การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้


การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้

การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ เป็นการสอนโดยเน้นนักเรียนเป็นศูนย์กลาง นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมด้วยตนเอง โดยอาศัยความรู้พื้นฐานที่นักเรียนมีอยู่และประสบการณ์เดิมที่นักเรียนมี มาสืบเสาะหาความรู้และปฏิบัติตามกิจกรรมที่กำหนดให้ได้ด้วยตนเอง โดยมีครูเป็นผู้ชี้แนะ

 

หมายเลขบันทึก: 415670เขียนเมื่อ 22 ธันวาคม 2010 14:42 น. ()แก้ไขเมื่อ 27 พฤษภาคม 2012 17:49 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (2)

กิจกรรมจรวดขวดน้ำ ก็สามารถใช้การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ได้เหมือนกันครับ เพราะเป็นการสอนโดยเน้นนักเรียนเป็นศูนย์กลาง นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมด้วยตนเอง โดยอาศัยความรู้พื้นฐานที่นักเรียนมีอยู่และประสบการณ์เดิมที่นักเรียนมี มาสืบเสาะหาความรู้และปฏิบัติตามกิจกรรมที่กำหนดให้ได้ด้วยตนเอง โดยมีครูเป็นผู้ชี้แนะ

I think "child centred' should mean 'for each child's interest' (not -- they think -- it is for the child's benefit).

For teachers to become 'advisors' in reality, teachers must first 'motivate' children to 'focus' on 'learning' (to satisfy their curiosity or their goal). Then, teachers must gain 'trust and respect' (not necessary by 'knowing' and answering children's questions, but) by creating environment/condition for learning and by supporting learning activities (none of that 'do it this way -- your way won't work,...').

Telling, and leaving children to do their own study is quite common but not beneficial to children. Surely, we would not do this to children in our own family. If we can, motivate learning or curiosity!

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท