เซต (set) : ตอนที่ 2


การดำเนินการของเซต

เซต (Set) : ตอนที่ 2

 

การเปรียบเทียบเซต (Comparing sets)

ความสัมพันธ์ระหว่างเซตสองเซตหรือมากกว่าสองเซตจะศึกษาได้โดยดูที่สมาชิกของแต่ละเซต และดูว่าเซตเหล่านั้นมีสมาชิกร่วมกันหรือไม่

คอมพลีเมนต์ของเซต (Complement of a set)

      เซตที่มีสมาชิกทั้งหมดไม่รวมอยู่ในเขตเฉพาะเซตหนึ่ง ตัวอย่างเช่น ถ้า A ประกอบด้วยจำนวนเฉพาะ Á จะประกอบด้วยจำนวนทั้งหมดที่ไม่ใช่จำนวนเฉพาะ ทำนองเดียวกันที่จะกล่าวได้ว่า

      Á  =  U - A

      เมื่อ U ประกอบด้วยจำนวนสมาชิกทุกจำนวน คอมพลีเมนต์ของ A เขียนแทนด้วย Á

ยูเนียนของเซต (Union of sets)

สมาชิกของเซตสองเซตหรือมากกว่าสองเซตมาอยู่ด้วยกัน ยูเนียนเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ υ ตัวอย่างเช่น

            A = {2,4,6}

            B = {1,3,5,6}

      A U B = {1,2,3,4,5,6}

อินเตอร์เซกชันเซต (Intersection of sets)

สมาชิกของสองเซตที่ปรากฎอยู่ในสองเซตหรือมากกว่าสองเซต  อินเตอร์เซกชันของเซตเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ ∩ ตัวอย่างเช่น

           A   =  {2,4,6}

           B   =  {1,2,3,4,5}

        A∩B  =  {2,4}

แผนภาพของเวนน์ (Venn diagrams)

แผนภาพของเวนน์แสดงความสัมพันธ์ระหว่างเซตต่างๆ  ในแผนภาพของเวนน์โดยทั่วไปจะแทนเซตหนึ่งด้วยวงกลมหนึ่ง และแทนเอกภพสัมพัทธ์ของเซตด้วยรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า

***จบแล้วครับ***

 

คำสำคัญ (Tags): #เซต
หมายเลขบันทึก: 384577เขียนเมื่อ 14 สิงหาคม 2010 02:48 น. ()แก้ไขเมื่อ 6 กันยายน 2013 23:22 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (3)

สวัสดียามเช้าค่ะ

มาเยี่ยมค่ะ... พอดีว่า เก่งคณิตศาสตร์เสียด้วยซิคะ 

เก่งแบบไม่กระดอกเลย...ฮา....

มีความสุขในวันหยุดค่ะ

 

 

ขอบคุณที่ติดตาม

คณิตศาสตร์ต้องฝึกบ่อยๆ ครับ

เหมือนไก่ชนหรือเปล่าฮะ ต้องซ้อมบ่อยๆ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท