatorial Papua New Guinea   Slovakia
Guinea Pakistan   Slovenia
Ivory Coast Philippines   Spain
Zimbabwe Qatar   Sweden
Kenya Saudi Arabia   Switzerland
Lesotho Singapore   Ukraine
Libya Sri Lanka    
Madagascar Syria    
Malawi Taiwan    
  Tajikistan    
  Turkey    
  Turkmenistan    
  United Arab    
  Emirated    
  Uzbekistan    
  Vietnam    
  Yemen    

 

 

 

คำสำคัญ (Tags): #uncategorized
หมายเลขบันทึก: 4277เขียนเมื่อ 23 กันยายน 2005 09:21 น. ()แก้ไขเมื่อ 12 มิถุนายน 2012 09:18 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท