การเรียงลำดับระยะของกระบวนการขัดแย้ง


การเรียงลำดับระยะของกระบวนการขัดแย้ง

 

 

 

"การเรียงลำดับระยะของกระบวนการขัดแย้ง"

 

กระบวนการขัดแย้ง  มี  5  ระยะ  ดังนี้...

ระยะที่  1  มีความไม่ลงรอย หรือความไม่สอดคล้อง

                 จากสภาพที่เป็นอยู่ในงาน

                 การติดต่อสื่อสารที่ไม่ดี

                 โครงสร้างของงานที่ต้องการการประสานงาน

                  ความแตกต่างระหว่างบุคคล

 

ระยะที่  2  การรับรู้ที่เกิดความรู้สึกและอารมณ์กลายเป็นเรื่องส่วนตัว

                 ระยะที่รับรู้ว่ามีความขัดแย้ง  (ยังเฉย ๆ อยู่)

                 ระยะที่รับและรู้สึกว่าความขัดแย้งที่ผลทำให้เกิดความรู้สึกท้าทายไม่พอใจ

 

ระยะที่  3  เจตนาที่จะใช้แนวทางแก้ไขความขัดแย้ง  5  รูปแบบ  ได้แก่...

                    1.  แข่งขันเพื่อชนะ

                    2.  ประสานประโยชน์  โดยทำงานร่วมกับผู้ที่มีความขัดแย้งด้วย

                    3.  ประนีประนอม  ยอมลดความต้องการของแต่ละฝ่ายลง

                    4.  หลีกเลี่ยงไม่พูดถึงความขัดแย้ง

                    5.  ยอมให้อีกฝ่ายหนึ่งได้ตรงตามเป้าหมายของเขา

 

ระยะที่  4  พฤติกรรมที่เกิดเมื่อมีความขัดแย้ง

                 เป็นความขัดแย้งที่แสดงออกเป็นพฤติกรรมที่เห็นได้ชัดเจน  พฤติกรรมของฝ่ายหนึ่ง  ปฏิกิริยาโต้ตอบของอีกฝ่ายหนึ่ง

 

ระยะที่  5  ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

                 ผลการดำเนินงานของกลุ่มดีขึ้น

                 ผลการดำเนินงานของกลุ่มแย่ลง

 

 

หมายเลขบันทึก: 378528เขียนเมื่อ 25 กรกฎาคม 2010 09:57 น. ()แก้ไขเมื่อ 6 กันยายน 2013 23:16 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท