มหัศจรรย์ที่....10!!!!!


มหัศจรรย์ที่....10!!!!! สำหรับผลิตเชื้อจุลินทรีย์ละลายฟอสฟอรัสในดิน

 

(สำหรับผลิตเชื้อจุลินทรีย์ละลายฟอสฟอรัสในดิน)

 สารเร่ง พด. 8     ประเทศไทยมีพื้นที่ดินกรดเกือบครึ่งหนึ่งของประเทศไทยมีประมาณ 140 ล้านไร่ (44เปอร์เซ็นต์ของพื้นที่ทั้งหมด)    ดินกรดโดยทั่วไปที่จัดว่ามีปัญหาต่อการเกษตรจะมีค่า <div align="center"><div align="center"><div align="center"><table border="0" cellpadding="0" width="118%" class="MsoNormalTable" style="width: 118.24%"><tbody><tr> <td style="background-color: transparent; border: #ece9d8; padding: 0.75pt"><p style="margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: center" class="MsoNormal" align="center"></p></td> <td width="56%" style="width: 56.62%; background-color: transparent; border: #ece9d8; padding: 0.75pt"> <div align="center"><table border="0" cellpadding="0" width="394" class="MsoNormalTable" style="width: 394px; height: 439px"><tbody>

 

ความเป็นกรดเป็นด่างของดิน ต่ำกว่า 5.5 มีสาเหตุสำคัญเกิดขึ้น เนื่องจาก การเกิดการชะล้างอย่างรุนแรงในอดีต        และเป็นไปอย่างต่อเนื่องจนถึง ปัจจุบัน  โดยเฉพาะอย่างยิ่งขาดการเอาใจใส่ในการปรับปรุงบำรุงดินรวม ถึงการเผาทำลายตอซังข้าว         ซึ่งมีผลทำให้ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ำ เพิ่มมากขึ้นและทำให้ดินมีปัญหาเป็นกรด      พืชจึงไม่สามารถดูดซับธาตุ อาหารมาใช้ประโยชน์   โดยเฉพาะอย่างยิ่งฟอสฟอรัสจะถูกตรึงไว้ในดิน ฟอสฟอรัสเป็นธาตุอาหารอีกธาตุหนึ่ง  ที่มีความสำคัญอย่างมาก  ต่อการ เจริญเติบโตของพืช   โดยมีบทบาทต่อการสร้างราก การแตกกอ และการ  แตกแขนงของกิ่งก้าน     ทำให้มีการสร้างดอกและเมล็ดของพืชเพาะปลูก ดังนั้น  กรมพัฒนาที่ดินจึงได้นำกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีความสามารถในการละ- ลายฟอสฟอรัส  เพื่อเพี่มความเป็นประโยชน์ของฟอสฟอรัสในดินร่วมกับ การไถกลบตอซังและปรับปรุงดินด้วยปุ๋ยอินทรีย์              "สารเร่ง พด.8สำหรับผลิตเชื้อจุลินทรีย์ละลายฟอสฟอรัส ในดินที่ทำการเกษตรเป็นเวลานาน ขาดการปรับบำรุงดินด้วยอินทรียวัตถุ ทำให้ดินเป็นกรดและเกิดปัญหา ในการใช้ฟอสฟอรัสกับพืช

</tbody></table></div> </td> </tr></tbody></table></div></div></div></span><div align="center"><table border="0" cellpadding="0" width="620" class="MsoNormalTable" style="width: 620px; height: 200px"><tbody> <tr style="height: 22pt"> <td colspan="2" width="53%" style="width: 53.54%; height: 22pt; background-color: transparent; border: #ece9d8; padding: 0.75pt">ประโยชน์ของสารเร่ง พด.8</td> <td rowspan="4" width="45%" style="width: 45.26%; height: 22pt; background-color: transparent; border: #ece9d8; padding: 0.75pt"> <table border="0" cellpadding="0" width="85%" class="MsoNormalTable" align="left" style="width: 85%"><tbody><tr><td style="background-color: transparent; border: #ece9d8; padding: 0.75pt"></td></tr></tbody></table> </td> </tr>

 

1. เพิ่มความเป็นประโยชน์ของฟอสฟอรัสในดิน

2. ทำให้พืชเจริญเติบโตและสมบูรณ์  

 

 

</tbody></table></div><div align="center"><table border="0" cellpadding="0" width="689" class="MsoNormalTable" style="width: 689px; height: 788px"><tbody>

วิธีทำ                    ขั้นตอนที่   1    ขยายเชื้อจุลินทรีย์ 10 ลิตร
  1. ละลายสารเร่ง พด. 8 ในน้ำและกากน้ำตาล
      ในถังกวนผสมให้เข้ากันนาน 5 นาที
  2. ปิดฝาไม่ต้องสนิท
  3.ใช้เวลาการหมัก 2 วัน กวน 2 ครั้งต่อวัน
 
                ขั้นตอนที่   2   ผสมเชื้อจุลินทรีย์ในปุ๋ยหมัก
  1. นำจุลินทรีย์ที่ขยายได้ 10 ลิตร ผสมในปุ๋ยหมัก 500 กิโลกรัม และรำข้าว5 กิโลกรัม   คลุกเคล้าส่วนผสมให้เข้ากันอย่างสม่ำ เสมอ และให้มีความชื้น 60 เปอร์เซ็นต์  
  2. ตั้งกองปุ๋ยหมักให้เป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าความสูง 70เซนติเมตร  
  3. กองปุ๋ยหมักในที่ร่มเป็นเวลา 24 ชั่วโมง แล้วนำไปใช้  
   
  
  วัสดุสำหรับผลิตจุลินทรีย์ละลายฟอสฟอรัสในดิน 
1. กากน้ำตาล 1 กิโลกรัม
2. น้ำ 10 ลิตร
3. ปุ๋ยหมัก 500 กิโลกรัม
4. รำข้าว 5 กิโลกรัม
5. สารเร่ง พด.8 1 ซอง (25 กรัม)

 

 

อัตราการใช้
1. ข้าว พืชไร่ พืชผักหรือไม้ดอกไม้ประดับ :  ใช้ 100 กิโลกรัมต่อไร่
2. ไม้ผลหรือไม้ยืนต้น  :  ใช้ 3 กิโลกรัมต้อต้น

</tbody></table></div><div align="center"><table border="0" cellpadding="0" width="628" class="MsoNormalTable" style="width: 628px; height: 139px"><tbody>

 
วิธีการใช้
1. ข้าว พืชไร่ พืชผักหรือไม้ดอกไม้ประดับ : ใส่ระหว่างแถวก่อนปลูกพืช 2. ไม้ผลหรือไม้ยืนต้น เตรียมหลุมปลูก : ใส่โดยคลุกเคล้ากับปุ๋ยหมัก รองไว้ก้นหลุม 3.  ต้นพืชที่เจริญแล้ว : ใส่รอบทรงพุ่มและหว่านให้ทั่วภายใต้ทรงพุ่ม

</tbody></table></div>

หมายเลขบันทึก: 37593เขียนเมื่อ 7 กรกฎาคม 2006 11:29 น. ()แก้ไขเมื่อ 6 กันยายน 2013 17:26 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท