ราตรี
นางสาว ราตรี หล่อปัญญากิจการ

วิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว


เก็บการบ้านและงานวิจัย

นางธนัญญาณ์  จุลบุตร                      539409011

นางมานิตย์  เจ็งเจริญ                          539409007

นางสาวราตรี  หล่อปัญญากิจการ     539409008

สาขา วิจัยฯ

 

 

 

การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว 

 

ตัวอย่าง

อาจารย์ท่านหนึ่งสอนสถิติ  ให้กับนักศึกษาสาขาบริหารการศึกษา สาขาการศึกษาพิเศษและสาขาวิจัยฯ  เมื่อสิ้นภาคเรียน  ทำการสอบนักศึกษา   คะแนนเต็ม  20  คะแนน  ผลการสอบ มีดังนี้

บริหาร

12

10

14

13

15

16

12

11

12

10

การศึกษาพิเศษ

10

15

14

13

12

11

14

10

16

14

วิจัย

15

16

14

17

13

15

16

18

14

15

 

จงทดสอบความแตกต่างของกลุ่มตัวอย่างทั้ง  3  กลุ่ม

 

                ขั้นที่ 1 กำหนดชื่อตัวแปรที่ Variable View  ในที่นี้กำหนดให้ แต่ละสาขาเป็น group  และคะแนนที่สอบได้เป็น score  ดังภาพที่ 1

 

 

ภาพที่ 1  กำหนดชื่อตัวแปร

 

                ขั้นที่ 2 ลงรหัสข้อมูลตามค่าที่กำหนดไว้ ลงใน  Data View  ดังภาพที่ 2

 

 

ภาพที่ 2 หน้าต่างข้อมูลที่หลังจากลงรหัสแล้ว

 

                ขั้นที่ 3  บันทึกข้อมูลลงในแฟ้มที่ต้องการเก็บข้อมูล โดยคลิกเมนู File แล้ว Save As…

ดังภาพที่ 3

 

 

 

ภาพที่ 3 การบันทึกข้อมูลลงแฟ้มข้อมูลที่ต้องการเก็บ

การใช้คำสั่ง One – Way ANOVA ในการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว

                คำสั่ง One – Way ANOVA  ดำเนินการดังนี้

                1. คลิกที่ Analyze         Compare Means            One – Way ANOVA ดังภาพที่ 4

 

 

ภาพที่ 4 การใช้คำสั่ง One – Way ANOVA 

                2. เลือกเมนูย่อย One – Way ANOVA  จะได้หน้าต่าง  ดังภาพที่ 5

 

 

ภาพที่ 5 แสดงหน้าต่าง  One – Way ANOVA 

 

                เลือกตัวแปรตาม(score) ใส่ช่อง  “Dependent List”  และตัวแปรอิสระใส่ช่อง  “Factor”  ในตัวอย่างนี้ให้เลือกตัวแปรอิสระเป็น group  และตัวแปรตามคือ  score

                หากต้องการเปรียบเทียบพหุคูณคลิกที่ปุ่ม  “Post Hoc…….”  แล้วเลือกวิธีการเปรียบเทียบดังภาพที่ 6

 

 

ภาพที่ 6  หน้าต่างของการเปรียบเทียบภายหลัง

                ในที่นี้เลือกการเปรียบเทียบพหุคูณด้วยวิธี “Scheffe”  จากนั้นคลิกปุ่ม Continue  และ คลิกปุ่ม   “OK”  โปรแกรมแสดงผลลัพธ์ที่คำนวณได้ในหน้าต่าง “Output”

                หากต้องการค่าสถิติพื้นฐานของตัวแปรและทดสอบความเป็นเอกพันธ์ของความแปรปรวนให้คลิกปุ่ม “Options…”  หากต้องการให้โปรแกรมสร้างกราฟแสดงค่าเฉลี่ยของแต่ละกลุ่มก็คลิกที่ข้อความ “Means plot”  ดังภาพประกอบที่ 7

ภาพที่ 7 หน้าต่าง Options…..

 

 

 

สำหรับการทดสอบความเป็นเอกพันธุ์ของความแปรปรวนนั้น จะแสดงการทดสอบความเป็นเอกพันธุ์ด้วยสูตรของ Levene  ตัวอย่างผลลัพธ์มีดังนี้

 

Oneway

                                                                                    Descriptives

 

SCORE

 

N

Mean

Std. Deviation

Std. Error

95% Confidence Interval for Mean

Minimum

Maximum

 

 

 

 

 

Lower Bound

Upper Bound

 

 

บริหาร

10

12.50

2.014

.637

11.06

13.94

10

16

การศึกษาพิเศษ

10

12.90

2.079

.657

11.41

14.39

10

16

วิจัยฯ

10

15.30

1.494

.473

14.23

16.37

13

18

Total

30

13.57

2.208

.403

12.74

14.39

10

18

 

 

             Test of Homogeneity of Variances

 

SCORE

Levene Statistic

df1

df2

Sig.

.874

2

27

.429

 

                                                          ANOVA

 

SCORE

 

Sum of Squares

df

Mean Square

F

Sig.

Between Groups

45.867

2

22.933

6.484

.005

Within Groups

95.500

27

3.537

 

 

Total

141.367

29

 

 

 

 

Post Hoc Tests

                                                            Multiple Comparisons

 

Dependent Variable: SCORE

Scheffe

(I) GROUP

(J) GROUP

Mean Difference (I-J)

Std. Error

Sig.

95% Confidence Interval

 

 

 

 

 

Lower Bound

Upper Bound

บริหาร

การศึกษาพิเศษ

-.40

.841

.893

-2.58

1.78

 

วิจัยฯ

-2.80(*)

.841

.010

-4.98

-.62

การศึกษาพิเศษ

บริหาร

.40

.841

.893

-1.78

2.58

 

วิจัยฯ

-2.40(*)

.841

.028

-4.58

-.22

วิจัยฯ

บริหาร

2.80(*)

.841

.010

.62

4.98

 

การศึกษาพิเศษ

2.40(*)

.841

.028

.22

4.58

*  The mean difference is significant at the .05 level.

 

 

Homogeneous Subsets

 

 

                                       SCORE

 

Scheffe

  

GROUP

N

Subset for alpha = .05

1

2

บริหาร

10

12.50

 

การศึกษาพิเศษ

10

12.90

 

วิจัยฯ

10

 

15.30

Sig.

 

.893

1.000

Means for groups in homogeneous subsets are displayed.

a  Uses Harmonic Mean Sample Size = 10.000.

 

 

Means Plots

 

 

                ผลการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียวปรากฏว่าค่า F – test คำนวณได้  6.484   มีนัยสำคัญทางสถิติที่ .005  ซึ่งน้อยกว่า  .05 แสดงว่าทั้ง  3  กลุ่มมีค่าเฉลี่ยแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จึงทำการเปรียบเทียบพหุคูณด้วยวิธี  Scheffe    ผลปรากฏว่า สาขาบริหารและสาขาวิจัยฯ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ  และสาขาการศึกษาพิเศษและสาขาวิจัยฯ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05  ส่วนสาขาบริหารและสาขาการศึกษาพิเศษแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญ

                   

คำสำคัญ (Tags): #การบ้าน
หมายเลขบันทึก: 392519เขียนเมื่อ 9 กันยายน 2010 20:17 น. ()แก้ไขเมื่อ 23 มิถุนายน 2012 18:03 น. ()สัญญาอนุญาต: สงวนสิทธิ์ทุกประการจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

ไม่อนุญาตให้แสดงความเห็น
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท