แบบทดสอบชนิดของคำไทยตามแนวคิดใหม่


แบบทดสอบชนิดของคำไทยตามแนวคิดใหม่

แบบทดสอบหลังเรียนวิชาหลักภาษาไทย

เรื่อง ชนิดของคำในภาษาไทย

นักเรียนจงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุด และเลือกทำเครื่องหมาย  X   ในช่องที่นักเรียนเลือกแล้วเพียงข้อละครั้งเดียว

๑.  คำนาม

๑.  คำนามคืออะไร

                    ก.  คำที่เป็นชื่อของคน สัตว์ สถานที่ สิ่งของ

                    ข.  คำที่ใช้เรียกคน สัตว์ สถานที่สิ่งของ

                    ค.  คำที่สร้างมาจากคำกริยา โดยใช้คำว่า “การ” และ “ความ” นำหน้า

                    ง.  คำที่แสดงลักษณะของคำอื่นว่าเป็นอย่างไรรวมทั้งบอกการกระทำว่า ทำอะไร

๒.  คำที่ขีดเส้นใต้ต่อไปนี้คำใดเป็นคำนาม

                    ก.  พี่เป็นคนภาคใต้

                    ข.  เขามาอย่างรวดเร็ว

                    ค.  มยุราเดินบนถนนสายนี้

                    ง.  ภูเขาสูงแค่ไหนก็ยังวัดได้

๓.  ข้อความต่อไปนี้ข้อใดไม่มีคำนามปรากฏอยู่เลย

                    ก.  หมาวิ่งไล่แมว

                    ข.  ฉันยังจำเธอได้

                    ค.  นกตัวนี้เกาะบนกิ่งไม้

                    ง.  การกระทำเป็นเครื่องส่อเจตนา

๔.  ประโยคต่อไปนี้ประโยคใดมีคำนามมากที่สุด

                    ก.  คนเดินบนถนน

                    ข.  ฟ้ามืดท่าทางฝนจะตก

                    ค.  เดือนดาวกำลังจะลับจากฟ้า

                    ง.  สายันต์ไม่เคยลืมสัญญาของเขาเลย

๕.  ข้อความในข้อใดมีคำนามสามัญประกอบอยู่ด้วย

                    ก.  เธอมาตามหาเขา

                    ข.  ความรักทำให้ลุ่มหลง

                    ค.  ถนนลื่นเพราะฝนตก

                    ง.  ใคร ๆ ก็รักคุณทองแดง

 

 

๖.  ข้อความในข้อใดมีคำนามสามัญประกอบอยู่ด้วย

                    ก.  ท้องฟ้าวันนี้มีแดดอบอุ่น

                    ข.  พวกเราภูมิใจต่อคุณสมชาย

                    ค.  การเดินทำให้เขาแข็งแรงขึ้น

                    ง.  ผิดหวังทีสองที่ไม่เห็นน่ากลัวเลย

๗.  ข้อความในข้อใดมีคำนามวิสามัญประกอบอยู่ด้วย

                    ก.  เรามาโรงเรียนทุกวัน

                    ข.  โรงเรียนของเราชื่อฉวางรัชดาภิเษก

                    ค.  มีพื้นที่กว้างขวางมากว่าโรงเรียนอื่น ๆ

                    ง.  เด็กนักเรียนทุกคนต้องใจเรียนเราจึงรักโรงเรียนของเรา

๘.  ข้อความในข้อใดมีคำลักษณนามประกอบอยู่ด้วย

                    ก.  วันนี้อากาศดีมาก

                    ข.  ฝนไม่ตกเหมือนวันก่อนๆ

                    ค.  ท้องฟ้าสว่างไสวด้วยแสงตะวันอ่อน ๆ

                    ง.  นาน ๆ ครั้งที่เราจะพบกับบรรยากาศเช่นนี้

๙.  ข้อความในข้อใดมีคำลักษณะนามที่ใช้ตามหลังคำกริยา

                    ก.  เราสองคนเดินไปตามทางสายด่วน

                    ข.  แมวสองตัววิ่งหนีสุนัขอย่างไม่คิดชีวิต

                    ค.  หยุดอยู่ตรงนั้นตรงที่ฉันเคยเห็นเธอทุกวัน

ง.  คอยจนหลับไป  ๒  ตื่นแล้ว เพื่อนก็ยังไม่มา

๑๐.  ข้อความในข้อใดมีคำอาการนามประกอบด้วยอยู่ด้วย

                    ก.  การประปานครหลวงสั่งประกาศว่า

                    ข.  พนักงานทุกคนอย่างประท้วง

                    ค.  เพราะถ้าทำเช่นนั้น

                    ง.  ก็จะเป็นความผิดอย่างใหญ่หลวง

 

 

 

 

 

๒. คำสรรพนาม

๑๑.  คำสรรพนามคืออะไร

                    ก.  คำที่ใช้แทนคำนาม

                    ข.  คำที่ใช้เรียกคน สัตว์ สถานที่สิ่งของ

                    ค.  คำที่เป็นชื่อคน สัตว์ สถานที่สิ่งของ

                    ง.  คำที่แสดงการกระทำของคน สัตว์ ว่า ทำอะไร

๑๒.  คำที่ขีดเส้นใต้ข้อใดเป็นคำสรรพนาม

                    ก.  พี่เป็นคนภาคใต้

                    ข.  เขามาอย่างรวดเร็ว

                    ค.  มยุราเดินบนถนนสายนี้

                    ง.  ภูเขาสูงแค่ไหนก็ยังวัดได้

๑๓.  “เค้าบอกว่าอาทิตย์หน้าจะมาเยี่ยม”

ประโยคนี้มีคำใดเป็นคำสรรพนาม

                    ก.  เค้า

                    ข.  ว่า

                    ค. จะ

                    ง.  มา

๑๔.  ประโยคใดมีคำบุรุษสรรพนามประกอบอยู่ด้วย

                    ก.  หนูเป็นสัตว์สกปรก

                    ข.  หนูบางชนิดนำเชื้อโรคมาสู่คน

                    ค.  คนบางกลุ่มตั้งบริษัทกำจัดหนู

                    ง.  หนูเองก็ไม่ชอบหนูเหมือนกัน

๑๕.  ประโยคใดมีคำสรรพนามถามประกอบอยู่ด้วย

                    ก.  พี่กำลังอ่านอะไร

                    ข.  คนอะไรเก่งอย่างนี้

                    ค.  ไหนคนนั้นมานี่หน่อยซิ

                    ง.  อะไรงานแค่นี้ยังทำไม่ได้

 

 

 

 

๑๖.  คำในข้อใดมีคำสรรพนามชี้เฉพาะ

                    ก.  ไหนคนไหนที่สอบได้ที่หนึ่ง

                    ข.  เด็กนี่ซนจังเลยมีท่าทีว่าจะฉลาด

                    ค.  ใครเรียนโรงเรียนฉวางรัชดาภิเษกบ้าง

                    ง.  นี้โรงเรียนฉวางรัชดาภิเษกที่มีเด็กเก่ง ๆ มาก

๑๗.  “เรื่องนี้เขาไม่ได้บอกใครเลย”

คำใดในประโยคนี้เป็นคำสรรพนามไม่ชี้เฉพาะ

                    ก.  นี้

                    ข.  เขา

                    ค.  ไม่ได้

                    ง.  ใคร

๑๘.  คำในข้อใดมีคำสรรพนามแยกฝ่าย

                    ก.  กันมาหาแกด้วยความคิดถึง

                    ข.  ตำรวจต้องกันตัวเขาออกเป็นพยาน

                    ค.  นักเรียนทุกคนช่วยกันทำความสะอาด

                    ง.  เราทุกคนต้องป้องกันตัวเองไม่ให้เกิดโรค

๑๙.  คำสรรพนามประเภทใดที่ใช้คำเหมือนกับคำสรรพนามคำถาม

                    ก.  บุรุษสรรพนาม

                    ข.  สรรพนามชี้เฉพาะ

                    ค.  สรรพนามแยกฝ่าย

                    ง.  สรรพนามไม่ชี้เฉพาะ

๒๐.  ประโยคใดมีคำสรรพนามมากที่สุด

                    ก.  นี่เป็นโรงเรียนที่ดีที่สุดในอำเภอฉวาง

                    ข.  ใครไม่ได้เรียนโรงเรียนนั่นจะต้องเสียใจ

                    ค.  เพราะฉะนั้นเราต้องพยายามเรียนให้มาก ๆ เข้าไว้

                    ง.  พวกเราต่างก็เป็นนักเรียนโรงเรียนฉวางรัชดาภิเษก

 

 

 

 

 

๓.  คำกริยา

๒๑.  คำกริยาคืออะไร

                    ก.  คำที่ใช้แทนคำนาม

                    ข.  คำที่ใช้เรียกคน สัตว์ สถานที่สิ่งของ

                    ค.  คำที่เป็นชื่อคน สัตว์ สถานที่สิ่งของ

                    ง.  คำที่แสดงการกระทำและสภาพความมีความเป็น

๒๒.  คำที่ขีดเส้นใต้ข้อใดเป็นคำกริยา

                    ก.  พี่เป็นคนภาคใต้

                    ข.  เขามาอย่างรวดเร็ว

                    ค.  มยุราเดินบนถนนสายนี้

                    ง.  ภูเขาสูงแค่ไหนก็ยังวัดได้

๒๓.  “เค้าบอกว่าอาทิตย์หน้าจะมาเยี่ยม”

ประโยคนี้มีคำใดเป็นคำกริยาที่มีหน่วยกรรม

                    ก.  เค้า

                    ข.  บอก

                    ค.  ว่า

                    ง.  มา

๒๔.  ประโยคใดมีกริยาที่ไม่มีหน่วยกรรมประกอบอยู่ด้วย

                    ก.  หนูเป็นสัตว์สกปรก

                    ข.  หนูบางชนิดนำเชื้อโรคมาสู่คน

                    ค.  คนบางกลุ่มตั้งบริษัทกำจัดหนู

                    ง.  หนูเองก็ไม่ชอบหนูเหมือนกัน

๒๕.  ประโยคใดมีคำกริยาคุณสรรพประกอบอยู่ด้วย

                    ก.  พี่กำลังอ่านอะไร

                    ข.  คนอะไรเก่งอย่างนี้

                    ค.  ไหนคนนั้นมานี่หน่อยซิ

                    ง.  อะไรงานแค่นี้ยังทำไม่ได้

 

 

 

 

๒๖.  คำในข้อใดมีคำกริยาทวิกรรมประกอบอยู่ด้วย

                    ก.  ไหนคนไหนที่สอบได้ที่หนึ่ง

                    ข.  เธอส่งการบ้านให้ครูแล้วหรือยัง

                    ค.  ใครเรียนโรงเรียนฉวางรัชดาภิเษกบ้าง

                    ง.  ผู้ปกครองทุกคนชอบให้ลูกมาเรียนโรงเรียนนี้

๒๗.  “เรื่องนี้เขาไม่ได้บอกใครเลย”

ประโยคนี้มีคำใดเป็นคำกริยา

                    ก.  นี้

                    ข.  เขา

                    ค.  ไม่ได้

                    ง.  บอก

๒๘.  คำในข้อใดมีคำกริยานำประกอบอยู่ด้วย

                    ก.  กันมาหาแกด้วยความคิดถึง

                    ข.  ตำรวจต้องกันตัวเขาออกเป็นพยาน

                    ค.  นักเรียนทุกคนทำความสะอาดห้องเรียน

                    ง.  เราทุกคนป้องกันตัวเองไม่ให้เกิดโรคร้าย

๒๙.  “อารีย์เรียนจบไปแล้ว”

คำใดเป็นคำกริยาตาม

                    ก.  เรียน

                    ข.  จบ

                    ค.  ไป

                    ง.  แล้ว

๓๐.  ประโยคใดมีคำกริยาต้องเติมเต็ม

                    ก.  นี่เป็นโรงเรียนที่ดีที่สุดในอำเภอฉวาง

                    ข.  ใครไม่ได้เรียนโรงเรียนนั่นจะต้องเสียใจ

                    ค.  เพราะฉะนั้นเราต้องพยายามเรียนให้มาก ๆ เข้าไว้

                    ง.  พวกเราต่างก็เป็นนักเรียนโรงเรียนฉวางรัชดาภิเษก

 

 

 

 

๔.  คำช่วยกริยา

๓๑.  คำช่วยกริยาคืออะไร

                    ก.  คำที่ใช้นำหน้าคำกริยา

                    ข.  คำที่ใช้ตามหลังคำกริยา

                    ค.  คำที่แสดงความเข้มข้นของคำกริยา

                    ง.  คำที่บอกลักษณะทางไวยากรณ์ของคำกริยา

๓๒.  คำช่วยกริยามักจะเกิดในตำแหน่งใดของประโยค

                    ก.  หน้าคำกริยา

                    ข.  หลังคำกริยา

                    ค.  หน้าบทกรรม

                    ง.  หลังบทกรรม

๓๓.  “เค้าบอกว่าอาทิตย์หน้าจะมาเยี่ยม”

ประโยคนี้มีคำใดเป็นคำช่วยกริยา

                    ก.  เค้า

                    ข.  บอก

                    ค.  จะ

                    ง.  มา

๓๔.  ประโยคใดมีคำช่วยกริยาประกอบอยู่ด้วย

                    ก.  หนูเป็นสัตว์สกปรก

                    ข.  หนูบางชนิดนำเชื้อโรคมาสู่คน

                    ค.  คนบางกลุ่มตั้งบริษัทกำจัดหนู

                    ง.  หนูชอบอยู่ในสถานที่ไม่ค่อยสะอาดนัก

๓๕.  ประโยคใดมีคำช่วยกริยาประกอบอยู่ด้วย

                    ก.  พี่กำลังอ่านอะไร

                    ข.  คนอะไรเก่งอย่างนี้

                    ค.  อะไรงานแค่นี้ทำไม่ได้

                    ง.  ไหนคนนั้นมานี่หน่อยซิ

 

 

 

 

๓๖.  คำในข้อใดมีคำช่วยกริยาประกอบอยู่ด้วย

                    ก.  ไหนคนไหนที่สอบได้ที่หนึ่ง

                    ข.  เธอเคยทำความดีอะไรมาบ้าง

                    ค.  ใครเรียนโรงเรียนฉวางรัชดาภิเษกบ้าง

                    ง.  ผู้ปกครองทุกคนชอบให้ลูกมาเรียนโรงเรียนนี้

๓๗.  “เรื่องนี้ยังไม่บอกให้ใครรู้”

ประโยคนี้มีคำใดเป็นคำช่วยกริยา

                    ก.  ยัง

                    ข.  ไม่

                    ค.  บอก

                    ง.  รู้

๓๘.  คำในข้อใดมีคำช่วยกริยาประกอบอยู่ด้วย

                    ก.  กันมาหาแกด้วยความคิดถึง

                    ข.  ตำรวจกันตัวเขาออกเป็นพยาน

                    ค.  เราทุกคนป้องกันตัวเองจากโรคร้าย

                    ง.  นักเรียนกำลังทำความสะอาดห้องเรียน

๓๙.  “เจ้าเก่งถูกนักเรียนรังแก”

คำใดเป็นคำช่วยกริยา

                    ก.  เก่ง

                    ข.  ถูก

                    ค.  นักเรียน

                    ง.  รังแก

๔๐.  ประโยคใดมีคำช่วยกริยาประกอบอยู่ด้วย

                    ก.  นี่เป็นโรงเรียนที่ดีที่สุดในอำเภอฉวาง

                    ข.  ใครไม่ได้เรียนโรงเรียนนั่นจะต้องเสียใจ

                    ค.  เพราะฉะนั้นเราต้องพยายามเรียนให้มาก ๆ เข้าไว้

                    ง.  พวกเราต่างก็เป็นนักเรียนโรงเรียนฉวางรัชดาภิเษก

 

 

 

 

๕.  คำวิเศษณ์

๔๑.  คำวิเศษณ์คืออะไร

                    ก.  คำที่ใช้ขยายคำกริยา

                    ข.  คำที่เป็นคำหลักของกริยา

                    ค.  คำที่แสดงความเข้มข้นของคำกริยา

                    ง.  คำที่บอกลักษณะทางไวยากรณ์ของคำกริยา

๔๒.  คำวิเศษณ์มักจะเกิดในตำแหน่งใดของประโยค

                    ก.  หน้าคำกริยา

                    ข.  หลังคำกริยา

                    ค.  หน้าบทกรรม

                    ง.  หลังบทกรรม

๔๓.  “นกตัวนี้บินสูง”

ประโยคนี้มีคำใดเป็นคำวิเศษณ์

                    ก.  ตัว

                    ข.  นี้

                    ค.  บิน

                    ง.  สูง

๔๔.  ประโยคใดมีคำวิเศษณ์ประกอบอยู่ด้วย

                    ก.  หนูเป็นสัตว์สกปรก

                    ข.  หนูบางชนิดนำเชื้อโรคมาสู่คน

                    ค.  คนบางกลุ่มตั้งบริษัทกำจัดหนู

                    ง.  หนูชอบอยู่ในสถานที่ไม่ค่อยสะอาดนัก

๔๕.  ประโยคใดมีคำวิเศษณ์สามัญประกอบอยู่ด้วย

                    ก.  พี่กำลังอ่านอะไร

                    ข.  คนอะไรเก่งอย่างนี้

                    ค.  อะไรงานแค่นี้ทำไม่ได้

                    ง.  ไหนคนนั้นมานี่หน่อยซิ

 

 

 

 

๔๖.  คำวิเศษณ์ขยายเฉพาะของคำว่า “แดง” คือคำอะไร

                    ก.  ปี๋

                    ข.  อื๋อ

                    ค.  แจ๋

                    ง.  ปรี๋ด

๔๗.  คำวิเศษณ์ในประโยคใดที่แสดงการถาม

                    ก.  ใครจริงใจกับฉันบ้าง

                    ข.  ไม่มีใครจริงใจกับฉันเลย

                    ค.  ใคร ๆ มาแล้วก็ผ่านไปทุกคน

                    ง.  ถึงฉันจะช้ำแค่ไหนก็ไม่บอกใคร

๔๘.  คำในข้อใดมีคำวิเศษณ์บอกเวลาประกอบอยู่ด้วย

                    ก.  เมื่อวานผมเจอเธอหน้าโรงเรียน

                    ข.  เราช่วยกันทำการบ้านที่ครูสั่งไว้

                    ค.  เมื่อทำการบ้านเสร็จเราก็ไปกินข้าว

                    ง.  เราจึงสามารถส่งการบ้านตามที่คุณครูสั่งไว้

๔๙.  “นักเรียนทุกคนรักเจ้าเก่งมาก ๆ ”

คำใดเป็นคำวิเศษณ์

                    ก.  ทุกคน

                    ข.  รัก

                    ค.  เก่ง

                    ง.  มาก ๆ

๕๐.  “เขาขยันที่สุด”

ประโยคนี้มีคำวิเศษณ์ประเภทใดประกอบอยู่ด้วย

                    ก.  คำวิเศษณ์สามัญ

                    ข.  คำวิเศษณ์ขยายเฉพาะ

                    ค.  คำวิเศษณ์แสดงคำถาม

                    ง.  คำวิเศษณ์บอกเวลา

 

 

 

 

๖.  คำบอกกำหนด

๕๑.  คำบอกกำหนดคืออะไร

                    ก.  คำที่ใช้ขยายคำนาม

                    ข.  คำที่ใช้ขยายคำกริยา

                    ค.  คำที่ใช้ขยายคำอุทาน

                    ง.  คำที่ใช้ขยายคำวิเศษณ์

๕๒.  คำบอกกำหนดมักจะเกิดในตำแหน่งใดในนามวลี

                    ก.  หน้าคำนาม

                    ข.  หลังคำนาม

                    ค.  หน้าบทกริยา

                    ง.  หลังบทกริยา

๕๓.  “นกตัวนี้บินสูง”

ประโยคนี้มีคำใดเป็นคำบอกกำหนด

                    ก.  ตัว

                    ข.  นี้

                    ค.  บิน

                    ง.  สูง

๕๔.  ประโยคใดมีคำบอกกำหนดประกอบอยู่ด้วย

                    ก.  เราทุกคนรักโรงเรียนนี้มาก

                    ข.  เราต้องทำดีที่สุดเท่าที่เราจะทำได้

                    ค.  นี่โรงเรียนที่ดีที่สุดในอำเภอฉวาง

                    ง.  เพื่อชื่อเสียงของโรงเรียนและตัวเรา

๕๕.  ประโยคใดมีคำบอกกำหนดประกอบอยู่ด้วย

                    ก.  พี่กำลังอ่านอะไร

                    ข.  คนอะไรเก่งอย่างนี้

                    ค.  อะไรงานแค่นี้ทำไม่ได้

                    ง.  ไหนคนนั้นมานี่หน่อยซิ

 

 

 

 

๕๖.  คำใดแสดงการบอกกำหนดที่ไกลที่สุด

                    ก.  นี้

                    ข.  นั้น

                    ค.  นู้น

                    ง.  โน่น

๕๗.  คำใดที่บอกกำหนดที่ใกล้ที่สุด

                    ก.  นี่

                    ข.  นี้

                    ค.  นั่น

                    ง.  นั้น

๕๘.  คำในข้อใดมีคำบอกกำหนดบอกเวลาประกอบอยู่ด้วย

                    ก.  เมื่อวานผมเจอเธอหน้าโรงเรียน

                    ข.  เราช่วยกันทำการบ้านที่ครูสั่งไว้

                    ค.  เมื่อทำการบ้านเสร็จเราก็ไปกินข้าว

                    ง.  เราจึงสามารถส่งการบ้านนี้ตามที่คุณครูสั่งไว้

๕๙.  “นักเรียนคนไหนส่งงานทุกชิ้นเขาก็จะไม่ติด ร”

คำใดเป็นคำบอกกำหนด

                    ก.  คน

                    ข.  ไหน

                    ค.  ทุก

                    ง.  ไม่

๖๐.  “เด็กโรงเรียนนี้มาจากสถานที่ต่าง ๆ หลายพื้นที่”

คำใดเป็นคำบอกกำหนดไม่ชี้เฉพาะ

                    ก.  นี้

                    ข.  จาก

                    ค.  ที่

                    ง.  ต่าง ๆ

 

 

 

 

๗.  คำเกี่ยวกับจำนวน

๖๑.  คำเกี่ยวกับจำนวนคืออะไร

                    ก.  คำที่ใช้บอกเวลา

                    ข.  คำที่ใช้บอกสถานที่

                    ค.  คำที่ใช้บอกลักษณะ

                    ง.  คำที่ใช้บอกปริมาณ

๖๒.  คำเกี่ยวกับจำนวนมักจะเกิดในตำแหน่งใดในนามวลี

                    ก.  หน้าคำนาม

                    ข.  หลังคำนาม

                    ค.  หน้าคำกริยา

                    ง.  หลังคำกริยา

๖๓.  “โรงเรียนนี้มีนักเรียนพันกว่าคน”

ประโยคนี้มีคำใดเป็นคำเกี่ยวกับจำนวน

                    ก.  ตัว

                    ข.  นี้

                    ค.  พัน

                    ง.  คน

๖๔.  ประโยคใดมีคำเกี่ยวจำนวนประกอบอยู่ด้วย

                    ก.  เราทุกคนรักโรงเรียนนี้มาก

                    ข.  เราต้องทำดีที่สุดเท่าที่เราจะทำได้

                    ค.  นี่โรงเรียนที่ดีที่สุดในอำเภอฉวาง

                    ง.  เพื่อชื่อเสียงของโรงเรียนและตัวเรา

๖๕.  ประโยคใดมีคำเกี่ยวกับจำนวนประกอบอยู่ด้วย

                    ก.  เด็กคนนี้เก่งที่สุด

                    ข.  ปกติจะขยันเรียน

                    ค.  รวมทั้งชอบช่วยงานโรงเรียน

                    ง.  เวลาสอบก็มักจะได้ที่หนึ่งเสมอ

 

 

 

 

๖๖.  คำใดแสดงการบอกจำนวน

                    ก.  ห้า

                    ข.  ที่ห้า

                    ค.  ราว

                    ง.  กว่า

๖๗.  ประโยคใดมีคำบอกลำดับประกอบอยู่ด้วย

                    ก.  ฉันจะรักเธอเป็นคนสุดท้าย

                    ข.  แม้ว่าเธอจะดีหรือร้าย

                    ค.  ฉันก็หมายรักเธอแน่นอน

                    ง.  ถึงคนจะประณามเหยียดหยามเธอ

๖๘.  คำในข้อใดมีคำหน้าจำนวนประกอบอยู่ด้วย

                    ก.  ในโรงเรียนเรามีเพื่อนมากมาย

                    ข.  แต่ละวันมีนักเรียนราว ๆ พันคน

                    ค.  เราได้พบปะกับเขาพูดคุยและเล่นหัวด้วยกัน

                    ง.  เราจึงรักที่ได้มาโรงเรียนและเรียนในโรงเรียนนี้

๖๙.  “นักเรียนมากกว่าพันคนจะมาโรงเรียนแต่เช้า”

คำใดเป็นคำหลังจำนวน

                    ก.  มาก

                    ข.  กว่า

                    ค.  พัน

                  

หมายเลขบันทึก: 424873เขียนเมื่อ 8 กุมภาพันธ์ 2011 14:47 น. ()แก้ไขเมื่อ 18 กันยายน 2012 11:18 น. ()สัญญาอนุญาต: สงวนสิทธิ์ทุกประการจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (82)
น.ส.สกุลรัตน์ บาลจ่าย

ขอบคุณค่ะสำหรับความรู้

น.ส.สกุลรัตน์ บาลจ่าย

เลขที่ 22 ม.505

น.ส.ศิริลักษณ์ ทองใหม่ ม.5/4 เลขที่ 3

อาจารย์เก่งจังเลยน่ะค่ะ ทำเว็บเองเลย

อ่านความรู้แล้วดูเหมือนจะเข้าใจนะคะ แต่มาทำแบบทดสอบก็งงค่ะ ทำไม่ค่อยถูกเลย เดี๋ยวจะอ่านใหม่ทำแบบทดสอบใหม่ค่ะ หากทำไม่ถูกจริงๆ ก็จะขอเฉลยนะคะ   

น.ส.เสาวลักษณ์ งามประดิษฐ์

มีเนื้อหาสาระ ความรู้ดีมากค่ะ  อ.

นางสาว ชนาพร เราอิสระการ

ขอบคุณค่ะ อาจารย์ ..

ขอบคุณมากๆค่ะ กับ สาระความรู้ดีๆแบบนี้ ขอบคุณค่ะ

ครูโอ๋(ฟากกว๊านวิทยาคม)

ขยันเหมือนเดิมเลยนะคะอาจารย์ ครูภาษาไทยเราต้องทันความรู้ใหม่

ศิริวรรณ หิรัญวัฒนสุข

ข้อสอบสุดยอดค่ะ

ศิริวรรณ หิรัญวัฒนสุข เลขที่17 ม. 5/5

ข้อสอบดีมากค่ะ

ข้อสอบดีมากๆเลยคะ อ่านไปลองทำไปด้วย ^^ มีเฉลยไหมคะ

เป็นวิทยาทานที่ดีมากครับ ของให้อาจารย์มีความสุขความเจริญครับ

ขอเฉลยข้อสอบ แบบทดสอบชนิดของคำตามแนวคิดใหม่

ขอบพระคุณอย่างสูงสำหรับการนำแนวข้อสอบมาเป็นแนวทาง ซึ่งตอนนี้หนูเองก็กำลังเรียนเรื่องนี้อยู่พอดี รบกวนขอเฉลยด้วยจะได้ไหมคะ อยากรู้ว่าที่ทำไปถูกต้องรึเปล่า

ขอบคุณมากครับข้อสอบดีมาก

ขอคำตอบหน่อยค่ะ

ไม่มีเฉลยหรอค่ะ

เฉลย เฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลยเฉลย

ค่ะ เป็นสิ่งที่เพิ่มพูนความรู้

เป็นความรู้เพิ่มเติมที่ดีมากคร๊

นางสาวนัทธิดา ช่วยทุกข์ 503 เลขที่34

ค่ะ เป็นความรู้เพิ่มเติมที่ดีค่ะ

ขอบคุณน่ะค่ะ อาจารย์ :)

มีเฉลยให้กูไม่

ประเสริฐ ศรีราชพัฒน์

มีเฉลยให้สำหรับสุภาพชนครับแต่ว่า เหี้ยชนแบบ Chanakan khotcharit ไม่มีให้ครับ

เเล้วเฉยล่ะคับ 

หนูขอเฉลยด้วยได้ไหมค

หนูขอเฉลยหน่อยได้มั้ยคะ ?

อยากได้เฉลยด้วยน่ะคะ จะปริ้นซ์ไปให้ลูกได้ทำก่อนสอบ เพราะไม่มีเงินไปเรียนพิเศษที่ไหน มีแค่คอมพิวเตอร์เก่าๆที่พอจะหาความรู้ได้ ขอบพระคุณมากนะคะ

ขอเฉลยหน่อยค่ะ

หนูขอดูเฉลยหน่อยค่ะ หนูจะมาลองทดสอบเพื่อฝึกทักษะเป็นแนวข้อสอบค่ะ ^^

ขอเฉลยด้วยได้ไหม จะเอาไปให้ลูกเพื่อเป็นแนวข้อสอบค่ะ ขอบคุณค่ะ

อ.ครับผมขอเฉลยหน่อยครับ

ครูค่ะหนูขอเฉลยหน่อยได้มั้ยค่ะ

ไม่รู้ว่าทำถูกกี่ข้อน่ะค่ะ

ขอเฉลยด้วยคะ ขอบคุณล่วงหน้าคะ

ข้อสอบสุดยอดเลยค่ะ ขอเฉลยได้ไมค่ะเพื่อความแน่ใจ

ซึ่งมีประโยชน์มากในการเรียนการสอนค่

ขอเฉลยหน่อยค่ะ หนูจะเอาข้อสอบของครูไปติวนักเรียนค่ะ

ขอความกรุณาส่งเฉลยให้ด้วยค่ะ ขอบพระคุณอาจารย์ค่ะ

รบกวนขอเฉลยหน่อยครับ

ขอบพระคุณมากครับ

รบกวนขอเฉลยหน่อยได้ไหมค่ะ

ข้อสอบของอาจารย์ครบเลยค่ะ จะให้ลูกลองทำก่อนสอบ รบกวนอาจารย์เฉลยคำตอบให้ได้มั๊ยคะ 

อาจารย์คะ รบกวนขอเฉลยด้วยค่ะ จะให้ลูกฝึกทำโจทย์เพื่อไปสอบที่โรงเรียน ขอบคุณมากค่ะ

รบกวนขอเฉลยด้วยได้ไม๊คะ ขอบคุณมากค่ะ

ข้อสอบดีงามมากเลยค่ะอาจารย์

หนูรบกวนขอเฉลยเพื่อให้ลูกทดลองทำก่อนสอบอ่ะค่ะ

ขอบพระคุณล่วงหน้านะคะ^ ^

ขอเฉลยได้ไหมค่ะ อาจาร์ย

ส่ง เฉลยให้หน่อย นะค่ะขอบพระคุณค่ะ

ขอเฉลยหน่อยค่ะ

ขอเฉลยหน่อยค่ะ

ขอบคุณที่ทำข้อสอบให้นะคะ รบกวนขอเฉลยหน่อยได้ไหมคะขอบคุณค่ะ

ขอบคุณที่จัดทำข้อสอบให้นะคะ มีประโยชน์มากเลยค่ะ รบกวนขอเฉลยหน่อยได้ไหมคะ ขอบคุณค่ะ

รบกวนขอเฉลยด้วยได้มั้ยครับ 

ขอเฉลยหน่อยได้ไหมค่ะ

รบกวนขอเฉลยนะคะครู

รบกวนขอเฉลยได้ไหมครับ ครู

รบกวนขอเฉลยได้ไหมครับ ครู

ขอความกรุณาส่งเฉลยให้ด้วยค่ะ ขอบพระคุณอาจารย์ค่ะ

ขอเฉลย ด้วยค่ะอาจารย์ ขอบพระคุณค่ะ

ขอเฉลย ด้วยค่ะอาจารย์ ขอบพระคุณค่ะ

ข้อสอบดีมากคะมีประโยนช์สำหรับใช้สอนลูกๆนักเรียนรบกวนอาจารย์ขอเฉลยหน่อยคะ ขอบคุณคะ

ขอเฉลยหน่อยค่ะ อาจารย์ ขอขอบพระคุณค่ะ

ขอขอบคุณอาจารย์มากๆเลยค่ะ ลูกทำแล้วแต่คุณแม่ไม่สามารถเฉลยได้ รบกวนขอเฉลยได้มั้ยคะ ขอขอบพระคุณอย่างสูงค่ะ

ขอบคุณสำหรับแบบทดสอบวิชาภาษาไทยนะค่ะ อย่างไรรบกวนขอเฉลยด้วยได้ไหมคะ

ขอบพระคุณล่วงหน้าค่ะ

อาจารย์ขอเฉลยด้วยค่ะ ขอบพระคุณอย่างสูงค่ะ

ขอเฉลยหน่อยค่ะ

ขอเฉลยค่ะ

รบกวนขอเฉลยค่ะอาจารย์ ขอบพระคุณค่ะ

อาจารย์ ครับ รบกวนขอเฉลยด้วยครับ

อาจารย์ครับ รบกวนขอเฉลยด้วยได้ไหมครับ ขอบพระคุณล่วงหน้าครับ

รบกวนขอเฉลยด้วยได้ไหมครับ ขอบพระคุณล่วงหน้าครับ

สิริวรรณ นิตยานนท์

ขอเฉลยด้วยคะอาจารย์

มาริษา แดงประสิทธิ์

รบกวนขอเฉลยด้วยได้มั้ยคะขอบคุณมากๆ ค่ะ

รบกวนขอเฉลยเพื่อไปให้ลูกทบทวนสอบปลายภาค

รบกวนขอเฉลยข้อสอบหน่อยค่ะ ขอบคุณค่ะ

รบกวนขอเฉลยด้วยค่ะคุณครู ขอบพระคุณล่วงหน้าค่ะ

ธิติวุฒิ บรรเทิงจิตร

รบกวนขอเฉลยให้ลูกชายด้วยค่ะขอบพระคุณค่ะ

รบกวนขอเฉลยด้วยค่ะ อาจารย์

ขอเฉลยหน่อยได้ไหมครับ ผมต้องการไปสอนน้องครับ

รบกวนลงเฉลยให้ด้วยค่ะ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท