Agriculture for Better Living and Global Economy (รศ.ดร.พีรเดช ทองอำไพ)


เรื่องของโลก

    สถานการณ์ปัจจุบัน

  • ประชากร 6,866 ล้านคน
  • ประชากรอายุ 60+ = 605 ล้านคน
  • อายุขัย 65.8 ปี
  • คนว่างงาน 190 ล้านคน (อัตราว่างงาน 6.1%)

     คาดการณ์อีก 15-20 ปีข้างหน้า

  • ประชากรประมาณ 7,600 ล้านคน (ปี 2020) (9,000 ล้าน ปี 2050)
  • ประชากรอายุ 60+ = 1,200 ล้านคน (ปี 2025)

เรื่องของไทย

สถานการณ์ปัจจุบัน

  • ประชากร 64 ล้านคน
  • อายุขัยเฉลี่ย 72.5 ปี
  • สัดส่วนวัยทำงาน : ผู้สูงวัย 6.3 : 1
  • อัตราการเพิ่มประชากร 0.63% (เดิม 3.1% ปี 1960)
  • อัตราว่างงาน 2.1%

คาดการณ์อีก 15-20 ปีข้างหน้า

  • ประชากร  69 ล้านคน (ปี 2020)
  • สัดส่วนวัยทำงาน : ผู้สูงวัย 3.3 : 1 (ปี 2020)

สิ่งที่จะเกิดขึ้นแน่นอน

  • ขาดแคลนพลังงานอย่างรุนแรง
  • การถือครองที่ดิน ที่ไม่เป็นธรรม
  • การแย่งชิงน้ำ และปัญหาน้ำท่วม น้ำแล้ง
  • ความสามารถในการเข้าถึงอาหาร และยารักษาโรค
  • ความไม่เท่าเทียมกันในสังคม
  • คนตกงานในสาขาที่มีการผลิตจำนวนมาก

     ปัญหาของประเทศไทยในปัจจุบัน คือ คนไทยเป็นเกษตรกรน้อยลง และมีอายุเฉลี่ยของเกษตรกรเพิ่มขึ้นมาก จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องพยายามลดอายุเฉลี่ยของเกษตรกรลงให้ได้

“เกษตรกรที่ทำการเกษตรเป็นหลัก ใช้เทคโนโลยีใหม่ๆ มาใช้ในการเพาะปลูก
เกษตรผู้สูงอายุหาเลี้ยงชีพจากเกษตรแบบยังชีพ” (อัมมาร  สยามวาลาม, 2547)

     สภาพทั่วไปทางการเกษตรของไทย พบว่า ขนาดพื้นที่ต่อคนค่อย ๆ เพิ่มขึ้นเป็นลำดับ เนื่องจากมีการใช้เครื่องจักรกลเพิ่มมากขึ้น

     สำหรับในด้านการวิจัย พบว่า อัตราส่วนนักวิจัยไทยต่ำ ดังนั้นประเทศไทยคงต้องเร่งพัฒนานักวิจัยเพิ่มมากขึ้นทั้งในด้านปริมาณและคุณภาพ

ข้อมูลจากการบรรยายของ รศ.ดร.พีรเดช ทองอำไพ วันที่ 9 กันยายน 2553

คำสำคัญ (Tags): #agriculture
หมายเลขบันทึก: 395921เขียนเมื่อ 20 กันยายน 2010 00:05 น. ()แก้ไขเมื่อ 11 มิถุนายน 2012 07:04 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท