องค์ประกอบหลักของ แผนการสอน และแผนการจัดการเรียนรู้


Objective

องค์ประกอบหลักของ แผนการสอน และแผนการจัดการเรียนรู้
1. จุดประสงค์การเรียนรู้ (Objective)

คือ สิ่งที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน

1.1 พุทธิพิสัย (Cognitive) คือ จุดประสงค์ที่เน้นความสามารถทางสมอง (Head) ความรู้ในเนื้อหา และ ทฤษฎี

1.2 ทักษะพิสัย (Skill) คือ จุดประสงค์ที่เน้นความสามารถทางปฏิบัติ (Hand)

1.3 จิตพิสัย (Affective) คือ จุดประสงค์ที่เน้นคุณธรรม และจิตใจ (Heart)
2. การเรียนการสอน (Learning)

คือ กระบวนการที่จะทำให้บรรลุจุดประสงค์การเรียนรู้

2.1 สาระการเรียนรู้ cccccccccccc

2.2 เนื้อหาวิชา

2.3 กิจกรรมการเรียนการสอน

2.4 สื่อการเรียนการสอน

เช่น การอภิปราย การสาธิต การสืบค้น การทำโครงงาน การวิจัย และทดลองปฏิบัติ เป็นต้น
3. การวัด และประเมินผล (Evaluation)

คือ การตรวจสอบว่าผู้เรียนมีพฤติกรรม หรือลักษณะพึงประสงค์ ตามจุดประสงค์การเรียนรู้มากน้อยเพียงใด


องค์ประกอบ ในการเขียนแผนการสอน หรือเอกสารประกอบการสอน

  1. มาตรฐานการเรียนรู้
  2. สาระสำคัญ
  3. จุดประสงค์การเรียนรู้
  4. จุดประสงค์ปลายทาง
  5. จุดประสงค์นำทาง
  6. เนื้อหาสาระ
  7. สื่ออุปกรณ์การเรียนการสอน
  8. ลำดับกิจกรรมการเรียนการสอน
  9. กิจกรรมการเรียนรู้
  10. การวัด และประเมินผล
  11. กิจกรรมเสนอแนะ
  12. บันทึกผลหลังการสอน

- ผลการสอน

- ปัญหาอุปสรรค

- แนวทางแก้ไข

- ข้อเสนอแน

  1. ชื่อผู้สอน

ลักษณะของ เอกสารประกอบการสอน (รูปแบบหนึ่ง)
- จัดทำเป็นรูปเล่ม มี ปกนอก ปกใน คำนำ สารบัญ
- มี ลักษณะรายวิชา การแบ่งบทเรียน(ท/ป) การประเมินผลรายวิชา ตารางกำหนดน้ำหนักคะแนน รายการเอกสารประกอบการสอน
- เนื้อหาเรียงตามแผนการสอน และมีจุดประสงค์การสอน แต่ละบท ที่คำนึงถึงลำดับการเรียนรู้
- แต่ละบทมี แบบฝึกหัดท้ายบท วิธีการสอน และกิจกรรม สื่อการสอน การวัดผล
- ความคิดเห็นหัวหน้าสาขา และความคิดเห็นคณบดี

สรุปข้อเสนอแนะ เพิ่มเติม จาก ผู้ทรงคุณวุฒิ ในระดับอุดมศึกษา
? คำที่ใช้ต้อง ตรวจสอบจากพจนานุกรมที่เป็นที่ยอมรับ อย่าให้ผิด
? ต้องมี Reference ของภาพ และข้อความ ที่คัดลอกมา
? อย่าใช้คำว่าหน่วยที่ แบบในแผนการจัดการเรียนรู้ แต่ให้ใช้คำว่า บทที่
? หัวข้อใหญ่ตัวอักษรใหญ่ชิดซ้าย หัวข้อย่อยย่อหน้า 1 Tab ตัวเล็กลง และลดหลั่นกันไป
? Technical Term ต้องแปลเป็นภาษาไทย เช่น แฟ้มข้อมูลหลัก (Master File) เป็นต้น
? อย่าใช้คำไทย สลับกับคำภาษาอังกฤษ
? เอกสารประกอบการสอน และตำรา ต้องเป็นคนละวิชา
? ตำรา ต้องมีการเปิดสอนในสถาบันการศึกษา ระดับอุดมศึกษา (ห้ามเถียง เพราะผมก็ไม่มีโอกาส)
? ขนาดตัวอักษร หัวข้อใหญ่มีขนาด 18 และหนา หัวข้อรองมีขนาด 16 และหนา


ตัวอย่างส่วนต่าง ๆ เฉพาะที่น่าสนใจ

คำอธิบายรายวิชา

ศึกษา และปฏิบัติเกี่ยวกับความหมาย การเขียนชุดคำสั่ง และการแก้ปัญหาโดยใช้คอมพิวเตอร์ด้วยภาษาโคบอล หลักการต่าง ๆ ของวิธีการเขียนโปรแกรม ความรู้ทั่วไป หลักการภาษาโคบอล ส่วนประกอบ และโครงสร้างของภาษาโคบอล การออกแบบโปรแกรมโครงสร้าง การแก้ไขข้อผิดพลาด การทดสอบความถูกต้องของโปรแกรม และเทคนิคการจัดการแฟ้มข้อมูลในโปรแกรมภาษาโคบอล และปฏิบัติการเขียนโปรแกรมประยุกต์ทางธุรกิจด้วยภาษาโคบอล


มาตรฐานรายวิชา
1. เขียนโปรแกรมประยุกต์ถูกต้องตามโครงสร้างของภาษาโคบอล
2. เขียนโปรแกรมขนาดเล็กด้วยภาษาโคบอล
3. ทดสอบ และแก้ไขการทำงานของโปรแกรม

สาระการเรียนรู้

มาตรฐาน

 

1

2

3

1. หลักการเบื้องต้นของภาษา

3

 

 

2. โครงสร้างของภาษา

3

 

 

3. คำสั่ง

3

3

 

4. การทำงานแบบตามลำดับ

3

3

3

5. การทำงานแบบมีเงื่อนไข

3

3

3

6. การทำงานแบบวนซ้ำ

3

3

3

7. การเข้าถึงแฟ้มแบบตามลำดับ

 

3

3

8. การเข้าถึงแฟ้มแบบดัชนี

 

3

3


จุดประสงค์การสอน หรือจุดประสงค์การเรียนรู้
1. สามารถบอกความแตกต่างของคอมพิวเตอร์ได้อย่างถูกต้อง
2. สามารถจำแนกหน้าที่ และองค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
3. อธิบายพฤติกรรมของโปรเซส และเทรดได้
4. อธิบายการทำงานของหน่วยความจำ และการจัดเวลาซีพียูได้อย่างถูกต้อง
5. สามารถบอกความแตกต่างของอุปกรณ์รับ และแสดงผลได้อย่างถูกต้อง
6. อธิบายการทำงานของระบบแฟ้มได้อย่างถูกต้อง
7. สามารถใช้งานระบบปฏิบัติการแบบใหม่ได้


ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
1. เข้าใจความหมายของโคบอล
2. สามารถเล่าประวัติของภาษาโคบอลโดยย่อ
3. เข้าใจจุดเด่น และจุดด้อยของภาษา
4. เข้าใจขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
5. เข้าใจการโปรแกรมโครงสร้าง


ปฏิบัติการสำรวจข้อมูล และถอดประกอบเครื่อง
- จัดคอมพิวเตอร์ให้นักศึกษาได้ฝึกถอดประกอบคอมพิวเตอร์จากห้องปฏิบัติการ
- มอบหมายให้เข้าสำรวจฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ ในสถาบัน ตามหน่วยงานต่าง ๆ
- ให้ค้นข้อมูลการใช้คอมพิวเตอร์ในองค์การต่าง ๆ และยกตัวอย่างการใช้ประโยชน์
- ค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับ ระบบคอมพิวเตอร์ จากอินเทอร์เน็ต นำมาทำรายงาน แล้วนำเสนอ แนะนำเว็บไซต์ประกอบการค้นคว้าบางส่วน
+ http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet1
+ http://www.nectec.or.th/courseware/computer/comp-using/index.html
+ http://www.sanambin.com


แบบฝึกหัดท้ายบท
1. ระบบต่าง ๆ ภายในคอมพิวเตอร์ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบันมีระบบอะไรบ้าง
2. ประเภทของเครื่องคอมพิวเตอร์มีอะไรบ้าง
3. บุคลการมีบทบาท หรือหน้าที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์อะไรบ้าง
4. องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์มีอะไรบ้าง


วิธีการสอน และกิจกรรม
1. บรรยายตามเนื้อหาแต่ละหัวข้อ (เว็บเพจ http://www.thaiall.com/os/os01.htm)
2. สอบถาม เพื่อทบทวน เมื่อจบแต่ละหัวข้อ
3. เตรียมบันทึกให้นักศึกษานำไปแสดงตัวต่อหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อขอเข้าสำรวจ
4. ให้นักศึกษาได้ฝึกถอดประกอบคอมพิวเตอร์ ในห้องปฏิบัติการ
5. นำเสนอผลการฝึกปฏิบัติ
6. ให้ค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติมจากอินเทอร์เน็ต แล้วรวบรวมส่งเป็นรายงาน

สื่อการสอน
1. คอมพิวเตอร์สำหรับอาจารย์
2. คอมพิวเตอร์สำหรับนักศึกษา
3. เครื่องขยายเสียง
4. เครื่องฉายข้ามศีรษะ และแผ่นใส
5. กระดานไวท์บอร์ด และ ปากกาสำหรับไวท์บอร์ด
6. คอมพิวเตอร์ที่ถูกเตรียม สำหรับฝึกถอดประกอบเครื่องฯ โดยเฉพาะ


การวัดผล
1. สังเกตความสนใจขณะฟังคำอธิบาย และการตอบข้อซักถาม
2. การปฏิบัติในชั่วโมงปฏิบัติ
3. การทำงานตามที่มอบหมาย


ความคิดเห็นหัวหน้าสาขา
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
ลงชื่อ ______________
วันที่ ______________


ความคิดเห็นคณบดี
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
ลงชื่อ ______________
วันที่ ______________

องค์ประกอบหลักของ แผนการสอน และแผนการจัดการเรียนรู้
1. จุดประสงค์การเรียนรู้ (Objective)

คือ สิ่งที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน

1.1 พุทธิพิสัย (Cognitive) คือ จุดประสงค์ที่เน้นความสามารถทางสมอง (Head) ความรู้ในเนื้อหา และ ทฤษฎี

1.2 ทักษะพิสัย (Skill) คือ จุดประสงค์ที่เน้นความสามารถทางปฏิบัติ (Hand)

1.3 จิตพิสัย (Affective) คือ จุดประสงค์ที่เน้นคุณธรรม และจิตใจ (Heart)
2. การเรียนการสอน (Learning)

คือ กระบวนการที่จะทำให้บรรลุจุดประสงค์การเรียนรู้

2.1 สาระการเรียนรู้ cccccccccccc

2.2 เนื้อหาวิชา

2.3 กิจกรรมการเรียนการสอน

2.4 สื่อการเรียนการสอน

เช่น การอภิปราย การสาธิต การสืบค้น การทำโครงงาน การวิจัย และทดลองปฏิบัติ เป็นต้น
3. การวัด และประเมินผล (Evaluation)

คือ การตรวจสอบว่าผู้เรียนมีพฤติกรรม หรือลักษณะพึงประสงค์ ตามจุดประสงค์การเรียนรู้มากน้อยเพียงใด


องค์ประกอบ ในการเขียนแผนการสอน หรือเอกสารประกอบการสอน

  1. มาตรฐานการเรียนรู้
  2. สาระสำคัญ
  3. จุดประสงค์การเรียนรู้
  4. จุดประสงค์ปลายทาง
  5. จุดประสงค์นำทาง
  6. เนื้อหาสาระ
  7. สื่ออุปกรณ์การเรียนการสอน
  8. ลำดับกิจกรรมการเรียนการสอน
  9. กิจกรรมการเรียนรู้
  10. การวัด และประเมินผล
  11. กิจกรรมเสนอแนะ
  12. บันทึกผลหลังการสอน

- ผลการสอน

- ปัญหาอุปสรรค

- แนวทางแก้ไข

- ข้อเสนอแน

  1. ชื่อผู้สอน

ลักษณะของ เอกสารประกอบการสอน (รูปแบบหนึ่ง)
- จัดทำเป็นรูปเล่ม มี ปกนอก ปกใน คำนำ สารบัญ
- มี ลักษณะรายวิชา การแบ่งบทเรียน(ท/ป) การประเมินผลรายวิชา ตารางกำหนดน้ำหนักคะแนน รายการเอกสารประกอบการสอน
- เนื้อหาเรียงตามแผนการสอน และมีจุดประสงค์การสอน แต่ละบท ที่คำนึงถึงลำดับการเรียนรู้
- แต่ละบทมี แบบฝึกหัดท้ายบท วิธีการสอน และกิจกรรม สื่อการสอน การวัดผล
- ความคิดเห็นหัวหน้าสาขา และความคิดเห็นคณบดี

สรุปข้อเสนอแนะ เพิ่มเติม จาก ผู้ทรงคุณวุฒิ ในระดับอุดมศึกษา
? คำที่ใช้ต้อง ตรวจสอบจากพจนานุกรมที่เป็นที่ยอมรับ อย่าให้ผิด
? ต้องมี Reference ของภาพ และข้อความ ที่คัดลอกมา
? อย่าใช้คำว่าหน่วยที่ แบบในแผนการจัดการเรียนรู้ แต่ให้ใช้คำว่า บทที่
? หัวข้อใหญ่ตัวอักษรใหญ่ชิดซ้าย หัวข้อย่อยย่อหน้า 1 Tab ตัวเล็กลง และลดหลั่นกันไป
? Technical Term ต้องแปลเป็นภาษาไทย เช่น แฟ้มข้อมูลหลัก (Master File) เป็นต้น
? อย่าใช้คำไทย สลับกับคำภาษาอังกฤษ
? เอกสารประกอบการสอน และตำรา ต้องเป็นคนละวิชา
? ตำรา ต้องมีการเปิดสอนในสถาบันการศึกษา ระดับอุดมศึกษา (ห้ามเถียง เพราะผมก็ไม่มีโอกาส)
? ขนาดตัวอักษร หัวข้อใหญ่มีขนาด 18 และหนา หัวข้อรองมีขนาด 16 และหนา


ตัวอย่างส่วนต่าง ๆ เฉพาะที่น่าสนใจ

คำอธิบายรายวิชา

ศึกษา และปฏิบัติเกี่ยวกับความหมาย การเขียนชุดคำสั่ง และการแก้ปัญหาโดยใช้คอมพิวเตอร์ด้วยภาษาโคบอล หลักการต่าง ๆ ของวิธีการเขียนโปรแกรม ความรู้ทั่วไป หลักการภาษาโคบอล ส่วนประกอบ และโครงสร้างของภาษาโคบอล การออกแบบโปรแกรมโครงสร้าง การแก้ไขข้อผิดพลาด การทดสอบความถูกต้องของโปรแกรม และเทคนิคการจัดการแฟ้มข้อมูลในโปรแกรมภาษาโคบอล และปฏิบัติการเขียนโปรแกรมประยุกต์ทางธุรกิจด้วยภาษาโคบอล


มาตรฐานรายวิชา
1. เขียนโปรแกรมประยุกต์ถูกต้องตามโครงสร้างของภาษาโคบอล
2. เขียนโปรแกรมขนาดเล็กด้วยภาษาโคบอล
3. ทดสอบ และแก้ไขการทำงานของโปรแกรม

สาระการเรียนรู้

มาตรฐาน

 

1

2

3

1. หลักการเบื้องต้นของภาษา

3

 

 

2. โครงสร้างของภาษา

3

 

 

3. คำสั่ง

3

3

 

4. การทำงานแบบตามลำดับ

3

3

3

5. การทำงานแบบมีเงื่อนไข

3

3

3

6. การทำงานแบบวนซ้ำ

3

3

3

7. การเข้าถึงแฟ้มแบบตามลำดับ

 

3

3

8. การเข้าถึงแฟ้มแบบดัชนี

 

3

3


จุดประสงค์การสอน หรือจุดประสงค์การเรียนรู้
1. สามารถบอกความแตกต่างของคอมพิวเตอร์ได้อย่างถูกต้อง
2. สามารถจำแนกหน้าที่ และองค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
3. อธิบายพฤติกรรมของโปรเซส และเทรดได้
4. อธิบายการทำงานของหน่วยความจำ และการจัดเวลาซีพียูได้อย่างถูกต้อง
5. สามารถบอกความแตกต่างของอุปกรณ์รับ และแสดงผลได้อย่างถูกต้อง
6. อธิบายการทำงานของระบบแฟ้มได้อย่างถูกต้อง
7. สามารถใช้งานระบบปฏิบัติการแบบใหม่ได้


ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
1. เข้าใจความหมายของโคบอล
2. สามารถเล่าประวัติของภาษาโคบอลโดยย่อ
3. เข้าใจจุดเด่น และจุดด้อยของภาษา
4. เข้าใจขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
5. เข้าใจการโปรแกรมโครงสร้าง


ปฏิบัติการสำรวจข้อมูล และถอดประกอบเครื่อง
- จัดคอมพิวเตอร์ให้นักศึกษาได้ฝึกถอดประกอบคอมพิวเตอร์จากห้องปฏิบัติการ
- มอบหมายให้เข้าสำรวจฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ ในสถาบัน ตามหน่วยงานต่าง ๆ
- ให้ค้นข้อมูลการใช้คอมพิวเตอร์ในองค์การต่าง ๆ และยกตัวอย่างการใช้ประโยชน์
- ค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับ ระบบคอมพิวเตอร์ จากอินเทอร์เน็ต นำมาทำรายงาน แล้วนำเสนอ แนะนำเว็บไซต์ประกอบการค้นคว้าบางส่วน
+ http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet1
+ http://www.nectec.or.th/courseware/computer/comp-using/index.html
+ http://www.sanambin.com


แบบฝึกหัดท้ายบท
1. ระบบต่าง ๆ ภายในคอมพิวเตอร์ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบันมีระบบอะไรบ้าง
2. ประเภทของเครื่องคอมพิวเตอร์มีอะไรบ้าง
3. บุคลการมีบทบาท หรือหน้าที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์อะไรบ้าง
4. องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์มีอะไรบ้าง


วิธีการสอน และกิจกรรม
1. บรรยายตามเนื้อหาแต่ละหัวข้อ (เว็บเพจ http://www.thaiall.com/os/os01.htm)
2. สอบถาม เพื่อทบทวน เมื่อจบแต่ละหัวข้อ
3. เตรียมบันทึกให้นักศึกษานำไปแสดงตัวต่อหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อขอเข้าสำรวจ
4. ให้นักศึกษาได้ฝึกถอดประกอบคอมพิวเตอร์ ในห้องปฏิบัติการ
5. นำเสนอผลการฝึกปฏิบัติ
6. ให้ค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติมจากอินเทอร์เน็ต แล้วรวบรวมส่งเป็นรายงาน

สื่อการสอน
1. คอมพิวเตอร์สำหรับอาจารย์
2. คอมพิวเตอร์สำหรับนักศึกษา
3. เครื่องขยายเสียง
4. เครื่องฉายข้ามศีรษะ และแผ่นใส
5. กระดานไวท์บอร์ด และ ปากกาสำหรับไวท์บอร์ด
6. คอมพิวเตอร์ที่ถูกเตรียม สำหรับฝึกถอดประกอบเครื่องฯ โดยเฉพาะ


การวัดผล
1. สังเกตความสนใจขณะฟังคำอธิบาย และการตอบข้อซักถาม
2. การปฏิบัติในชั่วโมงปฏิบัติ
3. การทำงานตามที่มอบหมาย


ความคิดเห็นหัวหน้าสาขา
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
ลงชื่อ ______________
วันที่ ______________


ความคิดเห็นคณบดี
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
ลงชื่อ ______________
วันที่ ______________

คำสำคัญ (Tags): #ครูปฐมวัย
หมายเลขบันทึก: 410737เขียนเมื่อ 27 พฤศจิกายน 2010 16:26 น. ()แก้ไขเมื่อ 11 ธันวาคม 2012 13:49 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท