ดร.กฤษฎา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กฤษฎา สังขมณี

สัมมนาธุรกิจการเงินการธนาคาร 1/2553


ร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้แบบวงกลม

สวัสดีนักศึกษาปี  4  ที่รักทุกคน

       ขอให้เราติดต่อกันผ่านทาง  BLOG  เพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และได้เรียนรู้จากคนที่เราไม่รู้จักแต่สนใจด้านการเงิน  เศรษฐกิจ  การลงทุน  ตลอดเทอมนี้

       ให้ทุกคนหาสัญญลักษณ์ธนาคารในประเทศไทยทุกแห่ง  ชื่อย่อ  ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่  website  จำนวนสาขาโดยประมาณ จุดเด่นของแต่ละธนาคาร และการแข่งขันฟุตบอลโลกครั้งนี้ส่งผลอย่างไรต่อภาคธุกิจใดบ้าง และจะมีผลกระทบภาคสังคมอย่างไรบ้าง  ส่งภายในเวลา 24.00 น. ของวันอังคารที่  22  มิถุนายน  2553 ครับ

                                                           ผ.ศ.กฤษฎา  สังขมณี

 

สวัสดีตอนเช้าวันพฤหัสบดี

      ขอให้ทุกคนเตรียมตัวเป็นเจ้าหน้าที่ประเมินราคาหลักประกันที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้างของธนาคาร  ทำรายงานส่งใน  2  สัปดาห์  (ปกติธนาคารจะทำงานเพียงไม่เกิน  1  สัปดาห์  และลูกค้าต้องเสียค่าใช้จ่ายให้ธนาคาร  3,000.- บาท)  ดูตัวอย่างได้ที่ท้ายหนังสือ  ซึ่งมีอยู่  2  ตัวอย่าง  งานนี้ไม่ต้องส่ง BLOG  แต่ให้ส่งในแบบรูปเล่มรายงานพร้อม  CD  ที่เป็น Microsoftword 2003  หรือ  2007  ก็ได้ครับ

           อย่าลืมถ่ายรูปให้ครบทุกห้องทุกมุมตั้งแต่ถนนใหญ่  ถนนซอย  รอบตัวบ้าน    แผนที่ทางเข้าหลักประกันต้องชัดเจน มีราคาประเมินของทางราชการ  และมีราคาตลาด 2 - 3  ราย  ไว้เพื่อการเทียบเคียง  งานชิ้นนี้คือความภาคภูมิใจของคุณทุกคน

                                                   ผ.ศ. กฤษฎา  สังขมณี

 

 

GOOD MORNING : FRIDAY      

   MY STUDENTS , IN CASE OF YOU ARE BUSINESS MAN , YOU WILL CONTACT MANY COMMERCIAL BANKS ALL TIME. SO ALL OF YOU MUST KNOW ABOUT SERVICES AND ORGANIZATION CHART OF THOSE BANKS IN ORDER TO SUPPORT YOUR FIRMS.     

   YOUR ASSIGNMENT FOR THIS WEEK :

     1. SEARCH ORGANIZATION CHART ALL COMMERCIAL BANKS AND COMMENT WHY YOU CHOOSE THAT BANK TO SUPPORT YOUR BUSINESS.

      2. THAT BANK SHOULD IMPROVE WHAT SERVICES  TO MEET YOUR SATISFACTION . WHY ? 

      SEND THIS INDIVIDUAL ASSIGNMENT TO ME  IN MY BLOG AND PAPERS  NEXT WEEK.

                                        BYE 

                         ASSISTANT PROFESSOR KRISADA                                    

  

ให้นักศึกษาทุกคนแสดงความเห็นว่าการคงประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน  ราคาไข่ไก่  ราคาน้ำตาลทราย  การท่องเที่ยว  การลงทุน  มีความเชื่อมโยงกันอย่างไร 

We want your comment about State Emergency , egg price , sugar price , tourism situations and investment  are connect or relate ? Why ? 

Your report due date on 8 July 2010 12.00 A.M.

                           ASSISTANT PROFESSOR KRISADA

 

 

สวัสดีนักศึกษาที่รัก

         งานของพวกเราหลายคนมีพัฒนาการที่ดีขึ้น  แต่หลายคนยังคงต้องปรับปรุงอยู่อีกบ้างเหมือนกัน และส่งให้ตรงเวลาด้วย   อย่าลืม  รายชื่อบริษัทประกันชีวิต  บริษัทประกันภัย  โลโก้  ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่  สถานที่ตั้งโดยสังเขป เป็นงานสำหรับสัปดาห์นี้ครับ

                                                           ผ.ศ. กฤษฎา  สังขมณี

 

หมายเลขบันทึก: 367073เขียนเมื่อ 17 มิถุนายน 2010 06:40 น. ()แก้ไขเมื่อ 24 มิถุนายน 2012 02:38 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (229)
นายชัยนุกูล เสือเจริญ

Credit : นายชัยนุกูล เสือเจริญ รหัส 50473010017

สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา

-------------------------------------------------------------------------------------

ธนาคารของรัฐบาล:

1.ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย

ชื่อย่อ : ธพว. หรือ SME Bank

ที่ตั้งธนาคาร : ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย (SME BANK)
SME BANK Tower
 

เลขที่ 310 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 
โทร. 0-2265-3000 โทรสาร 0-2265-4000 
Website: http://www.smebank.co.th
แผนที่ SME BANK Tower

กรรมการผู้จัดการใหญ่ :  นายพงษ์ภาณุ เศวตรุนทร์

WebSite : www.smebank.co.th

จำนวนสาขา : 95 สาขา

จุดเด่น : เพื่อประกอบธุรกิจอันเป็นการพัฒนา ส่งเสริม ช่วยเหลือ และสนับสนุนการจัดตั้ง การดำเนินงาน การขยาย หรือการปรับปรุงวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม โดยการให้สินเชื่อค้ำประกัน ร่วมลงทุน สนับสนุนบริการทางการเงิน ให้คำปรึกษาแนะนำหรือให้บริการที่จำเป็นแก่ผู้ประกอบการไทย มีฐานะเป็นนิติบุคคลโดยมีผู้ถือหุ้นทั้งภาครัฐและเอกชนร่วมกัน (จาก พ.ร.บ. ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2545 มาตรา 8 ให้กำหนดทุนเรือนหุ้นของธนาคารไว้หนึ่งหมื่นล้านบาท แบ่งออกเป็นหนึ่งร้อยล้านหุ้น มูลค่าหุ้นละหนึ่งร้อยบาท โดยให้ธนาคารขายหุ้นให้แก่กระทรวงการคลัง สถาบันการเงิน หรือบุคคลอื่น ทั้งนี้ ตามที่กำหนดไว้ในข้อบังคับของธนาคาร

2.ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร

ชื่อย่อ :
ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ :
กรรมการผู้จัดการใหญ่ :
Website :
จำนวนสาขา
จุดเด่น :

ชื่อย่อ : ธ.ก.ส.

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : สำนักงานใหญ่ 

เลขที่ 469 ถนน นครสวรรค์ เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300 โทร (662) 280-0180, 281-7355 โทรสาร (662) 280-0442, 281-6164, 280-5320 
ธ.ก.ส. Call Center 0-2555-0555
อีเมล์: [email protected]

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายกรณ์ จาติกวณิช รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ตำแหน่งประธานกรรมการ

 นายลักษณ์ วจนานวัช ผู้จัดการ

Website : www.baac.or.th

จำนวนสาขา : 886 สาขา

จุดเด่น : ทำหน้าที่อำนวยสินเชื่อทางการเกษตรอย่างกว้างขวาง ทั้งโดยตรงและสู่สถาบันเกษตรกร มุ่งให้ความช่วยเหลือทางการเงิน เพื่อส่งเสริมอาชีพการเกษตรหรือการดำเนินงานของเกษตรกร กลุ่มเกษตรกร หรือสหกรณ์การเกษตร ตลอดจนส่งเสริมให้ เกษตรกร กลุ่มเกษตรกร หรือ สหกรณ์การเกษตร สามารถประกอบอาชีพอย่างอื่นที่เกี่ยวเนื่องในการเกษตร เพื่อเพิ่มรายได้ให้แก่ครอบครัวเกษตรกร รวมทั้งให้บริการรับฝากเงิน เช่นเดียวกับธนาคารพาณิชย์ทั่วไปอีกด้วย

3.ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย

ชื่อย่อ : ธสน. หรือ EXIM Bank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 

อาคารเอ็กซิม 1193 ถนนพหลโยธิน พญาไท กรุงเทพฯ 10400
  โทร. :    0 2271 3700
 0 2278 0047
 0 2617 2111  
  โทรสาร :    0 2271 3204
  เทเล็กซ์ :    20893 EXIMBK TH
  SWIFT Code :    EXTHTHBK
  อีเมล :    [email protected]

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายณรงค์ชัย อัครเศรณี

Website : www.exim.go.th

จำนวนสาขา : 16 สาขา

จุดเด่น : ให้สินเชื่อได้ทุกรูปแบบ เช่น สินเชื่อระยะสั้นและสินเชื่อระยะยาว สินเชื่อในประเทศและสินเชื่อต่างประเทศ โดยสามารถทำธุรกิจได้ทั้งที่เป็นสกุลเงินบาทและสกุลเงินตราต่างประเทศ นอกจากนี้ยังสามารถกู้ยืมเงินจากสถาบันการเงินทุกประเภททั้งในประเทศและต่างประเทศและออกตราสารการเงินระยะสั้นและระยะยาวขายแก่สถาบันการเงินและประชาชนทั่วไปทั้งในประเทศและต่างประเทศ กล่าวโดยสรุป ธสน. สามารถทำธุรกิจทุกประเภทที่ธนาคารพาณิชย์ทำได้ ยกเว้นเพียงการรับฝากเงินจากประชาชนทั่วไปเท่านั้น สำหรับนักลงทุนไทยที่ไปลงทุนในต่างประเทศ สนับสนุนการลงทุนในรูปของการให้บริการทางการเงินทั้งสินเชื่อระยะสั้นและระยะยาว และเพื่อเป็นการเพิ่มความมั่นใจให้แก่นักลงทุน ยังพร้อมที่จะร่วมลงทุนถือหุ้นในกิจการอีกด้วย การรับประกันความเสี่ยงในการเรียกเก็บเงินจากการส่งออก

4.ธนาคารออมสิน

 

 

ชื่อย่อ : GSB

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 

 

สำนักงานใหญ่ธนาคารออมสินในปัจจุบัน 
ตั้งอยู่ที่ ถ.พหลโยธิน บริเวณสี่แยกสะพานควาย 
เปิดทำการเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2509

 

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายวินัย วิทวัสการเวช  ประธานกรรมการ

Website : www.gsb.or.th

จำนวนสาขา : 400 สาขา

จุดเด่น : เป็นธนาคารเพื่อลูกค้ารายย่อย จะเน้นให้สินเชื่อเพื่อพัฒนาชนบท พัฒนาผู้ประกอบการรายย่อย โดยจะมีรูปแบบของสินเชื่อและชนิดการฝากเงินรายย่อยมากมาย อีกทั้งยังสร้างเงินทุนหมุนเวียนในกลุ่มชุมชน โครงการธนาคารเพื่อประชาชนโดยให้สิ้นเชื่อระยะสั้นแก่ผู้ประกอบการรายย่อย (ให้ประชาชนมาเป็นหนี้ในระบบ ที่สามารถตรวจสอบได้ และการเก็บดอกเบี้ยตามความเป็นจริง) เป็นช่องทางการรับ-จ่ายเงินกู้จากโครงการกองทุนหมู่บ่นและชุมชนเมือง อีกทั้งยังลงทุนในการพัฒนาประเทศของหน่วยงานรัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ ให้บริการรูปแบบเงินฝากที่หลายหลายรูปแบบที่เหมาะกับแต่ละช่วงวัย และมีการให้บริการตามหลักศาสนาอิสลาม

5.ธนาคารอาคารสงเคราะห์

 

 

ชื่อย่อ : ธอส. หรือ GH Bank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : สำนักงานใหญ่

 

ที่อยู่ : 63 ถ.พระรามที่ 9 ห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10320
โทรศัพท์ : 0-2645-9000
โทรสาร : 0-2645-9001

 

กรรมการผู้จัดการใหญ่ :   นายชัยเกษม นิติสิริ  ประธานกรรมการ

Website : www.ghbank.co.th

จำนวนสาขา : 146 สาขา

จุดเด่น : เป็นธนาคารทำหน้าที่ช่วยเหลือทางการเงินให้กับประชาชน ได้มีที่อยู่อาศัยตามสมควรแก่อัตภาพ โดยการให้กู้ยืมเงิน และ จัดสรรที่ดินเพื่อก่อสร้างที่เป็นหน่วยงานของรัฐบาลที่ประกอบธุรกิจในการส่งเสริมและช่วยเหลือประชาชนนำเงินไป ลงทุนเกี่ยวกับการสร้างอาคารและที่ดินโดยตรงทำหน้าที่เสมือนสื่อกลางในการนำเงินไปใช้ประโยชน์ ใน กิจการเคหะและเป็นสถาบันการเงินที่ดำเนินธุรกิจ อีกทั้งยัง ร่วมมือกับหน่วยงานของรัฐต่างๆ สนับสนุนให้ประชาชนมีที่อยู่เป็นของตนเอง อาทิ ให้สินเชื่อกับผู้ที่ซื้อบ้านกับการเคหะแห่งชาติ สินเชื่อกับผู้ประกันตนกับสำนักงานประกันสังคม ร่วมกับกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการให้สมาชิกกู้เงินเพื่ออสังหาริมทรัพทย์ ความช่วยเหลือด้านการมีบ้าน

6. ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย

 

ชื่อย่อ : -

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย (สำนักงานใหญ่)

เลขที่ 66 ชั้น M, 21, 22 อาคารคิวเฮ้าส์ ถนนสุขุมวิท 21
แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา
กรุงเทพมหานคร 10110
โทรศัพท์ : 0-2650-6999
แฟกซ์ : 0-2664-3345
อีเมล์ : [email protected]
SWIFT : TIBTTHBK
กรรมการผู้จัดการใหญ่ นายธีรศักดิ์ สุวรรณยศ

Websitewww.ibank.co.th

จำนวนสาขา : 28 สาขา

จุดเด่นเป็นธนาคารที่ดำเนินธุรกรรมโดยปราศจากดอกเบี้ย แต่อยู่บนหลักการ กำไร-ขาดทุนร่วมกัน และดำเนินธุรกิจตาม พ.ร.บ.ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2545 โดยมีคณะที่ปรึกษาด้านศาสนาให้คำแนะนำ ตรวจสอบ เพื่อให้ธนาคารดำเนินงานถูกต้องตามหลักศาสนาอิสลาม ปัจจุบันธนาคารมีฐานะเป็นรัฐวิสาหกิจ สังกัดกระทรวงการคลัง

ธนาคารพาณิชย์ของรัฐบาล : 

1. ธนาคารกรุงไทย

บมจ.ธนาคารกรุงไทย - Krungthai Bank Public Company Limited

ชื่อย่อ : KTB

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่35 ถนนสุขุมวิท เขตวัฒนา กรุงเทพฯ

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์

Websitewww.ktb.co.th

จำนวนสาขา : 800 สาขา

จุดเด่นธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) (อังกฤษKrung Thai Bank Public Company Limited) เป็นธนาคารของรัฐ อยู่ภายใต้การกำกับดูแลของกระทรวงการคลัง ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2509โดยการควบกิจการของธนาคารมณฑลและamp;action=edit&redlink=1">ธนาคารเกษตร ซึ่งเป็นธนาคารที่รัฐบาลถือหุ้นใหญ่ทั้งคู่ และใช้ชื่อธนาคารใหม่ที่เกิดจากการควบรวมว่า "ธนาคารกรุงไทย จำกัด" มีตราสัญลักษณ์เป็นรูป นกวายุภักษ์ ซึ่งเป็นตราสัญลักษณ์ของกระทรวงการคลังเป็นสัญลักษณ์ของธนาคาร

ในระยะแรกของการก่อตั้ง มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่ถนนเยาวราช วัตถุประสงค์ของการรวมธนาคารทั้งสองให้เป็นของรัฐ เพื่อให้มีฐานะการเงินมั่นคง บริการกว้างขวาง ผลการดำเนินงาน ดีขึ้นตามลำดับ จนสำนักงานใหญ่เดิมที่ถนนเยาวราช คับแคบ จึงย้ายสำนักงานมาที่ 35 ถนนสุขุมวิท เขตวัฒนา กรุงเทพฯ เมื่อปี พ.ศ. 2525 ซึ่งใช้สำนักงานนี้มาจนถึงปัจจุบัน

ธนาคารกรุงไทยได้เริ่มดำเนินกิจการมา มีการเจริญเติบโตที่มั่นคง รวดเร็ว มีการปรับปรุง และขยายองค์กรงานใหม่ ซึ่งตอบสนองลูกค้าได้มากขึ้น จนกระทั่งเมื่อปี พ.ศ. 2531 ธนาคารกรุงไทย เป็นธนาคารเพียงแห่งเดียวในสมัยนั้น ที่มีสาขาและเอทีเอ็ม (ATM) ครบทุกจังหวัดทั่วประเทศ

 

ธนาคารกรุงไทยเป็นรัฐวิสาหกิจ แห่งแรกในประเทศไทยที่เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2532 ปัจจุบันผู้ถือหุ้นใหญ่คือกระทรวงการคลัง โดยถือหุ้นผ่านกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน จำนวน 6.184 พันล้านหุ้น คิดเป็น 55.31% ของหุ้นทั้งหมด

 นอกจากพาณิชยกรรมเช่นธนาคารพาณิชย์ทั่วไปแล้ว ธนาคารกรุงไทยยังเป็นช่องทางของรัฐบาลในการให้บริการทางการเงินสนองตามนโยบายของรัฐ โดยปล่อยสินเชื่อให้ธุรกิจบางประเภท เช่น สินเชื่อเพื่อโอท็อป (OTOP : หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์) สินเชื่อคอมพิวเตอร์ไอซีที สินเชื่อเพื่อการศึกษา ฯลฯ ธนาคารกรุงไทยยังเป็นธนาคารที่หน่วยงานราชการส่วนใหญ่เลือกใช้ อาทิเช่น กรมสรรพากร จ่ายเช็คคืนภาษีเป็นเช็คของธนาคารกรุงไทย และการเบิกจ่ายงบประมาณราชการ รวมถึงบำเหน็จบำนาญต่างๆ ของรัฐก็มีความเกี่ยวข้องกับธนาคารกรุงไทย

พร้อมกันนี้ในช่วงเวลาที่ประเทศไทยประสบปัญหาวิกฤติเศรษฐกิจ ธนาคารกรุงไทยได้ร่วมสนับสนุนนโยบายรัฐบาล ซึ่งเป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจของประเทศด้วยการอำนวย 'สินเชื่อก่อสร้างไทยเข้มแข็ง 2555' เพื่อเสริมสภาพคล่องให้กับผู้ประกอบการ

 

 เวลาทำการของธนาคารกรุงไทยนั้นแตกต่างจากธนาคารพาณิชย์ทั่วไปที่ปรับตามสภาวะเศรษฐกิจและความเหมาะสมในการดำเนินพาณิชยกรรม แต่เวลาทำการของธนาคารกรุงไทยสอดคล้องกับเวลาทำการของรัฐวิสาหกิจและราชการมากกว่า เช่นในปัจจุบันที่เปิดทำการถึงเวลา 16.30 น. ขณะที่ธนาคารพาณิชย์อื่นๆ ปิดทำการก่อนหน้านั้น 

2.ธนาคารทหารไทย

 Bank TMB Newfull.png

 

ชื่อย่อ : TMB

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่

ธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 3000 ถ.พหลโยธิน จอมพล จตุจักร กรุงเทพฯ 10900

โทรศัพท์ : 0-2299-1111

 

กรรมการผู้จัดการใหญ่นางเสาวนีย์ กมลบุตร

Website www.tmbbank.com

จำนวนสาขา : 480 สาขา

จุดเด่นเป็นธนาคารของประเทศไทย ก่อตั้งโดย จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เมื่อวันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2499 มีทุนจดทะเบียนเริ่มแรก 10 ล้านบาท สำนักงานใหญ่แห่งแรกตั้งอยู่ที่ อาคาร 2 ถนนราชดำเนิน จังหวัดพระนคร(กรุงเทพมหานครในปัจจุบัน) มีพนักงานเริ่มแรก 26 คน

ในระยะแรกแม้จะเป็นธนาคารพาณิชย์มีใบอนุญาตประกอบกิจการได้ทั่วไป แต่จำกัดการทำพาณิชยกรรมอยู่ในแวดวงจำกัดดังนี้

  1. ผู้ถือหุ้น ต้องเป็นทหารเท่านั้น บุคคลทั่วไปถือหุ้นไม่ได้
  2. ลูกค้า มุ่งรับฝากจากทหารและครอบครัวทหารเป็นส่วนใหญ่
  3. วัตถุประสงค์ เพื่ออำนวยความสะดวกในการให้บริหารทางการเงินแก่หน่วยงานทหาร และเพิ่มสวัสดิการการเงินแก่ข้าราชการทหาร

 

 

ธนาคารพาณิชย์ :

1.ธนาคารกร

นายชัยนุกูล เสือเจริญ

เพิ่มเติม : credit : นายชัยนุกูล เสือเจริญ รหัส 50473010017 สาขาวิชา เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา

-------------------------------------------------------------------------------------------

ธนาคารพาณิชย์ :

1.ธนาคารกรุงเทพ

ชื่อย่อ : BBL

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : เลขที่ 333 ถนนสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : 

Website : www.bangkokbank.com

จำนวนสาขา : 950 สาขา

จุดเด่น : จดทะเบียนก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2487 โดยข้าราชการ นักธุรกิจ และกลุ่มบุคคลที่มีแนวคิดเดียวกัน มีสโลแกนที่ว่า "เพื่อนคู่คิด มิตรคู่บ้าน"

รายงานผลการสำรวจธนาคารยอดเยี่ยมในประเทศกำลังพัฒนาประจำปี 2546 ซึ่งตีพิมพ์ใน นิตยสารโกลบอล ไฟแนนซ์ ฉบับประจำเดือนพฤษภาคม 2546 ได้กล่าวถึง ธนาคารกรุงเทพ ว่าเป็นธนาคารที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย

2. ธนาคารกรุงศรีอยุธยา

 

Bank Krungsri.gif

 

ชื่อย่อ : KRUNGSRI Bank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : สาขาสำนักพระรามที่ 3 (สำนักงานใหญ่) (รหัสสาขา 777)

1222 ถนนพระราม3 แขวงบางโพงพาง

เขตยานนาวา จังหวัดกรุงเทพฯ 10120 

โทรศัพท์: 0 2296 2000 

เวลาทำการ: จันทร์ - ศุกร์  เวลา 8.00-16.30 น

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : 

 

นายมาร์ค จอห์น อาร์โนลด์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่

 

Website : www.krungsri.com

จำนวนสาขา : ในประเทศ 577 สาขา ต่างประเทศ 4 สาขา

จุดเด่น : เป็นธนาคารของประเทศไทย ก่อตั้งเมื่อวันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2488 มีสำนักงานใหญ่แห่งแรกที่ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซึ่งเป็นอาณาจักรเก่าในประเทศไทย เปิดดำเนินการเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2488 มีทุนจดทะเบียนเริ่มแรก 1 ล้านบาท ต่อจากนั้นได้ก่อตั้งสำนักงานในกรุงเทพมหานคร ณ ถนนราชวงศ์ และย้ายสำนักงานใหญ่มาตั้งอยู่ที่ ถนนอนุวงศ์ และ ถนนลำพูนไชย ในปี พ.ศ. 2491 และ พ.ศ. 2493 ตามลำดับ

วันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2513 ธนาคารได้รับตรา ครุฑ มาประดิษฐาน ณ ธนาคาร ในปีเดียวกันได้ย้ายสำนักงานใหญ่มาอยู่ ถนนเพลินจิต ในวันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2520 ธนาคารได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ในวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2536 ธนาคารได้แปรสภาพเป็น บริษัทมหาชน

ในเดือน ธันวาคม พ.ศ. 2539 ธนาคารได้ย้ายสำนักงานใหญ่มาอยู่ที่ ถนนพระราม 3 เปิดดำเนินการอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2540และใช้สำนักงานที่ถนนพระราม 3 มาตั้งแต่นั้นจนถึงปัจจุบัน

 

3. ธนาคารกสิกรไทย

 

KBankLogo new.gif

 

ชื่อย่อ : KBank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 

  •  
    • อาคารราษฎร์บูรณะ
            ที่อยู่:
         1 ซอยราษฎร์บูรณะ 27/1 ถนนราษฎร์บูรณะ แขวงราษฎร์บูรณะ เขตราษฎร์บูรณะ กรุงเทพฯ 10140 

 

            โทรศัพท์:

   00 2222 0000 กด 1  โทรสาร : 0 470 1144-5  e-mail : [email protected]

 

 

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายบรรยงค์ ล่ำซำ  - ประธานกรรมการ  - กรรมการที่ปรึกษาแก่คณะจัดการ

Website : www.kasikornbank.com

จำนวนสาขา : 595 สาขา

จุดเด่น : ธนาคารกสิกรไทยมุ่งมั่นเป็นสถาบันการเงินที่มั่นคงที่สุด ที่ริเริ่มในสิ่งใหม่ และกระทำทุกวิถีทางเพื่อเป็นสถาบันการเงินไทยที่ให้บริการอย่างดีที่สุดแก่ลูกค้า

4. ธนาคารเกียรตินาคิน
ชื่อย่อ : KKBank
ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 
 

 

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่
500 อาคารอัมรินทร์ ทาวเวอร์ ชั้น 11 ถนนเพลินจิต 
แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
โทรศัพท์ 0-2680-3333
โทรสาร 0-2256-9933


 

 
กรรมการผู้จัดการใหญ่ :  นางสาวนวพร เรืองสกุล
    • ประธานกรรมการธนาคาร
    • กรรมการอิสระ
จำนวนสาขา : 52 สาขา
จุดเด่น : เป็นธนาคารพาณิชย์เต็มรูปแบบ (Commercial Bank) ซึ่งเปิดดำเนินการอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม 2548 เพื่อให้บริการทางการเงินที่หลากหลาย อาทิ บริการด้านเงินฝากประจำ ออมทรัพย์ กระแสรายวัน ประกันชีวิต สินเชื่อรถยนต์ สินเชื่อพัฒนาโครงการ สินเชื่อธุรกิจอพาร์ทเม้นท์ สินเชื่อธุรกิจฟลอร์แพลน สินเชื่อเพื่อธุรกิจขนส่ง สินเชื่อธุรกิจสิ่งพิมพ์และบรรจุภัณฑ์

ธนาคารเกียรตินาคิน ได้รับการจัดอันดับความน่าเชื่อถือ ระดับ A- จากบริษัท ทริส เรทติ้ง จำกัด แนวโน้มอันดับเครดิต Stable หรือคงที่ ซึ่งสะท้อนถึงความน่าเชื่อถือของธนาคาร ในสายตาของลูกค้าและนักลงทุนรวมถึงความมั่นคงทางการเงินที่สูง

5. ธนาคารซิติแบงก์
ชื่อย่อ : CitiBank
ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : ธนาคารซิตี้แบงก์ เอ็น.เอ. สาขากรุงเทพฯ
เลขที่ 399 ถนนสุขุมวิท อาคารอินเตอร์เชนจ์ 21 
แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : 
จำนวนสาขา : 47 สาขา
จุดเด่น : ธนาคารซิตี้แบงก์ และบริษัทในเครือซิตี้กรุ๊ปให้บริการแก่ลูกค้ารายย่อย และลูกค้าสถาบันมากกว่าสถาบันการเงินอื่นใด ธนาคารซิตี้แบงก์เริ่มเปิดดำเนินกิจการ ในมหานครนิวยอร์คในปี พ.ศ. 2355 ปัจจุบันธนาคารมีเครือข่ายครอบคลุมทั่วโลก มากกว่า 3,000 สาขาใน 100 ประเทศ กิจการบุคคลธนกิจของธนาคารให้บริการบัตรเครดิตกว่า 60 ล้านใบทั่วโลก จาก เครือข่ายที่กว้างไกลของธนาคารทำให้สามารถให้บริการด้านเงินทุน และธุรกรรมการเงินเพื่อตอบสนองลูกค้าสถาบันทั้งในและต่างประเทศ รวมทั้งประเทศในตลาดเกิดใหม่

 

ซิตี้กรุ๊ปมีเจ้าหน้าที่มากกว่า 255,000 คนทั่วโลก ซึ่งได้รับความไว้วางใจจากลูกค้า และนักลงทุน   เจ้าหน้าที่ของเราเป็นผู้มีความสามารถ มีประสบการณ์ มีประสิทธิภาพสูงซึ่งทำให้เรามีความโดดเด่นมากกว่าสถาบันการเงินอื่นใด ทำให้
ซิตี้กรุ๊ปสามารถให้บริการการเงินตอบสนองลูกค้าได้ดียิ่งขึ้น

6. ธนาคารทิสโก้
 
ชื่อย่อ : Tisco Bank
ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 
สำนักงานใหญ่
 
ธนาคารทิสโก้ จำกัด (มหาชน)
อาคารทิสโก้ทาวเวอร์ 48/2 ถนนสาทรเหนือ
แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 
โทรศัพท์ : 0 2633 6000
โทรสาร : 0 2633 6800
Website : www.tisco.co.th
จำนวนสาขา : 46 สาขา
จุดเด่น : 
พันธกิจทิสโก้

"ทิสโก้เป็นสถาบันการเงินที่ประกอบธุรกิจด้วยมาตรฐานสูงสุดของการกำกับดูแลกิจการที่ดี เราทุ่มเท สร้างสรรค์คุณค่าที่ยั่งยืน เพื่อลูกค้า ผู้ถือหุ้น พนักงาน และสังคม"



ค่านิยมทิสโก้
ทิสโก้มีค่านิยมองค์กรซึ่งถือเป็นหัวใจสำคัญของการให้บริการแก่ลูกค้า และเป็นคุณค่าที่มุ่งปลูกฝังแก่พนักงานทุกคน เพื่อพัฒนาไปสู่วัฒนธรรมองค์กรและเป็นแม่บทในการสร้าง ทัศนคติของการทำงานอย่างมืออาชีพ ค่านิยมที่ทิสโก้ให้ความสำคัญ ได้แก่ 


 
 
Customer Priority
ลูกค้าเป็นหลัก
    ใส่ใจมุ่งบริการลูกค้าเป็นหลัก สามารถตอบสนองความต้องการที่หลากหลายของลูกค้า นำเสนอแนวคิดและพัฒนาวิธีการที่เหมาะสม
 
 
Integrity
ซื่อสัตย์ มีคุณธรรม
    พนักงานทุกคนของทิสโก้ประพฤติปฏิบัติตนอย่างซื่อสัตย์สุจริต ยึดมั่นในมาตรฐานสูงสุดของจรรยาบรรณวิชาชีพในการปฏิบัติงานและการให้บริการแก่ลูกค้า
 
 
Reliability
สร้างผลงานที่น่าเชื่อถือ
    สานความสัมพันธ์กับลูกค้าด้วยการมอบบริการที่ดีที่สุด เพิ่มคุณค่าในการบริการด้วยความรู้ความชำนาญในวิชาชีพและการปฏิบัติงานที่น่าเชื่อถือและเป็นที่ไว้วางใจ เน้นความพึงพอใจและความสำเร็จของลูกค้าเป็นมาตรฐานในการประเมินผลงาน
 
 
Mastery
เชี่ยวชาญอย่างผู้นำ
    บุคลากรของทิสโก้จะต้องเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ให้มีขีดความสามารถและทักษะที่โดดเด่น สะท้อนความเป็นผู้นำในด้านคุณภาพบริการเพื่อให้ลูกค้าได้รับความพึงพอใจสุงสุด
7. ธนาคารซีไอเอ็มบี ไทย
ชื่อย่อ : CIMB
ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : อาคารหลังสวน (สำนักงานใหญ่)
เลขที่ 44 ถนนหลังสวน แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
โทรศัพท์: 0-2626-7000 
โทรสาร: 0-26573-3333
กรรมการผู้จัดการใหญ่ : 
นายสุภัค ศิวะรักษ์
 
Website : www.cimbthai.com
จำนวนสาขา : 147 สาขา
จุดเด่น : ธนาคาร ซีไอเอ็มบี ไทย จำกัด (มหาชน) เดิมชื่อ ธนาคาร ไทยธนาคาร จำกัด (มหาชน) ก่อตั้งขึ้นตั้งแต่ปีพ.ศ. 2541 โดยมีกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงินเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ที่สุดของธนาคารมาโดยตลอด จากนั้นเมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 กลุ่มซีไอเอ็มบี โดย CIMB Bank Berhad ได้เข้าเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ที่สุดในไทยธนาคาร และได้ดำเนินการจดทะเบียนเปลี่ยนชื่อจากธนาคารไทยธนาคาร เป็น ธนาคาร ซีไอเอ็มบี ไทย จำกัด (มหาชน) หรือ “CIMB Thai Bank Public Company Limited” ในภาษาอังกฤษ เมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2552 ซึ่งชื่อใหม่ของธนาคารนี้ นับเป็นการสะท้อนถึงการส่งผ่านไทยธนาคารเข้าสู่การเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มซีไอเอ็มบีอย่างเป็นทางการ

กลุ่มซีไอเอ็มบี ดำเนินธุรกิจในฐานะของธนาคารผู้ให้บริการทางการเงินอย่างครบวงจร (Universal Bank) โดยเป็นผู้ให้บริการทางการเงินที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศมาเลเซีย และอันดับ 5 ของภูมิภาคตะวันออกเฉียงใต้ เมื่อจัดอันดับตามขนาดสินทรัพย์ และมีเงินทุนหมุนเวียนในตลาดประมาณ 6 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ 
 
ปัจจุบัน กลุ่มซีไอเอ็มบีมีฐานการตลาดหลักด้านการเงินธนาคารแบบครบวงจรในประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซีย สิงคโปร์ และไทย นอกจากนี้ ยังมีเครือข่ายทั่วภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตลอดจนศูนย์ให้บริการทางการเงินทั่วโลก รวมถึงในประเทศต่างๆ ที่ลูกค้ามีธุรกิจและการลงทุนอยู่

ทั้งนี้ กลุ่มซีไอเอ็มบี ดำเนินธุรกิจผ่าน 3 หน่วยงานหลักที่มีแบรนด์ดังนี้ CIMB Bank, CIMB Investment Bank และ CIMB Islamic โดย CIMB Bank เป็นส่วนสำคัญในการดำเนินธุรกิจด้านธนาคารพาณิชย์ของกลุ่ม ขณะที่ CIMB Islamic ดำเนินธุรกิจด้านการเงินและการธนาคารอิสลามในระดับโลก ซึ่งทั้ง CIMB Bank และ CIMB Islamic ให้บริการธุรกิจรายย่อย (Retail Banking) บนระบบธนาคาร 2 ระบบควบคู่กัน โดยมีลูกค้ารายย่อยมากกว่า 4.7 ล้านคนใน 367 สาขาทั่วประเทศมาเลเซีย
 
กลุ่มซีไอเอ็มบี ถือหุ้นโดย Bumiputra – Commerce Holdings Bhd ซึ่งเป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศมาเลเซีย ด้วยมูลค่าตลาด (Market Capitalization) เกือบ 49.7 พันล้านริงกิต หรือเกือบ 5 แสนล้านบาท และมีพนักงานรวมกว่า 36,000 คน ประจำอยู่ใน 11 ประเทศ

8.ธนาคารไทยพาณิชย์
 ธนาคารไทยพาณิขย์
ชื่อย่อ : SCB
ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ :
 
กรรมการผู้จัดการใหญ่ : คุณหญิงชฎา วัฒนศิริธรรม
Website : www.scb.co.th
จำนวนสาขา : 873 สาขา
จุดเด่น : วิสัยทัศน์ | ธนาคารไทยพาณิชย์
9. ธนาคารธนชาต
ชื่อย่อ : TNC Bank
ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ เลขที่ 900 อาคารต้นสนทาวเวอร์ ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร
กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายบันเทิง ตันติวิท ประธานกรรมการ
จำนวนสาขา : 50 สาขา
จุดเด่น : ก่อนมาเป็น ธนาคารธนชาต ในปี 2541 กระทรวงการคลังประกาศออกใบอนุญาตประกอบการธนาคารพาณิชย์แบบจำกัดขอบเขตธุรกิจ แทน ใบอนุญาตประกอบการ Super Finance ตามนโยบายสนับสนุนการรวมกิจการระหว่างสถาบันการเงิน โดยธนาคารพาณิชย์ที่จะยื่นขอจะต้องเกิดจากการรวมกิจการอย่างน้อย 5 แห่ง และมีเงินกองทุนไม่ต่ำกว่า 10,000 ล้านบาท (หลังหักสำรองค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญแล้ว) ต่อมาในปี 2542 บริษัท ทุนธนชาต จำกัด (มหาชน) ได้ยื่นต่อธนาคารแห่งประเทศไทยเพื่อขออนุมัติใบอนุญาตประกอบการธนาคารพาณิชย์แบบจำกัดขอบเขตธุรกิจ จากนั้นธนาคาร ธนชาตก็ได้เริ่มเปิดให้บริการเป็นวันแรกในวันที่ 22 เมษายน และในวันที่ 1 มีนาคม 2547 ธนาคารธนชาต จำกัด (มหาชน) ก็ได้รับใบอนุญาตประกอบการธนาคารพาณิชย์เต็มรูปแบบ หลังจากนั้น ธนาคารแห่งโนวาสโกเทีย (สโกเทียแบงค์) ธนาคารที่ได้รับการยอมรับโดยทั่วไปว่าเป็นธนาคารที่มีความมั่นคงอันดับต้นๆ ของโลก ได้เข้ามาร่วมถือหุ้นธนาคารธนชาตอยู่ร้อยละ 49 เมื่อวันที่ 3 ก.พ.2552 และเมื่อวันที่ 11 มี.ค.53 ธนาคารธนชาตได้รับเลือกจากกองทุนฟื้นฟูฯ ให้เข้าซื้อหุ้นธนาคารนครหลวงไทย จำนวน 1,005,330,950 หุ้น (47.58%) ในราคาหุ้นละ 32.50 บาท ซึ่งจะทำให้ธนาคารธนชาตเป็นธนาคารพาณิชย์อันดับ 5 ของไทย มีสินทรัพย์ 8.57 แสนล้านบาท มีสาขารวม 687 แห่งทั่วประเทศ มีเครื่องเอทีเอ็มจำนวน 2,101 เครื่อง
10. ธนาคารนครหลวงไทย
 Bank SCIB.gif
ชื่อย่อ : SCIB
ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 1101 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
โทร. (662) 208-5000 อีเมล์ [email protected]
กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายชัยวัฒน์ อุทัยวรรณ์  ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่
Website : www.scib.co.th
จำนวนสาขา : 400 สาขา
จุดเด่น : เป็นธนาคารของ
นายชัยนุกูล เสือเจริญ
เพิ่มเติม : Credit : นายชัยนุกูล เสือเจริญ รหัส 50473010017 สาขาวิชา เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา --------------------------------------------------------------------------------
จุดเด่น : เป็นธนาคารของประเทศไทย ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2484 ในชื่อ "ธนาคารนครหลวงแห่งประเทศไทย"[1] โดยคณะบุคคลของรัฐบาลร่วมกับสมาชิกในราชวงศ์ ด้วยทุนจดทะเบียนเริ่มแรก 1,000,000 บาท ต่อมาในปี พ.ศ. 2487 ได้เปลี่ยนชื่อมาเป็นชื่อที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน

ภายหลังการควบรวมกับธนาคารศรีนครในเดือนเมษายน พ.ศ. 2545 ธนาคารได้นำหุ้นกลับเข้าซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์เมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2546 ปัจจุบันธนาคารมีขนาดของสินทรัพย์ใหญ่เป็นอันดับ 7 ของธนาคารพาณิชย์ไทย ณ สิ้นเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2551 ธนาคารมีทุนจดทะเบียนทั้งสิ้น 21,128 ล้านบาท มีสินทรัพย์รวมจำนวน 410,132 ล้านบาท สินเชื่อจำนวน 255,693 ล้านบาท เงินฝากจำนวน 340,039 ล้านบาท มีจำนวนพนักงาน 6,956 คน และสาขา 405 สาขาทั่วประเทศ มีกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงินเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ในสัดส่วน 47.58 % ส่วนที่เหลืออีก 52.42 % เป็น Free Float ในตลาด หุ้นของธนาคารมีมูลค่าตลาดเท่ากับ 32,115 ล้านบาท

11.ธนาคารยูโอบี
 
ชื่อย่อ : UOB
ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : สำนักงานใหญ่

ธนาคารยูโอบี จำกัด (มหาชน) 
191 ถนนสาทรใต้ กรุงเทพฯ 10120
โทรศัพท์ : 0-2343-3000
โทรสาร : 0-2287-2973-4

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายหว่อง คิม ชุง
Website : www.uob.co.th
จำนวนสาขา : 154 สาขา
จุดเด่น : ธนาคารยูโอบี จำกัด (มหาชน) เกิดจากการรวมกิจการของธนาคารเอเชีย จำกัด (มหาชน) และธนาคารยูโอบีรัตนสิน จำกัด (มหาชน) เมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2548 เป็นธนาคารพาณิชย์ที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 9 ของประเทศไทย มีสินทรัพย์มูลค่ารวม 206,000 ล้านบาท ณ วันที่ 30 กันยายนพ.ศ. 2548 ปัจจุบันมีสาขาทั่วประเทศ 154 สาขา
12.ธนาคารสแตนดาร์ดชาร์เตอร์ดไทย
 
ชื่อย่อ : SCNB
ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : สำนักงานใหญ่ของธนาคารฯ ตั้งอยู่ที่เลขที่ 90 ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพ 10500
กรรมการผู้จัดการใหญ่ :
 ยุทธเดช ปัทมานนท์ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ฝ่ายธุรกรรมการเงิน ธนาคารสแตนดาร์ดชาร์เตอร์ด (ไทย)    ยุทธเดช ปัทมานนท์
ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ฝ่ายธุรกรรมการเงิน ธนาคารสแตนดาร์ดชาร์เตอร์ด (ไทย
จำนวนสาขา : ในประเทศ 41 สาขา และอีกกว่า 1400 สาขาทั่วโลก
จุดเด่น : ในการแสดงออกถึงความมุ่งมั่นที่จะประกอบธุรกิจในประเทศไทยในระยะยาว กลุ่มธนาคารสแตนดาร์ดชาร์เตอร์ดได้ทำการรวบรวมธนาคารสแตนดาร์ดชาร์เตอร์ด สาขากรุงเทพฯ ซึ่งมีอายุกว่า 111 ปี เข้ากับธนาคารสแตนดาร์ดชาร์เตอร์ดนครธนในเดือนตุลาคม ปี พ.ศ.2548 และธนาคารได้เปลี่ยนชื่อเป็น ธนาคารสแตนดาร์ดชาร์เตอร์ด (ไทย) จำกัด (มหาชน)

ธนาคารฯ มีธุรกิจหลักคือ บุคคลธนกิจและสถาบันธนกิจ ธุรกิจด้านบุคคลธนกิจให้บริการด้านบัตรเครดิต สินเชื่อบุคคล สินเชื่ออสังหาริมทรัพย์ บริการรับฝากเงิน บริการด้านการบริหารสินทรัพย์ให้แก่ลูกค้ารายบุคคล ลูกค้าเจ้าของธุรกิจรายย่อย จนถึงลูกค้าเจ้าของธุรกิจขนาดกลาง ส่วนสถาบันธนกิจนั้นให้บริการแก่ลูกค้าที่เป็นสถาบันหรือบริษัทในด้านต่างๆ เช่น สินเชื่อพาณิชย์ บริการบริหารเงินสด การบริการเงินทุน บริการด้านหลักทรัพย์ บริการด้านเงินตราต่างประเทศ บริการด้านการกู้ยืมในตลาดทุน และบริการด้านเงินกู้สำหรับธุรกิจ

ธนาคารฯ ได้รับความเชื่อถือและความไว้วางใจจากผู้ที่เกี่ยวข้องตลอดเครือข่ายการทำงานและเป็นองค์กรที่ดำเนินกิจการภายใต้กฎบรรษัทภิบาล รวมทั้งยังเป็นองค์กรที่มีความมุ่งมั่นและสร้างสรรค์สิ่งดีๆ ให้แก่ชุมชนในประเทศไทย

คือ คำมั่นสัญญาใหม่จากเรา ธนาคารสแตนดาร์ดชาร์เตอร์ด ซึ่งในความเป็นจริงแล้ว สิ่งนี้ก็คือ ความเชื่อดั้งเดิมของเรา 
เป็นสิ่งที่เรายึดมั่นปฏิบัติมาโดยตลอด 150 ปี และเรายังคงมุ่งมั่นที่จะทำต่อไป เราอยู่ที่นี่เพื่อคุณ เพื่อความก้าวหน้า เพื่ออนาคต เราอยู่ที่นี่ 
เพื่อความยั่งยืนของทุกคน นับจากวันนี้...และตลอดไป

13.ธนาคารเมกะสากลพาณิชย์
 
ชื่อย่อ : MEGA Bank
ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 36/12 พี.เอส.ทาวเวอร์ ซอยสุขุมวิท 21 ถนนอโศก แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร
กรรมการผู้จัดการใหญ่ :
    Rong-Jou Wang
จำนวนสาขา :4 สาขา 
จุดเด่น : ประกอบกิจการธนาคารพาณิชย์ รวมทั้งกิจการทั้งปวง ซึ่งเกี่ยวกับธนาคารพาณิชย์ 
14. ธนาคารสินเอเชีย
 
ชื่อย่อ : ACL Bank
ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : ธนาคารสินเอเซีย จำกัด (มหาชน)

สาขาสำนักงานใหญ่ ชั้น 11-13 เอ็มโพเรี่ยมทาวเวอร์ เลขที่ 622 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองตัน เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 
โทรศัพท์. 02 663 9999 

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายฮุยเหมิน หยี่  ประธานกรรมการ       นายธงชัย อานันโทไทย    กรรมการผู้จัดการใหญ่
จำนวนสาขา : 17 สาขา
จุดเด่น : ธนาคารสินเอเซีย จำกัด (มหาชน) หรือในชื่อเดิมคือ บริษัท เงินทุนสินเอเซีย จำกัด (มหาชน) ซึ่งได้รับใบอนุญาตประกอบการธนาคารพาณิชย์จากกระทรวงการคลังและ ธนาคารแห่งประเทศไทย ให้เริ่มเปิดให้บริการประชาชน เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2548

นับตั้งแต่ขวบปีแรกที่ก้าวสู่ธุรกิจการเงินการธนาคารเมื่อปี พ.ศ. 2512 หลังจากนั้น ก็ได้รับอนุญาตจากกระทรวง การคลังให้ประกอบ ธุรกิจหลักทรัพย์และธุรกิจเงินทุนในปี พ.ศ. 2516 จดทะเบียนเข้าสู่ตลาดหลักทรัพย์ในปี พ.ศ. 2521 จนกระทั่งแปรสภาพ เป็นบริษัทมหาชนในปี พ.ศ. 2536 มาจนวันนี้ ธนาคารสินเอเซีย จำกัด (มหาชน) ได้นำประสบการณ์ในแวดวงการเงินที่สั่งสมมากว่า 35 ปี พร้อมที่จะรับใช้ประชาชน อย่างเต็มที่ 

ธนาคารสินเอเซีย จำกัด (มหาชน) มีฐานะเป็นธนาคารพาณิชย์เต็มรูปแบบ สามารถนำเสนอบริการทางการเงินได้ทุกประเภท นับตั้งแต่การเสนอบริการด้านเงินฝาก สินเชื่อทุกประเภท บริการโอนเงินต่างประเทศ และบริการธุรกิจการค้าต่างประเทศเพื่อการนำเข้าและส่งออก
ธนาคารพาณิชย์เพื่อรายย่อย :
1.ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย
ชื่อย่อ : LH Bank
ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : สำนักงานใหญ่ 
เลขที่ 1 อาคารคิวเฮ้าส์ ลุมพินี ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 
โทร 0-2359-0000 โทรสาร 0-2677-7223
เวลาทำการ* จันทร์-ศุกร์ : 8.30-17.30 น.
กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นางศศิธร พงศธร กรรมการผู้จัดการ
Website : www.lhbank.co.th
จำนวนสาขา : 23 สาขา
จุดเด่น : ธนาคารมีการพิจาณาในด้านสินเชื่อเน้นไปที่เงินกู้เพื่อการเคหะของสินเชื่อโดยรวมทั้งหมด60% และ40%จะเป็นสินเชื่อประเภทเอสเอ็มอี เนื่องจากว่าในส่วนของสินเชื่อเคหะมีข้อดีตรงที่มีหลักประกันที่ชัดเจน และทางธนาคารแห่งประเทศไทยก็ให้ความสนใจในเรื่องนี้เป็นสำคัญ เพราะถือว่าเป็นฐานเงินทุนที่มีประสิทธิภาพสูง

 

 

ในด้านของเงินฝากนั้น ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการแบงก์ LH BANKกล่าวว่า ในเรื่องนี้ทางธนาคารต้องการให้เป็นทางเลือกทางเลือกหนึ่งของผู้ที่เป็นลูกค้ารายย่อยตามชื่อที่ได้ตั้งไว้ โดยเฉพาะลูกค้าที่เข้ามาเปิดบัญชีกระแสรายวันถ้าเป็นที่ธนาคารอื่นอาจจะไม่ได้ดอกเบี้ย แต่ที่นี่เราให้ดอกเบี้ยเพียงแค่ 10,000 บาทก็สามารถได้ดอกเบี้ยแล้ว

 

 

หรือว่าจะเป็นการแบบออมทรัพย์ ไม่ว่าจะฝากเงินเท่าไรก็ตาม เราก็ให้ดอกเบี้ยตามระดับของเงินฝาก ซึ่งให้ตั้งแต่ 2.5ขึ้นไป ทั้งนี้เนื่องจากว่าธนาคารจะให้บริการกระแสรายวัน ออมทรัพย์ ประจำ ในขณะเดียวกันก็ให้บริการในด้านของการรับชำระไม่ว่าจะเป็นในเรื่องของค่าบ้าน ค่าน้ำ ค่าไฟ ค่าโทรศัพท์มือถือ หรือว่าจะเป็นการชำระค่าบริการต่างๆ

 

 

การปล่อยสินเชื่อรายย่อยอื่นคงมีแต่จะเป็นส่วนน้อย เป็นองค์ประกอบ เพราะเรา LH BANK จะเน้นการปล่อยสินเชื่อบ้านและที่ดินให้กับลูกค้ารายย่อย แต่ละล็อตที่ปล่อยไปถึงจุดๆหนึ่งจะนำมารวมกันขายออกไปและนำเงินที่ได้มาปล่อยสินเชื่อใหม่ ทำให้ธนาคารนั้นไม่มีลูกหนี้มาก สินทรัพย์ไม่โตมาก เพราะเป็นที่ธนาคารที่มีรายได้จาการปล่อยสินเชื่อให้ลูกค้า

 

 

โดยได้ค่าฟีในการบุ๊คให้ลูกค้าและนำมาขายอีกที ดังนั้นจะมีรายได้เรื่องของค่าฟีและการติดตามเก็บหนี้ลูกค้าให้ แต่สินเชื่อในตัวงบดุลไม่สูงตามเพราะการนำหนี้ไปขาย สินเชื่อบ้านเป็นสินเชื่อที่แน่นอนตรงที่มีระยะเวลาที่ยาวนาน เป็น 10 ถึง 20 ปีดังนั้นความเสี่ยงก็ไม่มากนัก

 

 

คุณศศิธร กล่าวถึงเรื่องของการลดดอกเบี้ยของผู้ประกอบการต่างๆว่าสำหรับเรื่องของบ้านนั้นทางบริษัทต่างๆ มีลูกเล่นที่จะสรรหามามัดใจลูกค้า เช่น 3 ปีแรกมีการลดสารพัดไม่ว่า จะเป็นเรื่องของดอกเบี้ย หรือมีการแถมในส่วนของต่างๆ แต่เมื่อถึงปีท้ายๆไม่มีใครลดอะไรกันเลย นั้นคือวัตถุประสงค์ที่แท้จริงของการทำธุรกรรม เพราะว่า 3 ปีแรกเป็นช่วงที่ทำให้เกิดความน่าสนใจ แต่ราคาบ้านและดอกเบี้ยที่ต้องจ่ายมันไม่ได้อยูที่ 3 ปีแรก ช่วงปีหลังๆนั้นจะเป็นราคาจริง

 

 

"เพราะลูกค้าส่วนใหญ่จะเข้าใจว่าใน3 ปีแรกก็คือฟรีดอกเบี้ย ดังนั้นคนที่จะซื้อก็ควรดูว่าต้นทุนที่เขาใช้ไปสมกับราคาบ้านหรือไม่ เพราะว่าเรากำลังพูดถึง ช่วงฟรีดอกเบี้ยใน 1 ปีกับ 39 ปีที่เหลือหรือไม่ การซื้อบ้านต้องดูระยะยาว ไม่เหมือนการซื้อสินค้าเงินผ่อนประเภทอื่นที่ไม่นานก็หมด แต่บ้านบางคนผ่อนตั้งแต่เริ่มทำงานจนถึงเกษียณไปเลยก็มี"เธอกล่าว

 

 

สำหรับการเปิดสาขา LH BANK จะมุ่งเน้นไปที่ๆมีปริมาณธุรกิจที่เหมาะสม เช่นในใจกลางเมือง ย่านศูนย์กลางธุรกิจต่างๆ เช่นห้างสรรพสินค้า ในระยะแรกจะเปิดที่สี่มุมเมือง จะไปลัดกษณะที่ควบคู่ไปกับโฮมโปร์และคิวเอ้าส์ ซึ่งจะสามารถไปได้กับผู้ถือหุ้นของบริษัท และต่อไปก็มองไว้ที่สยามสแควร์ สำเพ็ง เยาวราช

 

 

เรื่องของธุรกิจแบงก์ถ้าดูกันจริงๆแล้วจะมีอยู่ 2 ประการก็คือ เรื่องของเงิน และเรื่องของระบบลงทุนระบบเทคโนโลยีในแบงก์ใหม่ซึ่งทางธนาคาร ทยอยลงทุนไปเรื่อยๆ เป็นหลายร้อยล้านบาท ถ้ารวม ATM ก็ลงทุนอีกหลายร้อยล้านบาท เฉพาะการลงทุนในระบบ Software และระบบ Banking ก็ลงทุนอย่างน้อย 100-200 ล้านบาท

 

 

สำหรับเรื่องของส่วนแบ่งทางการตลาด LH BANK คุณศศิธร กล่าวว่า ถ้ามองในแง่ของมาร์เก็ตแชร์ไม่คิดว่าจะไปแข่งกับใคร แต่เป้าหมายนั้นต้องมีแน่นอน เมื่อพร้อมแล้วที่จะเพิ่มทุนอีกครั้งจะมีการเพิ่มสินทรัพย์อีก ทั้งนี้ต่อไป LH BANK ถ้ามีครบ 100 สาขาในปี 2551 การเติบโตมันก็จะมากกว่านี้น่าจะมีสินทรัพย์ที่ 100,000 ล้านบาท
2.ธนาคารไทยเครดิต เพื่อรายย่อย

ชื่อย่อ : TCR Bank
ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : สำนักธุรกิจรัชดาภิเษก 
ตั้งอยู่ที่อาคารไทยประกันชีวิต 1 ชั้น 1 ให้บริการด้านรับฝาก-ถอนเงิน ให้คำปรึกษาบริการสินเชื่อ รับชำระค่างวด บริการเครื่อง ATM เครื่องปรับยอดสมุดเงินฝากอัตโนมัติ (Auto Update Passbook) และบริการอื่นๆ

สำนักงานผู้บริหารและกลุ่มงานสนับสนุน
 
ตั้งอยู่ที่อาคารไทยประกันชีวิต 1/1 ชั้น 5 

กลุ่มธุรกิจสินเชื่อ
 
ตั้งอยู่ที่อาคารอาร์เอส ทาวเวอร์ ชั้น 17 ให้บริการด้านการขอสินเชื่อ การเบิกเงินกู้ และรับชำระค่างวดต่างๆ
กรรมการผู้จัดการใหญ่ : 
Website : www.tcrbank.com
จำนวนสาขา : 9 สาขา
จุดเด่น : 
นำเสนอผลิตภัณฑ์ที่แตกต่าง และตอบสนองความต้องการที่แท้จริงของลูกค้า

สร้างทีมงานที่มีจิตสำนึกที่ดีด้านการบริการ มีความรักและภาคภูมิใจในองค์กร 
สร้างระบบงานที่เอื้อหนุนให้การปฏิบัติงานเกิดประสิทธิภาพสูงสุด
สร้างความน่าเชื่อถือ ด้วยการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล 
แสวงหาเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพในการบริหารงานและความเสี่ยง เพื่อผลลัพธ์ในการทำงานที่ดีที่สุด
แสวงหาพันธมิตร เพื่อเพิ่มโอกาสทางธุรกิจ
แสวงหาแนวทางในการพัฒนาธนาคารสู่ความสำเร็จตามแผนกลยุทธ์

นายชัยนุกูล เสือเจริญ

เพิ่มเติม>>>>Credit : นายชัยนุกูล เสือเจริญ รหัส 50473010017

สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา

-------------------------------------------------------------------------------------

การแข่งขันฟุตบอลโลกครั้งนี้ส่งผลอย่างไรต่อภาคธุกิจใดบ้าง และจะมีผลกระทบภาคสังคมอย่างไรบ้าง

ตอบ : ขณะที่ทางการอาฟริกาใต้ และผู้จัดการแข่งขันเห็นว่า การจัดการแข่งขันฟุตบอลโลก จะช่วยส่งเสริมเศรษฐกิจและเกียรติภูมิของประเทศอาฟริกาใต้ และทวีปอาฟริกาโดยทั่วไปนั้น นักวิชาการในสหรัฐบางคนเตือนว่า การทุ่มเททุนจำนวนมากมายในการจัดงานนี้ อาจทำให้ความไม่เสมอภาคทางเชื้อชาติผิวพันธุ์และฐานะทางเศรษฐกิจ ของประชาชนกลับซ้ำร้ายลงไปได้ 
ในขณะที่ฟุตบอลโลกจะช่วยส่งเสริมกีฬาและนักเตะรุ่นใหม่ฝีเท้าดีของเมือง เคปทาวน์ซึ่งเแ็นสถานที่จัดการแข่งขันนัดรองชนะเลิศ นัดหนึ่ง ได้มีการสร้างสนามกีฬาใหม่ตามมาตรฐานโดยใช้ทุนไปมากกว่า 600 ล้านดอลลาร์
ในเมืองที่ต้องดิ้นรนเพื่อจะจัดหาที่อยู่อาศัย การศึกษา บรการปรึกษาแนะนำด้านยาเสพติด ขณะที่มีการเสพยาเสพติดพวกแอมเฟตามีนอย่างแพร่หลาย  ต้องต่อสู้กับปัญหาด้านสังคม และการพัฒนาต่างๆทั้งนี้การใช้ทุนมากมายในการสร้างสนามกีฬา จึงก่อให้เกิดคำถามเกี่ยวกับการจัดสรรทรัพยากรว่าสมควรแล้วหรือที่จะใช้ทุนขนาดนั้นในการจัดการแข่งขันฟุตบอลนัดหนึ่งเท่านั้น
นักสังคมวิทยากล่าวว่า ในการเตรียมงานรับการแข่งขัน World cup ต้องอพยพคนไร้ที่อยู่อาศัยออกไปอยู่ที่ค่ายนอกเมือง ซึ่งเป็นค่ายที่กั้นด้วยรั้วลวดหนาม นอกจากนั้นพ่อค้าแม่ค้าจำนวนมาก ต้องย้ายที่ทำมาหากิน ซึ่งที่ตั้งสนามกีฬานั้นเคยเป็นตลาดนัด ที่พ่อค้าแม่ค้าราว 800 คน นำของมาขายทุกสัปดาห์มาราว 20 ปีแล้ว ขณะที่ถือกันว่าการแข่งขัน World cup เป็นโอกาสช่องทางทางเศรษฐกิจของชาวแอฟริกาใต้ แต่นักสังคมวิทยาผู้นี้เห็นว่า เป็นการสร้างความแบ่งแยกทางสังคม ที่ยังมีอยู่ในช่วงหลังสมัยการแบ่งแยกสีผิวให้ซ้ำร้ายลงไปอีก
นักเศรษฐศาสตร์ผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับแอฟริกาวิตกเกี่ยวกับผลกระทบระยะยาวของการที่เจ้าหน้าที่แอฟริกาใต้ เน้นความสำคัญของการจัดการแข่งขันมากเกินไป โดยทางการแอฟริกาใต้ใช้เงินมากมายมหาศาลในการเตรียมการแข่งขัน World cup ซึ่งเงินจำนวนขณะนั้นอาจนำไปใช้ปรับปรุงชีวิตความเป็นอยู่ของผู้ด้อยโอกาสได้เป็นอย่างมาก นักเศรษฐศาสตร์คิดว่าแอฟริกาใต้จะเป็นเจ้าภาพที่ดีในการแข่งขันฟุตบอล World cup และเป็นการแสดงภาพลักษณ์ที่ดีสำหรับทวีปแอฟริกาทั้งหมด แต่ยังมีงานอีกมากที่จะต้องทำ เพื่อพัฒนาเขตชนบทที่ยังล้าหลังอยู่มาก โดยเฉพาะด้านความเหลื่อมล้ำด้านชนบทผิวพันธ์ ซึ่งจะต้องมีการดำเนินงาน เพื่อไม่ให้คนด้อยโอกาสทางเศรษฐกิจอยู่แล้วยิ่งซ้ำร้ายลงไปอีก
อย่างไรก็ตาม นักเศษฐศาสตร์คนอื่นๆ ตลอดจนผู้จัดการแข่งขันและเจ้าหน้าที่แอฟริกาใต้กล่าวว่า World cup จะสร้างโอกาสใหม่ๆ ทั้งตอนนี้และในเวลาต่อไป สำหรับชาวแอฟริกาใต้และประชาชนทั่วไปในทวีปแอฟริกา ขณะที่โครงสร้างทางสาธารณูปโภคที่ปรับปรุงดีขึ้นจะช่วยให้มีศักยภาพมากขึ้นในด้านการท่องเที่ยว อุตสาหกรรม การโทรคมนาคม อย่างทางโทรศัพท์มือถือ เป็นต้น


ตอบ : ขณะที่ทางการอาฟริกาใต้ และผู้จัดการแข่งขันเห็นว่า การจัดการแข่งขันฟุตบอลโลก จะช่วยส่งเสริมเศรษฐกิจและเกียรติภูมิของประเทศอาฟริกาใต้ และทวีปอาฟริกาโดยทั่วไปนั้น นักวิชาการในสหรัฐบางคนเตือนว่า การทุ่มเททุนจำนวนมากมายในการจัดงานนี้ อาจทำให้ความไม่เสมอภาคทางเชื้อชาติผิวพันธุ์และฐานะทางเศรษฐกิจ ของประชาชนกลับซ้ำร้ายลงไปได้ 

  ในขณะที่ฟุตบอลโลกจะช่วยส่งเสริมกีฬาและนักเตะรุ่นใหม่ฝีเท้าดีของเมือง เคปทาวน์ซึ่งเแ็นสถานที่จัดการแข่งขันนัดรองชนะเลิศ นัดหนึ่ง ได้มีการสร้างสนามกีฬาใหม่ตามมาตรฐานโดยใช้ทุนไปมากกว่า 600 ล้านดอลลาร์

  ในเมืองที่ต้องดิ้นรนเพื่อจะจัดหาที่อยู่อาศัย การศึกษา บรการปรึกษาแนะนำด้านยาเสพติด ขณะที่มีการเสพยาเสพติดพวกแอมเฟตามีนอย่างแพร่หลาย  ต้องต่อสู้กับปัญหาด้านสังคม และการพัฒนาต่างๆทั้งนี้การใช้ทุนมากมายในการสร้างสนามกีฬา จึงก่อให้เกิดคำถามเกี่ยวกับการจัดสรรทรัพยากรว่าสมควรแล้วหรือที่จะใช้ทุนขนาดนั้นในการจัดการแข่งขันฟุตบอลนัดหนึ่งเท่านั้น

  นักสังคมวิทยากล่าวว่า ในการเตรียมงานรับการแข่งขัน World cup ต้องอพยพคนไร้ที่อยู่อาศัยออกไปอยู่ที่ค่ายนอกเมือง ซึ่งเป็นค่ายที่กั้นด้วยรั้วลวดหนาม นอกจากนั้นพ่อค้าแม่ค้าจำนวนมาก ต้องย้ายที่ทำมาหากิน ซึ่งที่ตั้งสนามกีฬานั้นเคยเป็นตลาดนัด ที่พ่อค้าแม่ค้าราว 800 คน นำของมาขายทุกสัปดาห์มาราว 20 ปีแล้ว ขณะที่ถือกันว่าการแข่งขัน World cup เป็นโอกาสช่องทางทางเศรษฐกิจของชาวแอฟริกาใต้ แต่นักสังคมวิทยาผู้นี้เห็นว่า เป็นการสร้างความแบ่งแยกทางสังคม ที่ยังมีอยู่ในช่วงหลังสมัยการแบ่งแยกสีผิวให้ซ้ำร้ายลงไปอีก

นักเศรษฐศาสตร์ผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับแอฟริกาวิตกเกี่ยวกับผลกระทบระยะยาวของการที่เจ้าหน้าที่แอฟริกาใต้ เน้นความสำคัญของการจัดการแข่งขันมากเกินไป โดยทางการแอฟริกาใต้ใช้เงินมากมายมหาศาลในการเตรียมการแข่งขัน World cup ซึ่งเงินจำนวนขณะนั้นอาจนำไปใช้ปรับปรุงชีวิตความเป็นอยู่ของผู้ด้อยโอกาสได้เป็นอย่างมาก นักเศรษฐศาสตร์คิดว่าแอฟริกาใต้จะเป็นเจ้าภาพที่ดีในการแข่งขันฟุตบอล World cup และเป็นการแสดงภาพลักษณ์ที่ดีสำหรับทวีปแอฟริกาทั้งหมด แต่ยังมีงานอีกมากที่จะต้องทำ เพื่อพัฒนาเขตชนบทที่ยังล้าหลังอยู่มาก โดยเฉพาะด้านความเหลื่อมล้ำด้านชนบทผิวพันธ์ ซึ่งจะต้องมีการดำเนินงาน เพื่อไม่ให้คนด้อยโอกาสทางเศรษฐกิจอยู่แล้วยิ่งซ้ำร้ายลงไปอีก

อย่างไรก็ตาม นักเศษฐศาสตร์คนอื่นๆ ตลอดจนผู้จัดการแข่งขันและเจ้าหน้าที่แอฟริกาใต้กล่าวว่า World cup จะสร้างโอกาสใหม่ๆ ทั้งตอนนี้และในเวลาต่อไป สำหรับชาวแอฟริกาใต้และประชาชนทั่วไปในทวีปแอฟริกา ขณะที่โครงสร้างทางสาธารณูปโภคที่ปรับปรุงดีขึ้นจะช่วยให้มีศักยภาพมากขึ้นในด้านการท่องเที่ยว อุตสาหกรรม การโทรคมนาคม อย่างทางโทรศัพท์มือถือ เป็นต้น


นายชัยนุกูล เสือเจริญ

อาจารย์ครับ blog แสดงความคิดเห็นมันมีพื้นที่ไม่พออ่ะครับ มันเลยทะลักออกมาเปง4ความคิดเห็นเลย -..-

(ส่งคนแรก ใคร copy ให้ Credit ชัยนุกูล ด้วยนะ! ^^)

นายอัครวัฒน์ พฤกษชาติเจริญ รหัส 50473010046

ผู้จัดทำ นายอัครวัฒน์ พฤกษชาติเจริญ

รหัส 50473010046

คณะวิทยาการจัดการ

โปรแกรมวิชา เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

รายชื่อธนาคารในประเทศไทย

1 ธนาคารกลางแห่งชาติ

2 ธนาคารของรัฐบาล

2.1 ธนาคารพาณิชย์ของ รัฐบาล

3 ธนาคารพาณิชย์

3.1 ธนาคารพาณิชย์เพื่อ รายย่อย

4 ธนาคารไทยในอดีต

5 องค์กรทางการธนาคาร

ธนาคาร กลางแห่งชาติ

ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) (อังกฤษ: The Bank of Thailand) เป็นธนาคารกลางของประเทศไทย จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติธนาคารแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2485 เปิดดำเนินการครั้งแรกเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2485 มีหน้าที่หลักในการดูและกำกับเรื่องการเงินของชาติ ทั้งออกกฎเกณฑ์และควบคุมสถาบันการเงิน นำออกหมุนเวียนซึ่งธนบัตรไทยรวมถึงการควบคุมการ ถ่ายโอนเงินตราระหว่างประเทศ และเฝ้าระวังอัตราแลกเปลี่ยนเงินบาทเทียบกับสกุลเงินตราอื่น

ธนาคารแห่งประเทศไทยจัดตั้งขึ้นหลังจากประเทศไทยได้มีธนาคารพาณิชย์ทั้งของรัฐและเอกชนเริ่มดำเนินการ ไปก่อนหน้านั้นแล้ว ภาระกิจและหน้าที่ของธนาคารแห่งประเทศไทยเดิมซ้อนเหลื่อมอยู่กับกระทรวงการคลังและได้มี การเปลี่ยนแปลงมาเป็นลำดับหลังจากที่ระบบการเงินของโลกพัฒนาไปและมีวิกฤต เศรษฐกิจครั้งสำคัญต่างๆ

ธนาคาร ของรัฐบาล

ธนาคารพัฒนา วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย (Small and Medium Enterprise Development Bank of Thailand)

ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย (ธพว.หรือเอสเอ็มอีแบงก์) เป็นธนาคารที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาด ย่อมแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2545 เพื่อประกอบธุรกิจอันเป็นการพัฒนา ส่งเสริม ช่วยเหลือ และสนับสนุนการจัดตั้ง การดำเนินงาน การขยาย หรือการปรับปรุงวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม โดยการให้สินเชื่อค้ำประกัน ร่วมลงทุน สนับสนุนบริการทางการเงิน ให้คำปรึกษาแนะนำหรือให้บริการที่จำเป็นแก่ผู้ประกอบการไทย มีฐานะเป็นนิติบุคคลโดยมีผู้ถือหุ้นทั้งภาครัฐและเอกชนร่วมกัน (จาก พ.ร.บ. ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2545 มาตรา 8 ให้กำหนดทุนเรือนหุ้นของธนาคารไว้หนึ่งหมื่นล้านบาท แบ่งออกเป็นหนึ่งร้อยล้านหุ้น มูลค่าหุ้นละหนึ่งร้อยบาท โดยให้ธนาคารขายหุ้นให้แก่กระทรวงการคลัง สถาบันการเงิน หรือบุคคลอื่น ทั้งนี้ ตามที่กำหนดไว้ในข้อบังคับของธนาคาร

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายพงษ์ ภาณุ เศวตรุนทร์

WebSite : www.smebank.co.th

จำนวนสาขา : 95 สาขา

ธนาคารเพื่อการเกษตรและ สหกรณ์การเกษตร (Bank for Agriculture and Agricultural Cooperatives)

ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) (อังกฤษ: Bank for Agriculture and Agricultural Cooperatives) ทำหน้าที่อำนวยสินเชื่อทางการเกษตรอย่างกว้างขวาง ทั้งโดยตรงและสู่สถาบันเกษตรกร มุ่งให้ความช่วยเหลือทางการเงิน เพื่อส่งเสริมอาชีพการเกษตรหรือการดำเนินงานของเกษตรกร กลุ่มเกษตรกร หรือสหกรณ์การเกษตร ตลอดจนส่งเสริมให้ เกษตรกร กลุ่มเกษตรกร หรือ สหกรณ์การเกษตร สามารถประกอบอาชีพอย่างอื่นที่เกี่ยวเนื่องในการเกษตร เพื่อเพิ่มรายได้ให้แก่ครอบครัวเกษตรกร รวมทั้งให้บริการรับฝากเงิน เช่นเดียวกับธนาคารพาณิชย์ทั่วไปอีกด้วย

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นาย กรณ์ จาติกวณิช รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ตำแหน่ง ประธานกรรมการ

Website : www.baac.or.th

จำนวนสาขา : 886 สาขา

ธนาคารเพื่อการส่งออก และนำเข้าแห่งประเทศไทย (Export-Import Bank of Thailand)

ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย (ธสน.) (Export-Import Bank of Thailand หรือ EXIM Bank) มีขอบเขตอำนาจในการทำธุรกิจไว้อย่างกว้างขวาง ธสน. จึงสามารถให้สินเชื่อได้ทุกรูปแบบ เช่น สินเชื่อระยะสั้นและสินเชื่อระยะยาว สินเชื่อในประเทศและสินเชื่อต่างประเทศ โดยสามารถทำธุรกิจได้ทั้งที่เป็นสกุลเงินบาทและสกุลเงินตราต่างประเทศ นอกจากนี้ยังสามารถกู้ยืมเงินจากสถาบันการเงินทุกประเภททั้งในประเทศและต่าง ประเทศและออกตราสารการเงินระยะสั้นและระยะยาวขายแก่สถาบันการเงินและประชาชน ทั่วไปทั้งในประเทศและต่างประเทศ กล่าวโดยสรุป ธสน. สามารถทำธุรกิจทุกประเภทที่ธนาคารพาณิชย์ทำได้ ยกเว้นเพียงการรับฝากเงินจากประชาชนทั่วไปเท่านั้น สำหรับนักลงทุนไทยที่ไปลงทุนในต่างประเทศ สนับสนุนการลงทุนในรูปของการให้บริการทางการเงินทั้งสินเชื่อระยะสั้นและ ระยะยาว และเพื่อเป็นการเพิ่มความมั่นใจให้แก่นักลงทุน ยังพร้อมที่จะร่วมลงทุนถือหุ้นในกิจการอีกด้วย การรับประกันความเสี่ยงในการเรียกเก็บเงินจากการส่งออก

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายณรงค์ชัย อัครเศรณี

Website : www.exim.go.th

จำนวนสาขา : 16 สาขา

ธนาคารออมสิน (Government Saving Bank)

ธนาคารออมสิน (อังกฤษ: Government Savings Bank GSB) เป็นธนาคารเพื่อลูกค้ารายย่อย จะเน้นให้สินเชื่อเพื่อพัฒนาชนบท พัฒนาผู้ประกอบการราย ย่อย โดยจะมีรูปแบบของสินเชื่อและชนิดการฝากเงินรายย่อยมากมาย อีกทั้งยังสร้างเงินทุนหมุนเวียนในกลุ่มชุมชน โครงการธนาคารเพื่อประชาชนโดยให้สิ้นเชื่อระยะสั้นแก่ผู้ประกอบการรายย่อย (ให้ประชาชนมาเป็นหนี้ในระบบ ที่สามารถตรวจสอบได้ และการเก็บดอกเบี้ยตามความเป็นจริง) เป็นช่องทางการรับ-จ่ายเงินกู้จากโครงการกองทุนหมู่บ่นและชุมชนเมือง อีกทั้งยังลงทุนในการพัฒนาประเทศของหน่วยงานรัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ ให้บริการรูปแบบเงินฝากที่หลายหลายรูปแบบที่เหมาะกับแต่ละช่วงวัย และมีการให้บริการตามหลักศาสนาอิสลาม

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายวินัย วิทวัสการเวช ประธาน กรรมการ

Website : www.gsb.or.th

จำนวนสาขา : 400 สาขา

ธนาคารอาคารสงเคราะห์ (Government Housing Bank)

ธนาคารอาคารสงเคราะห์ (ธอส.) (Government Housing Bank) เป็นธนาคารทำหน้าที่ช่วยเหลือทางการเงินให้กับประชาชน ได้มีที่อยู่อาศัยตามสมควรแก่อัตภาพ โดยการให้กู้ยืมเงิน และ จัดสรรที่ดินเพื่อ ก่อสร้างที่เป็นหน่วยงานของรัฐบาลที่ประกอบธุรกิจในการส่งเสริมและช่วยเหลือ ประชาชนนำเงินไป ลงทุนเกี่ยวกับการสร้างอาคารและที่ดินโดยตรงทำหน้าที่เสมือนสื่อกลางในการนำ เงินไปใช้ประโยชน์ ใน กิจการเคหะและเป็น สถาบันการเงินที่ดำเนินธุรกิจ อีกทั้งยัง ร่วมมือกับหน่วยงานของรัฐต่างๆ สนับสนุนให้ประชาชนมีที่อยู่เป็นของตนเอง อาทิ ให้สินเชื่อกับผู้ที่ซื้อบ้านกับการเคหะแห่งชาติ สินเชื่อกับผู้ประกันตนกับสำนักงานประกันสังคม ร่วมกับกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการให้สมาชิกกู้เงินเพื่ออสังหาริมทรัพทย์ ความช่วยเหลือด้านการมีบ้าน

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นาย ชัยเกษม นิติสิริ ประธานกรรมการ

Website : www.ghbank.co.th

จำนวนสาขา : 146 สาขา

ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย (Islamic Bank of Thailand)

ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย (Islamic Bank of Thailand) เป็นธนาคารที่ดำเนินธุรกรรมโดยปราศจากดอกเบี้ย แต่อยู่บนหลักการ กำไร-ขาดทุนร่วมกัน และดำเนินธุรกิจตาม พ.ร.บ.ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2545 โดยมีคณะที่ปรึกษาด้านศาสนาให้คำแนะนำ ตรวจสอบ เพื่อให้ธนาคารดำเนินงานถูกต้องตามหลักศาสนาอิสลาม[1] ปัจจุบันธนาคารมีฐานะเป็นรัฐวิสาหกิจ สังกัดกระทรวงการคลัง

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายธีรศักดิ์ สุวรรณยศ

Website : www.ibank.co.th

จำนวนสาขา : 28 สาขา

ธนาคาร พาณิชย์ของรัฐบาล

ธนาคารกรุงไทย (Krung Thai Bank) - รัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงการคลัง

ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) (อังกฤษ: Krung Thai Bank Public Company Limited) เป็นธนาคารของรัฐ อยู่ภายใต้การกำกับดูแลของกระทรวงการคลัง ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2509 โดยการควบกิจการของธนาคารมณฑลและธนาคารเกษตร ซึ่งเป็นธนาคารที่รัฐบาลถือหุ้นใหญ่ทั้งคู่ และใช้ชื่อธนาคารใหม่ที่เกิดจากการควบรวมว่า "ธนาคารกรุงไทย จำกัด" มีตราสัญลักษณ์เป็นรูป นกวายุภักษ์ ซึ่งเป็นตราสัญลักษณ์ของกระทรวงการคลังเป็นสัญลักษณ์ของธนาคาร

ในระยะแรกของการก่อตั้ง มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่ถนนเยาวราช วัตถุประสงค์ของการรวมธนาคารทั้งสองให้เป็นของรัฐ เพื่อให้มีฐานะการเงินมั่นคง บริการกว้างขวาง ผลการดำเนินงาน ดีขึ้นตามลำดับ จนสำนักงานใหญ่เดิมที่ถนนเยาวราช คับแคบ จึงย้ายสำนักงานมาที่ 35 ถนนสุขุมวิท เขตวัฒนา กรุงเทพฯ เมื่อปี พ.ศ. 2525 ซึ่งใช้สำนักงานนี้มาจนถึงปัจจุบัน

ธนาคารกรุงไทยได้เริ่มดำเนินกิจการมา มีการเจริญเติบโตที่มั่นคง รวดเร็ว มีการปรับปรุง และขยายองค์กรงานใหม่ ซึ่งตอบสนองลูกค้าได้มากขึ้น จนกระทั่งเมื่อปี พ.ศ. 2531 ธนาคารกรุงไทย เป็นธนาคารเพียงแห่งเดียวในสมัยนั้น ที่มีสาขาและเอทีเอ็ม (ATM) ครบทุกจังหวัดทั่วประเทศ

ธนาคารกรุงไทยเป็นรัฐวิสาหกิจ แห่งแรกในประเทศไทยที่เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2532 ปัจจุบันผู้ถือหุ้นใหญ่คือกระทรวงการคลัง โดยถือหุ้นผ่านกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน จำนวน 6.184 พันล้านหุ้น คิดเป็น 55.31% ของหุ้นทั้งหมด [1]

นอกจากพาณิชยกรรมเช่นธนาคารพาณิชย์ทั่วไปแล้ว ธนาคารกรุงไทยยังเป็นช่องทางของรัฐบาลในการให้บริการทางการเงินสนอง ตามนโยบายของรัฐ โดยปล่อยสินเชื่อให้ธุรกิจบางประเภท เช่น สินเชื่อเพื่อโอท็อป (OTOP : หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์) สินเชื่อคอมพิวเตอร์ไอซีที สินเชื่อเพื่อการศึกษา ฯลฯ ธนาคารกรุงไทยยังเป็นธนาคารที่หน่วยงานราชการส่วนใหญ่เลือกใช้ อาทิเช่น กรมสรรพากร จ่ายเช็คคืนภาษีเป็นเช็ค ของธนาคารกรุงไทย และการเบิกจ่ายงบประมาณราชการ รวมถึงบำเหน็จบำนาญต่างๆ ของรัฐก็มีความเกี่ยวข้องกับธนาคารกรุงไทย

พร้อมกันนี้ในช่วงเวลาที่ประเทศไทยประสบปัญหาวิกฤติเศรษฐกิจ ธนาคารกรุงไทยได้ร่วมสนับสนุนนโยบายรัฐบาล ซึ่งเป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจของประเทศด้วยการอำนวย 'สินเชื่อก่อสร้างไทยเข้มแข็ง 2555' เพื่อเสริมสภาพคล่องให้กับผู้ประกอบการ

เวลาทำการของธนาคารกรุงไทยนั้นแตกต่างจากธนาคารพาณิชย์ทั่วไปที่ปรับตาม สภาวะเศรษฐกิจและความเหมาะสมในการดำเนินพาณิชยกรรม แต่เวลาทำการของธนาคารกรุงไทยสอดคล้องกับเวลาทำการของรัฐวิสาหกิจและราชการ มากกว่า เช่นในปัจจุบันที่เปิดทำการถึงเวลา 16.30 น. ขณะที่ธนาคารพาณิชย์อื่นๆ ปิดทำการก่อนหน้านั้น

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์

Website : www.ktb.co.th

จำนวนสาขา : 800 สาขา

ธนาคารทหารไทย (TMB Bank) - กลุ่มกองทัพไทย เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่

ธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน) (TMB Bank Public Company Limited)เป็นธนาคารของประเทศไทย ก่อตั้งโดย จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เมื่อวันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2499 มีทุนจดทะเบียนเริ่มแรก 10 ล้านบาท สำนักงานใหญ่แห่งแรกตั้งอยู่ที่ อาคาร 2 ถนนราชดำเนิน จังหวัดพระนคร (กรุงเทพมหานครในปัจจุบัน) มีพนักงานเริ่มแรก 26 คน

ในระยะแรกแม้จะเป็นธนาคารพาณิชย์มีใบอนุญาตประกอบกิจการได้ทั่วไป แต่จำกัดการทำพาณิชยกรรมอยู่ในแวดวงจำกัดดังนี้

ผู้ถือหุ้น ต้องเป็นทหารเท่านั้น บุคคลทั่วไปถือหุ้นไม่ได้

ลูกค้า มุ่งรับฝากจากทหารและครอบครัวทหารเป็นส่วนใหญ่

วัตถุประสงค์ เพื่ออำนวยความสะดวกในการให้บริหารทางการเงินแก่หน่วยงานทหาร และเพิ่มสวัสดิการการเงินแก่ข้าราชการทหาร

อาคารสำนักงานใหญ่ธนาคารทหารไทย

ปัจจุบัน ธนาคารทหารไทย มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่เลขที่ 3000 ถ.พหลโยธิน แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 ตรงข้ามสวนจตุจักร

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นาง เสาวนีย์ กมลบุตร

Website : www.tmbbank.com

จำนวนสาขา : 480 สาขา

ธนาคาร พาณิชย์

ธนาคารกรุงเทพ (Bangkok Bank)

ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) (Bangkok Bank Public Company Limited) จดทะเบียนก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2487 โดยข้าราชการ นักธุรกิจ และกลุ่มบุคคลที่มีแนวคิดเดียวกัน มีสโลแกนที่ว่า "เพื่อนคู่คิด มิตรคู่บ้าน"

รายงานผลการสำรวจธนาคารยอดเยี่ยมในประเทศกำลังพัฒนาประจำปี 2546 ซึ่งตีพิมพ์ใน นิตยสารโกลบอล ไฟแนนซ์ ฉบับประจำเดือนพฤษภาคม 2546 ได้กล่าวถึง ธนาคารกรุงเทพ ว่าเป็นธนาคารที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายชาติศิริ โสภณพนิช

Website : www.bangkokbank.com

จำนวนสาขา : 950 สาขา

ธนาคารกรุงศรีอยุธยา (Bank of Ayudhaya)

ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) (อังกฤษ: Bank of Ayudhya Public Company Limited) เป็นธนาคารของประเทศไทย ก่อตั้งเมื่อวันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2488 มีสำนักงานใหญ่แห่งแรกที่ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซึ่งเป็นอาณาจักรเก่าในประเทศไทย เปิดดำเนินการเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2488 มีทุนจดทะเบียนเริ่มแรก 1 ล้านบาท ต่อจากนั้นได้ก่อตั้งสำนักงานในกรุงเทพมหานคร ณ ถนนราชวงศ์ และย้ายสำนักงานใหญ่มาตั้งอยู่ที่ ถนนอนุวงศ์ และ ถนนลำพูนไชย ในปี พ.ศ. 2491 และ พ.ศ. 2493 ตามลำดับ

วันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2513 ธนาคารได้รับตรา ครุฑ มาประดิษฐาน ณ ธนาคาร ในปีเดียวกันได้ย้ายสำนักงานใหญ่มาอยู่ ถนนเพลินจิต ในวันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2520 ธนาคารได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ในวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2536 ธนาคารได้แปรสภาพเป็น บริษัทมหาชน

ในเดือน ธันวาคม พ.ศ. 2539 ธนาคารได้ย้ายสำนักงานใหญ่มาอยู่ที่ ถนนพระราม 3 เปิดดำเนินการอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2540 และใช้สำนักงานที่ถนนพระราม 3 มาตั้งแต่นั้นจนถึงปัจจุบัน

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายมาร์ค จอห์น อาร์โนลด์

Website : www.krungsri.com

จำนวนสาขา : ในประเทศ 577 สาขา ต่างประเทศ 4 สาขา

ธนาคารกสิกรไทย (KasikornBank)

ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) (อังกฤษ: Kasikorn Bank Public Company Limited) เป็นธนาคารของประเทศไทย ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2488 โดยกลุ่มตระกูล ล่ำซำ ทุนจดทะเบียนเริ่มแรก 5 ล้านบาท มีพนักงานเริ่มแรก 21 คน มีสำนักงานใหญ่แห่งแรกตั้งอยู่ที่ สำนักถนนเสือป่า ต่อมาได้ขยายการบริหารงานไปยังสำนักสีลม,สำนักพหลโยธิน,สำนักงานใหญ่ ราษฎร์บูรณะและสำนักแจ้งวัฒนะตามลำดับ ปัจจุบัน สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่ ซอยกสิกรไทย ถนนราษฎร์บูรณะ เชิงสะพานพระราม 9 ฝั่งธนบุรี

รรมการผู้จัดการใหญ่ : นาย บรรยงค์ ล่ำซำ - ประธานกรรมการ - กรรมการที่ปรึกษาแก่คณะจัดการ

Website : www.kasikornbank.com

จำนวนสาขา : 595 สาขา

ธนาคารเกียรตินาคิน (Kiatnakin Bank)

ธนาคารเกียรตินาคิน เป็นธนาคารประกอบธุรกิจเงินทุนและหลักทรัพย์ซึ่งเป็นธุรกิจสำคัญของตระกู ลวัธนเวคิน เดิมก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2514 โดยเป็นบริษัทเงิน ทุนหลักทรัพย์มาก่อน บริษัทได้เข้าซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยครั้ง แรกเมื่อวันที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2531

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นางสาวนวพร เรืองสกุล

Website : www.kiatnakin.co.th

จำนวนสาขา : 52 สาขา

ธนาคารซิติแบงก์ (Citibank)

ชื่อย่อ : CitiBank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : ธนาคารซิตี้แบงก์ เอ็น.เอ. สาขากรุงเทพฯ

เลขที่ 399 ถนนสุขุมวิท อาคารอินเตอร์เชนจ์ 21

แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110

กรรมการผู้จัดการใหญ่ :

Website : www.citibank.co.th

จำนวนสาขา : 47 สาขา

จุดเด่น : ธนาคารซิตี้แบงก์ และบริษัทในเครือซิตี้กรุ๊ปให้บริการแก่ลูกค้ารายย่อย และลูกค้าสถาบันมากกว่าสถาบันการเงินอื่นใด ธนาคารซิตี้แบงก์เริ่มเปิดดำเนินกิจการ ในมหานครนิวยอร์คในปี พ.ศ. 2355 ปัจจุบันธนาคารมีเครือข่ายครอบคลุมทั่วโลก มากกว่า 3,000 สาขาใน 100 ประเทศ กิจการบุคคลธนกิจของธนาคารให้บริการบัตรเครดิตกว่า 60 ล้านใบทั่วโลก จาก เครือข่ายที่กว้างไกลของธนาคารทำให้สามารถให้บริการด้านเงินทุน และธุรกรรมการเงินเพื่อตอบสนองลูกค้าสถาบันทั้งในและต่างประเทศ รวมทั้งประเทศในตลาดเกิดใหม่

ซิตี้กรุ๊ปมีเจ้าหน้าที่มากกว่า 255,000 คนทั่วโลก ซึ่งได้รับความไว้วางใจจากลูกค้า และนักลงทุน เจ้าหน้าที่ของเราเป็นผู้มีความสามารถ มีประสบการณ์ มีประสิทธิภาพสูงซึ่งทำให้เรามีความโดดเด่นมากกว่าสถาบันการเงินอื่นใด ทำ ให้

ซิตี้กรุ๊ปสามารถให้บริการการเงินตอบสนองลูกค้าได้ดียิ่งขึ้น

ธนาคารทหารไทย (Thai Military Bank)

ธนาคารทิสโก้ (Thai Investment and Securities Company Bank)

อา คารทิสโก้ทาวเวอร์ 48/2 ถนนสาทรเหนือ

แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นาย สุทัศน์ เรืองมานะมงคล กรรมการ ผู้จัดการใหญ่

Website : www.tisco.co.th

จำนวนสาขา : 46 สาขา

ธนาคารซีไอเอ็มบี ไทย (CIMB Thai Bank)

ธนาคาร ซีไอเอ็มบี ไทย จำกัด (มหาชน) เดิมชื่อ ธนาคาร ไทยธนาคาร จำกัด (มหาชน) ก่อตั้งขึ้นตั้งแต่ปีพ.ศ. 2541 โดยมีกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงินเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ที่สุดของธนาคารมาโดยตลอด จากนั้นเมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 กลุ่มซีไอเอ็มบี โดย CIMB Bank Berhad ได้เข้าเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ที่สุดในไทยธนาคาร และได้ดำเนินการจดทะเบียนเปลี่ยนชื่อจากธนาคารไทยธนาคาร เป็น ธนาคาร ซีไอเอ็มบี ไทย จำกัด (มหาชน) หรือ “CIMB Thai Bank Public Company Limited” ในภาษาอังกฤษ เมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2552 ซึ่งชื่อใหม่ของธนาคารนี้ นับเป็นการสะท้อนถึงการส่งผ่านไทยธนาคารเข้าสู่การเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มซี ไอเอ็มบีอย่างเป็นทางการ

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายสุภัค ศิวะรักษ์

Website : www.cimbthai.com

จำนวนสาขา : 147 สาขา

ธนาคารไทยพาณิชย์ (Siam Commercial Bank) - สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหา กษัตริย์ เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่

ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) (อังกฤษ: Siam Commercial Bank Public Company Limited) เป็นธนาคารของคนไทยแห่งแรกก่อตั้งโดยพระบรมราชานุญาตในปี พ.ศ. 2449

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : คุณหญิงชฎา วัฒนศิริธรรม

Website : www.scb.co.th

จำนวนสาขา : 873 สาขา

จุดเด่น :

ธนาคารธนชาต (Thanachart Bank)

ธนาคารธนชาต จำกัด (มหาชน) (อังกฤษ: Thanachart Bank Public Company Limited (TBANK) ) เป็นธนาคารพาณิชย์อันดับ 7 ของประเทศไทย โดยมีสาขา ทั้งหมด 255 สาขา เริ่มเปิดดำเนินการวันแรกเมื่อวันที่ 22 เมษายน 2545 สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่ เลขที่ 900 อาคารต้นสนทาวเวอร์ ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กทม. 10330 ปัจจุบันธนาคารธนชาตเป็นสถาบันการเงินที่ให้บริการทางการเงินที่ครบวงจร โดยมีความโดดเด่นและเป็นผู้นำธุรกิจด้านเช่าซื้อรถ

ชื่อย่อ : TNC Bank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ เลขที่ 900 อาคารต้นสนทาวเวอร์ ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายบันเทิง ตันติวิท ประธานกรรมการ

Website : www.thanachartbank.co.th

จำนวนสาขา : 50 สาขา

ธนาคารนครหลวงไทย (Siam City Bank)

ธนาคารนครหลวงไทย จำกัด (มหาชน) (Siam City Bank Public Company Limited) เป็นธนาคารของประเทศไทย ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2484 ในชื่อ "ธนาคารนครหลวงแห่งประเทศไทย" โดยคณะบุคคลของรัฐบาลร่วมกับสมาชิกในราชวงศ์ ด้วยทุนจดทะเบียนเริ่มแรก 1,000,000 บาท ต่อมาในปี พ.ศ. 2487 ได้เปลี่ยนชื่อมาเป็นชื่อที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน

ภายหลังการควบรวมกับธนาคารศรีนครในเดือนเมษายน พ.ศ. 2545 ธนาคารได้นำหุ้นกลับเข้าซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์เมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2546 ปัจจุบันธนาคารมีขนาดของสินทรัพย์ใหญ่เป็นอันดับ 7 ของธนาคารพาณิชย์ไทย ณ สิ้นเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2551 ธนาคารมีทุนจดทะเบียนทั้งสิ้น 21,128 ล้านบาท มีสินทรัพย์รวมจำนวน 410,132 ล้านบาท สินเชื่อจำนวน 255,693 ล้านบาท เงินฝากจำนวน 340,039 ล้านบาท มีจำนวนพนักงาน 6,956 คน และสาขา 405 สาขาทั่วประเทศ มีกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงินเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ในสัด ส่วน 47.58 % ส่วนที่เหลืออีก 52.42 % เป็น Free Float ในตลาด หุ้นของธนาคารมีมูลค่าตลาดเท่ากับ 32,115 ล้านบาท

ธนาคารยูโอบี (United Overseas Bank, Thailand)

ธนาคารยูโอบี หรือ ธนาคารยูโอบี จำกัด (มหาชน) เกิดจากการรวมกิจการของธนาคารเอเชีย จำกัด (มหาชน) และธนาคารยูโอบีรัตน สิน จำกัด (มหาชน) เมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2548 เป็นธนาคารพาณิชย์ที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 9 ของประเทศไทย มีสินทรัพย์มูลค่ารวม 206,000 ล้านบาท ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2548 ปัจจุบันมีสาขาทั่วประเทศ 154 สาขา

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายชัยวัฒน์ อุทัยวรรณ์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่

Website : www.scib.co.th

จำนวนสาขา : 400 สาขา

ธนาคาร สแตนดาร์ดชาร์เตอร์ดไทย (Standard Chartered Bank Thai)

ชื่อย่อ : SCNB

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : สำนัก งานใหญ่ของธนาคารฯ ตั้งอยู่ที่เลขที่ 90 ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพ 10500

กรรมการผู้จัดการใหญ่ :ยุทธเดช ปัทมานนท์

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ฝ่ายธุรกรรมการเงิน ธนาคารสแตนดาร์ดชาร์เตอร์ด (ไทย

Website : www.standardchartered.co.th

จำนวนสาขา : ในประเทศ 41 สาขา และอีกกว่า 1400 สาขาทั่วโลก

ธนาคารเมกะสากล พาณิชย์ (Mega International Commercial Bank)

ชื่อย่อ : MEGA Bank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 36/12 พี.เอส.ทาวเวอร์ ซอยสุขุมวิท 21 ถนนอโศก แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : Rong-Jou Wang

Website : www.megabank.com.tw

จำนวนสาขา :4 สาขา

ธนาคารสินเอเชีย (Asia Credit Limited Bank)

ชื่อย่อ : ACL Bank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : ธนาคารสินเอ เซีย จำกัด (มหาชน)

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายฮุยเหมิน หยี่ ประธาน กรรมการ นายธงชัย อานันโทไทย กรรมการผู้จัดการใหญ่

Website : www.aclbank.com/th

จำนวนสาขา : 17 สาขา

ธนาคารกรุงไทย (Krungthai Bank)

ธนาคาร พาณิชย์เพื่อรายย่อย

ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย (Land and Houses Retail Bank)

ชื่อย่อ : LH Bank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : สำนักงานใหญ่

เลขที่ 1 อาคารคิวเฮ้าส์ ลุมพินี ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120

โทร 0-2359-0000 begin_of_the_skype_highlighting 0-2359-0000 end_of_the_skype_highlighting โทรสาร 0-2677-7223 begin_of_the_skype_highlighting 0-2677-7223 end_of_the_skype_highlighting

เวลา ทำการ* จันทร์-ศุกร์ : 8.30-17.30 น.

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นางศศิธร พงศธร กรรมการผู้จัดการ

Website : www.lhbank.co.th

จำนวนสาขา : 23 สาขา

ธนาคาร ไทยเครดิต เพื่อรายย่อย (Thai Credit Retail Bank)

ชื่อย่อ : TCR Bank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : สำนักธุรกิจ รัชดาภิเษก

ตั้งอยู่ที่อาคารไทยประกันชีวิต 1 ชั้น 1 ให้บริการด้านรับฝาก-ถอนเงิน ให้คำปรึกษาบริการสินเชื่อ รับชำระค่างวด บริการเครื่อง ATM เครื่องปรับยอดสมุดเงินฝากอัตโนมัติ (Auto Update Passbook) และบริการอื่นๆ

สำนักงานผู้บริหารและกลุ่มงานสนับสนุน

ตั้งอยู่ที่ อาคารไทยประกันชีวิต 1/1 ชั้น 5

กลุ่มธุรกิจสินเชื่อ

ตั้ง อยู่ที่อาคารอาร์เอส ทาวเวอร์ ชั้น 17 ให้บริการด้านการขอสินเชื่อ การเบิกเงินกู้ และรับชำระค่างวดต่างๆ

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายวานิช ไชยวรรณ

ธนาคาร ไทยในอดีต

ธนาคาร กรุงเทพฯ พาณิชย์การ (Bangkok Bank of Commerce)

ธนาคารเกษตร (Kaset Bank)

ธนาคารดีบีเอส ไทยทนุ (DBS Thai Dhanu Bank)

ธนาคารไทย (Thai Bank)

ธนาคารไทยทนุ (Thai Dhanu Bank)

ธนาคารไทยธนาคาร (BankThai)

ธนาคารไทยพัฒนา (Thai Development Bank)

ธนาคารนครธน (Nakhonthon Bank)

ธนาคารเพื่อการส หกรณ์ (Bank for Cooperatives)

ธนาคารศรีนคร (Bangkok Metropolitan Bank)

ธนาคารมณฑล (Mondol Bank)

ธนาคารมหานคร (First Bangkok City Bank)

ธนาคารยูโอบี รัตนสิน (UOB Ratdhanasin Bank)

ธนาคารรัตนสิน (Ratdhanasin Bank)

ธนาคารแหลมทอง (Lamthong Bank)

ธนาคารสิงขร (Singkol Bank)

ธนาคารสยาม (Sayam Bank)

ธนาคาร สแตนดาร์ดชาร์ดเตอร์นครธน (Standard Charterd Nakhonthon Bank)

ธนาคารสหธนาคาร (Union Bank of Bangkok)

ธนาคารสหมาลายัน (SahaMalayan Bank)

ธนาคารหวั่งหลีจัน (Wang Lee Jan Bank)

ธนาคารเอเชีย (Bank of Asia)

ธนาคารเอเชีย ทรัสต์ (Asia Trust Bank)

บริษัท แบงก์สยามกัมมาจลทุน จำกัด (Siam Commercial Bank)

บรรษัท เงินทุนอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (Industrial Fund Company of Thailand)

บริการทางการเงินตามหลักซารีฮะห์ ของ ธนาคารกรุงไทย (KTB Sharihah Bank)

องค์กร ทางการธนาคาร

ธนาคารโลก กรุงเทพฯ (World Bank, Bangkok)

สมาคมธนาคารไทย (Thai Bankers' Association)

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ผู้จัดทำ นายอัครวัฒน์ พฤกษชาติเจริญ

รหัส 50473010046

คณะวิทยาการจัดการ

โปรแกรมวิชา เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

การแข่งขันฟุตบอลโลกครั้งนี้ส่งผล อย่างไรต่อภาคธุรกิจใดบ้าง และจะมีผลกระทบภาคสังคมอย่างไรบ้าง

ทางด้านธุรกิจ ทำให้เศรษฐกิจในด้านการกีฬามีการขยายตัว โดยเฉพาะสัญลักษณ์ในการแข่งขัน และทีมฟุตบอลที่มีคนสนใจมากเป็นพิเศษ มีการหมุนเวียนของเงิน ส่งผลให้ประเทศเจ้าบ้านมีรายได้เพิ่มสูงขึ้น แต่เศรษฐกิจในประเทศมีการหมุนเวียนเฉพาะกลุ่มและเงินส่วนใหญ่ก็ออกไปนอกประเทศเนื่องจากต้องเสียค่าลิขสิทธิ์ แต่ก็ส่งให้เกิดการหมุนเวียนของเงิน เนื่องจากมีประชาชนที่ไม่น้อยที่สนใจในการแข่งขันบอลโลก จึงมีผู้ที่อยากได้ของที่ระลึก ผู้ที่ได้รับผลประโยชน์ในด้านนี้ คือผู้ที่มีสิทธิ์ในการจัดจำหน่ายของที่ระลึก และผู้นำเข้า และประชาชนส่วนใหญ่มักจะดูบอลที่บ้าน หรือก็ไปดูที่ร้านอาหาร ที่มีการฉายฟุตบอล การที่ร้านอาหารจะสามารถถ่ายถอดสดได้ก็ต้องได้รับสิทธิ์จาก RS จึงทำให้ RS ได้รับผลประโยชน์เพียงผู้เดียว ส่วนผู้ที่เสียผลประโยชน์ น่าจะเป็นพ่อค้าในตลาดกลางคืนที่ไม่มีการถ่ายทอดฟุตบอล เช่น ร้านอาหารข้างทาง พ่อค้าแผงลอย เป็นต้น

ทางด้านสังคม ถึงแม้ว่าจะมีการรณรงค์ไม่ให้พนันฟุตบอล แต่ในความเป็นจริงก็มีการพนันเกิดขึ้น ซึ่งส่งผลกระทบในหลายๆด้าน เช่น การศึกษา วัฒนธรรม เนื่องจาก ถ้าเป็นเยาวชน ถ้าไม่แบ่งเวลาให้ดีก็อาจจะเสียต่อการเรียน เนื่องจากบอลส่วนใหญ่ที่ถ่ายในไทย มักจะเป็นเวลาที่ดึก ซึงสงผลต่อการเรียน ถ้าเยาวชนพนันฟุตบอล ก็อาจทำให้เสียอนาคตได้ เพราะอาจต้องถูกให้ออกจากโรงเรียน ถ้าเป็นผู้ใหญ่ ก็อาจจะเกิดการลักขโมย เกิดอาชญากรรม ได้ และอาจจะทำให้ยาเสพติดระบาดเพิ่มมากขึ้น แต่ถ้าผู้ที่สนใจแบ่งเวลาให้ดี แล้วไม่เล่นพนัน ก็อาจส่งผลในทางที่ดี เช่น อาจออกกำลังกายเพิ่มขึ้น มีเวลากับครอบครัวเพิ่มขึ้น มีการนันทนาการในครอบครัว

นางสาว ศิรินภา คำมา  รหัส 50473010003

สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ   มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา

 

1. ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร

ชื่อย่อ  =  BAC ( Bank for Agriculture and Agricultural Cooperatives)

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่   นายลักษณ์  วจนานวัช
สำนักงานใหญ่  = เลขที่ 469 ถนน นครสวรรค์ เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300 โทร (662) 280-0180

สาขาทั้งหมด  =  886 สาขา

จุดเด่น  = "เป็นธนาคารพัฒนาชนบทที่มั่นคง มีการจัดการที่ทันสมัย เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของเกษตรกรรายย่อย"

Website  =    http://www.baac.or.th

 

2. ธนาคารแสตนดาร์ดชาร์เตอร์ นครธน จำกัด (มหาชน)

ชื่อย่อ  =  SCNB  ( Standard Chartered Nakornthon Bank)

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่   =  ยุทธเดช ปัทมานนท์

สำนักงานใหญ่  =  สำนักงานใหญ่ของธนาคารฯ ตั้งอยู่ที่เลขที่ 90 ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพ 10500

สาขาทั้งหมด  =  ในประเทศ 41 สาขา และอีกกว่า 1400 สาขาทั่วโลก

จุดเด่น  =  ธนาคารฯ มีธุรกิจหลักคือ บุคคลธนกิจและสถาบันธนกิจ ธุรกิจด้านบุคคลธนกิจให้บริการด้านบัตรเครดิต สินเชื่อบุคคล สินเชื่ออสังหาริมทรัพย์ บริการรับฝากเงิน บริการด้านการบริหารสินทรัพย์ให้แก่ลูกค้ารายบุคคล ลูกค้าเจ้าของธุรกิจรายย่อย จนถึงลูกค้าเจ้าของธุรกิจขนาดกลาง ส่วนสถาบันธนกิจนั้นให้บริการแก่ลูกค้าที่เป็นสถาบันหรือบริษัทในด้านต่างๆ เช่น สินเชื่อพาณิชย์ บริการบริหารเงินสด การบริการเงินทุน บริการด้านหลักทรัพย์ บริการด้านเงินตราต่างประเทศ บริการด้านการกู้ยืมในตลาดทุน และบริการด้านเงินกู้สำหรับธุรกิจ 

Website : www.standardchartered.co.th

 

3. ธนาคารสินเอเชีย

ชื่อย่อ  =  ACL Bank

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่   =  นายฮุยเหมิน หยี่  ประธานกรรมการ   

นายธงชัย อานันโทไทย    กรรมการผู้จัดการใหญ่

สำนักงานใหญ่  =  ชั้น 11-13 เอ็มโพเรี่ยมทาวเวอร์ เลขที่ 622 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองตัน เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110  โทรศัพท์. 02 663 9999 

สาขาทั้งหมด  =  17 สาขา

จุดเด่น  =   ธนาคารสินเอเซีย จำกัด (มหาชน) หรือในชื่อเดิมคือ บริษัท เงินทุนสินเอเซีย จำกัด (มหาชน) ซึ่งได้รับใบอนุญาตประกอบการธนาคารพาณิชย์จากกระทรวงการคลังและ ธนาคารแห่งประเทศไทย ให้เริ่มเปิดให้บริการประชาชน เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2548 นับตั้งแต่ขวบปีแรกที่ก้าวสู่ธุรกิจการเงินการธนาคารเมื่อปี พ.ศ. 2512 หลังจากนั้น ก็ได้รับอนุญาตจากกระทรวง การคลังให้ประกอบ ธุรกิจหลักทรัพย์และธุรกิจเงินทุนในปี พ.ศ. 2516 จดทะเบียนเข้าสู่ตลาดหลักทรัพย์ในปี พ.ศ. 2521 จนกระทั่งแปรสภาพ เป็นบริษัทมหาชนในปี พ.ศ. 2536 มาจนวันนี้ ธนาคารสินเอเซีย จำกัด (มหาชน) ได้นำประสบการณ์ในแวดวงการเงินที่สั่งสมมากว่า 35 ปี พร้อมที่จะรับใช้ประชาชน อย่างเต็มที่ 

Website   http://www.bankasia4u.co.th

 

4. ธนาคาร ซีไอเอ็มบี ไทย

ชื่อย่อ  = CIMB

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่   นายสุภัค ศิวะรักษ์

สำนักงานใหญ่  =เลขที่ 44 ถนนหลังสวน แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
โทรศัพท์: 0-2626-7000   โทรสาร: 0-26573-3333

สาขาทั้งหมด  =  147 สาขา

จุดเด่น  =    ธนาคารตระหนักถึงสิทธิความเป็นส่วนบุคคลในข้อมูลของผู้ใช้บริการ  และพยายามอย่างยิ่งที่จะให้ผู้ใช้บริการได้รับความปลอดภัยสูงสุดจากการใช้ช่องทางนี้สำหรับการดำเนินธุรกรรมต่างๆ ของผู้ใช้กับธนาคาร    ดังนั้นข้อมูลต่างๆ ที่ได้รับธนาคารจะเก็บรักษา และดำเนินการอย่างเข้มงวดเพื่อรักษาความปลอดภัย และป้องกันการนำข้อมูลต่างๆ ไปใช้โดยมีเจตนาที่ไม่สุจริต ตามเกณฑ์มาตรฐานสำหรับการรักษาข้อมูลที่เป็นความลับ

 Website www.cimbthai.com

 

5.  ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)

ชื่อย่อ  = SCB (Siam Commercial Bank)

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่   =   นางกรรณิกา  ชลิตอาภรณ์

สำนักงานใหญ่  =  ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) สำนักงานใหญ่ 9 ถนนรัชดาภิเษก เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900  โทรศัพท์  0 2544 1000

สาขาทั้งหมด  =  873 สาขา

จุดเด่น  =

-  นำเสนอผลิตภัณฑ์ และบริการที่ดีในระดับมาตรฐานสากล 

สร้างผลตอบแทนระยะยาวที่ดีอย่างสม่ำเสมอ 

-  รักษา ดึงดูด และสร้างความผูกพันของพนักงาน 

ดำเนินงานอย่างมีธรรมาภิบาลและมีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคม และชุมชนอย่างเต็มที่ 

 Website =   http://www.scb.co.th

 

6. ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย

ชื่อย่อ  =   IBT ( Islamic Bank oF Thailand)

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่   =  นายธีรศักดิ์ สุวรรณยศ

สำนักงานใหญ่  = เลขที่ 66 ชั้น M, 21, 22 อาคารคิวเฮ้าส์ ถนนสุขุมวิท 21 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา
กรุงเทพมหานคร 10110  โทรศัพท์ : 0-2650-6999
สาขาทั้งหมด  =  28 สาขา

จุดเด่น  =   เป็นธนาคารที่ดำเนินธุรกรรมโดยปราศจากดอกเบี้ย แต่อยู่บนหลักการ กำไร-ขาดทุนร่วมกัน และดำเนินธุรกิจตาม พ.ร.บ.ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2545 โดยมีคณะที่ปรึกษาด้านศาสนาให้คำแนะนำ ตรวจสอบ เพื่อให้ธนาคารดำเนินงานถูกต้องตามหลักศาสนาอิสลาม ปัจจุบันธนาคารมีฐานะเป็นรัฐวิสาหกิจ สังกัดกระทรวงการคลัง

Website http://www.isbt.co.th

7. ธนาคารออมสิน

ชื่อย่อ  =   GSB ( Government Savings Bank)

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่   นายเลอศักดิ์ จุลเทศ

สำนักงานใหญ่  = ธนาคารออมสิน สำนักงานใหญ่ 470 ถนนพหลโยธิน สามเสนใน เขตพญาไท

กรุงเทพ 10400   ติดต่อสอบถาม โทร 1115 หรือ 0-2299-8000

สาขาทั้งหมด  =  400 สาขา

จุดเด่น  =  เป็นสถาบันการเงินที่มั่นคงเพื่อการออม การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศโดยเฉพาะเศรษฐกิจฐานราก

Website http://www.gsb.or.th

8. ธนาคารอาคารสงเคราะห์

ชื่อย่อ  =  GHB (Government Housing Bank)

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่   =  นายขรรค์ ประจวบเหมาะ

สำนักงานใหญ่  =  63 ถ.พระราม9 เขต ห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310 โทรศัพท์ 02-6459000

สาขาทั้งหมด  =  146 สาขา

จุดเด่น  =  เป็นธนาคารมั่นคงทันสมัย เพื่อที่อยู่อาศัยครบวงจร : Secured Modern Housing Bank

Website =  http://www.ghb.co.th

 

9. ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย

ชื่อย่อ  = EXIM THAILAND

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่   นายณรงค์ชัย อัครเศรณี

สำนักงานใหญ่  =  อาคารเอ็กซิม 1193 ถนนพหลโยธิน พญาไท กรุงเทพฯ

สาขาทั้งหมด  =  16 สาขา

จุดเด่น  = เป็นสถาบันการเงินชั้นนำด้านการค้าและการลงทุนในระดับอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจ

Website http://www.exim.go.th

 

10. ธนาคารแห่งประเทศไทย

ชื่อย่อ  = The Bank of Thailand

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่   =  นางธาริษา วัฒนเกส

สำนักงานใหญ่  =  273 ถนนสามเสน บางขุนพรหม เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 เบอร์กลาง โทร. 0-2283-5353 โทรสาร : 0-2280-0449, 0-2280-0626

สาขาทั้งหมด  = 5 สาขา

จุดเด่น  = ได้ออกแนวปฏิบัติของธนาคารแห่งประเทศไทย เรื่อง การจัดทำแผนรองรับการดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง (Business Continuity Plan: BCP) สำหรับกรณีการระบาดของโรคติดต่อร้ายแรง โดยบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 4 สิงหาคม 2551 ภายใต้การสนับสนุนจากสมาคมธนาคารไทย สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย และ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และธนาคารต่างๆ ได้เตรียมความพร้อมเช่นกัน เช่น ธนาคารไทยธนาคาร จำกัด (มหาชน), ธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน) เป็นต้น

Websitewww.bot.or.th

 

11. ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย

ชื่อย่อ  =   LH Bank

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่   =   นางศศิธร พงศธร

สำนักงานใหญ่  =  เลขที่ 1 อาคารคิวเฮ้าส์ ลุมพินี ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 

โทร 0-2359-0000 โทรสาร 0-2677-7223

สาขาทั้งหมด = 23 สาขา

จุดเด่น  =   ธนาคารมีการพิจาณาในด้านสินเชื่อเน้นไปที่เงินกู้เพื่อการเคหะของสินเชื่อโดยรวมทั้งหมด60% และ40%จะเป็นสินเชื่อประเภทเอสเอ็มอี เนื่องจากว่าในส่วนของสินเชื่อเคหะมีข้อดีตรงที่มีหลักประกันที่ชัดเจน และทางธนาคารแห่งประเทศไทยก็ให้ความสนใจในเรื่องนี้เป็นสำคัญ เพราะถือว่าเป็นฐานเงินทุนที่มีประสิทธิภาพสูง

Website www.lhbank.co.th

12. ธนาคารกสิกรไทย

ชื่อย่อ  = KBank

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่   =   คุณศาศวัต วีระปรีย

สำนักงานใหญ่  =  ที่อยู่ 400/22 อาคารธนาคารกสิกรไทย ชั้น 3 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท  กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท์:0-2290-2900

สาขาทั้งหมด  =  595 สาขา

จุดเด่น  =   แฟคเตอรี แอนด์ ควิปเมนท์ กสิกรไทย มุ่งมั่นเป็นบริษัทลีสซิ่งและเช่าซื้อเครื่องจักรและอุปกรณ์ที่มั่นคงและดีที่สุดในการให้บริการแก่ลูกค้าและเพื่อเสริมภาพลักษณ์ การบริการทางการเงินที่ครอบคลุมทุกๆ ด้าน (Universal Banking) ของธนาคารกสิกรไทย  

Website http://www.kasikornfactoring.com

 

13. ธนาคารซิติแบงค์

ชื่อย่อ  =   CitiBank

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่   =  นายปีเตอร์ เอเลียต

สำนักงานใหญ่  =ธนาคารซิตี้แบงก์ เอ็น.เอ. สาขากรุงเทพฯ เลขที่ 399 ถนนสุขุมวิท อาคารอินเตอร์เชนจ์ 21 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110

สาขาทั้งหมด  =  47 สาขา

จุดเด่น  =  มุ่งมั่นป็นธนาคารระดับโลก เอกลักษณ์ในการมีเครือข่ายสาขาทั่วโลก ทุ่มเทให้ลูกค้าของเรา มีความแงแกร่งทางการเงินเสมอต้นเสมอปลาย สนับสนุน และช่วยพัฒนาศักยภาพของพนักงานอย่างต่อเนื่อง  นำเสนอบริการที่เหนือกว่าแก่นักลงทุนตลอดเวลา

Website   http://www.citibank.co.th

 

14. ธนาคารกรุงศรีอยุธยา

ชื่อย่อ  BAY (Bank of Ayudthaya)

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่   =  นายมาร์ค จอห์น อาร์โนลด์

สำนักงานใหญ่  =ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) 1222 ถนนพระรามที่ 3 แขวงบางโพงพาง
เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 1012 โทรศัพท์ : 1572
สาขาทั้งหมด  =  ในประเทศ 577 สาขา ต่างประเทศ 4 สาขา

จุดเด่น  =  ทีมงานกลมเกลียว หนึ่งเดียว มุ่งมั่นมอบผลิตภัณฑ์และบริการสุดประทับใจ เพื่อเป็นธนาคารอันดับหนึ่งในใจลูกค้า

Website  http://www.krungsri.com

 

15. ธนาคารเกียรตินาคิน

ชื่อย่อ  =  KKBank

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่   =  นางสาวนวพร เรืองสกุล

สำนักงานใหญ่  =  500 อาคารอัมรินทร์ ทาวเวอร์ ชั้น 11 ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330  โทรศัพท์ 0-2680-3333
โทรสาร 0-2256-9933

สาขาทั้งหมด  = 52 สาขา

จุดเด่น  =   เป็นธนาคารพาณิชย์เต็มรูปแบบ (Commercial Bank) ซึ่งเปิดดำเนินการอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม 2548 เพื่อให้บริการทางการเงินที่หลากหลาย อาทิ บริการด้านเงินฝากประจำ ออมทรัพย์ กระแสรายวัน ประกันชีวิต สินเชื่อรถยนต์ สินเชื่อพัฒนาโครงการ สินเชื่อธุรกิจอพาร์ทเม้นท์ สินเชื่อธุรกิจฟลอร์แพลน สินเชื่อเพื่อธุรกิจขนส่ง สินเชื่อธุรกิจสิ่งพิมพ์และบรรจุภัณฑ์

Website  =    www.kiatnakin.co.th

 

16. ธนาคารกรุงเทพ

ชื่อย่อ  =  BKB  ( Bangkok Bank)

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่   =  นายชาติศิริ  โสภณพณิช

สำนักงานใหญ่  =   ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน)333 ถนนสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500

โทรศัพท์: (66) 0-2231-4333

สาขาทั้งหมด  =   950 สาขา

จุดเด่น  =   รายงานผลการสำรวจธนาคารยอดเยี่ยมในประเทศกำลังพัฒนาประจำปี 2546 ซึ่งตีพิมพ์ใน นิตยสารโกลบอล ไฟแนนซ์ ฉบับประจำเดือนพฤษภาคม 2546 ได้กล่าวถึง ธนาคารกรุงเทพ ว่าเป็นธนาคารที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย

Website   www.bangkokbank.com

 

17. ธนาคารกรุงไทย

ชื่อย่อ  =   KTB ( Krung Thai Bank)

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่   =   ดร. พงศธร สิริโยธิน 

สำนักงานใหญ่  =  อาคาร1 เลขที่ 35 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110

โทรศัพท์ 02-2552222

สาขาทั้งหมด  =  800 สาขา

จุดเด่น  =   ธนาคารแสนสะดวก (The Convenience Bank)  สำหรับลูกค้ารายย่อย ภาคธุรกิจ ภาครัฐ และสถาบัน

Website   http://www.ktb.co.th

 

18. ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย

ชื่อย่อ  =   SME Bank 

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่   =  นายพงษ์ภาณุ เศวตรุนทร์

สำนักงานใหญ่  =   เลขที่ 310 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 
โทร. 0-2265-3000 โทรสาร 0-2265-4000 

สาขาทั้งหมด  95 สาขา

จุดเด่น  =   เพื่อประกอบธุรกิจอันเป็นการพัฒนา ส่งเสริม ช่วยเหลือ และสนับสนุนการจัดตั้ง การดำเนินงาน การขยาย หรือการปรับปรุงวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม โดยการให้สินเชื่อค้ำประกัน ร่วมลงทุน สนับสนุนบริการทางการเงิน ให้คำปรึกษาแนะนำหรือให้บริการที่จำเป็นแก่ผู้ประกอบการไทย มีฐานะเป็นนิติบุคคลโดยมีผู้ถือหุ้นทั้งภาครัฐและเอกชนร่วมกัน (จาก พ.ร.บ. ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2545 มาตรา 8 ให้กำหนดทุนเรือนหุ้นของธนาคารไว้หนึ่งหมื่นล้านบาท แบ่งออกเป็นหนึ่งร้อยล้านหุ้น มูลค่าหุ้นละหนึ่งร้อยบาท โดยให้ธนาคารขายหุ้นให้แก่กระทรวงการคลัง สถาบันการเงิน หรือบุคคลอื่น ทั้งนี้ ตามที่กำหนดไว้ในข้อบังคับของธนาคาร

Website   =   www.smebank.co.th

19. ธนาคารทหารไทย

ชื่อย่อ  TMB = (Thai Military Bank)

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่   =  นางเสาวนีย์ กมลบุตร

สำนักงานใหญ่  =  ธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน) ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 3000 ถ.พหลโยธิน จอมพล จตุจักร กรุงเทพฯ 10900  โทรศัพท์ : 0-2299-1111

สาขาทั้งหมด  =  480 สาขา

จุดเด่น  =  ธนาคารไทยชั้นนำ มาตรฐานระดับโลก

Website   http://www.tmb.co.th

20. ธนาคารทิสโก้

ชื่อย่อ  =   TISCO ( Thai Investment and Securities Public Co )

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่   =   นายสุทัศน์ เรืองมานะมงคล

สำนักงานใหญ่  =  ธนาคารทิสโก้ จำกัด (มหาชน) อาคารทิสโก้ทาวเวอร์ 48/2 ถนนสาทรเหนือ
แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทรศัพท์ : 0 2-633 6000 โทรสาร : 0 2-633 6800

สาขาทั้งหมด  =  46 สาขา

จุดเด่น  =  "ทิสโก้เป็นสถาบันการเงินที่ประกอบธุรกิจด้วยมาตรฐานสูงสุดของการกำกับดูแลกิจการที่ดี เราทุ่มเท สร้างสรรค์คุณค่าที่ยั่งยืน เพื่อลูกค้า ผู้ถือหุ้น พนักงาน และสังคม"

Website   http://www.tisco.co.th

21. ธนาคารธนชาต

ชื่อย่อ  =    TNC  (Thanachart Bank)

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่   =  นายบันเทิง ตันติวิท

สำนักงานใหญ่  =    สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ เลขที่ 900 อาคารต้นสนทาวเวอร์ ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร

สาขาทั้งหมด  =  50 สาขา

จุดเด่น  =  การเป็นกลุ่มธุรกิจที่ให้บริการทางการเงินครบวงจร มุ่งเน้นการสร้างสรรค์ความเป็นเลิศให้แก่ผลิตภัณฑ์และบริการจากความร่วมมือของทุกบริษัทภายในกลุ่ม และสามารถตอบสนองทุกความต้องการทางการเงิน

Website   =      http://www.thanachart.com

22. ธนาคารนครหลวงไทย

ชื่อย่อ  =    SCB (SIAM CITY BANK)

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่   =  นายชัยวัฒน์ อุทัยวรรณ์

สำนักงานใหญ่  = 1101 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400

โทรศัพท์ 0-2208-5000, 0-2253-0200-43

สาขาทั้งหมด  =   422 สาขา

จุดเด่น  =  ธนาคารกำหนดนโยบายการกำกับดูแลกิจการที่ดี โดยมีหลักการพื้นฐานที่สำคัญ เพื่อให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทุกระดับของธนาคารยึดถือปฏิบัติเป็นมาตรฐานเดียวกัน

Website   http://www.scib.co.th

23. ธนาคารยูโอบี

ชื่อย่อ  = UOB ( United Overseas Bank)

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่   =  นายหว่อง คิม ชุง

สำนักงานใหญ่  = ธนาคารยูโอบี จำกัด (มหาชน) 191 ถนนสาทรใต้ กรุงเทพฯ 10120
โทรศัพท์ : 0-2343-3000  โทรสาร : 0-2287-2973-4

สาขาทั้งหมด  =  154 สาขา

จุดเด่น  = ธนาคารยูโอบี มีพันธกิจใน การเป็นธนาคารชั้นนำในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก และมุ่งมั่นที่จะนำ เสนอผลิตภัณฑ์คุณภาพ และบริการชั้นเลิศ

Website   http://www.uob-radanasin.co.th

 

---------------------------------------------------------------------------------------------

เพิ่มเติม

-  การแข่งขันฟุตบอลโลกครั้งนี้ส่งผลอย่างไรต่อภาคธุรกิจใดบ้าง และจะมีผลกระทบภาคสังคมอย่างไรบ้าง

ภาคเศรษฐกิจ

1. เงินสะพัด  6  หมื่นล้าน

นายธนวรรธน์ พลวิชัย ผู้อำนวยการศูนย์พยากรณ์เศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย เปิดเผยถึงผลสำรวจพฤติกรรมการใช้จ่ายของผู้บริโภคในช่วงเทศกาลฟุตบอลโลก 2010 พบว่าจะมีเงินสะพัดจากการใช้จ่ายในช่วงเทศกาลฟุตบอลโลก 2010 ถึง 59,600 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 8.7% เมื่อเทียบกับเทศกาลฟุตบอลยูโรปี 2008

2. หลากธุรกิจเปิดศึกเดือด

สำหรับการแข่งขันทางธุรกิจที่ดุเดือดสุดๆ ต้องยกให้สงครามน้ำอัดลมระหว่าง "โค้ก" ซึ่งได้รับสิทธิ์ใช้โลโก้ฟุตบอลโลกกับฟีฟ่าได้ กับ "เป๊ปซี่" ที่ไม่ได้เป็นผู้สนับสนุนทางการของฟุตบอลโลก ทั้ง 2 ค่ายยักษ์ใหญ่แห่งอุตสาหกรรมน้ำอัดลมได้ทุ่มงบอย่างมหาศาล จนทำให้ผู้บริโภคเกิดความสับสนว่าใครกันแน่ที่เป็นสปอนเซอร์ทางการของฟีฟ่า นางสาวกรอบ-แก้ว ปันยารชุน ผู้จัดการฝ่ายสื่อสารการตลาดกลุ่มผลิตภัณฑ์ บริษัท โคคา-โคล่า (ประเทศไทย) จำกัด กล่าวว่า บริษัทได้อัดงบทำกิจกรรมฟุตบอลโลกถึง 170 ล้านบาท คาดว่าจะมียอดขายเติบโตไม่ต่ำกว่า 10% ส่งผลให้ภาพรวมยอดขายสิ้นปีนี้เติบโต   10%

3. ทีวีจุดพลุ  HD  คึกคัก

โทรทัศน์จะขายดีเป็นพิเศษ เพราะเป็นอุปกรณ์สำคัญในการเกาะกระแสบอลโลก   ทุกค่ายทีวีจึงโหมจัดกิจกรรมอย่างดุเดือด เพราะเป็นครั้งแรกที่ออกอากาศด้วยระบบ HD (High-Definition) ซึ่งให้ความคมชัดสมจริง เนื่องจากเป็นระบบดิจิตอลและยังเป็นระบบจอกว้าง ช่วยเพิ่มอรรถรสในการชม   ราวกับไปดูในสนามจริง

4. บอลโลกหนุนการส่งออกไทย

นอกจากนี้ จากการที่แอฟริกาใต้เป็นเจ้าภาพ ยังได้ช่วยให้การส่งออกของไทยได้รับส้มหล่น  นายวิรัตน์ ตันเดชานุรัตน์ ผู้อำนวยการสถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ กล่าวว่า  ใน 5 เดือนแรกของปีนี้ ยอดส่งออกสิ่งทอของไทยเพิ่มขึ้น 20% เพราะรับส้มหล่นจากฟุตบอลโลก 2010 ทั่วโลกได้สั่งซื้อเสื้อผ้า เช่น ชุดกีฬา กางเกงฟุตบอล ผ้าขนหนู ฯลฯ ที่มีตราสัญลักษณ์เกี่ยวกับฟุตบอลโลก

มีผลกระทบกับภาคสังคมดังนี้


      ฟุตบอลโลก 2010 ทันทีที่กรรมการเป่านกหวีดเริ่มการแข่งขันนัดแรก   ก็ได้ปลุกกระแสฟุตบอลโลก ฟีเวอร์ กระหึ่มทั่วสังคมไทย  ช่วยให้คนไทยกลับมา กระปรี้กระเปร่า มีชีวิตชีวาอีกครั้ง หลังจากที่เกิดซึมเศร้าท้อใจจากวิกฤติการเมือง เมื่อกลางเดือน พ.ค.ที่ผ่านมา


---------------------------------------------------------------------------------------------

นางสาวรัชนีกร นิยมทัศน์

นางสาวรัชนีกร นิยมทัศน์  รหัส 50473010006

สาขาวิชา เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ  มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

------------------------------------------------------------------------

1.ธนาคารแห่งประเทศไทย

สัญลักษณ์   

ชื่อย่อ  = The Bank of Thailand

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่   =  นางธาริษา วัฒนเกส

สำนักงานใหญ่  =  273 ถนนสามเสน บางขุนพรหม เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 เบอร์กลาง

โทร. 0-2283-5353 โทรสาร : 0-2280-0449, 0-2280-0626

สาขาทั้งหมด  = 5 สาขา

จุดเด่น  = ได้ออกแนวปฏิบัติของธนาคารแห่งประเทศไทย เรื่อง การจัดทำแผนรองรับการดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง (Business Continuity Plan: BCP) สำหรับกรณีการระบาดของโรคติดต่อร้ายแรง โดยบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 4 สิงหาคม 2551 ภายใต้การสนับสนุนจากสมาคมธนาคารไทย สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย และ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และธนาคารต่างๆ ได้เตรียมความพร้อมเช่นกัน เช่น ธนาคารไทยธนาคาร จำกัด (มหาชน), ธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน) เป็นต้น

เว็บไซต์  =  http://www.bot.or.th

 

2.  ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร

สัญลักษณ์  =    

ชื่อย่อ  =  BAC ( Bank for Agriculture and Agricultural Cooperatives)

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่   นายลักษณ์  วจนานวัช
สำนักงานใหญ่  = เลขที่ 469 ถนน นครสวรรค์ เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300 โทร (662) 280-0180

สาขาทั้งหมด  =  886 สาขา

จุดเด่น  = "เป็นธนาคารพัฒนาชนบทที่มั่นคง มีการจัดการที่ทันสมัย เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของเกษตรกรรายย่อย"

เว็บไซต์  =    http://www.baac.or.th

3. ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย

สัญลักษณ์ 

ชื่อย่อ  = EXIM THAILAND

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่   นายณรงค์ชัย อัครเศรณี

สำนักงานใหญ่  =  อาคารเอ็กซิม 1193 ถนนพหลโยธิน พญาไท กรุงเทพฯ

สาขาทั้งหมด  =  16 สาขา

จุดเด่น  = เป็นสถาบันการเงินชั้นนำด้านการค้าและการลงทุนในระดับอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจ

เว็บไซต์  =   http://www.exim.go.th

4. ธนาคารอาคารสงเคราะห์

สัญลักษณ์  =  

ชื่อย่อ  =  GHB (Government Housing Bank)

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่   =  นายขรรค์ ประจวบเหมาะ

สำนักงานใหญ่  =  63 ถ.พระราม9 เขต ห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310 โทรศัพท์ 02-6459000

สาขาทั้งหมด  =  146 สาขา

จุดเด่น  =  เป็นธนาคารมั่นคงทันสมัย เพื่อที่อยู่อาศัยครบวงจร : Secured Modern Housing Bank

เว็บไซต์  =     http://www.ghb.co.th

5. ธนาคารออมสิน

สัญลักษณ์ 

ชื่อย่อ  =   GSB ( Government Savings Bank)

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่   นายเลอศักดิ์ จุลเทศ

สำนักงานใหญ่  = ธนาคารออมสิน สำนักงานใหญ่ 470 ถนนพหลโยธิน สามเสนใน เขตพญาไท

กรุงเทพ 10400   ติดต่อสอบถาม โทร 1115 หรือ 0-2299-8000

สาขาทั้งหมด  =  400 สาขา

จุดเด่น  =  เป็นสถาบันการเงินที่มั่นคงเพื่อการออม การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศโดยเฉพาะ

เศรษฐกิจฐานราก

เว็บไซต์  =  http://www.gsb.or.th

6. ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย

สัญลักษณ์ 

ชื่อย่อ  =   IBT ( Islamic Bank oF Thailand)

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่   =  นายธีรศักดิ์ สุวรรณยศ

สำนักงานใหญ่  = เลขที่ 66 ชั้น M, 21, 22 อาคารคิวเฮ้าส์ ถนนสุขุมวิท 21 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา
กรุงเทพมหานคร 10110  โทรศัพท์ : 0-2650-6999
สาขาทั้งหมด  =  28 สาขา

จุดเด่น  =   เป็นธนาคารที่ดำเนินธุรกรรมโดยปราศจากดอกเบี้ย แต่อยู่บนหลักการ กำไร-ขาดทุนร่วมกัน และดำเนินธุรกิจตาม พ.ร.บ.ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2545 โดยมีคณะที่ปรึกษาด้านศาสนาให้คำแนะนำ ตรวจสอบ เพื่อให้ธนาคารดำเนินงานถูกต้องตามหลักศาสนาอิสลาม ปัจจุบันธนาคารมีฐานะเป็นรัฐวิสาหกิจ สังกัดกระทรวงการคลัง

เว็บไซต์  =  http://www.isbt.co.th

7. ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)

สัญลักษณ์ 

ชื่อย่อ  = SCB (Siam Commercial Bank)

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่   =   นางกรรณิกา  ชลิตอาภรณ์

สำนักงานใหญ่  =  ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) สำนักงานใหญ่ 9 ถนนรัชดาภิเษก เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900  โทรศัพท์  0 2544 1000

สาขาทั้งหมด  =  873 สาขา

จุดเด่น  =

-                   นำเสนอผลิตภัณฑ์ และบริการที่ดีในระดับมาตรฐานสากล

-                   สร้างผลตอบแทนระยะยาวที่ดีอย่างสม่ำเสมอ

-                   รักษา ดึงดูด และสร้างความผูกพันของพนักงาน

-                   ดำเนินงานอย่างมีธรรมาภิบาลและมีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคม และชุมชนอย่างเต็มที่

เว็บไซต์  =      http://www.scb.co.th


8. ธนาคาร ซีไอเอ็มบี ไทย จำกัด (มหาชน)

สัญลักษณ์  =  

ชื่อย่อ  = CIMB

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่   นายสุภัค ศิวะรักษ์

สำนักงานใหญ่  =เลขที่ 44 ถนนหลังสวน แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
โทรศัพท์: 0-2626-7000   โทรสาร: 0-26573-3333

สาขาทั้งหมด  =  147 สาขา

จุดเด่น  =    ธนาคารตระหนักถึงสิทธิความเป็นส่วนบุคคลในข้อมูลของผู้ใช้บริการ  และพยายามอย่างยิ่งที่จะให้ผู้ใช้บริการได้รับความปลอดภัยสูงสุดจากการใช้ช่องทางนี้สำหรับการดำเนินธุรกรรมต่างๆ ของผู้ใช้กับธนาคาร    ดังนั้นข้อมูลต่างๆ ที่ได้รับธนาคารจะเก็บรักษา และดำเนินการอย่างเข้มงวดเพื่อรักษาความปลอดภัย และป้องกันการนำข้อมูลต่างๆ ไปใช้โดยมีเจตนาที่ไม่สุจริต ตามเกณฑ์มาตรฐานสำหรับการรักษาข้อมูลที่เป็นความลับ

เว็บไซต์  =  www.cimbthai.com

น.ส.ศิรินันท์ กาญจนพันธ์วงศ์

 

 

{img_a}

 

ธ. กรุงไทย จำกัด (มหาชน)
จำนวน 800สาขา

ชื่อย่อ KTB

35 ถ.สุขุมวิท แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110
โทรศัพท์ 0-2255-2222
โทรสาร 0-2255-9391-3

http://www.ktb.co.th

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์                                                                                       

จุดเด่น   ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) ) เป็นธนาคารของรัฐ อยู่ภายใต้การกำกับดูแลของกระทรวงการคลัง ธนาคารที่รัฐบาลถือหุ้นใหญ่ทั้งคู่  เมื่อปี พ.ศ. 2531 ธนาคารกรุงไทย เป็นธนาคารเพียงแห่งเดียวในสมัยนั้น ที่มีสาขาและเอทีเอ็ม (ATM) ครบทุกจังหวัดทั่วประเทศธนาคารกรุงไทยยังเป็นช่องทางของรัฐบาลในการให้บริการทางการเงินสนองตามนโยบายของรัฐ

{img_a}

 

ธ. กรุงเทพ จำกัด (มหาชน)

ชื่อย่อ BBL

333 ถ.สีลม แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500
โทรศัพท์ 0-2231-4333
โทรสาร 0-2236-8281-2

   http://www.bangkokbank.com

จำนวนสาขา : 950 สาขา

กรรมการผู้จัดการใหญ่ ชาติศิริ โสภณพนิช

จุดเด่น เป็นธนาคารที่ถูกจัดอันดับเป็นธนาคารที่สามารถทำกำไรต่อหุ้น EPS เป็นอันดับ 1

 

Bank Krungsri.gif

 

ธ. กรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน)

ชื่อย่อ : KRUNGSRI Bank

1222 ถ.พระรามที่ 3 แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร 10120
โทรศัพท์ 0-2296-2000
โทรสาร 0-2683-1304

   http://www.krungsri.com

จำนวนสาขา : ในประเทศ 577 สาขา ต่างประเทศ 4 สาขา                                                       

กรรมการผู้จัดการใหญ่ นายมาร์ค จอห์น อาร์โนลด์                                                                                                       จุดเด่น ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) ได้รับรางวัล "2008 Quality Recognition Award Straight Through Processing (STP) สำหรับสกุล US DOLLAR" จาก Citibank N.A. ซึ่งแสดงถึงคุณภาพการให้บริการของธนาคารกรุงศรีอยุธยาในการส่งคำสั่งเงินโอนต่างประเทศที่มีความถูกต้องในระดับสูง และความพร้อมในการเป็นผู้นำด้านเงินโอนต่างประเทศตามมาตรฐานสากล

รางวัล Service Excellence Award และ CLUB 500 ประจำปี 2008
ธนาคารกรุงศรีอยุธยา ได้รับรางวัล “Service Excellence Awards” และ “CLUB 500” ประจำปี 2008 จากบริษัทเวสเทิร์น ยูเนี่ยน เพื่อเป็นการยกย่องสาขาของธนาคาร ที่มีความมุ่งมั่นและพร้อมให้บริการที่ดีที่สุดแก่ลูกค้า สำหรับตัวแทนที่เข้าร่วมในโครงการนี้มีหลักเกณฑ์ในการพิจารณาประกอบด้วย ความเป็นเลิศในการให้บริการ ณ จุดขาย พร้อมทั้งมีปริมาณธุรกรรมสูงสุด

 

ธ. กสิกรไทย จำกัด (มหาชน)

ชื่อย่อ KBANK
 จำนวนสาขา : 595 สาขา                                                                                                 

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายบรรยงค์ ล่ำซำ                                             

 จุดเด่น : ธนาคารกสิกรไทยมุ่งมั่นเป็นสถาบันการเงินที่มั่นคงที่สุด ที่ริเริ่มในสิ่งใหม่ และกระทำทุกวิถีทางเพื่อเป็นสถาบันการเงินไทยที่ให้บริการอย่างดีที่สุดแก่ลูกค้า                                                                     

1 ซอยกสิกรไทย ถ.ราษฎร์บูรณะ แขวงราษฎร์บูรณะ เขตราษฎร์บูรณะ กรุงเทพมหานคร 10140
โทรศัพท์ 0-2888-8888
โทรสาร 0-2888-8882 http://www.kasikornbank.com
จำนวนสาขา : ในประเทศ 577 สาขา ต่างประเทศ 4 สาขา                                                       

 กรรมการผู้จัดการใหญ่ นายมาร์ค จอห์น อาร์โนลด์                                                                              จุดเด่น ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) ได้รับรางวัล "2008 Quality Recognition Award Straight Through Processing (STP) สำหรับสกุล US DOLLAR" จาก Citibank N.A. ซึ่งแสดงถึงคุณภาพการให้บริการของธนาคารกรุงศรีอยุธยาในการส่งคำสั่งเงินโอนต่างประเทศที่มีความถูกต้องในระดับสูง และความพร้อมในการเป็นผู้นำด้านเงินโอนต่างประเทศตามมาตรฐานสากล 

รางวัล Service Excellence Award และ CLUB 500 ประจำปี 2008
ธนาคารกรุงศรีอยุธยา ได้รับรางวัล “Service Excellence Awards” และ “CLUB 500” ประจำปี 2008 จากบริษัทเวสเทิร์น ยูเนี่ยน เพื่อเป็นการยกย่องสาขาของธนาคาร ที่มีความมุ่งมั่นและพร้อมให้บริการที่ดีที่สุดแก่ลูกค้า สำหรับตัวแทนที่เข้าร่วมในโครงการนี้มีหลักเกณฑ์ในการพิจารณาประกอบด้วย ความเป็นเลิศในการให้บริการ ณ จุดขาย พร้อมทั้งมีปริมาณธุรกรรมสูงสุด

 

ธ. เกียรตินาคิน จำกัด (มหาชน)

ชื่อย่อ : KKBank                                               

500 อาคารอัมรินทร์ทาวเวอร์ ถ.เพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10331
โทรศัพท์ 0-2680-3333
โทรสาร 0-2256-9933

   http://www.kiatnakin.co.th

จำนวนสาขา : 52 สาขา                                                                                                       กรรมการผู้จัดการใหญ่ นางสาวนวพร เรืองสกุล                                                                                                          จุดเด่น ธนาคารเกียรตินาคิน ได้รับการจัดอันดับความน่าเชื่อถือ ระดับ A- จากบริษัท ทริส เรทติ้ง จำกัด แนวโน้มอันดับเครดิต Stable หรือคงที่ ซึ่งสะท้อนถึงความน่าเชื่อถือของธนาคาร ในสายตาของลูกค้าและนักลงทุนรวมถึงความมั่นคงทางการเงินที่สูง

 

ธ. ซีไอเอ็มบี ไทย จำกัด (มหาชน)

ชื่อย่อ CIMB

44 ถ.หลังสวน แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
โทรศัพท์ 0-2626-7000, 0-2638-8000
โทรสาร 0-2633-9026
(ชื่อเดิม ธ.ไทยธนาคาร จำกัด(มหาชน))

   http://www.cimbthai.com

จำนวนสาขา : 147 สาขา

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : 

 

นายสุภัค ศิวะรักษ์

จุดเด่น กลุ่มซีไอเอ็มบี ดำเนินธุรกิจในฐานะของธนาคารผู้ให้บริการทางการเงินอย่างครบวงจร (Universal Bank) โดยเป็นผู้ให้บริการทางการเงินที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศมาเลเซีย และอันดับ 5 ของภูมิภาคตะวันออกเฉียงใต้ เมื่อจัดอันดับตามขนาดสินทรัพย์ และมีเงินทุนหมุนเวียนในตลาดประมาณ 6 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ 

 

{img_a}

ธ. ทหารไทย จำกัด (มหาชน )

ชื่อย่อ TMB

3000 ถ.พหลโยธิน แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900
โทรศัพท์ 0-2299-1111
โทรสาร 0-2990-6010

   http://www.tmbbank.com

จำนวนสาขา  480 สาขา
กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นางเสาวนีย์ กมลบุตร                                                                                    

จุดเด่น สนับสนุนแหล่งเงินทุนแก่โครงการอนุรักษ์พลังงานและรักษาสิ่งแวดล้อม โครงการเพื่อสังคม ตลอดจนพัฒนาบริการเสริมใหม่ๆที่เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม

{img_a}

ธ. ทิสโก้ จำกัด (มหาชน)

ชื่อย่อ TISCO

48/2 ทิสโก้ทาวเวอร์ ชั้น 1 ถ.สาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500
โทรศัพท์ 0-2633-6000
โทรสาร 0-2633-6800

http://www.tisco.co.th

จำนวนสาขา : 46 สาขา                                                                                                                                           กรรมการผู้จัดการใหญ่นายสุทัศน์ เรืองมานะมงคล 

จุดเด่น องค์กรซึ่งถือเป็นหัวใจสำคัญของการให้บริการแก่ลูกค้า และเป็นคุณค่าที่มุ่งปลูกฝังแก่พนักงานทุกคน เพื่อพัฒนาไปสู่วัฒนธรรมองค์กรและเป็นแม่บทในการสร้าง ทัศนคติของการทำงานอย่างมืออาชีพ

 

{img_a}

ธ. ไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)
  

ชื่อย่อ SCB

9 ถ.รัชดาภิเษก แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900
โทรศัพท์ 0-2544-1000
โทรสาร 0-2544-4948

http://www.scb.co.th

จำนวนสาขา : 873 สาขา

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : คุณหญิงชฎา วัฒนศิริธรรม

จุดเด่น

เป็นธนาคารอันดับ 1 เรื่องการทำกำไรสุทธิ และเป็นธนาคารครบวงจรชั้นนำของประเทศ

 

 

{img_a}

ธ. ธนชาต จำกัด (มหาชน)

ชื่อย่อ : TNC Bank

900 อาคารต้นสนทาวเวอร์ ถ.เพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพ

10330
โทรศัพท์ 0-2655-9000
โทรสาร 0-2655-9001

http://www.thanachartbank.co.th

จำนวนสาขา : 50 สาขา

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายบันเทิง ตันติวิท ประธานกรรมการ

ธนาคารธนชาตเป็นธนาคารพาณิชย์อันดับ 5 ของไทย มีสินทรัพย์ 8.57 แสนล้านบาท มีสาขารวม 687 แห่งทั่วประเทศ มีเครื่องเอทีเอ็มจำนวน 2,101 เครื่อง

 

 

{img_a}

ธ. ยูโอบี จำกัด (มหาชน)

ชื่อย่อ UOB

191 ถ.สาทรใต้ แขวงยานนาวา เขตสาทร

กรุงเทพมหานคร 10120
โทรศัพท์ 0-2343-3000
โทรสาร 0-2287-2973-4

   http://www.uob.co.th

จำนวนสาขา : 154 สาขา

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายหว่อง คิม ชุง
เป็นธนาคารพาณิชย์ที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 9 ของประเทศไทย มีสินทรัพย์มูลค่ารวม 206,000 ล้านบาท ณ วันที่ 30 กันยายนพ.ศ. 2548 

 

 

ธ. สแตนดาร์ดชาร์เตอร์ด (ไทย) จำกัด (มหาชน)
จำนวนสาขา ในประเทศ 41 สาขา และอีกกว่า 1400 สาขาทั่วโลก

กรรมการผู้จัดการใหญ่ ยุทธเดช ปัทมานนท์

จุดเด่น ธนาคารฯ ได้รับความเชื่อถือและความไว้วางใจจากผู้ที่เกี่ยวข้องตลอดเครือข่ายการทำงานและเป็นองค์กรที่ดำเนินกิจการภายใต้กฎบรรษัทภิบาล รวมทั้งยังเป็นองค์กรที่มีความมุ่งมั่นและสร้างสรรค์สิ่งดีๆ ให้แก่ชุมชนในประเทศไทย

ชื่อย่อ : SCNB

90 อาคารสาทรธานี ถ.สาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก

กรุงเทพมหานคร 10500
โทรศัพท์ 0-2724-4000
โทรสาร 0-2724-4444

http://www.standardchartered.co.th 

 

ธ. สินเอเซีย จำกัด (มหาชน)

ชื่อย่อ : ACL Bank

 

622 อาคารเอ็มโพเรียมทาวเวอร์ ชั้น 11-13 ถ.สุขุมวิท แขวงคลองตัน

 เขตคลองเตย  

กรุงเทพมหานคร 10110
โทรศัพท์ 0-2663-9999
โทรสาร 0-2663-9888

   http://www.aclbank.com

จำนวนสาขา : 17 สาขา

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายฮุยเหมิน หยี่  

จุดเด่น ธนาคารสินเอเซีย จำกัด (มหาชน) ได้นำประสบการณ์ในแวดวงการเงินที่สั่งสมมากว่า 35 ปี พร้อมที่จะรับใช้ประชาชน อย่างเต็มที่ 
ธนาคารสินเอเซีย จำกัด (มหาชน) มีฐานะเป็นธนาคารพาณิชย์เต็มรูปแบบ สามารถนำเสนอบริการทางการเงินได้ทุกประเภท นับตั้งแต่การเสนอบริการด้านเงินฝาก สินเชื่อทุกประเภท บริการโอนเงินต่างประเทศ และบริการธุรกิจการค้าต่างประเทศเพื่อการนำเข้าและส่งออก

 

 

 

 

 

{img_a}

ธ. นครหลวงไทย จำกัด (มหาชน)

  ชื่อย่อ : SCIB

จำนวนสาขา : 400 สาขา

           http://www.scib.co.th

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายชัยวัฒน์ อุทัยวรรณ์

จุดเด่น ธนาคารมีขนาดของสินทรัพย์ใหญ่เป็นอันดับ 7 ของธนาคารพาณิชย์ไทย

 

ธนาคารพานิชย์เพื่อรายย่อย 2

 

{img_a}

ธ. ไทยเครดิต เพื่อรายย่อย จำกัด (มหาชน)

ชื่อย่อ : TCR Bank

123 อาคารไทยประกันชีวิต ชั้น 1 ถ.รัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10310
โทรศัพท์ 0-2697-5454
โทรสาร 0-2246-9782

http://www.tcrbank.com

   จำนวนสาขา : 9 สาขา

กรรมการผู้จัดการใหญ่ นายมงคล ลีลาธรรม

จุดเด่น : 

นำเสนอผลิตภัณฑ์ที่แตกต่าง และตอบสนองความต้องการที่แท้จริงของลูกค้า



ธ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำกัด (มหาชน)
จำนวนสาขา : 23 สาขา

ชื่อย่อ : LH Bank

1 อาคารคิวเฮ้าส์ ลุมพินี ถ.สาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120
โทรศัพท์ 0-2359-0000
โทรสาร 0-2677-7223

http://www.lhbank.co.th

 กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นางศศิธร พงศธร

จุดเด่น LH BANK จะเน้นการปล่อยสินเชื่อบ้านและที่ดินให้กับลูกค้ารายย่อย แต่ละล็อตที่ปล่อยไปถึงจุดๆหนึ่งจะนำมารวมกันขายออกไปและนำเงินที่ได้มาปล่อยสินเชื่อใหม่ ทำให้ธนาคารนั้นไม่มีลูกหนี้มาก สินทรัพย์ไม่โตมาก เพราะเป็นที่ธนาคารที่มีรายได้จาการปล่อยสินเชื่อให้ลูกค้า

ธนาคารพานิชย์ที่เป็นลูกของธนาคารต่างประเทศ 1

 

ธ. เมกะ สากลพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)
จำนวนสาขา :4 สาขา 

ชื่อย่อ : MEGA Bank

36/12 อาคารพี.เอส.ทาวเวอร์ ถ.สุขุมวิท 21 (อโศก) แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110
โทรศัพท์ 0-2259-2000-9
โทรสาร 0-2259-1330, 0-2261-3660

https://overseas.megabank.com.tw

กรรมการผู้จัดการใหญ่ Rong-Jou Wang

จุดเด่น : ประกอบกิจการธนาคารพาณิชย์ รวมทั้งกิจการทั้งปวง ซึ่งเกี่ยวกับธนาคารพาณิชย์ 

 สถาบันการเงินเฉพาะกิจ 8

ธ. พัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย

ชื่อย่อ ธพว. หรือ SME Bank

310 ถ.พหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400
โทรศัพท์ 0-2265-3000
โทรสาร 0-2265-4000

   http://www.smebank.co.th

จำนวนสาขา 95 สาขา

กรรมการผู้จัดการใหญ่

นายพงษ์ภาณุ เศวตรุนทร์

จุดเด่น เพื่อประกอบธุรกิจอันเป็นการพัฒนา ส่งเสริม ช่วยเหลือ และสนับสนุนการจัดตั้ง การดำเนินงาน การขยาย หรือการปรับปรุงวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม โดยการให้สินเชื่อค้ำประกัน ร่วมลงทุน สนับสนุนบริการทางการเงิน ให้คำปรึกษาแนะนำหรือให้บริการที่จำเป็นแก่ผู้ประกอบการไทย มีฐานะเป็นนิติบุคคลโดยมีผู้ถือหุ้นทั้งภาครัฐและเอกชนร่วมกัน

 

 

ธ. เพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร

จำนวนสาขา  886 สาขา
  กรรมการผู้จัดการใหญ่

นายกรณ์ จาติกวณิช 

จุดเด่น ทำหน้าที่อำนวยสินเชื่อทางการเกษตรอย่างกว้างขวาง ทั้งโดยตรงและสู่สถาบันเกษตรกร มุ่งให้ความช่วยเหลือทางการเงิน เพื่อส่งเสริมอาชีพการเกษตรหรือการดำเนินงานของเกษตรกร กลุ่มเกษตรกร หรือสหกรณ์การเกษตร ตลอดจนส่งเสริมให้ เกษตรกร กลุ่มเกษตรกร หรือ

ชื่อย่อ ธ.ก.ส.

469 ถ.นครสวรรค์ แขวงจิตรลดา เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300
โทรศัพท์ 0-2280-0180
โทรสาร 0-2280-0442

http://www.baac.or.th

 

ธ. เพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร

ชื่อย่อ ธ.ก.ส.

469 ถ.นครสวรรค์ แขวงจิตรลดา เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300
โทรศัพท์ 0-2280-0180
โทรสาร 0-2280-0442

http://www.baac.or.th

จำนวนสาขา  886 สาขา
  กรรมการผู้จัดการใหญ่

นายกรณ์ จาติกวณิช 

จุดเด่น ทำหน้าที่อำนวยสินเชื่อทางการเกษตรอย่างกว้างขวาง ทั้งโดยตรงและสู่สถาบันเกษตรกร มุ่งให้ความช่วยเหลือทางการเงิน เพื่อส่งเสริมอาชีพการเกษตรหรือการดำเนินงานของเกษตรกร กลุ่มเกษตรกร หรือสหกรณ์การเกษตร ตลอดจนส่งเสริมให้ เกษตรกร กลุ่มเกษตรกร หรือ สหกรณ์การเกษตร สามารถประกอบอาชีพอย่างอื่นที่เกี่ยวเนื่องในการเกษตร เพื่อเพิ่มรายได้ให้แก่ครอบครัวเกษตรกร

 

 

ธ. เพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย
จำนวนสาขา 16 สาขา

ชื่อย่อ  Exim Bank

1193 อาคารเอ็กซิม ถ.พหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400
โทรศัพท์ 0-2271-3700
โทรสาร 0-2271-3204

   http://www.exim.go.th

กรรมการผู้จัดการใหญ่

นายณรงค์ชัย อัครเศรณ

จุดเด่นให้สินเชื่อได้ทุกรูปแบบ เช่น สินเชื่อระยะสั้นและสินเชื่อระยะยาว สินเชื่อในประเทศและสินเชื่อต่างประเทศ โดยสามารถทำธุรกิจได้ทั้งที่เป็นสกุลเงินบาทและสกุลเงินตราต่างประเทศ นอกจากนี้ยังสามารถกู้ยืมเงินจากสถาบันการเงินทุกประเภททั้งในประเทศและต่างประเทศและออกตราสารการเงินระยะสั้นและระยะยาวขายแก่สถาบันการเงินและประชาชนทั่วไปทั้งในประเทศและต่างประเทศ กล่าวโดยสรุป  สามารถทำธุรกิจทุกประเภทที่ธนาคารพาณิชย์ทำได้ ยกเว้นเพียงการรับฝากเงินจากประชาชนทั่วไปเท่านั้น

 

ธ. ออมสิน

ชื่อย่อ GSB

470 ถ.พหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400
โทรศัพท์ 0-2299-8000
โทรสาร 0-2271-1515

http://www.gsb.or.th

จำนวน 400 สาขา
   กรรมการผู้จัดการใหญ่นายวินัย วิทวัสการเวช

จุดเด่น เป็นธนาคารเพื่อลูกค้ารายย่อย จะเน้นให้สินเชื่อเพื่อพัฒนาชนบท พัฒนาผู้ประกอบการรายย่อย โดยจะมีรูปแบบของสินเชื่อและชนิดการฝากเงินรายย่อยมากมาย อีกทั้งยังสร้างเงินทุนหมุนเวียนในกลุ่มชุมชน โครงการธนาคารเพื่อประชาชนโดยให้สิ้นเชื่อระยะสั้นแก่ผู้ประกอบการรายย่อย (ให้ประชาชนมาเป็นหนี้ในระบบ ที่สามารถตรวจสอบได้ และการเก

ผู้จัดทำ  นางสาวสุภาณี  ขันสุข 

รหัสนักศึกษา  50473010042 

โปรแกรมวิชาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

1.ธนาคารกรุงเทพ

ชื่อย่อ      BBL

สำนักงานใหญ่        ที่อยู่ เลขที่ 333 ถนนสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่     ชาติศิริ โสภณพนิช

เว็บไซต์  http://www.bangkokbank.com/                       

จำนวนสาขา           917  สาขา

จุดเด่น    สามารถกำหนดเงื่อนไขและขอบเขตของบริการที่มีความหลากหลาย ให้สอดคล้องกับความต้องการทางธุรกิจ ระบบงานสามารถจัดลำดับขั้นบัญชีได้สูงสุดถึงสามระดับขั้น คือบัญชีหลัก บัญชีรองและ บัญชีพื้นฐาน

2.ธนาคารกสิกรไทย

ชื่อย่อ      KBANK

สำนักงานใหญ่        1 ซอยกสิกรไทย ถนนราษฎร์บูรณะ กรุงเทพฯ 10140

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่     ดร.ประสาร ไตรรัตน์วรกุล

เว็บไซต์  http://www.kasikornbank.com/

จำนวนสาขา           809  สาขา

จุดเด่น    เป็นสินเชื่อบุคคลที่ไม่ต้องมีหลักทรัพย์ค้ำประกันคิดอัตราดอกเบี้ยต่ำกว่าคู่แข่งในตลาดลูกค้าสามารถถอนเงินสดได้ตลอด 24 ชั่วโมงจากตู้เอทีเอ็มทุกเครื่องของทุกธนาคาร รวมทั้งไม่เก็บค่าธรรมเนียมใด ๆ  ทั้งสิ้น ไม่ว่าจะเป็นค่าธรรมเนียมการเบิกถอนเงินสด ค่าธรรมเนียมการชำระคืน ค่าธรรมเนียมแรกเข้าและรายปี

3.ธนาคารกรุงไทย

ชื่อย่อ      KTB

สำนักงานใหญ่        35 ถนนสุขุมวิท เขตวัฒนา กรุงเทพฯ

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่     นายอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์

เว็บไซต์  www.ktb.co.th

จำนวนสาขา           800 สาขา

จุดเด่น    จะเป็นความสะดวก รวดเร็ว สินค้าโดนใจ และเลือกใช้ได้ตามต้องการ เช่น การขายประกันผ่านธนาคาร ร่วมมือกับกรุงไทยแอกซ่า ประกันชีวิต

4.ธนาคารไทยพาณิชย์

ชื่อย่อ      SCB

สำนักงานใหญ่        9  ถนนรัชดาภิเษก  เขตจตุจักร  กรุงเทพฯ 10900

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่     คุณหญิงชฎา วัฒนศิริธรรม

เว็บไซต์  http://www.scb.co.th/

จำนวนสาขา           873 สาขา 

จุดเด่น    เช็คและตู้นิรภัย  ป้องกันผลกระทบจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน กับบริการรับซื้อ และขายเงินสกุลต่างประเทศกว่า 25 สกุลหลัก ที่มีไว้ให้คุณเลือกฝาก-ถอน- โอนสกุลเงินต่างประเทศ ได้ครบทุกประเภทบัญชี ด้วยอัตราดอกเบี้ยเทียบเท่าสากล ณ สาขาธนาคารทั่วประเทศ

5.ธนาคารกรุงศรีอยุธยา

ชื่อย่อ      BAY

สำนักงานใหญ่        สาขาสำนักพระรามที่ 3 (สำนักงานใหญ่) (รหัสสาขา 777)

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่     นายมาร์ค จอห์น อาร์โนลด์

เว็บไซต์  http://www.krungsri.com/

จำนวนสาขา           577 สาขา

จุดเด่น    ลดขั้นตอน บริษัทไม่ต้องจัดเตรียมเช็คแต่ละฉบับ เพื่อให้ผู้บริหารลงนาม ลดต้นทุน เวลาในการทำเช็คจ่าย Supplier แต่ละฉบับลดลง ทำให้ต้นทุนการบริหารงานลดลง  ปลอดภัย บริษัทไม่ต้องสั่งซื้อเช็คมาเก็บดูแลรักษาเอง เพิ่มประสิทธิภาพ โดยธนาคารจะจัดทำรายงานรายละเอียดของการจ่ายเช็คให้กับบริษัทเพื่ออำนวยความสะดวกในการกระทบยอดบัญชี

6.ธนาคารทหารไทย

ชื่อย่อ      TMB 

สำนักงานใหญ่        3000 ถ.พหลโยธิน จอมพล จตุจักร กรุงเทพฯ 10900

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่     นางเสาวนีย์ กมลบุตร

เว็บไซต์  http://www.tmbbank.com/

จำนวนสาขา           480 สาขา

จุดเด่น    คอนซูเมอร์แบงกิ้ง-รีเทลแบงกิ้ง การบริหารความเสี่ยง และไอเอฟซีทีจะเด่นเรื่องของลูกค้าขนาดกลางและขนาดย่อม ด้านพัฒนาธุรกิจ

7.ธนาคารนครหลวงไทย

ชื่อย่อ      SCIB 

สำนักงานใหญ่        1101 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่     นายชัยวัฒน์ อุทัยวรรณ์

เว็บไซต์  http://www.scib.co.th/

จำนวนสาขา           400 สาขา

จุดเด่น    ดอกเบี้ยต่ำจูงใจลูกค้าบุคคล  มาใช้สินเชื่อบ้าน แยกฝ่ายสินเชื่อรายย่อยเพื่อให้บริการสินเชื่อธุรกิจ

8.ธนาคารซีไอเอ็มบีไทย

ชื่อย่อ      CIMB THAI

สำนักงานใหญ่        อาคารหลังสวน เลขที่ 44 ถนนหลังสวน แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพ

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่     นายสุภัค ศิวะรักษ์

เว็บไซต์  www.cimbthai.com

จำนวนสาขา           147  สาขา

จุดเด่น    สะดวก รวดเร็ว  ธนาคารจะโอนเงินสินเชื่อที่คุณได้รับอนุมัติเข้าบัญชีเงินฝากของคุณที่ธนาคาร ไทยธนาคาร หรือธนาคารอื่นที่คุณแจ้งความประสงค์ไว้ภายหลังการอนุมัติ  ด้วยช่องทางการรับชำระคืนที่หลากหลาย ตลอด 24 ชม. โดยการหักบัญชีเงินฝากที่ คุณเปิดไว้กับธนาคาร หรือโดยการชำระเงินที่เคาน์เตอร์ของธนาคาร หรือจุดบริการเคาน์เตอร์เซอร์วิสทุกสาขาทั่วประเทศ

9.ธนาคารยูไนเต็ด โอเวอร์ซีส์

 

ชื่อย่อ      UOB

สำนักงานใหญ่        191 ถนนสาทรใต้ กรุงเทพฯ 10120

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่

เว็บไซต์  http://www.uob.co.th/

จำนวนสาขา           154 สาขา

จุดเด่น    การตรวจสอบยอดเงินและรายการเคลื่อนไหวในบัญชี บริการโอนเงินไปบุคคลอื่นภายในธนาคารฯ และต่างธนาคาร การชำระค่าสินค้าและบริการ ธนาณัติออนไลน์ และธุรกรรมทางการเงินอื่นๆ ตลอด 24 ชั่วโมง ด้วยระบบรักษาความปลอดภัยมาตรฐานสากล ที่ท่านไว้วางใจได้

10.ธนาคารสแตนดาร์ดชาร์เตอร์

ชื่อย่อ      SCNB

สำนักงานใหญ่        90 ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพ 10500

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่     ยุทธเดช ปัทมานนท์

เว็บไซต์  http://www.standardchartered.co.th/

จำนวนสาขา           41 สาขา

จุดเด่น    จัดการลูกค้าสัมพันธ์ที่จะช่วยท่าน วางแผน สร้างเสริม และปกป้อง ผลประโยชน์ของท่าน ทางเลือกหลากหลายเพื่อตอบสนองความต้องการทางการเงินที่แตกต่างกันไป ศูนย์บริการธนาคารพิเศษและสิ่งอำนวยความสะดวก ที่มีเครือข่ายในประเทศต่างๆทั่วโลก 

11.ธนาคารธนชาติ

ชื่อย่อ      TNC

สำนักงานใหญ่        900 อาคารต้นสนทาวเวอร์ ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่     นายบันเทิง ตันติวิท

เว็บไซต์  http://www.thanachartbank.com/

จำนวนสาขา           50 สาขา

จุดเด่น    ขึ้นอัตราดอกเบี้ยตลาดซื้อคืนพันธบัตรระยะเวลา 14 วัน  ปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยเงินฝากออมทรัพย์ เพื่อเป็นประโยชน์และเพิ่มทางเลือกแก่ผู้ฝากเงินออมทรัพย์ลูกค้าที่ใช้บัตรเอทีเอ็มของธนาคารธนชาต ยังสามารถใช้บริการที่ตู้เอทีเอ็มของธนาคารอื่นๆโดยไม่เสียค่าธรรมเนียม 

12.ธนาคารทิสโก้

ชื่อย่อ      TISCO 

สำนักงานใหญ่        48/2 ถนนสาทรเหนือแขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่     นายสุทัศน์ เรืองมานะ

เว็บไซต์  http://www.tisco.co.th/

จำนวนสาขา           46 สาขา

จุดเด่น    มีลักษณะการดำเนินธุรกิจที่ครบวงจรให้ความสำคัญกับการบริหารความเสี่ยง และออกสินค้าใหม่ ๆ อย่างต่อเนื่อง

13.ธนาคารเกียรตินาคิน

ชื่อย่อ      KK

สำนักงานใหญ่        500 อาคารอัมรินทร์ ทาวเวอร์ ชั้น 11 ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่     นางสาวนวพร เรืองสกุล

เว็บไซต์  http://www.kiatnakinbank.com/

จำนวนสาขา           52 สาขา

จุดเด่น    ได้รับการอนุมัติให้ยกระดับจากบริษัทเงินทุนขึ้นเป็นธนาคารพาณิชย์ตามแผนแม่บทพัฒนา สถาบันการเงินและเปิดดำเนินธุรกิจเป็นรายที่สองต่อจากธนาคารทิสโก้

14.ธนาคารสินเอเซีย

ชื่อย่อ      ACL

สำนักงานใหญ่        ชั้น 11-13 เอ็มโพเรี่ยมทาวเวอร์ เลขที่ 622 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองตัน เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110        

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่     นายฮุยเหมิน หยี่ 

เว็บไซต์  http://www.aclbank.com/

จำนวนสาขา           17 สาขา

จุดเด่น    ธนาคารที่มุ่งเน้นให้บริการสินเชื่อสำหรับ การทำธุรกิจและรับฝากเงินเป็นหลัก โดยเน้นลูกค้าตั้งแต่ระดับกลางขึ้นไป  ให้เอื้ออำนวยปล่อยสินเชื่อได้ง่ายขึ้น โดยเฉพาะการปล่อยสินเชื่อให้กับลูกค้าในต่างจังหวัด

15.ธนาคารแลนด์แอนด์เฮ้าส์

ชื่อย่อ      LHBANK

สำนักงานใหญ่        1 อาคารคิวเฮ้าส์ ลุมพินี ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่     นางศศิธร พงศธร

เว็บไซต์  http://www.lhbank.in.th/

จำนวนสาขา           23 สาขา

จุดเด่น    เป็นธนาคารเพื่อรายย่อยให้ดอกเบี้ยสูงและบริหารสินเชื่อทุกรูปแบบอัตราดอกเบี้ยตามระดับในตลาด ทั้งสินเชื่อที่อยู่อาศัย สินเชื่อแฟคทอริ่ง สินเชื่อธุรกิจและสินเชื่อบุคคล

16.ธนาคารออมสิน

ชื่อย่อ      GSB

สำนักงานใหญ่        ถ.พหลโยธิน บริเวณสี่แยกสะพานควาย

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่     นายวินัย วิทวัสการเวช 

เว็บไซต์  www.gsb.or.th

จำนวนสาขา           400 สาขา

จุดเด่น    สนับสนุนสินเชื่อผู้ประกอบการรายใหม่ช่วยคุณให้มีอาชีพพึ่งพาตนเองได้ เพียงคุณมีใจรักที่จะเป็นเจ้าของธุรกิจด้วยตัวคุณเองกับมีหลักทรัพย์หรือมีบุคคลค้ำประกันเงินและเลือกผ่อนชำระสบาย ๆ ได้ถึง 3 ปี     

17.ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร

ชื่อย่อ      BAC

สำนักงานใหญ่        เลขที่ 469 ถนน นครสวรรค์ เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่     นายกรณ์ จาติกวณิช

เว็บไซต์  www.baac.or.th

จำนวนสาขา           886 สาขา

จุดเด่น    มุ่งให้ ความช่วยเหลือทางการเงิน เพื่อส่งเสริม อาชีพการเกษตรหรือการดำเนินงาน ของ เกษตรกร กลุ่ม เกษตรกร หรือสหกรณ์การเกษตร ตลอดจนส่งเสริมให้ เกษตรกร กลุ่มเกษตรกร หรือ สหกรณ์การเกษตร สามารถ ประกอบอาชีพอย่างอื่น ที่เกี่ยวเนื่องในการเกษตร เพื่อเพิ่ม รายได้ ให้แก่ รอบครัวเกษตรกร รวมทั้งให้ บริการรับ ฝากเงิน เช่นเดียวกับธนาคารพาณิชย์ทั่วไปอีกด้วย

18.ธนาคารอาคารสงเคราะห์

ชื่อย่อ            GHB

สำนักงานใหญ่        63 ถ.พระรามที่ 9 ห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10320

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่     นายชัยเกษม นิติสิริ 

เว็บไซต์  www.ghbank.co.th

จำนวนสาขา           146 สาขา

จุดเด่น    เป็นรัฐวิสาหกิจ และเป็นสถาบันการเงินเฉพาะกิจในสังกัดกระทรวงการคลังให้บริการทางการเงินด้านที่อยู่อาศัยอย่างครบวงจร เพื่อให้ประชาชนได้มีที่อยู่อาศัยตามสมควรแก่อัตภาพ และสามารถตอบสนองความคาดหวังของลูกค้า รัฐบาล และสังคมภายใต้แนวทางเศรษฐกิจพอเพียง

19.ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย

ชื่อย่อ      EXIM Bank

สำนักงานใหญ่        อาคารเอ็กซิม 1193 ถนนพหลโยธิน พญาไท กรุงเทพฯ 10400

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่     นายณรงค์ชัย อัครเศรณี

เว็บไซต์  www.exim.go.th

จำนวนสาขา           16 สาขา

จุดเด่น    ส่งเสริมและสนับสนุนผู้ส่งออกและผู้ลงทุนไทยเพื่อการพัฒนาประเทศ ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดความร่วมมือระหว่างสถาบันการเงินและประเทศในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง เพื่อพัฒนาการค้าและการลงทุน  บริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลและมีความรับผิดชอบต่อสังคม

20.ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย

ชื่อย่อ      SME Bank

สำนักงานใหญ่        310 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่     นายพงษ์ภาณุ เศวตรุนทร์

เว็บไซต์  http://www.smebank.co.th

จำนวนสาขา           95 สาขา

จุดเด่น    สนับสนุนนโยบายภาครัฐในการช่วยเหลือและส่งเสริม SMEs ไทย  ให้บริการทางการเงินที่ตอบสนองความต้องการของ SMEs ไทย ส่งเสริมและพัฒนา SMEs ไทย ควบคู่กับการสนับสนุนเงินทุนพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และระบบจัดการขององค์กรให้มีประสิทธิภาพและมีธรรมาภิบาล

21.ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย

ชื่อย่อ      ISLAMIC  BANK

สำนักงานใหญ่        เลขที่ 66 ชั้น M, 21, 22 อาคารคิวเฮ้าส์ ถนนสุขุมวิท 21 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110 ...

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่     นายธีรศักดิ์ สุวรรณยศ

เว็บไซต์  www.ibank.co.th

จำนวนสาขา           27  สาขา 

จุดเด่น    มุ่งเน้นการสร้างผลิตภัณฑ์และการให้บริการสอดคล้องกับความต้องการของลูกค้าที่เปลี่ยนไป และมีทางเลือกมากขึ้น โดยคำนึงถึงประโยชน์สูงสุดของลูกค้าและธนาคาร ภายใต้หลักคุณธรรมที่ใส่ใจ และห่วงใยทุกกลุ่มสังคมยืดหลักให้บริการตามหลักศาสนาอิสลาม เต็มรูปแบบ บนพื้นฐานของความเป็นธรรม ยึดคำมั่นสัญญาที่ตกลงกัน และบริหารงานด้วยความโปร่งใส ตรวจสอบได้ทุกขั้นตอน

 

การแข่งขันฟุงบอลครั้งนี้ส่งผลอย่างไรต่อธุรกิจใดบ้างและจะมีผบกระทบต่อภาคสังคมอย่างไร

          -

โทรทัศน์ขายดี โทรทัศน์ คือสุดยอดสินค้าขายดีอีกรายการหนึ่ง โดยหลายแบรนด์ดังไม่ว่าจะเป็นโซนี่ พานาโซนิค ซัมซุงต่างทุ่มงบการตลาดและออกแคมเปญอิงกระแสเวิลด์คัพช่วยกระตุ้นตลาดทีวีจอแบน ไม่ว่าจะเป็นแอลซีดีทีวี หรือพลาสม่าทีวีกันอย่างคึกคัก และเป็นที่น่าติดตามด้วยใจจดจ่ออย่างยิ่งว่า

ด้วยนวัตกรรมถ่ายทอดการแข่งขันใหม่ล่าสุดในแบบ “สามมิติ” ที่มีขึ้นเป็นครั้งแรก ณ แอฟริกาใต้หนนี้ จะกระตุ้นยอดขายทีวีแบบสามมิติของแต่ละแบรนด์

                โลก มือถือดูทีวีฮิต จากจุดเริ่มต้นของแบรนด์มาตีตลาดไทยเมื่อหลายปีก่อน ด้วยการรวมสุดยอดฟังก์ชั่นโทรศัพท์แบบออลอินวัน ทั้งดูหนัง ฟังเพลง ดูทีวี และมีสองซิม ในราคาประหยัด  น่าจะกระตุ้นให้หลายคนที่กลัวพลาดแมตช์สำคัญระหว่างเดินทางกลับบ้าน ตัดสินซื้อโทรศัพท์แบบดูทีวีได้ออกมาใช้ลุ้นทีมโปรดอีกเป็นจำนวนมาก

                ร้านอาหารคอบอลพันธุ์แท้บอกว่าหากการเชียร์บอลให้สนุก มีองค์ประกอบ 3 อย่าง คือคนที่เชียร์ทีมเรา คนเชียร์ทีมเขา และเดิมพันติดปลายนวมพอเป็นกระสาย หลายคนเลยออกไปปาร์ตี้กันนอกบ้าน นัยว่าเพื่อให้ได้อรรถรสมากกว่าการเชียร์เหงาๆ อยู่บ้านคนเดียว เหล่านี้ล้วนทำให้ผู้ประกอบการร้านอาหาร ผับ หรือแม้แต่ร้านค้าเรียงรายบนทางเท้า ก็ได้โอกาสกอบโกย

                ธุรกิจของ“อาร์เอส”ซึ่งเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์นั้น งานนี้ได้แต่นอนรอรับทรัพย์ เพราะมีผู้ประกอบธุรกิจตบเท้าเข้ามาทำสัญญากัน 

                ร้านขายชุดกีฬา  ยอดขายเสื้อทีมชาติที่เข้ารอบ 32 ทีมสุดมียอดการสั่งซื้อเพิ่มมากขึ้น ไม่เพียงแต่คอกีฬาทั่วไปจะซื้อไปใส่เพื่อเชียร์ทีมโปรดของตัวเองเท่านั้น หากแต่ผู้ประกอบธุรกิจ สถานบันเทิง และร้านอาหารต่างๆ มีการสั่งซื้อเป็นจำนวนมาก เพื่อนำไปให้ลูกจ้างสวมใส่ต้อนรับเทศกาลบอลโลก

                เดลิเวอรี่  ก็มีการขยายเวลาผู้ประกอบการนำส่งอาหารแบบเดลิเวอรี่ ก็มีการปรับตัวเพื่อรับกับกระแส ยกตัวอย่าง “เดอะพิซซ่า คอมปะนี

 

ผลกระทบต่อภาคสังคม 

 

                ช่วงนี้เป็นช่วงเวลาที่มีการแข่งขันฟุตบอลโลก ซึ่งประชาชนทั่วโลก รวมทั้งชาวไทย ต่างให้ความสนใจเป็นจำนวนมาก ซึ่งไม่ว่าสื่อต่างๆ ห้างร้าน การโฆษณาต่างๆ ก็จับกระแสบอลโลก มีการทายผลชิงโชคคึกคักกันไปทั่ว และในมุมมืด ก็มีกระบวนการหาเงินของเหล่ามาเฟีย โดยใช้ผลของฟุตบอลเป็นการพนัน ซึ่งชักชวนให้ผู้คนมาเล่นพนัน เป็นเวลานานแล้วที่มีการเล่นพนันเช่นนี้ ที่ติดตามดูฟุตบอลอย่างไม่เป็นอันกินอันนอนแล้วยังทำให้เสียเงินจำนวนมาก จนบางคนหมดตัว บางคนถูกมาเฟียตามทำร้ายเพราะไม่มีจ่ายหนี้ 

                เยาวชนวัยเรียนที่ยอมอดตาหลับขับตานอน เรียกว่ากีฬานี้เป็นเสน่ห์ล้ำลึกของแฟนพันธุ์แท้โดยเฉพาะ  แต่สิ่งที่แอบแฝงมาพร้อมกันเสมอ คงไม่พ้นพฤติกรรม “การพนันบอล” ที่กลายเป็นปัญหาซ้ำซากที่อยู่คู่กับสังคมมาโดยตลอด บ่อเกิดของปัญหาอาชญากรรมทุกรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นการลักเล็กขโมยน้อยหรือยาเสพติดที่จะส่งผลกระทบถึงการเรียน ทำให้เกิดหนี้นอกระบบมากที่สุด 

                เทศกาลฟุตบอลโลกจะมีเรื่องการพนันอยู่ในทุกพื้นที่  ซึ่งที่ผ่านๆ  มาเยาวชนหลายคนต้องเป็นหนี้กับพนัน  จนต้องหนีออกจากบ้าน  หรือมีกรณีฆ่าตัวตายมาแล้วเป็นประจำ การแข่งขันฟุตบอลทำให้ส่งผลต่อเนื่องถึงการพนันบอล  ซึ่งเป็นปัญหาที่สังคมไทยกำลังประสบ  และส่งผลเสียต่อระบบเศรษฐกิจ  สังคม  และความมั่นคงเป็นอย่างมาก  โดยปัจจุบันได้ขยายวงกว้างไปสู่เยาวชนและนิสิตนักศึกษามากยิ่งขึ้น  ก่อให้เกิดผลเสียหายทั้งด้านการเรียน  เงินทอง  เวลา  และนำความเดือดร้อนมาสู่ตนเอง  ผู้ปกครอง  ครู  อาจารย์  และอาจนำไปสู่การถูกทำร้ายหรือชักจูงไปก่อคดีจนสูญเสียอนาคต     

โทรทัศน์ขายดี โทรทัศน์ คือสุดยอดสินค้าขายดีอีกรายการหนึ่ง โดยหลายแบรนด์ดังไม่ว่าจะเป็นโซนี่ พานาโซนิค ซัมซุงต่างทุ่มงบการตลาดและออกแคมเปญอิงกระแสเวิลด์คัพช่วยกระตุ้นตลาดทีวีจอแบน ไม่ว่าจะเป็นแอลซีดีทีวี หรือพลาสม่าทีวีกันอย่างคึกคัก และเป็นที่น่าติดตามด้วยใจจดจ่ออย่างยิ่งว่า

ด้วยนวัตกรรมถ่ายทอดการแข่งขันใหม่ล่าสุดในแบบ สามมิติที่มีขึ้นเป็นครั้งแรก ณ แอฟริกาใต้หนนี้ จะกระตุ้นยอดขายทีวีแบบสามมิติของแต่ละแบรนด์

                โลก มือถือดูทีวีฮิต จากจุดเริ่มต้นของแบรนด์มาตีตลาดไทยเมื่อหลายปีก่อน ด้วยการรวมสุดยอดฟังก์ชั่นโทรศัพท์แบบออลอินวัน ทั้งดูหนัง ฟังเพลง ดูทีวี และมีสองซิม ในราคาประหยัด  น่าจะกระตุ้นให้หลายคนที่กลัวพลาดแมตช์สำคัญระหว่างเดินทางกลับบ้าน ตัดสินซื้อโทรศัพท์แบบดูทีวีได้ออกมาใช้ลุ้นทีมโปรดอีกเป็นจำนวนมาก

                ร้านอาหารคอบอลพันธุ์แท้บอกว่าหากการเชียร์บอลให้สนุก มีองค์ประกอบ 3 อย่าง คือคนที่เชียร์ทีมเรา คนเชียร์ทีมเขา และเดิมพันติดปลายนวมพอเป็นกระสาย หลายคนเลยออกไปปาร์ตี้กันนอกบ้าน นัยว่าเพื่อให้ได้อรรถรสมากกว่าการเชียร์เหงาๆ อยู่บ้านคนเดียว เหล่านี้ล้วนทำให้ผู้ประกอบการร้านอาหาร ผับ หรือแม้แต่ร้านค้าเรียงรายบนทางเท้า ก็ได้โอกาสกอบโกย

                ธุรกิจของอาร์เอสซึ่งเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์นั้น งานนี้ได้แต่นอนรอรับทรัพย์ เพราะมีผู้ประกอบธุรกิจตบเท้าเข้ามาทำสัญญากัน 

                ร้านขายชุดกีฬา  ยอดขายเสื้อทีมชาติที่เข้ารอบ 32 ทีมสุดมียอดการสั่งซื้อเพิ่มมากขึ้น ไม่เพียงแต่คอกีฬาทั่วไปจะซื้อไปใส่เพื่อเชียร์ทีมโปรดของตัวเองเท่านั้น หากแต่ผู้ประกอบธุรกิจ สถานบันเทิง และร้านอาหารต่างๆ มีการสั่งซื้อเป็นจำนวนมาก เพื่อนำไปให้ลูกจ้างสวมใส่ต้อนรับเทศกาลบอลโลก

                เดลิเวอรี่  ก็มีการขยายเวลาผู้ประกอบการนำส่งอาหารแบบเดลิเวอรี่ ก็มีการปรับตัวเพื่อรับกับกระแส ยกตัวอย่าง เดอะพิซซ่า คอมปะนี

 

ผลกระทบต่อภาคสังคม

 

                ช่วงนี้เป็นช่วงเวลาที่มีการแข่งขันฟุตบอลโลก ซึ่งประชาชนทั่วโลก รวมทั้งชาวไทย ต่างให้ความสนใจเป็นจำนวนมาก ซึ่งไม่ว่าสื่อต่างๆ ห้างร้าน การโฆษณาต่างๆ ก็จับกระแสบอลโลก มีการทายผลชิงโชคคึกคักกันไปทั่ว และในมุมมืด ก็มีกระบวนการหาเงินของเหล่ามาเฟีย โดยใช้ผลของฟุตบอลเป็นการพนัน ซึ่งชักชวนให้ผู้คนมาเล่นพนัน เป็นเวลานานแล้วที่มีการเล่นพนันเช่นนี้ ที่ติดตามดูฟุตบอลอย่างไม่เป็นอันกินอันนอนแล้วยังทำให้เสียเงินจำนวนมาก จนบางคนหมดตัว บางคนถูกมาเฟียตามทำร้ายเพราะไม่มีจ่ายหนี้ 

                เยาวชนวัยเรียนที่ยอมอดตาหลับขับตานอน เรียกว่ากีฬานี้เป็นเสน่ห์ล้ำลึกของแฟนพันธุ์แท้โดยเฉพาะ  แต่สิ่งที่แอบแฝงมาพร้อมกันเสมอ คงไม่พ้นพฤติกรรม การพนันบอลที่กลายเป็นปัญหาซ้ำซากที่อยู่คู่กับสังคมมาโดยตลอด บ่อเกิดของปัญหาอาชญากรรมทุกรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นการลักเล็กขโมยน้อยหรือยาเสพติดที่จะส่งผลกระทบถึงการเรียน ทำให้เกิดหนี้นอกระบบมากที่สุด 

                เทศกาลฟุตบอลโลกจะมีเรื่องการพนันอยู่ในทุกพื้นที่  ซึ่งที่ผ่านๆ  มาเยาวชนหลายคนต้องเป็นหนี้กับพนัน  จนต้องหนีออกจากบ้าน  หรือมีกรณีฆ่าตัวตายมาแล้วเป็นประจำ การแข่งขันฟุตบอลทำให้ส่งผลต่อเนื่องถึงการพนันบอล  ซึ่งเป็นปัญหาที่สังคมไทยกำลังประสบ  และส่งผลเสียต่อระบบเศรษฐกิจ  สังคม  และความมั่นคงเป็นอย่างมาก  โดยปัจจุบันได้ขยายวงกว้างไปสู่เยาวชนและนิสิตนักศึกษามากยิ่งขึ้น  ก่อให้เกิดผลเสียหายทั้งด้านการเรียน  เงินทอง  เวลา  และนำความเดือดร้อนมาสู่ตนเอง  ผู้ปกครอง  ครู  อาจารย์  และอาจนำไปสู่การถูกทำร้ายหรือชักจูงไปก่อคดีจนสูญเสียอนาคต    

 

นางสาวรัชนีกร นิยมทัศน์

เพิ่มเติม : นางสาวรัชนีกร นิยมทัศน์  รหัส  50473010006

สาขาวิชา เศรษศาสตร์ธุรกิจ    มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

-----------------------------------------------------------

9. ธนาคารสินเอเชีย

สัญลักษณ์  =  

ชื่อย่อ  =  ACL Bank

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่   นายฮุยเหมิน หยี่  ประธานกรรมการ       นายธงชัย อานันโทไทย    กรรมการผู้จัดการใหญ่

สำนักงานใหญ่  =  ชั้น 11-13 เอ็มโพเรี่ยมทาวเวอร์ เลขที่ 622 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองตัน เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110  โทรศัพท์. 02 663 9999 

สาขาทั้งหมด  =  17 สาขา

จุดเด่น  =   ธนาคารสินเอเซีย จำกัด (มหาชน) หรือในชื่อเดิมคือ บริษัท เงินทุนสินเอเซีย จำกัด (มหาชน) ซึ่งได้รับใบอนุญาตประกอบการธนาคารพาณิชย์จากกระทรวงการคลังและ ธนาคารแห่งประเทศไทย ให้เริ่มเปิดให้บริการประชาชน เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2548

 

นับตั้งแต่ขวบปีแรกที่ก้าวสู่ธุรกิจการเงินการธนาคารเมื่อปี พ.ศ. 2512 หลังจากนั้น ก็ได้รับอนุญาตจากกระทรวง การคลังให้ประกอบ ธุรกิจหลักทรัพย์และธุรกิจเงินทุนในปี พ.ศ. 2516 จดทะเบียนเข้าสู่ตลาดหลักทรัพย์ในปี พ.ศ. 2521 จนกระทั่งแปรสภาพ เป็นบริษัทมหาชนในปี พ.ศ. 2536 มาจนวันนี้ ธนาคารสินเอเซีย จำกัด (มหาชน) ได้นำประสบการณ์ในแวดวงการเงินที่สั่งสมมากว่า 35 ปี พร้อมที่จะรับใช้ประชาชน อย่างเต็มที่ 

 

เว็บไซต์  =   http://www.bankasia4u.co.th

10. ธนาคารแสตนดาร์ดชาร์เตอร์ นครธน จำกัด (มหาชน)

สัญลักษณ์ 

ชื่อย่อ  =  SCNB  ( Standard Chartered Nakornthon Bank)

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่   =  ยุทธเดช ปัทมานนท์

สำนักงานใหญ่  =  สำนักงานใหญ่ของธนาคารฯ ตั้งอยู่ที่เลขที่ 90 ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพ 10500

สาขาทั้งหมด  =  ในประเทศ 41 สาขา และอีกกว่า 1400 สาขาทั่วโลก

จุดเด่น  =  ธนาคารฯ มีธุรกิจหลักคือ บุคคลธนกิจและสถาบันธนกิจ ธุรกิจด้านบุคคลธนกิจให้บริการด้านบัตรเครดิต สินเชื่อบุคคล สินเชื่ออสังหาริมทรัพย์ บริการรับฝากเงิน บริการด้านการบริหารสินทรัพย์ให้แก่ลูกค้ารายบุคคล ลูกค้าเจ้าของธุรกิจรายย่อย จนถึงลูกค้าเจ้าของธุรกิจขนาดกลาง ส่วนสถาบันธนกิจนั้นให้บริการแก่ลูกค้าที่เป็นสถาบันหรือบริษัทในด้านต่างๆ เช่น สินเชื่อพาณิชย์ บริการบริหารเงินสด การบริการเงินทุน บริการด้านหลักทรัพย์ บริการด้านเงินตราต่างประเทศ บริการด้านการกู้ยืมในตลาดทุน และบริการด้านเงินกู้สำหรับธุรกิจ

เว็บไซต์  =      http://www.standardcharterednakornthon.co.thและwebsite : www.standardchartered.co.th

11.  ธนาคารยูโอบี

สัญลักษณ์  =  

ชื่อย่อ  = UOB ( United Overseas Bank)

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่   =  นายหว่อง คิม ชุง

สำนักงานใหญ่  = ธนาคารยูโอบี จำกัด (มหาชน) 191 ถนนสาทรใต้ กรุงเทพฯ 10120
โทรศัพท์ : 0-2343-3000  โทรสาร : 0-2287-2973-4

สาขาทั้งหมด  =  154 สาขา

จุดเด่น  = ธนาคารยูโอบี มีพันธกิจใน การเป็นธนาคารชั้นนำในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก และมุ่งมั่นที่จะนำ เสนอผลิตภัณฑ์คุณภาพ และบริการชั้นเลิศ

เว็บไซต์  =   http://www.uob-radanasin.co.th

12. ธนาคารนครหลวงไทย

สัญลักษณ์ 

ชื่อย่อ  =    SCB (SIAM CITY BANK)

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่   =  นายชัยวัฒน์ อุทัยวรรณ์

สำนักงานใหญ่  = 1101 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400

โทรศัพท์ 0-2208-5000, 0-2253-0200-43

สาขาทั้งหมด  =   422 สาขา

จุดเด่น  =  ธนาคารกำหนดนโยบายการกำกับดูแลกิจการที่ดี โดยมีหลักการพื้นฐานที่สำคัญ เพื่อให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทุกระดับของธนาคารยึดถือปฏิบัติเป็นมาตรฐานเดียวกัน

เว็บไซต์  =  http://www.scib.co.th

13. ธนาคารธนชาต จำกัด (มหาชน)

สัญลักษณ์  =  

ชื่อย่อ  =   Thanachart Bank

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่   =  นายบันเทิง ตันติวิท

สำนักงานใหญ่  =    สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ เลขที่ 900 อาคารต้นสนทาวเวอร์ ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร

สาขาทั้งหมด  =  50 สาขา

จุดเด่น  =  การเป็นกลุ่มธุรกิจที่ให้บริการทางการเงินครบวงจร มุ่งเน้นการสร้างสรรค์ความเป็นเลิศให้แก่ผลิตภัณฑ์และบริการจากความร่วมมือของทุกบริษัทภายในกลุ่ม และสามารถตอบสนองทุกความต้องการทางการเงิน

เว็บไซต์  =      http://www.thanachart.com

14.ธนาคารทิสโก้ จำกัด (มหาชน)

สัญลักษณ์ 

ชื่อย่อ  =   TISCO ( Thai Investment and Securities Public Co )

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่   =   นายสุทัศน์ เรืองมานะมงคล

สำนักงานใหญ่  =  ธนาคารทิสโก้ จำกัด (มหาชน) อาคารทิสโก้ทาวเวอร์ 48/2 ถนนสาทรเหนือ
แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทรศัพท์ : 0 2-633 6000 โทรสาร : 0 2-633 6800

สาขาทั้งหมด  =  46 สาขา

จุดเด่น  =  "ทิสโก้เป็นสถาบันการเงินที่ประกอบธุรกิจด้วยมาตรฐานสูงสุดของการกำกับดูแลกิจการที่ดี เราทุ่มเท สร้างสรรค์คุณค่าที่ยั่งยืน เพื่อลูกค้า ผู้ถือหุ้น พนักงาน และสังคม"

เว็บไซต์  =  http://www.tisco.co.th

15. ธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน)

สัญลักษณ์ 

ชื่อย่อ  TMB = (Thai Military Bank)

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่   =  นางเสาวนีย์ กมลบุตร

สำนักงานใหญ่  =  ธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน) ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 3000 ถ.พหลโยธิน จอมพล จตุจักร กรุงเทพฯ 10900   โทรศัพท์ : 0-2299-1111

สาขาทั้งหมด  =  480 สาขา

จุดเด่น  =  ธนาคารไทยชั้นนำ มาตรฐานระดับโลก

เว็บไซต์  =   http://www.tmb.co.th

16.  ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย

สัญลักษณ์ 

ชื่อย่อ  =   SME Bank

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่   =  นายพงษ์ภาณุ เศวตรุนทร์

สำนักงานใหญ่  =   เลขที่ 310 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 
โทร. 0-2265-3000 โทรสาร 0-2265-4000 

สาขาทั้งหมด  95 สาขา

จุดเด่น  =   เพื่อประกอบธุรกิจอันเป็นการพัฒนา ส่งเสริม ช่วยเหลือ และสนับสนุนการจัดตั้ง การดำเนินงาน การขยาย หรือการปรับปรุงวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม โดยการให้สินเชื่อค้ำประกัน ร่วมลงทุน สนับสนุนบริการทางการเงิน ให้คำปรึกษาแนะนำหรือให้บริการที่จำเป็นแก่ผู้ประกอบการไทย มีฐานะเป็นนิติบุคคลโดยมีผู้ถือหุ้นทั้งภาครัฐและเอกชนร่วมกัน (จาก พ.ร.บ. ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2545 มาตรา 8 ให้กำหนดทุนเรือนหุ้นของธนาคารไว้หนึ่งหมื่นล้านบาท แบ่งออกเป็นหนึ่งร้อยล้านหุ้น มูลค่าหุ้นละหนึ่งร้อยบาท โดยให้ธนาคารขายหุ้นให้แก่กระทรวงการคลัง สถาบันการเงิน หรือบุคคลอื่น ทั้งนี้ ตามที่กำหนดไว้ในข้อบังคับของธนาคาร

เว็บไซต์  =   http://www.ktb-shariahbank.co.th

นางสาวจุฬารัตน์ เชื้อนิล โปรแกรมเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ 50473010053

1.ธ. กรุงเทพ จำกัด (มหาชน)


ชื่อผู้จัดการ นาย ชาติศิริ โสภณพนิช

สัญลักษณ์

เวบไซต์ http://www.bangkokbank.com

ที่อยู่ 333 ถ.สีลม แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500
โทรศัพท์ 0-2231-4333
โทรสาร 0-2236-8281-2

มีสาขาทั้งหมด 750 สาขา

รายงานผลการสำรวจธนาคารยอดเยี่ยมในประเทศกำลังพัฒนาประจำปี 2546 ซึ่งตีพิมพ์ใน นิตยสารโกลบอล ไฟแนนซ์ ฉบับประจำเดือนพฤษภาคม 2546 ได้กล่าวถึง ธนาคารกรุงเทพ ว่าเป็นธนาคารที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย

ธนาคารกรุงเทพมีฐานะการเงินมั่นคงเป็นอันดับ 1 ในประเทศไทย และเป็นหนึ่งในธนาคารที่ใหญ่ที่สุดในเอเชียอาคเนย์ และในวันนี้ ธนาคารกรุงเทพก็ยังคงยึดมั่นในภาระหน้าที่ของ ‘เพื่อนคู่คิด’ ที่พร้อมจะอยู่เคียงข้างลูกค้าเพื่อคอยให้การสนับสนุนในทุกย่างก้าวสำคัญของชีวิตตลอดไป

 

2.ธ. กรุงไทย จำกัด (มหาชน)

ชื่อผู้จัดการ   นายอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์

สัญลักษณ์ 

 

เวบไซต์  http://www.ktb.co.th

ที่อยู่ 35 ถ.สุขุมวิท แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110
โทรศัพท์ 0-2255-2222
โทรสาร 0-2255-9391-3

มีสาขาทั้งหมด 800 สาขา

ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) (อังกฤษ: Krung Thai Bank Public Company Limited) เป็นธนาคารของรัฐ อยู่ภายใต้การกำกับดูแลของกระทรวงการคลัง โดยการควบกิจการของธนาคารมณฑลและธนาคารเกษตร ซึ่งเป็นธนาคารที่รัฐบาลถือหุ้นใหญ่ทั้งคู่ และใช้ชื่อธนาคารใหม่ที่เกิดจากการควบรวมว่า "ธนาคารกรุงไทย จำกัด" มีตราสัญลักษณ์เป็นรูป นกวายุภักษ์ ซึ่งเป็นตราสัญลักษณ์ของกระทรวงการคลังเป็นสัญลักษณ์ของธนาคาร

 

3.ธ. กรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน)

ชื่อผู้จัดการ   นายมาร์ค จอห์น อาร์โนลด์

สัญลักษณ์   

 

 

เวบไซต์ http://www.krungsri.com

ที่อยู่ 1222 ถ.พระรามที่ 3 แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร 10120
โทรศัพท์ 0-2296-2000
โทรสาร 0-2683-1304

มีสาขาทั้งหมด     577 สาขา และในต่างประเทศ 4 สาขา

ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) (BAY) ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 27 มกราคม 2488 และได้นำหลักทรัพย์เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในปี 2520 ปัจจุบันเป็นธนาคารพาณิชย์ไทยที่มีฐานเงินฝาก สินทรัพย์ และสินเชื่อใหญ่เป็นอันดับ 5 ของประเทศ และเป็นธนาคารที่ให้บริการทางการเงินอย่างครบวงจรแก่ทั้งลูกค้าธุรกิจ และลูกค้าบุคคล

 

4.ธ. กสิกรไทย จำกัด (มหาชน)

  • นายบัณฑูร ล่ำซำ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร
  • นายประสาร ไตรรัตน์วรกุล กรรมการผู้จัดการ

 

สัญลักษณ์ 

KBankLogo new.gif

เวบไซต์  http://www.kasikornbank.com

ที่อยู่ 1 ซอยกสิกรไทย ถ.ราษฎร์บูรณะ แขวงราษฎร์บูรณะ เขตราษฎร์บูรณะ กรุงเทพมหานคร 10140
โทรศัพท์ 0-2888-8888
โทรสาร 0-2888-8882

มีสาขาทั้งหมด   595  สาขา

ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) (อังกฤษ: Kasikorn Bank Public Company Limited) เป็นธนาคารของประเทศไทย ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2488 โดยกลุ่มตระกูล ล่ำซำ ทุนจดทะเบียนเริ่มแรก 5 ล้านบาท  มีสำนักงานใหญ่แห่งแรกตั้งอยู่ที่ สำนักถนนเสือป่า   ต่อมาได้ขยายการบริหารงานไปยังสำนักสีลม , สำนักพหลโยธิน , สำนักงานใหญ่ราษฎร์บูรณะและสำนักแจ้งวัฒนะตามลำดับ   ปัจจุบันสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่ ซอยกสิกรไทย ถนนราษฎร์บูรณะ เชิงสะพานพระราม 9 ฝั่งธนบุรี

 

 

5. ธ. เกียรตินาคิน จำกัด (มหาชน)

ชื่อผู้จัดการ   นางสาวนวพร เรืองสกุล    

สัญลักษณ์

เวบไซต์   http://www.kiatnakin.co.th

ที่อยู่ 500 อาคารอัมรินทร์ทาวเวอร์ ถ.เพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10331
โทรศัพท์ 0-2680-3333
โทรสาร 0-2256-9933

มีสาขาทั้งหมด   52 สาขา

ธนาคารเกียรตินาคิน จำกัด (มหาชน) เป็นธนาคารพาณิชย์เต็มรูปแบบ (Commercial Bank) ซึ่งเปิดดำเนินการอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม 2548 เพื่อให้บริการทางการเงินที่หลากหลาย อาทิ บริการด้านเงินฝากประจำ ออมทรัพย์ กระแสรายวัน ประกันชีวิต สินเชื่อรถยนต์ สินเชื่อพัฒนาโครงการ สินเชื่อธุรกิจอพาร์ทเม้นท์ สินเชื่อธุรกิจฟลอร์แพลน สินเชื่อเพื่อธุรกิจขนส่ง สินเชื่อธุรกิจสิ่งพิมพ์และบรรจุภัณฑ์

6. ธ. ซีไอเอ็มบี ไทย จำกัด (มหาชน)

ชื่อผู้จัดการ  นายสุภัค ศิวะรักษ์ 

สัญลักษณ์ 

 

เวบไซต์    http://www.cimbthai.com

ที่อยู่ 44 ถ.หลังสวน แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
โทรศัพท์ 0-2626-7000, 0-2638-8000
โทรสาร 0-2633-9026
(ชื่อเดิม ธ.ไทยธนาคาร จำกัด(มหาชน))

มีสาขาทั้งหมด   รวมทั้งสิ้น 147 แห่ง จำแนกเป็นสำนักและสาขาในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล 96 แห่ง สำนักและสาขาในเขตต่างจังหวัด 51 แห่ง

กลุ่มซีไอเอ็มบี ดำเนินธุรกิจในฐานะของธนาคารผู้ให้บริการทางการเงินอย่างครบวงจร (Universal Bank) โดยเป็นผู้ให้บริการทางการเงินที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศมาเลเซีย และอันดับ 5 ของภูมิภาคตะวันออกเฉียงใต้ เมื่อจัดอันดับตามขนาดสินทรัพย์ และมีเงินทุนหมุนเวียนในตลาด

                ปัจจุบัน กลุ่มซีไอเอ็มบีมีฐานการตลาดหลักด้านการเงินธนาคารแบบครบวงจรในประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซีย สิงคโปร์ และไทย นอกจากนี้ ยังมีเครือข่ายทั่วภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตลอดจนศูนย์ให้บริการทางการเงินทั่วโลก รวมถึงในประเทศต่างๆ ที่ลูกค้ามีธุรกิจและการลงทุนอยู่

 

 

7.ธ. ทหารไทย จำกัด (มหาชน)

ชื่อผู้จัดการ   นางเสาวนีย์ กมลบุตร

สัญลักษณ์ 

 

เวบไซต์   http://www.tmbbank.com

ที่อยู่ 3000 ถ.พหลโยธิน แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900
โทรศัพท์ 0-2299-1111
โทรสาร 0-2990-6010

มีสาขาทั้งหมด   480  สาขา

ตลอดระยะเวลากว่า 50 ปีที่ TMB ดำเนินธุรกิจด้วยหลักธรรมาภิบาล และเติบโตโดยไม่ละทิ้งการตอบแทนสังคม ด้วยมิตรภาพเชื่อม ด้วยการเชื่อมประสานองค์กรและชุมชนผ่านโครงการและกิจกรรมต่างๆ และมีบทบาทในการให้ความร่วมมือแก่ภาครัฐและองค์กรระหว่างประเทศ ในการบริหารโครงการที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ด้วยศักยภาพที่พร้อมให้คำแนะนำปรึกษาในการวางแผนการลงทุน และสนับสนุนแหล่งเงินทุนแก่โครงการอนุรักษ์พลังงานและรักษาสิ่งแวดล้อม โครงการเพื่อสังคม ตลอดจนพัฒนาบริการเสริมใหม่ๆที่เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม

 

 

8.ธ. ทิสโก้ จำกัด (มหาชน)

ชื่อผู้จัดการ    นาย สุทัศน์ เรืองมานะมงคล

สัญลักษณ์ 

 

เวบไซต์  http://www.tisco.co.th

ที่อยู่ 48/2 ทิสโก้ทาวเวอร์ ชั้น 1 ถ.สาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500
โทรศัพท์ 0-2633-6000
โทรสาร 0-2633-6800

มีสาขาทั้งหมด   41  แห่ง

              ทิสโก้ ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2512 มีสถานะเป็นบริษัทเงินทุนแห่งแรกในประเทศไทย ชื่อ “ ทิสโก้” และตราสัญลักษณ์ “TISCO” พัฒนามาจากคำย่อของชื่อเต็มในภาษาอังกฤษที่ใช้ว่า Thai Investment and Securities Company Limited

              ทิสโก้เติบโตอย่างมั่นคงเป็นสถาบันการเงินชั้นนำที่ให้บริการทางการเงินและการลงทุนตลอดจนมีบทบาทโดดเด่นในการมีส่วนร่วมในการพัฒนาตลาดเงินและตลาดทุนของประเทศไทย ทิสโก้ได้รับอนุมัติให้ยกสถานะเป็นธนาคารพาณิชย์เต็มรูปแบบและเปิดให้บริการธนาคารในปี 2548

9.ธ. ไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)

ชื่อผู้จัดการ   คุณหญิงชฎา วัฒนศิริธรรม

               

 

สัญลักษณ์ 

เวบไซต์  http://www.scb.co.th

ที่อยู่ 9 ถ.รัชดาภิเษก แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900
โทรศัพท์ 0-2544-1000
โทรสาร 0-2544-4948

มีสาขาทั้งหมด   873 สาขา

ประวัติศาสตร์หน้าแรกของธนาคารไทยพาณิชย์ ซึ่งนับเป็นสถาบันการเงินแห่งแรกของชาวสยามนั้น เริ่มต้นขึ้นในนาม "บุคคลัภย์" (Book Club) โดย พระเจ้าน้องยาเธอกรมหมื่นมหิศรราชหฤทัย ซึ่งขณะนั้นทรง ดำรงตำแหน่งเสนาบดีกระทรวง พระคลังมหาสมบัติในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงตั้งพระทัยอย่างแน่วแน่ที่จะให้มีสถาบัน การเงินของสยาม เป็นฐานรองรับการเติบโตทางด้านเศรษฐกิจการเงินของประเทศ จากการที่โลกตะวันตกได้ขยายเส้นทางการค้าทางทะเลมาสู่ดินแดนสยามเป็นอย่างมาก

 

 

 

 

10.ธ. ธนชาต จำกัด (มหาชน)

  • นายบันเทิง ตันติวิท ประธานกรรมการ
  • นายศุภเดช พูนพิพัฒน์ รองประธานกรรมการ ประธานกรรมการบริหาร / ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

 

สัญลักษณ์

เวบไซต์  http://www.thanachartbank.co.th

ที่อยู่ 900 อาคารต้นสนทาวเวอร์ ถ.เพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
โทรศัพท์ 0-2655-9000
โทรสาร 0-2655-9001

มีสาขาทั้งหมด   50  สาขา

                   ธนาคารธนชาต จำกัด(มหาชน) เดิมเป็นสถาบันการเงินที่ประกอบธุรกิจในชื่อ บริษัทเงินทุน เอกชาติ จำกัด(มหาชน) ธนาคารธนชาต จำกัด(มหาชน) ได้เปิดให้บริการเมื่อวันที่ 22 เมษายน 2545 ภายใต้ใบอนุญาตประกอบการธนาคารพาณิชย์แบบจำกัดขอบเขตธุรกิจ หลังจากนั้นได้รับใบอนุญาตประกอบการธนาคารพาณิชย์เต็มรูปแบบ จากกระทรวงการคลังเมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2547 และได้เปิดให้บริการด้านการเงินทุกรูปแบบ โดยมีธุรกิจเช่าซื้อรถยนต์ เป็นธุรกิจหลัก

11.ธ. นครหลวงไทย จำกัด (มหาชน)

ชื่อผู้จัดการ  นายชัยวัฒน์ อุทัยวรรณ์

สัญลักษณ์

 Bank SCIB.gif

เวบไซต์  http://www.scib.co.th

ที่อยู่ 1101 ถ.เพชรบุรีตัดใหม่ แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400
โทรศัพท์ 0-2208-5000
โทรสาร 0-2253-1240, 0-2226-3798

มีสาขาทั้งหมด   405  สาขา

ธนาคารนครหลวงไทยจำกัด (มหาชน) ก่อตั้งขึ้น โดยคณะบุคคลของรัฐบาลร่วมกับสมาชิกในราชวงศ์ ด้วยทุนจดทะเบียนเริ่มแรก 1,000,000 บาท หลังการควบรวมกับธนาคารศรีนครในเดือนเมษายน พ.ศ. 2545 ธนาคารได้นำหุ้นกลับเข้าซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์เมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2546 ปัจจุบันธนาคารมีขนาดของสินทรัพย์ใหญ่เป็นอันดับ 7 ของธนาคารพาณิชย์ไทย

 

12.ธ. ยูโอบี จำกัด (มหาชน)

ชื่อผู้จัดการ   คุณวี โชว เยา     ประธานกรรมการ

 

สัญลักษณ์

 

เวบไซต์  http://www.uob.co.th

ที่อยู่ 191 ถ.สาทรใต้ แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120
โทรศัพท์ 0-2343-3000
โทรสาร 0-2287-2973-4

มีสาขาทั้งหมด   145   สาขา

ธนาคารยูโอบี จำกัด ( มหาชน ) หรือ ธนาคารยูโอบี เกิดจากการรวมกิจการที่ประสบความสำเร็จระหว่างธนาคารเอเชีย จำกัด ( มหาชน ) และธนาคารยูโอบี รัตนสิน จำกัด ( มหาชน ) นับเป็นธนาคารพาณิชย์ที่ใหญ่ที่สุดอันดับที่ 9 ในประเทศไทย

 

 

13.ธ. สแตนดาร์ดชาร์เตอร์ด (ไทย) จำกัด (มหาชน)

ชื่อผู้จัดการ    นาย ยุทธเดช ปัทมานนท์

 

สัญลักษณ์

 

เวบไซต์    http://www.standardchartered.co.th

ที่อยู่ 90 อาคารสาทรธานี ถ.สาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500
โทรศัพท์ 0-2724-4000
โทรสาร 0-2724-4444

มีสาขาทั้งหมด   41 สาขา และอีกประมาณ 1,400 สาขาทั่วโลก

ธนาคารฯ มีธุรกิจหลักคือ บุคคลธนกิจและสถาบันธนกิจ ธุรกิจด้านบุคคลธนกิจให้บริการด้านบัตรเครดิต สินเชื่อบุคคล สินเชื่ออสังหาริมทรัพย์ บริการรับฝากเงิน บริการด้านการบริหารสินทรัพย์ให้แก่ลูกค้ารายบุคคล ลูกค้าเจ้าของธุรกิจรายย่อย จนถึงลูกค้าเจ้าของธุรกิจขนาดกลาง ส่วนสถาบันธนกิจนั้นให้บริการแก่ลูกค้าที่เป็นสถาบันหรือบริษัทในด้านต่างๆ เช่น สินเชื่อพาณิชย์ บริการบริหารเงินสด การบริการเงินทุน บริการด้านหลักทรัพย์ บริการด้านเงินตราต่างประเทศ บริการด้านการกู้ยืมในตลาดทุน และบริการด้านเงินกู้สำหรับธุรกิจ

 

14.ธ. สินเอเซีย จำกัด (มหาชน)

ชื่อผู้จัดการ 

-นายฮุยเหมิน หยี่

-นายโหยวบิน เฉิน

-นายธงชัย อานันโทไทย

 

สัญลักษณ์

 

เวบไซต์    http://www.aclbank.com  

ที่อยู่  622 อาคารเอ็มโพเรียมทาวเวอร์ ชั้น 11-13 ถ.สุขุมวิท แขวงคลองตัน เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110
โทรศัพท์ 0-2663-9999
โทรสาร 0-2663-9888

มีสาขาทั้งหมด   17 สาขา

                 สินเอเซียได้รับรางวัล Small but Cool จากธนาคารแห่งประเทศไทย ซึ่งเป็นเครื่องยืนยันได้เป็นอย่างดีว่า สินเอเซีย เป็นสถาบันการเงินขนาดเล็ก ที่สามารถจัดส่งข้อมูล ได้ถูกต้อง ครบถ้วน ภายใต้เงื่อนไขที่ซับซ้อน โดยสามารถจัดส่งได้ก่อนเวลาที่กำหนด รางวัล Small but Cool บ่งชี้ถึงคุณภาพในการทำงานที่รวดเร็ว โปร่งใส และความรับผิดชอบกับภาระผูกพันที่มีต่อธนาคารแห่งประเทศไทย

 

                 ธนาคารสินเอเซีย จำกัด (มหาชน) หรือในชื่อเดิมคือ บริษัท เงินทุนสินเอเซีย จำกัด (มหาชน) ซึ่งได้รับใบอนุญาตประกอบการธนาคารพาณิชย์จากกระทรวงการคลังและ ธนาคารแห่งประเทศไทย

 

 

ฟุตบอลโลกมีผลกระทบต่อ ธุรกิจอย่างไร

             ฟุตบอลโลกที่มีผู้คนติดตามกันครึ่งค่อนโลกอยู่ในขณะนี้ ได้ส่งผลกระตุ้นการบริโภคทางเศรษฐกิจขึ้น จึงมีการคาดการณ์กันว่าทวีปยุโรปจะได้รับการกระตุ้นทางเศรษฐกิจสูงที่สุดจากการบริโภคอันเกิดจากเกมการแข่งขันฟุตบอลโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งเศรษฐกิจของประเทศเจ้าภาพจะดีขึ้นจากกระตุ้นการใช้จ่าย การได้รับรายได้จากการท่องเที่ยวและการได้รับความเชื่อมั่นที่มีต่อเศรษฐกิจสูงขึ้น

         ในขณะนี้ กีฬาฟุตบอลได้แปรสถานะเป็นธุรกิจอย่างเต็มตัวแล้ว หรืออาจเรียกว่าเป็น "ธุรกิจการตลาดกีฬา" ตัวอย่างเช่น  พันธมิตรธุรกิจที่ได้รับเลือกเป็นผู้สนับสนุนหลัก (สปอนเซอร์) อย่างเป็นทางการของฟีฟ่า มีโอกาสที่จะได้รับสิทธิพิเศษอันเป็นประโยชน์ทางธุรกิจมากกว่าธุรกิจอื่น เพราะมีโอกาสมากที่จะสร้างอุปสงค์ที่มีต่อสินค้าของตนอยู่ตลอดเวลา ซึ่งมีส่วนเกื้อกูลต่อการเติบโตของธุรกิจ กระตุ้นการบริโภค และขับเคลื่อนเศรษฐกิจโลกตามศักยภาพของแต่ละประเทศบนโลกใบ

 

 

 

ฟุตบอลโลกมีผลกระทบต่อสังคม อย่างไร

             ปัจจุบัน การเล่นพนันฟุตบอล ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายในประชาชน แทบจะทุกสาขาอาชีพ ไม่ว่าจะเป็นเด็ก เยาวชน หรือผู้ใหญ่ ซึ่งก่อให้เกิดปัญหาต่างๆติดตามมา ทั้งปัญหาการทะเลาะเบาะแว้งของคนในครอบครัว และปัญหาทางสังคม โดยเฉพาะคดีลักทรัพย์   จี้ปล้นทำร้ายร่างกาย   หรือค้ายาเสพติดเพื่อนำทรัพย์สินไปใช้หนี้พนันฟุตบอล หรือปัญหาการทำร้ายร่างกายเนื่องจากการติดตามทวงหนี้ของโต๊ะพนัน

ฟุตบอลโลกมีผลกระทบทำให้ผู้ชมการแข่งขันฟุตบอลมากขึ้นอาจจะทำให้เกิดการเล่นการพนันเกิดขึ้นทำให้สังคมแย่ลง อาจทำให้เกิดอาชญากรรมเกิดขึ้นเพราะคนติดการพนัน ต้องการเงินมาเสียค่าพนันฟุตบอลและยังทำให้เศรษฐกิจตกต่ำ

 

 

 

 

 

นางสาวรัชนีกร นิยมทัศน์

เพิ่มเติม : นางสาวรัชนีกร นิยมทัศน์  รหัส 50473010006

สาขาวิชาเศรษศาสตร์ธุรกิจ   มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

------------------------------------------------------------------

17. ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน)

สัญลักษณ์ 

ชื่อย่อ  =   KTB ( Krung Thai Bank)

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่   =   ดร. พงศธร สิริโยธิน

สำนักงานใหญ่  =  อาคาร1 เลขที่ 35 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110

โทรศัพท์ 02-2552222

สาขาทั้งหมด  =  800 สาขา

จุดเด่น  =   ธนาคารแสนสะดวก (The Convenience Bank)  สำหรับลูกค้ารายย่อย ภาคธุรกิจ ภาครัฐ และสถาบัน

เว็บไซต์   http://www.ktb.co.th

18.ธนาคารกรุงเทพ

สัญลักษณ์  =

ชื่อย่อ  =  BKB  ( Bangkok Bank)

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่   =  นายชาติศิริ  โสภณพณิช

สำนักงานใหญ่  =   ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน)333 ถนนสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500

โทรศัพท์: (66) 0-2231-4333

สาขาทั้งหมด  =   950 สาขา

จุดเด่น  =   รายงานผลการสำรวจธนาคารยอดเยี่ยมในประเทศกำลังพัฒนาประจำปี 2546 ซึ่งตีพิมพ์ใน นิตยสารโกลบอล ไฟแนนซ์ ฉบับประจำเดือนพฤษภาคม 2546 ได้กล่าวถึง ธนาคารกรุงเทพ ว่าเป็นธนาคารที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย

เว็บไซต์  =  http://www.bbl.co.th

19.  ธนาคารเกียรตินาคิน

สัญลักษณ์  =  

ชื่อย่อ  =  KKBank

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่   =  นางสาวนวพร เรืองสกุล

สำนักงานใหญ่  =  500 อาคารอัมรินทร์ ทาวเวอร์ ชั้น 11 ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330  โทรศัพท์ 0-2680-3333
โทรสาร 0-2256-9933

สาขาทั้งหมด  = 52 สาขา

จุดเด่น  =   เป็นธนาคารพาณิชย์เต็มรูปแบบ (Commercial Bank) ซึ่งเปิดดำเนินการอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม 2548 เพื่อให้บริการทางการเงินที่หลากหลาย อาทิ บริการด้านเงินฝากประจำ ออมทรัพย์ กระแสรายวัน ประกันชีวิต สินเชื่อรถยนต์ สินเชื่อพัฒนาโครงการ สินเชื่อธุรกิจอพาร์ทเม้นท์ สินเชื่อธุรกิจฟลอร์แพลน สินเชื่อเพื่อธุรกิจขนส่ง สินเชื่อธุรกิจสิ่งพิมพ์และบรรจุภัณฑ์

เว็บไซต์  =    www.kiatnakin.co.th

 

20.ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน)

สัญลักษณ์  =   

ชื่อย่อ  BAY (Bank of Ayudthaya)

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่   =  นายมาร์ค จอห์น อาร์โนลด์

สำนักงานใหญ่  =ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) 1222 ถนนพระรามที่ 3 แขวงบางโพงพาง
เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 1012 โทรศัพท์ : 1572
สาขาทั้งหมด  =  ในประเทศ 577 สาขา ต่างประเทศ 4 สาขา

จุดเด่น  =  ทีมงานกลมเกลียว หนึ่งเดียว มุ่งมั่นมอบผลิตภัณฑ์และบริการสุดประทับใจ เพื่อเป็นธนาคารอันดับหนึ่งในใจลูกค้า

เว็บไซต์   http://www.krungsri.com

21. ซิติแบงค์ ไทยแลนด์

สัญลักษณ์ 

ชื่อย่อ  =      CitiBank

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่   =  นายปีเตอร์ เอเลียต

สำนักงานใหญ่  =ธนาคารซิตี้แบงก์ เอ็น.เอ. สาขากรุงเทพฯ เลขที่ 399 ถนนสุขุมวิท อาคารอินเตอร์เชนจ์ 21 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110

สาขาทั้งหมด  =  47 สาขา

จุดเด่น  =  มุ่งมั่นป็นธนาคารระดับโลก เอกลักษณ์ในการมีเครือข่ายสาขาทั่วโลก ทุ่มเทให้ลูกค้าของเรา มีความแงแกร่งทางการเงินเสมอต้นเสมอปลาย สนับสนุน และช่วยพัฒนาศักยภาพของพนักงานอย่างต่อเนื่อง  นำเสนอบริการที่เหนือกว่าแก่นักลงทุนตลอดเวลา

เว็บไซต์   http://www.citibank.co.th

 

 

 22. ธนาคารกสิกรไทย

สัญลักษณ์ 

ชื่อย่อ  = KBank

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่   =   คุณศาศวัต วีระปรีย

สำนักงานใหญ่  =  ที่อยู่ 400/22 อาคารธนาคารกสิกรไทย ชั้น 3 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน

 เขตพญาไท  กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท์:0-2290-2900

สาขาทั้งหมด  =  595 สาขา

จุดเด่น  =   แฟคเตอรี แอนด์ ควิปเมนท์ กสิกรไทย มุ่งมั่นเป็นบริษัทลีสซิ่งและเช่าซื้อเครื่องจักรและอุปกรณ์ที่มั่นคงและดีที่สุดในการให้บริการแก่ลูกค้าและเพื่อเสริมภาพลักษณ์ การบริการทางการเงินที่ครอบคลุมทุกๆ ด้าน (Universal Banking) ของธนาคารกสิกรไทย 

 เว็บไซต์  =   http://www.kasikornfactoring.com

23. ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย

สัญลักษณ์ 

ชื่อย่อ  =   LH Bank

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่   =   นางศศิธร พงศธร

สำนักงานใหญ่  =  เลขที่ 1 อาคารคิวเฮ้าส์ ลุมพินี ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 
โทร 0-2359-0000 โทรสาร 0-2677-7223

จุดเด่น  =   ธนาคารมีการพิจาณาในด้านสินเชื่อเน้นไปที่เงินกู้เพื่อการเคหะของสินเชื่อโดยรวมทั้งหมด60% และ40%จะเป็นสินเชื่อประเภทเอสเอ็มอี เนื่องจากว่าในส่วนของสินเชื่อเคหะมีข้อดีตรงที่มีหลักประกันที่ชัดเจน และทางธนาคารแห่งประเทศไทยก็ให้ความสนใจในเรื่องนี้เป็นสำคัญ เพราะถือว่าเป็นฐานเงินทุนที่มีประสิทธิภาพสูง

 เว็บไซต์  =  www.lhbank.co.th

----------------------------------------------------------------------

-                   การแข่งขันฟุตบอลโลกครั้งนี้ส่งผลอย่างไรต่อภาคธุกิจใดบ้าง และจะมีผลกระทบภาคสังคมอย่างไรบ้าง

 ทางด้านเศรษฐกิจ  การแข่งขันฟุตบอลโลกส่งผลต่อภาคธุรกิจเศรษฐกิจ คือ ประเทศแอฟริกาจะได้ประโยชน์จากการท่องเที่ยว ส่งผลให้ประเทศเจ้าบ้านมีรายได้เพิ่มสูงขึ้น แต่เศรษฐกิจในประเทศมีการหมุนเวียนเฉพาะกลุ่มซึ่ง เงินส่วนใหญ่ต้องเสียค่าลิขสิทธิ์ และทำให้เศรษฐกิจทางด้านการกีฬากลับมาขยายตัวเพิ่มสูงขึ้น การขายของที่ระลึกสามารถ สร้างรายได้ให้แก่ประชาชนเป็นจำนวนมาก อาจส่งผลให้รายได้ประชาชาติ เพิ่มสูงขึ้น

ทางสังคม  ส่งผลให้เยาวชนรวมถึงพนักงานทั่วไป มีการเล่นพนันบอลเพิ่มสูงขึ้น แม้ว่าจะมีการรณรงค์ทั้งสื่อวิทยุและโทรทัศน์แล้วก็ตาม ซึ่งส่งผลถึง การศึกษา  เพราะเมื่อเยาวชนติดฟุตบอลทำให้มาเรียนสาย  อีกส่วนหนึ่งหากเด็กเล่นการพนันแล้วเสียแต่ไม่มีเงินจ่ายจะทำให้เด็กไม่กล้ามาเรียน  รวมทั้งอาจก่อให้เกิดอาชญากรรมได้

         ขณะที่ทางการอาฟริกาใต้ และผู้จัดการแข่งขันเห็นว่า การจัดการแข่งขันฟุตบอลโลก จะช่วยส่งเสริมเศรษฐกิจและเกียรติภูมิของประเทศอาฟริกาใต้ และทวีปอาฟริกาโดยทั่วไปนั้น นักวิชาการในสหรัฐบางคนเตือนว่า การทุ่มเททุนจำนวนมากมายในการจัดงานนี้ อาจทำให้ความไม่เสมอภาคทางเชื้อชาติผิวพันธุ์และฐานะทางเศรษฐกิจ ของประชาชนกลับซ้ำร้ายลงไปได้

 

ชื่อย่อ : KBank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : อาคารราษฎร์บูรณะ  1 ซอยราษฎร์บูรณะ 27/1 ถนนราษฎร์บูรณะ แขวงราษฎร์บูรณะ เขตราษฎร์บูรณะ กรุงเทพฯ 10140  โทรศัพท์:   00 2222 0000

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายบรรยงค์ ล่ำซำ  

Website : www.kasikornbank.com

จำนวนสาขา : 595 สาขา

จุดเด่น : ธนาคารกสิกรไทยมุ่งมั่นเป็นสถาบันการเงินที่มั่นคงที่สุด ที่ริเริ่มในสิ่งใหม่ และกระทำทุกวิถีทางเพื่อเป็นสถาบันการเงินไทยที่ให้บริการอย่างดีที่สุดแก่ลูกค้า

ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร

ชื่อย่อ : ธ.ก.ส.

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : สำนักงานใหญ่ 

เลขที่ 469 ถนน นครสวรรค์ เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300 โทร (662) 280-0180, 281-7355 โทรสาร (662) 280-0442, 281-6164, 280-5320 

กรรมการผู้จัดการใหญ่นายกรณ์ จาติกวณิช รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ตำแหน่งประธานกรรมการ

 นายลักษณ์ วจนานวัช ผู้จัดการ

Website : www.baac.or.th

จำนวนสาขา : 886 สาขา

จุดเด่น : เป็นธนาคารพัฒนาชนบทที่มั่นคง มีการจัดการที่ทันสมัย เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของเกษตรกรรายย่อย"

ทำหน้าที่อำนวยสินเชื่อทางการเกษตรอย่างกว้างขวาง ทั้งโดยตรงและสู่สถาบันเกษตรกร มุ่งให้ความช่วยเหลือทางการเงิน เพื่อส่งเสริมอาชีพการเกษตรหรือการดำเนินงานของเกษตรกร กลุ่มเกษตรกร หรือสหกรณ์การเกษตร ตลอดจนส่งเสริมให้ เกษตรกร กลุ่มเกษตรกร หรือ สหกรณ์การเกษตร สามารถประกอบอาชีพอย่างอื่นที่เกี่ยวเนื่องในการเกษตร เพื่อเพิ่มรายได้ให้แก่ครอบครัวเกษตรกร รวมทั้งให้บริการรับฝากเงิน เช่นเดียวกับธนาคารพาณิชย์

ชื่อย่อ : GSB

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ :  ตั้งอยู่ที่ ถ.พหลโยธิน บริเวณสี่แยกสะพานควาย 
กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายวินัย วิทวัสการเวช  ประธานกรรมการ

Website : www.gsb.or.th

จำนวนสาขา : 400 สาขา

จุดเด่น : เป็นธนาคารเพื่อลูกค้ารายย่อย จะเน้นให้สินเชื่อเพื่อพัฒนาชนบท พัฒนาผู้ประกอบการรายย่อย โดยจะมีรูปแบบของสินเชื่อและชนิดการฝากเงินรายย่อยมากมาย อีกทั้งยังสร้างเงินทุนหมุนเวียนในกลุ่มชุมชน โครงการธนาคารเพื่อประชาชนโดยให้สิ้นเชื่อระยะสั้นแก่ผู้ประกอบการรายย่อย เป็นช่องทางการรับ-จ่ายเงินกู้จากโครงการกองทุนหมู่บ่นและชุมชนเมือง อีกทั้งยังลงทุนในการพัฒนาประเทศของหน่วยงานรัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ ให้บริการรูปแบบเงินฝากที่หลายหลายรูปแบบที่เหมาะกับแต่ละช่วงวัย และมีการให้บริการตามหลักศาสนาอิสลาม

ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย

ชื่อย่อ : ธสน. หรือ EXIM Bank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 1193 ถนนพหลโยธิน พญาไท กรุงเทพฯ 10400  โทร  02-22713700

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายณรงค์ชัย อัครเศรณี

Website : www.exim.go.th

จำนวนสาขา : 16 สาขา

จุดเด่น : ให้สินเชื่อได้ทุกรูปแบบ เช่น สินเชื่อระยะสั้นและสินเชื่อระยะยาว สินเชื่อในประเทศและสินเชื่อต่างประเทศ โดยสามารถทำธุรกิจได้ทั้งที่เป็นสกุลเงินบาทและสกุลเงินตราต่างประเทศ นอกจากนี้ยังสามารถกู้ยืมเงินจากสถาบันการเงินทุกประเภททั้งในประเทศและต่างประเทศและออกตราสารการเงินระยะสั้นและระยะยาวขายแก่สถาบันการเงินและประชาชนทั่วไปทั้งในประเทศและต่างประเทศ

ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย

ชื่อย่อ : ธพว. หรือ SME Bank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย (SME BANK)
SME BANK Tower 
เลขที่ 310 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 
โทร. 0-2265-3000 โทรสาร 0-2265-4000 
Website: http://www.smebank.co.th
กรรมการผู้จัดการใหญ่ :  นายพงษ์ภาณุ เศวตรุนทร์

จำนวนสาขา : 95 สาขา

จุดเด่น : เพื่อประกอบธุรกิจอันเป็นการพัฒนา ส่งเสริม ช่วยเหลือ และสนับสนุนการจัดตั้ง การดำเนินงาน การขยาย หรือการปรับปรุงวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม โดยการให้สินเชื่อค้ำประกัน ร่วมลงทุน สนับสนุนบริการทางการเงิน ให้คำปรึกษาแนะนำหรือให้บริการที่จำเป็นแก่ผู้ประกอบการไทย มีฐานะเป็นนิติบุคคลโดยมีผู้ถือหุ้นทั้งภาครัฐและเอกชนร่วมกัน

ธนาคารอาคารสงเคราะห์

ชื่อย่อ : ธอส. หรือ GH Bank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่สำ63 ถ.พระรามที่ 9 ห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10320 โทรศัพท์ 0-2645-9000

กรรมการผู้จัดการใหญ่   นายชัยเกษม นิติสิริ  ประธานกรรมการ

Websitewww.ghbank.co.th

จำนวนสาขา : 146 สาขา

จุดเด่น : เป็นธนาคารทำหน้าที่ช่วยเหลือทางการเงินให้กับประชาชน ได้มีที่อยู่อาศัยตามสมควรแก่อัตภาพ โดยการให้กู้ยืมเงิน และ จัดสรรที่ดินเพื่อก่อสร้างที่เป็นหน่วยงานของรัฐบาลที่ประกอบธุรกิจในการส่งเสริมและช่วยเหลือประชาชนนำเงินไป ลงทุนเกี่ยวกับการสร้างอาคารและที่ดินโดยตรงทำหน้าที่เสมือนสื่อกลางในการนำเงินไปใช้ประโยชน์ ใน กิจการเคหะและเป็นสถาบันการเงินที่ดำเนินธุรกิจ อีกทั้งยัง ร่วมมือกับหน่วยงานของรัฐต่างๆ สนับสนุนให้ประชาชนมีที่อยู่เป็นของตนเอง อาทิ ให้สินเชื่อกับผู้ที่ซื้อบ้านกับการเคหะแห่งชาติ สินเชื่อกับผู้ประกันตนกับสำนักงานประกันสังคม

ชื่อย่อ : KTB

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 35 ถนนสุขุมวิท เขตวัฒนา กรุงเทพฯ

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์

Website : www.ktb.co.th

จำนวนสาขา : 800 สาขา

จุดเด่น :ธนาคารแสนสะดวก (The Convenience Bank)  สำหรับลูกค้ารายย่อย ภาคธุรกิจ ภาครัฐ และสถาบัน ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) (อังกฤษ: Krung Thai Bank Public Company Limited) เป็นธนาคารของรัฐ อยู่ภายใต้การกำกับดูแลของกระทรวงการคลัง ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2509โดยการควบกิจการของธนาคารมณฑลและธนาคารเกษตร ซึ่งเป็นธนาคารที่รัฐบาลถือหุ้นใหญ่ทั้งคู่ และใช้ชื่อธนาคารใหม่ที่เกิดจากการควบรวมว่า "ธนาคารกรุงไทย จำกัด" มีตราสัญลักษณ์เป็นรูป นกวายุภักษ์ ซึ่งเป็นตราสัญลักษณ์ของกระทรวงการคลังเป็นสัญลักษณ์ของธนาคาร

ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย

ชื่อย่อ :IBT

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย (สำนักงานใหญ่)

เลขที่ 66 ชั้น M, 21, 22 อาคารคิวเฮ้าส์ ถนนสุขุมวิท 21
แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา
กรุงเทพมหานคร 10110โทรศัพท์ : 0-2650-6999
กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายธีรศักดิ์ สุวรรณยศ

Website : www.ibank.co.th

จำนวนสาขา : 28 สาขา

จุดเด่น : เป็นธนาคารที่ดำเนินธุรกรรมโดยปราศจากดอกเบี้ย แต่อยู่บนหลักการ กำไร-ขาดทุนร่วมกัน และดำเนินธุรกิจตาม พ.ร.บ.ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2545 โดยมีคณะที่ปรึกษาด้านศาสนาให้คำแนะนำ ตรวจสอบ เพื่อให้ธนาคารดำเนินงานถูกต้องตามหลักศาสนาอิสลาม ปัจจุบันธนาคารมีฐานะเป็นรัฐวิสาหกิจ สังกัดกระทรวงการคลัง

 

นางสาวอำพร ธนเสฎธากุล

นางสาวอำพร ธนเสฏธากุล  รหัส 50473010008

สาขาวิชา เศรษศาสตร์ธุรกิจ  มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

-----------------------------------------------------------------

1. ชื่อย่อ : GSB

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ :  ตั้งอยู่ที่ ถ.พหลโยธิน บริเวณสี่แยกสะพานควาย 
กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายวินัย วิทวัสการเวช  ประธานกรรมการ

Website : www.gsb.or.th

จำนวนสาขา : 400 สาขา

จุดเด่นธนาคารเพื่อลูกค้ารายย่อย จะเน้นให้สินเชื่อเพื่อพัฒนาชนบท พัฒนาผู้ประกอบการรายย่อย โดยจะมีรูปแบบของสินเชื่อและชนิดการฝากเงินรายย่อยมากมาย อีกทั้งยังสร้างเงินทุนหมุนเวียนในกลุ่มชุมชน โครงการธนาคารเพื่อประชาชนโดยให้สิ้นเชื่อระยะสั้นแก่ผู้ประกอบการรายย่อย รูปแบบที่เหมาะกับแต่ละช่วงวัย และมีการให้บริการตามหลักศาสนาอิสลาม

2. ชื่อย่อ :IBT

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย (สำนักงานใหญ่)

เลขที่ 66 ชั้น M, 21, 22 อาคารคิวเฮ้าส์ ถนนสุขุมวิท 21
แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา
กรุงเทพมหานคร 10110โทรศัพท์ : 0-2650-6999
กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายธีรศักดิ์ สุวรรณยศ

Website : www.ibank.co.th

จำนวนสาขา : 28 สาขา

จุดเด่น : เป็นธนาคารที่ดำเนินธุรกรรมโดยปราศจากดอกเบี้ย แต่อยู่บนหลักการ กำไร-ขาดทุนร่วมกัน และดำเนินธุรกิจตาม โดยมีคณะที่ปรึกษาด้านศาสนาให้คำแนะนำ ตรวจสอบ เพื่อให้ธนาคารดำเนินงานถูกต้องตามหลักศาสนาอิสลาม 

3. ชื่อย่อ : KTB

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 35 ถนนสุขุมวิท เขตวัฒนา กรุงเทพฯ

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์

Website : www.ktb.co.th

จำนวนสาขา : 800 สาขา

จุดเด่น :ธนาคารแสนสะดวก (The Convenience Bank)  สำหรับลูกค้ารายย่อย ภาคธุรกิจ ภาครัฐ และสถาบัน ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) (อังกฤษ: Krung Thai Bank Public Company Limited) เป็นธนาคารของรัฐ อยู่ภายใต้การกำกับดูแลของกระทรวงการคลัง ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2509โดยการควบกิจการของธนาคารมณฑลและธนาคารเกษตร ซึ่งเป็นธนาคารที่รัฐบาลถือหุ้นใหญ่ทั้งคู่ และใช้ชื่อธนาคารใหม่ที่เกิดจากการควบรวมว่า "ธนาคารกรุงไทย จำกัด" มีตราสัญลักษณ์เป็นรูป นกวายุภักษ์ ซึ่งเป็นตราสัญลักษณ์ของกระทรวงการคลังเป็นสัญลักษณ์ของธนาคาร

 

4. ชื่อย่อ : SCB

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ :  9  ถนนรัชดาภิเษก  เขตจัตจักร  กรุงเทพฯ  10900

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : คุณหญิงชฎา วัฒนศิริธรรม

Website : www.scb.co.th

จำนวนสาขา : 873 สาขา

จุดเด่น : ธนาคารที่ให้บริการครบวงจรชั้นนำของประเทศ  โดยมุ่งเน้นการให้บริการในตลาดการเงิน  กลุ่มลูกค้าหลักด้วยการใช้ประโยชน์อย่างสูงสุดจากเครือข่ายของกลุ่มไทยพาณิชย์และมีความรับผิดชอบต่อสังคม

5. ชื่อย่อ : KBank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : อาคารราษฎร์บูรณะ  1 ซอยราษฎร์บูรณะ 27/1 ถนนราษฎร์บูรณะ แขวงราษฎร์บูรณะ เขตราษฎร์บูรณะ กรุงเทพฯ 10140  โทรศัพท์:   00 2222 0000

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายบรรยงค์ ล่ำซำ  

Website : www.kasikornbank.com

จำนวนสาขา : 595 สาขา

จุดเด่น : ธนาคารกสิกรไทยมุ่งมั่นเป็นสถาบันการเงินที่มั่นคงที่สุด ที่ริเริ่มในสิ่งใหม่ และกระทำทุกวิถีทางเพื่อเป็นสถาบันการเงินไทยที่ให้บริการอย่างดีที่สุดแก่ลูกค้า

 

6. ชื่อย่อ : ธ.ก.ส.

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : สำนักงานใหญ่ 

เลขที่ 469 ถนน นครสวรรค์ เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300 โทร (662) 280-0180, 281-7355 โทรสาร (662) 280-0442, 281-6164, 280-5320 

กรรมการผู้จัดการใหญ่นายกรณ์ จาติกวณิช รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ตำแหน่งประธานกรรมการ

 นายลักษณ์ วจนานวัช ผู้จัดการ

Website : www.baac.or.th

จำนวนสาขา : 886 สาขา 

จุดเด่น : เป็นธนาคารพัฒนาชนบทที่มั่นคง มีการจัดการที่ทันสมัย เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของเกษตรกรรายย่อย

7. ชื่อย่อ : ธสน. หรือ EXIM Bank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 1193 ถนนพหลโยธิน พญาไท กรุงเทพฯ 10400  โทร  02-22713700

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายณรงค์ชัย อัครเศรณี

Website : www.exim.go.th

จำนวนสาขา : 16 สาขา

จุดเด่น :ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย ให้สินเชื่อได้ทุกรูปแบบ เช่น สินเชื่อระยะสั้นและสินเชื่อระยะยาว สินเชื่อในประเทศและสินเชื่อต่างประเทศ โดยสามารถทำธุรกิจได้ทั้งที่เป็นสกุลเงินบาทและสกุลเงินตราต่างประเทศ นอกจากนี้ยังสามารถกู้ยืมเงินจากสถาบันการเงินทุกประเภททั้งในประเทศและต่างประเทศและออกตราสารการเงินระยะสั้นและระยะยาวขายแก่สถาบันการเงินและประชาชนทั่วไปทั้งในประเทศและต่างประเทศ

8. ชื่อย่อ : ธพว. หรือ SME Bank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย (SME BANK)
SME BANK Tower 
เลขที่ 310 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 
โทร. 0-2265-3000 โทรสาร 0-2265-4000 
Website: http://www.smebank.co.th
กรรมการผู้จัดการใหญ่ :  นายพงษ์ภาณุ เศวตรุนทร์

จำนวนสาขา : 95 สาขา

จุดเด่น : เพื่อประกอบธุรกิจอันเป็นการพัฒนา ส่งเสริม ช่วยเหลือ และสนับสนุนการจัดตั้ง การดำเนินงาน การขยาย หรือการปรับปรุงวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม โดยการให้สินเชื่อค้ำประกัน ร่วมลงทุน สนับสนุนบริการทางการเงิน ให้คำปรึกษาแนะนำหรือให้บริการที่จำเป็นแก่ผู้ประกอบการไทย มีฐานะเป็นนิติบุคคลโดยมีผู้ถือหุ้นทั้งภาครัฐและเอกชนร่วมกัน

9. ชื่อย่อ : ธอส. หรือ GH Bank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่สำ63 ถ.พระรามที่ 9 ห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10320 โทรศัพท์ 0-2645-9000

กรรมการผู้จัดการใหญ่   นายชัยเกษม นิติสิริ  ประธานกรรมการ 

Websitewww.ghbank.co.th

จำนวนสาขา : 146 สาขา

จุดเด่น : เป็นธนาคารทำหน้าที่ช่วยเหลือทางการเงินให้กับประชาชน ได้มีที่อยู่อาศัยตามสมควรแก่อัตภาพ โดยการให้กู้ยืมเงิน และ จัดสรรที่ดินเพื่อก่อสร้างที่เป็นหน่วยงานของรัฐบาลที่ประกอบธุรกิจในการส่งเสริมและช่วยเหลือประชาชนนำเงินไป ลงทุนเกี่ยวกับการสร้างอาคารและที่ดินโดยตรงทำหน้าที่เสมือนสื่อกลางในการนำเงินไปใช้ประโยชน์ ใน กิจการเคหะและเป็นสถาบันการเงินที่ดำเนินธุรกิจ อีกทั้งยัง ร่วมมือกับหน่วยงานของรัฐต่างๆ สนับสนุนให้ประชาชนมีที่อยู่เป็นของตนเอง อาทิ ให้สินเชื่อกับผู้ที่ซื้อบ้านกับการเคหะแห่งชาติ สินเชื่อกับผู้ประกันตนกับสำนักงานประกันสังคม

10.ชื่อย่อ : BBL

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : เลขที่ 333 ถนนสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร

กรรมการผู้จัดการใหญ่   : นายชาติศิริ  โสภณพนิช

Website : www.bangkokbank.com

จำนวนสาขา : 950 สาขา

จุดเด่น : ข้าราชการ นักธุรกิจ และกลุ่มบุคคลที่มีแนวคิดเดียวกัน มีสโลแกนที่ว่า "เพื่อนคู่คิด มิตรคู่บ้าน"

 

11. ชื่อย่อ : KRUNGSRI Bank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : สาขาสำนักพระรามที่ 3 (สำนักงานใหญ่) 1222 ถนนพระราม3 แขวงบางโพงพาง

เขตยานนาวา จังหวัดกรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์: 0 2296 2000 

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายมาร์ค จอห์น อาร์โนลด์

Website : www.krungsri.com

จำนวนสาขา : ในประเทศ 577 สาขา ต่างประเทศ 4 สาขา

จุดเด่น :ทีมงานกลมเกลียว หนึ่งเดียว มุ่งมั่นมอบผลิตภัณฑ์และบริการสุดประทับใจ เพื่อเป็นธนาคารอันดับหนึ่งในใจ

 

12.ชื่อย่อ : KKBank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 500 อาคารอัมรินทร์ ทาวเวอร์ ชั้น 11 ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330โทรศัพท์ 0-2680-3333

 

กรรมการผู้จัดการใหญ่ :  นางสาวนวพร เรืองสกุล

Website : www.kiatnakin.co.th

จำนวนสาขา : 52 สาขา

จุดเด่น : เพื่อให้บริการทางการเงินที่หลากหลาย อาทิ บริการด้านเงินฝากประจำ ออมทรัพย์ กระแสรายวัน ประกันชีวิต สินเชื่อรถยนต์ สินเชื่อพัฒนาโครงการ สินเชื่อธุรกิจอพาร์ทเม้นท์ สินเชื่อธุรกิจฟลอร์แพลน สินเชื่อเพื่อธุรกิจขนส่ง สินเชื่อธุรกิจสิ่งพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ธนาคารเกียรตินาคิน ได้รับการจัดอันดับความน่าเชื่อถือ ระดับ A- จากบริษัท ทริส เรทติ้ง จำกัด แนวโน้มอันดับเครดิต Stable หรือคงที่ ซึ่งสะท้อนถึงความน่าเชื่อถือของธนาคาร ในสายตาของลูกค้าและนักลงทุนรวมถึงความมั่นคงทางการเงินที่สูง

13. ชื่อย่อ : CitiBank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : ธนาคารซิตี้แบงก์ เอ็น.เอ. สาขากรุงเทพฯเลขที่ 399 ถนนสุขุมวิท อาคารอินเตอร์เชนจ์ 21 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายปีเตอร์  เอเลียต

Website : www.citibank.co.th

จำนวนสาขา : 47 สาขา

จุดเด่น : ธนาคารซิตี้แบงก์ และบริษัทในเครือซิตี้กรุ๊ปให้บริการแก่ลูกค้ารายย่อย และลูกค้าสถาบันมากกว่าสถาบันการเงินอื่นใด ซิตี้กรุ๊ปสามารถให้บริการการเงินตอบสนองลูกค้าได้ดียิ่งขึ้น

 

 

เพิ่มเติม : นางสาวนิสา พจนาท รหัส 50473010007

สาขาวิชา เศรษศาสตร์ธุรกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

----------------------------------------------------------------------------

ชื่อย่อ : BBL

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : เลขที่ 333 ถนนสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร

กรรมการผู้จัดการใหญ่   : นายชาติศิริ  โสภณพนิช

Website www.bangkokbank.com

จำนวนสาขา : 950 สาขา

จุดเด่น : จดทะเบียนก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2487 โดยข้าราชการ นักธุรกิจ และกลุ่มบุคคลที่มีแนวคิดเดียวกัน มีสโลแกนที่ว่า "เพื่อนคู่คิด มิตรคู่บ้าน"

ชื่อย่อ : TMB

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ :3000 ถ.พหลโยธิน จอมพล จตุจักร กรุงเทพฯ 10900

โทรศัพท์ : 0-2299-1111

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นางเสาวนีย์ กมลบุตร

Website www.tmbbank.com

จำนวนสาขา : 480 สาขา

จุดเด่น : เป็นธนาคารไทยชั้นนำ มาตรฐานระดับโลก 

ป็นธนาคารของประเทศไทย ก่อตั้งโดย จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เมื่อวันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2499 มีทุนจดทะเบียนเริ่มแรก 10 ล้านบาท สำนักงานใหญ่แห่งแรกตั้งอยู่ที่ อาคาร 2 ถนนราชดำเนิน จังหวัดพระนคร(กรุงเทพมหานครในปัจจุบัน) มีพนักงานเริ่มแรก 26 คน

ชื่อย่อ : KRUNGSRI Bank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : สาขาสำนักพระรามที่ 3 (สำนักงานใหญ่) 1222 ถนนพระราม3 แขวงบางโพงพาง

เขตยานนาวา จังหวัดกรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์: 0 2296 2000 

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายมาร์ค จอห์น อาร์โนลด์

Websitewww.krungsri.com

จำนวนสาขา : ในประเทศ 577 สาขา ต่างประเทศ 4 สาขา

จุดเด่น :ทีมงานกลมเกลียว หนึ่งเดียว มุ่งมั่นมอบผลิตภัณฑ์และบริการสุดประทับใจ เพื่อเป็นธนาคารอันดับหนึ่งในใจ

ชื่อย่อ : KKBank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 500 อาคารอัมรินทร์ ทาวเวอร์ ชั้น 11 ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330โทรศัพท์ 0-2680-3333

 

กรรมการผู้จัดการใหญ่ :  นางสาวนวพร เรืองสกุล

Websitewww.kiatnakin.co.th

จำนวนสาขา : 52 สาขา

จุดเด่น : เป็นธนาคารพาณิชย์เต็มรูปแบบ (Commercial Bank) ซึ่งเปิดดำเนินการอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม 2548 เพื่อให้บริการทางการเงินที่หลากหลาย อาทิ บริการด้านเงินฝากประจำ ออมทรัพย์ กระแสรายวัน ประกันชีวิต สินเชื่อรถยนต์ สินเชื่อพัฒนาโครงการ สินเชื่อธุรกิจอพาร์ทเม้นท์ สินเชื่อธุรกิจฟลอร์แพลน สินเชื่อเพื่อธุรกิจขนส่ง สินเชื่อธุรกิจสิ่งพิมพ์และบรรจุภัณฑ์

ชื่อย่อ : KBank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : อาคารราษฎร์บูรณะ  1 ซอยราษฎร์บูรณะ 27/1 ถนนราษฎร์บูรณะ แขวงราษฎร์บูรณะ เขตราษฎร์บูรณะ กรุงเทพฯ 10140  โทรศัพท์:   00 2222 0000

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายบรรยงค์ ล่ำซำ  

Websitewww.kasikornbank.com

จำนวนสาขา : 595 สาขา

จุดเด่น : ธนาคารกสิกรไทยมุ่งมั่นเป็นสถาบันการเงินที่มั่นคงที่สุด ที่ริเริ่มในสิ่งใหม่ และกระทำทุกวิถีทางเพื่อเป็นสถาบันการเงินไทยที่ให้บริการอย่างดีที่สุดแก่ลูกค้า

ชื่อย่อ : CitiBank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : ธนาคารซิตี้แบงก์ เอ็น.เอ. สาขากรุงเทพฯเลขที่ 399 ถนนสุขุมวิท อาคารอินเตอร์เชนจ์ 21 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายปีเตอร์  เอเลียต

Websitewww.citibank.co.th

จำนวนสาขา : 47 สาขา

จุดเด่น : ธนาคารซิตี้แบงก์ และบริษัทในเครือซิตี้กรุ๊ปให้บริการแก่ลูกค้ารายย่อย และลูกค้าสถาบันมากกว่าสถาบันการเงินอื่นใด ธนาคารซิตี้แบงก์เริ่มเปิดดำเนินกิจการ ในมหานครนิวยอร์คในปี พ.ศ. 2355 ปัจจุบันธนาคารมีเครือข่ายครอบคลุมทั่วโลก มากกว่า 3,000 สาขาใน 100 ประเทศ กิจการบุคคลธนกิจของธนาคารให้บริการบัตรเครดิตกว่า 60 ล้านใบทั่วโลก จาก เครือข่ายที่กว้างไกลของธนาคารทำให้สามารถให้บริการด้านเงินทุน และธุรกรรมการเงินเพื่อตอบสนองลูกค้าสถาบันทั้งในและต่างประเทศ รวมทั้งประเทศในตลาดเกิดใหม่

ซิตี้กรุ๊ปมีเจ้าหน้าที่มากกว่า 255,000 คนทั่วโลก ซึ่งได้รับความไว้วางใจจากลูกค้า และนักลงทุน   เจ้าหน้าที่ของเราเป็นผู้มีความสามารถ มีประสบการณ์ มีประสิทธิภาพสูงซึ่งทำให้เรามีความโดดเด่นมากกว่าสถาบันการเงินอื่นใด ทำให้
ซิตี้กรุ๊ปสามารถให้บริการการเงินตอบสนองลูกค้าได้ดียิ่งขึ้น

ชื่อย่อ : CIMB

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : เลขที่ 44 ถนนหลังสวน แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
โทรศัพท์: 0-2626-7000 
กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายสุภัค ศิวะรักษ์

 
 

Websitewww.cimbthai.com

จำนวนสาขา : 147 สาขา

จุดเด่น : ธนาคารตระหนักถึงสิทธิความเป็นส่วนบุคคลในข้อมูลของผู้ใช้บริการ  และพยายามอย่างยิ่งที่จะให้ผู้ใช้บริการได้รับความปลอดภัยสูงสุดจากการใช้ช่องทางนี้สำหรับการดำเนินธุรกรรมต่างๆ ของผู้ใช้กับธนาคาร    ดังนั้นข้อมูลต่างๆ ที่ได้รับธนาคารจะเก็บรักษา และดำเนินการอย่างเข้มงวดเพื่อรักษาความปลอดภัย และป้องกันการนำข้อมูลต่างๆ ไปใช้โดยมีเจตนาที่ไม่สุจริต ตามเกณฑ์มาตรฐานสำหรับการรักษาข้อมูลที่เป็นความลับ

ชื่อย่อ : Tisco Bank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 48/2 ถนนสาทรเหนือแขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทรศัพท์0 2633 6000

กรรมการผู้จัดการใหญ่ :  นายสุทัศน์ เรืองมานะมงคล  กรรมการผู้จัดการใหญ่

Websitewww.tisco.co.th

จำนวนสาขา : 46 สาขา

จุดเด่น ทิสโก้เป็นสถาบันการเงินที่ประกอบธุรกิจด้วยมาตรฐานสูงสุดของการกำกับดูแลกิจการที่ดี เราทุ่มเท สร้างสรรค์คุณค่าที่ยั่งยืน เพื่อลูกค้า ผู้ถือหุ้น พนักงาน และสังคม" 

 

 

 

นายณัฐพงศ์ พงศ์กิดาการ

เพิ่มเติม นายณัฐพงศ์ พงศ์กิดาการ รหัสนักศึกษา 50473010024

สาขาวิชา เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ  มหาวิทยาลัย ราชภัฎสวนสุนันทา

ธนาคารของรัฐบาล
1.ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย
1.ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร

ชื่อย่อ : ธ.ก.ส.
ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : สำนักงานใหญ่   เลขที่ 469 ถนน นครสวรรค์ เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300 โทร (662) 280-0180, 281-7355 โทรสาร (662) 280-0442, 281-6164, 280-5320 
ธ.ก.ส. Call Center 0-2555-0555
อีเมล์: [email protected]

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายกรณ์ จาติกวณิช รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ตำแหน่งประธานกรรมการ

            นายลักษณ์ วจนานวัช     ผู้จัดการ

Website : www.baac.or.th
จำนวนสาขา : 886 สาขา
จุดเด่น : ทำหน้าที่อำนวยสินเชื่อทางการเกษตรอย่างกว้างขวาง ทั้งโดยตรงและสู่สถาบันเกษตรกร มุ่งให้ความช่วยเหลือทางการเงิน เพื่อส่งเสริมอาชีพการเกษตรหรือการดำเนินงานของเกษตรกร กลุ่มเกษตรกร หรือสหกรณ์การเกษตร ตลอดจนส่งเสริมให้ เกษตรกร กลุ่มเกษตรกร หรือ สหกรณ์การเกษตร สามารถประกอบอาชีพอย่างอื่นที่เกี่ยวเนื่องในการเกษตร เพื่อเพิ่มรายได้ให้แก่ครอบครัวเกษตรกร รวมทั้งให้บริการรับฝากเงิน เช่นเดียวกับธนาคารพาณิชย์ทั่วไปอีกด้วย

2.ธนาคารออมสิน

 

 ชื่อย่อ : GSB
ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 

สำนักงานใหญ่ : ธนาคารออมสินในปัจจุบัน 
ตั้งอยู่ที่ ถ.พหลโยธิน บริเวณสี่แยกสะพานควาย 
เปิดทำการเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2509

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายวินัย วิทวัสการเวช  ประธานกรรมการ
Website : www.gsb.or.th
จำนวนสาขา : 400 สาขา
จุดเด่น : เป็นธนาคารเพื่อลูกค้ารายย่อย จะเน้นให้สินเชื่อเพื่อพัฒนาชนบท พัฒนาผู้ประกอบการรายย่อย โดยจะมีรูปแบบของสินเชื่อและชนิดการฝากเงินรายย่อยมากมาย อีกทั้งยังสร้างเงินทุนหมุนเวียนในกลุ่มชุมชน โครงการธนาคารเพื่อประชาชนโดยให้สิ้นเชื่อระยะสั้นแก่ผู้ประกอบการรายย่อย (ให้ประชาชนมาเป็นหนี้ในระบบ ที่สามารถตรวจสอบได้ และการเก็บดอกเบี้ยตามความเป็นจริง) เป็นช่องทางการรับ-จ่ายเงินกู้จากโครงการกองทุนหมู่บ่นและชุมชนเมือง อีกทั้งยังลงทุนในการพัฒนาประเทศของหน่วยงานรัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ ให้บริการรูปแบบเงินฝากที่หลายหลายรูปแบบที่เหมาะกับแต่ละช่วงวัย และมีการให้บริการตามหลักศาสนาอิสลาม

3.ธนาคารพัฒนารัฐวิสาหกิจ

ชื่อย่อ : ธพว. หรือ SME Bank

ที่ตั้งธนาคาร ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย (SME BANK)
SME BANK Tower เลขที่ 310 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 
Website: http://www.smebank.co.th

กรรมการผู้จัดการใหญ่ :   นายพงษ์ภาณุ   เศวตรุนทร์
WebSite : www.smebank.co.th
จำนวนสาขา : 95 สาขา
จุดเด่น : เพื่อประกอบธุรกิจอันเป็นการพัฒนา ส่งเสริม ช่วยเหลือ และสนับสนุนการจัดตั้ง การดำเนินงาน การขยาย หรือการปรับปรุงวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม โดยการให้สินเชื่อค้ำประกัน ร่วมลงทุน สนับสนุนบริการทางการเงิน ให้คำปรึกษาแนะนำหรือให้บริการที่จำเป็นแก่ผู้ประกอบการไทย มีฐานะเป็นนิติบุคคลโดยมีผู้ถือหุ้นทั้งภาครัฐและเอกชนร่วมกัน (จาก พ.ร.บ. ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2545 มาตรา 8 ให้กำหนดทุนเรือนหุ้นของธนาคารไว้หนึ่งหมื่นล้านบาท แบ่งออกเป็นหนึ่งร้อยล้านหุ้น มูลค่าหุ้นละหนึ่งร้อยบาท โดยให้ธนาคารขายหุ้นให้แก่กระทรวงการคลัง สถาบันการเงิน หรือบุคคลอื่น ทั้งนี้ ตามที่กำหนดไว้ในข้อบังคับของธนาคาร

4. ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย

ชื่อย่อ : -

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย (สำนักงานใหญ่)

เลขที่ 66 ชั้น M, 21, 22 อาคารคิวเฮ้าส์ ถนนสุขุมวิท 21  แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา
กรุงเทพมหานคร 10110
โทรศัพท์ : 0-2650-6999  แฟกซ์ : 0-2664-3345
อีเมล์ : [email protected]  SWIFT : TIBTTHBK
กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายธีรศักดิ์    สุวรรณยศ
Websitewww.ibank.co.th
จำนวนสาขา : 28 สาขา
จุดเด่น : เป็นธนาคารที่ดำเนินธุรกรรมโดยปราศจากดอกเบี้ย แต่อยู่บนหลักการ กำไร-ขาดทุนร่วมกัน และดำเนินธุรกิจตาม พ.ร.บ.ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2545 โดยมีคณะที่ปรึกษาด้านศาสนาให้คำแนะนำ ตรวจสอบ เพื่อให้ธนาคารดำเนินงานถูกต้องตามหลักศาสนาอิสลาม ปัจจุบันธนาคารมีฐานะเป็นรัฐวิสาหกิจ สังกัดกระทรวงการคลัง

5.ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย

ชื่อย่อ : ธสน. หรือ EXIM Bank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่

อาคารเอ็กซิม 1193 ถนนพหลโยธิน พญาไท กรุงเทพฯ 10400

 

โทร. :  

 0 2271 3700
 0 2278 0047
 0 2617 2111  

 

โทรสาร :  

 0 2271 3204

 

เทเล็กซ์ :  

 20893 EXIMBK TH

 

SWIFT Code :  

 EXTHTHBK

 

อีเมล :  

 [email protected]

       

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายณรงค์ชัย อัครเศรณี
Website : www.exim.go.th
จำนวนสาขา : 16 สาขา
จุดเด่น : ให้สินเชื่อได้ทุกรูปแบบ เช่น สินเชื่อระยะสั้นและสินเชื่อระยะยาว สินเชื่อในประเทศและสินเชื่อต่างประเทศ โดยสามารถทำธุรกิจได้ทั้งที่เป็นสกุลเงินบาทและสกุลเงินตราต่างประเทศ นอกจากนี้ยังสามารถกู้ยืมเงินจากสถาบันการเงินทุกประเภททั้งในประเทศและต่างประเทศและออกตราสารการเงินระยะสั้นและระยะยาวขายแก่สถาบันการเงินและประชาชนทั่วไปทั้งในประเทศและต่างประเทศ กล่าวโดยสรุป ธสน. สามารถทำธุรกิจทุกประเภทที่ธนาคารพาณิชย์ทำได้ ยกเว้นเพียงการรับฝากเงินจากประชาชนทั่วไปเท่านั้น สำหรับนักลงทุนไทยที่ไปลงทุนในต่างประเทศ สนับสนุนการลงทุนในรูปของการให้บริการทางการเงินทั้งสินเชื่อระยะสั้นและระยะยาว และเพื่อเป็นการเพิ่มความมั่นใจให้แก่นักลงทุน ยังพร้อมที่จะร่วมลงทุนถือหุ้นในกิจการอีกด้วย การรับประกันความเสี่ยงในการเรียกเก็บเงินจากการส่งออก

6.ธนาคารอาคารสงเคราะห์ 

 

ชื่อย่อ : ธอส. หรือ GH Bank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : สำนั

ที่อยู่

:

63 ถ.พระรามที่ 9 ห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10320

โทรศัพท์

:

0-2645-9000

โทรสาร

:

0-2645-9001

 

กรรมการผู้จัดการใหญ่ :    นายชัยเกษม นิติสิริ  ประธานกรรมการWebsite : www.ghbank.co.th
จำนวนสาขา : 146 สาขา
จุดเด่น : เป็นธนาคารทำหน้าที่ช่วยเหลือทางการเงินให้กับประชาชน ได้มีที่อยู่อาศัยตามสมควรแก่อัตภาพ โดยการให้กู้ยืมเงิน และ จัดสรรที่ดินเพื่อก่อสร้างที่เป็นหน่วยงานของรัฐบาลที่ประกอบธุรกิจในการส่งเสริมและช่วยเหลือประชาชนนำเงินไป ลงทุนเกี่ยวกับการสร้างอาคารและที่ดินโดยตรงทำหน้าที่เสมือนสื่อกลางในการนำเงินไปใช้ประโยชน์ ใน กิจการเคหะและเป็นสถาบันการเงินที่ดำเนินธุรกิจ อีกทั้งยัง ร่วมมือกับหน่วยงานของรัฐต่างๆ สนับสนุนให้ประชาชนมีที่อยู่เป็นของตนเอง อาทิ ให้สินเชื่อกับผู้ที่ซื้อบ้านกับการเคหะแห่งชาติ สินเชื่อกับผู้ประกันตนกับสำนักงานประกันสังคม ร่วมกับกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการให้สมาชิกกู้เงินเพื่ออสังหาริมทรัพทย์ ความช่วยเหลือด้านการมีบ้าน

ธนาคารพาณิชย์ของรัฐบาล : 
7.ธนาคารทหารไทย

 
ชื่อย่อ : TMB
ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : ธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน)3000 ถ.พหลโยธิน จอมพล จตุจักร กรุงเทพฯ 10900
โทรศัพท์ : 0-2299-1111
กรรมการผู้จัดการใหญ่ :  นางเสาวนีย์  กมลบุตร
Website www.tmbbank.com
จำนวนสาขา : 480 สาขา
จุดเด่น : เป็นธนาคารของประเทศไทย ก่อตั้งโดย จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เมื่อวันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2499 มีทุนจดทะเบียนเริ่มแรก 10 ล้านบาท สำนักงานใหญ่แห่งแรกตั้งอยู่ที่ อาคาร 2 ถนนราชดำเนิน จังหวัดพระนคร(กรุงเทพมหานครในปัจจุบัน) มีพนักงานเริ่มแรก 26 คน
               ในระยะแรกแม้จะเป็นธนาคารพาณิชย์มีใบอนุญาตประกอบกิจการได้ทั่วไป แต่จำกัดการทำพาณิชยกรรมอยู่ในแวดวงจำกัดดังนี้

  1. ผู้ถือหุ้น ต้องเป็นทหารเท่านั้น บุคคลทั่วไปถือหุ้นไม่ได้
  2. ลูกค้า มุ่งรับฝากจากทหารและครอบครัวทหารเป็นส่วนใหญ่

วัตถุประสงค์ เพื่ออำนวยความสะดวกในการให้บริหารทางการเงินแก่หน่วยงานทหาร และเพิ่มสวัสดิการการเงินแก่ข้าราชการทหาร

8. ธนาคารกรุงไทย

 

ชื่อย่อ : KTB
ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 35 ถนนสุขุมวิท เขตวัฒนา กรุงเทพฯ
กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์
Websitewww.ktb.co.th
จำนวนสาขา : 800 สาขา
จุดเด่นธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) (อังกฤษ: Krung Thai Bank Public Company Limited) เป็นธนาคารของรัฐ อยู่ภายใต้การกำกับดูแลของกระทรวงการคลัง ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2509โดยการควบกิจการของธนาคารมณฑลและธนาคารเกษตร ซึ่งเป็นธนาคารที่รัฐบาลถือหุ้นใหญ่ทั้งคู่ และใช้ชื่อธนาคารใหม่ที่เกิดจากการควบรวมว่า "ธนาคารกรุงไทย จำกัด" มีตราสัญลักษณ์เป็นรูป นกวายุภักษ์ ซึ่งเป็นตราสัญลักษณ์ของกระทรวงการคลังเป็นสัญลักษณ์ของธนาคาร

ในระยะแรกของการก่อตั้ง มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่ถนนเยาวราช วัตถุประสงค์ของการรวมธนาคารทั้งสองให้เป็นของรัฐ จนสำนักงานใหญ่เดิมที่ถนนเยาวราช คับแคบ จึงย้ายสำนักงานมาที่ 35 ถนนสุขุมวิท เขตวัฒนา กรุงเทพฯ เมื่อปี พ.ศ. 2525 

ธนาคารกรุงไทยได้เริ่มดำเนินกิจการมา มีการเจริญเติบโตที่มั่นคง รวดเร็ว   จนกระทั่งเมื่อปี พ.ศ. 2531 ธนาคารกรุงไทย เป็นธนาคารเพียงแห่งเดียวในสมัยนั้น ที่มีสาขาและเอทีเอ็ม (ATM) ครบทุกจังหวัดทั่วประเทศ
             ธนาคารกรุงไทยเป็นรัฐวิสาหกิจ แห่งแรกในประเทศไทยที่เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2532 ปัจจุบันผู้ถือหุ้นใหญ่คือกระทรวงการคลัง โดยถือหุ้นผ่านกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน จำนวน 6.184 พันล้านหุ้น คิดเป็น 55.31% ของหุ้นทั้งหมด

 นอกจากพาณิชยกรรมเช่นธนาคารพาณิชย์ทั่วไปแล้ว ธนาคารกรุงไทยยังเป็นช่องทางของรัฐบาลในการให้บริการทางการเงินสนองตามนโยบายของรัฐ โดยปล่อยสินเชื่อให้ธุรกิจบางประเภท เช่น สินเชื่อเพื่อโอท็อป (OTOP : หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์) สินเชื่อคอมพิวเตอร์ไอซีที สินเชื่อเพื่อการศึกษา ฯลฯ ธนาคารกรุงไทยยังเป็นธนาคารที่หน่วยงานราชการส่วนใหญ่เลือกใช้ อาทิเช่น กรมสรรพากร จ่ายเช็คคืนภาษีเป็นเช็คของธนาคารกรุงไทย และการเบิกจ่าย

      เวลาทำการของธนาคารกรุงไทยนั้นแตกต่างจากธนาคารพาณิชย์ทั่วไปที่ปรับตามสภาวะเศรษฐกิจและความเหมาะสมในการดำเนินพาณิชยกรรม แต่เวลาทำการของธนาคารกรุงไทยสอดคล้องกับเวลาทำการของรัฐวิสาหกิจและราชการมากกว่า เช่นในปัจจุบันที่เปิดทำการถึงเวลา 16.30 น. ขณะที่ธนาคารพาณิชย์อื่นๆ ปิดทำการก่อนหน้านั้น

ธนาคารพาณิชย์ :

1.ธนาคารกรุงเทพ

 

ชื่อย่อ : BBL
ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : เลขที่ 333  ถนนสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร
กรรมการผู้จัดการใหญ่ :

Website : www.bangkokbank.com
จำนวนสาขา : 950 สาขา
จุดเด่น : จดทะเบียนก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2487 โดยข้าราชการ นักธุรกิจ และกลุ่มบุคคลที่มีแนวคิดเดียวกัน มีสโลแกนที่ว่า "เพื่อนคู่คิด มิตรคู่บ้าน"

รายงานผลการสำรวจธนาคารยอดเยี่ยมในประเทศกำลังพัฒนาประจำปี 2546 ซึ่งตีพิมพ์ใน นิตยสารโกลบอล ไฟแนนซ์ ฉบับประจำเดือนพฤษภาคม 2546 ได้กล่าวถึง ธนาคารกรุงเทพ ว่าเป็นธนาคารที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย

2.ธนาคารไทยพาณิชย์

 

ชื่อย่อ : SCB

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ :เลขที่ 9 ถนนรัชดาภิเษก แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร 10900

 

กรรมการผู้จัดการใหญ่ :  คุณหญิงชฎา วัฒนศิริธรรม

Website : www.scb.co.th

จำนวนสาขา : 873 สาขา

จุดเด่น: 

3. ธนาคารกรุงศรีอยุธยา 


ชื่อย่อ : KRUNGSRI Bank
ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : สาขาสำนักพระรามที่ 3 (สำนักงานใหญ่) (รหัสสาขา 777)1222 ถนนพระราม3 แขวงบางโพงพางเขตยานนาวา จังหวัดกรุงเทพฯ 10120 
โทรศัพท์: 0 - 2296 - 2000 
เวลาทำการ: จันทร์ - ศุกร์  เวลา 8.00 - 16.30 น
กรรมการผู้จัดการใหญ่ : 

นายมาร์ค จอห์น อาร์โนลด์

ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่

Website : www.krungsri.com
จำนวนสาขา : ในประเทศ 577 สาขา ต่างประเทศ 4 สาขา
จุดเด่น : เป็นธนาคารของประเทศไทย ก่อตั้งเมื่อวันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2488 มีสำนักงานใหญ่แห่งแรกที่ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซึ่งเป็นอาณาจักรเก่าในประเทศไทย เปิดดำเนินการเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2488  ต่อจากนั้นได้ก่อตั้งสำนักงานในกรุงเทพมหานคร ณ ถนนราชวงศ์ และย้ายสำนักงานใหญ่มาตั้งอยู่ที่ ถนนอนุวงศ์ และ ถนนลำพูนไชย ในปี พ.ศ. 2491 และ พ.ศ. 2493 
           วันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2513 ธนาคารได้รับตรา ครุฑ มาประดิษฐาน ณ ธนาคาร ในปีเดียวกันได้ย้ายสำนักงานใหญ่มาอยู่ ถนนเพลินจิต ในวันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2520 ธนาคารได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ในวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2536 ธนาคารได้แปรสภาพเป็น บริษัทมหาชน

ในเดือน ธันวาคม พ.ศ. 2539 ธนาคารได้ย้ายสำนักงานใหญ่มาอยู่ที่ ถนนพระราม 3  และใช้สำนักงานที่ถนนพระราม 3 มาตั้งแต่นั้นจนถึงปัจจุบัน

4. ธนาคารธนชาต

 

ชื่อย่อ : TNC Bank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ เลขที่ 900 อาคารต้นสนทาวเวอร์ ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายบันเทิง ตันติวิท ประธานกรรมการ

Website : www.thanachartbank.co.th

จำนวนสาขา : 50 สาขา

จุดเด่น : ก่อนมาเป็น ธนาคารธนชาต ในปี 2541 กระทรวงการคลังประกาศออกใบอนุญาตประกอบการธนาคารพาณิชย์แบบจำกัดขอบเขตธุรกิจ แทน ใบอนุญาตประกอบการ Super Finance ตามนโยบายสนับสนุนการรวมกิจการระหว่างสถาบันการเงิน
              ต่อมาในปี 2542 บริษัท ทุนธนชาต จำกัด (มหาชน) ได้ยื่นต่อธนาคารแห่งประเทศไทยเพื่อขออนุมัติใบอนุญาตประกอบการธนาคารพาณิชย์แบบจำกัดขอบเขตธุรกิจ จากนั้นธนาคาร ธนชาตก็ได้เร

นายณัฐพงศ์ พงศ์กิดาการ

เพิ่มเติม นายณัฐพงศ์ พงศ์กิดาการ รหัสนักศึกษา 50473010024

สาขาวิชา เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ  มหาวิทยาลัย ราชภัฎสวนสุนันทา

 

เริ่มเปิดให้บริการเป็นวันแรกในวันที่ 22 เมษายน และในวันที่ 1 มีนาคม 2547 ธนาคารธนชาต จำกัด (มหาชน) ก็ได้รับใบอนุญาตประกอบการธนาคารพาณิชย์เต็มรูปแบบ  
            หลังจากนั้น ธนาคารแห่งโนวาสโกเทีย (สโกเทียแบงค์) ธนาคารที่ได้รับการยอมรับโดยทั่วไปว่าเป็นธนาคารที่มีความมั่นคงอันดับต้นๆ ของโลก ได้เข้ามาร่วมถือหุ้นธนาคารธนชาตอยู่ร้อยละ 49 และเมื่อวันที่ 11 มี.ค.53 ธนาคารธนชาตได้รับเลือกจากกองทุนฟื้นฟูฯ ให้เข้าซื้อหุ้นธนาคารนครหลวงไทย ซึ่งจะทำให้ธนาคารธนชาตเป็นธนาคารพาณิชย์อันดับ 5 ของไทย มีสินทรัพย์ 8.57 แสนล้านบาท มีสาขารวม 687 แห่งทั่วประเทศ

5. ธนาคารกสิกรไทย

  ชื่อย่อ : KBank
ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : อาคารราษฎร์บูรณะ
ที่อยู่:ซอยราษฎร์บูรณะ 27/1 ถนนราษฎร์บูรณะ แขวงราษฎร์บูรณะ เขตราษฎร์บูรณะ กรุงเทพฯ 10140 
โทรศัพท์:00 2222 0000 กด 1  โทรสาร : 0 470 1144-5 
E-mail : [email protected]
กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายบรรยงค์ ล่ำซำ  - ประธานกรรมการ  - กรรมการที่ปรึกษาแก่คณะจัดการ
Website : www.kasikornbank.com
จำนวนสาขา :  595 สาขา
จุดเด่น : ธนาคารกสิกรไทยมุ่งมั่นเป็นสถาบันการเงินที่มั่นคงที่สุด ที่ริเริ่มในสิ่งใหม่ และกระทำทุกวิถีทางเพื่อเป็นสถาบันการเงินไทยที่ให้บริการอย่างดีที่สุดแก่ลูกค้า

6. ธนาคารนครหลวงไทย

 

ชื่อย่อ : SCIB

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 1101 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400

โทร. (662) 208-5000
อีเมล์: [email protected]

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายชัยวัฒน์ อุทัยวรรณ์  ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่

Website : www.scib.co.th

จำนวนสาขา : 400 สาขา

จุดเด่น : เป็นธนาคารของประเทศไทย ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2484 ในชื่อ "ธนาคารนครหลวงแห่งประเทศไทย"โดยคณะบุคคลของรัฐบาลร่วมกับสมาชิกในราชวงศ์ ด้วยทุนจดทะเบียน
 ต่อมาในปี พ.ศ. 2487 ได้เปลี่ยนชื่อมาเป็นชื่อที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน

ภายหลังการควบรวมกับธนาคารศรีนครในเดือนเมษายน พ.ศ. 2545 ธนาคารได้นำหุ้นกลับเข้าซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์เมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2546 ปัจจุบันธนาคารมีขนาดของสินทรัพย์ใหญ่เป็นอันดับ 7 ของธนาคารพาณิชย์ไทย ณ สิ้นเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2551 ธนาคารมีทุนจดทะเบียนทั้งสิ้น 21,128 ล้านบาท มีสินทรัพย์รวมจำนวน 410,132 ล้านบาท สินเชื่อจำนวน 255,693 ล้านบาท เงินฝากจำนวน 340,039 ล้านบาท และสาขา 405 สาขาทั่วประเทศ มีกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงินเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ในสัดส่วน 47.58 % ส่วนที่เหลืออีก 52.42 % เป็น Free Float ในตลาด หุ้นของธนาคารมีมูลค่าตลาดเท่ากับ 32,115 ล้านบาท

7. ธนาคารซิติแบงก์

 

ชื่อย่อ : CitiBank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : ธนาคารซิตี้แบงก์ เอ็น.เอ. สาขากรุงเทพฯเลขที่ 399 ถนนสุขุมวิท อาคารอินเตอร์เชนจ์ 21 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : 

Website : www.citibank.co.th

จำนวนสาขา : 47 สาขา

จุดเด่น : ธนาคารซิตี้แบงก์ และบริษัทในเครือซิตี้กรุ๊ปให้บริการแก่ลูกค้ารายย่อย และลูกค้าสถาบันมากกว่าสถาบันการเงินอื่นใด ธนาคารซิตี้แบงก์เริ่มเปิดดำเนินกิจการ ในมหานครนิวยอร์คในปี พ.ศ. 2355 ปัจจุบันธนาคารมีเครือข่ายครอบคลุมทั่วโลก มากกว่า 3,000 สาขาใน 100 ประเทศ กิจการบุคคลธนกิจของธนาคารให้บริการบัตรเครดิตกว่า 60 ล้านใบทั่วโลก จาก เครือข่ายที่กว้างไกลของธนาคารทำให้สามารถให้บริการด้านเงินทุน และธุรกรรมการเงินเพื่อตอบสนองลูกค้าสถาบันทั้งในและต่างประเทศ รวมทั้งประเทศในตลาดเกิดใหม่

                 ได้รับความไว้วางใจจากลูกค้า และนักลงทุน   เจ้าหน้าที่ของเราเป็นผู้มีความสามารถ มีประสบการณ์ มีประสิทธิภาพสูงซึ่งทำให้เรามีความโดดเด่นมากกว่าสถาบันการเงินอื่นใด ทำให้ซิตี้กรุ๊ปสามารถให้บริการการเงินตอบสนองลูกค้าได้ดียิ่งขึ้น

8. ธนาคารซีไอเอ็มบี ไทย

 

ชื่อย่อ : CIMB

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : อาคารหลังสวน (สำนักงานใหญ่)  เลขที่ 44 ถนนหลังสวน แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
โทรศัพท์: 0-2626-7000   โทรสาร: 0-26573-3333

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : 

นายสุภัค  ศิวะรักษ์

 

 

Website : www.cimbthai.com

จำนวนสาขา : 147 สาขา

จุดเด่น : ธนาคาร ซีไอเอ็มบี ไทย จำกัด (มหาชน) เดิมชื่อ ธนาคาร ไทยธนาคาร จำกัด (มหาชน) ก่อตั้งขึ้นตั้งแต่ปีพ.ศ. 2541 โดยมีกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงินเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ที่สุดของธนาคารมาโดยตลอด จากนั้นเมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 กลุ่มซีไอเอ็มบี โดย CIMB Bank Berhad ได้เข้าเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ที่สุดในไทยธนาคาร และได้ดำเนินการจดทะเบียนเปลี่ยนชื่อจากธนาคารไทยธนาคาร เป็น ธนาคาร ซีไอเอ็มบี ไทย จำกัด (มหาชน) หรือ “CIMB Thai Bank Public Company Limited” ในภาษาอังกฤษ เมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2552 ซึ่งชื่อใหม่ของธนาคารนี้ นับเป็นการสะท้อนถึงการส่งผ่านไทยธนาคารเข้าสู่การเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มซีไอเอ็มบีอย่างเป็นทางการ

กลุ่มซีไอเอ็มบี ดำเนินธุรกิจในฐานะของธนาคารผู้ให้บริการทางการเงินอย่างครบวงจร (Universal Bank)
            ปัจจุบัน กลุ่มซีไอเอ็มบีมีฐานการตลาดหลักด้านการเงินธนาคารแบบครบวงจรในประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซีย สิงคโปร์ และไทย นอกจากนี้ ยังมีเครือข่ายทั่วภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตลอดจนศูนย์ให้บริการทางการเงินทั่วโลก รวมถึงในประเทศต่างๆ ที่ลูกค้ามีธุรกิจและการลงทุนอยู่
             กลุ่มซีไอเอ็มบี ถือหุ้นโดย Bumiputra – Commerce Holdings Bhd ซึ่งเป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศมาเลเซีย ด้วยมูลค่าตลาด (Market Capitalization) เกือบ 49.7 พันล้านริงกิต หรือเกือบ 5 แสนล้านบาท และมีพนักงานรวมกว่า 36,000 คน ประจำอยู่ใน 11 ประเทศ

9.ธนาคารยูโอบี

ชื่อย่อ : UOB

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : ธนาคารยูโอบี จำกัด (มหาชน) 191 ถนนสาทรใต้ กรุงเทพฯ 10120
โทรศัพท์ : 0-2343-3000  โทรสาร : 0-2287-2973-4
กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นาย หว่อง คิม ชุง
Website : www.uob.co.th

จำนวนสาขา : 154 สาขา
จุดเด่น : ธนาคารยูโอบี จำกัด (มหาชน) เกิดจากการรวมกิจการของธนาคารเอเชีย จำกัด (มหาชน) และธนาคารยูโอบีรัตนสิน จำกัด (มหาชน) เมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2548 เป็นธนาคารพาณิชย์ที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 9 ของประเทศไทย มีสินทรัพย์มูลค่ารวม 206,000 ล้านบาท ณ วันที่ 30 กันยายนพ.ศ. 2548 ปัจจุบันมีสาขาทั่วประเทศ 154 สาขา

10.ธนาคารสแตนดาร์ดชาร์เตอร์ดไทย

 ชื่อย่อ : SCNB

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : สำนักงานใหญ่ของธนาคารฯ ตั้งอยู่ที่เลขที่ 90 ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพ 10500

กรรมการผู้จัดการใหญ่ :

      ยุทธเดช ปัทมานนท์

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ฝ่ายธุรกรรมการเงิน ธนาคารสแตนดาร์ดชาร์เตอร์ด (ไทย

Website : www.standardchartered.co.th

จำนวนสาขา : ในประเทศ 41 สาขา และอีกกว่า 1400 สาขาทั่วโลก

จุดเด่น :  กลุ่มธนาคารสแตนดาร์ดชาร์เตอร์ดได้ทำการรวบรวมธนาคารสแตนดาร์ดชาร์เตอร์ด สาขากรุงเทพฯ ซึ่งมีอายุกว่า 111 ปี เข้ากับธนาคารสแตนดาร์ดชาร์เตอร์ดนครธนในเดือนตุลาคม ปี พ.ศ.2548 และธนาคารได้เปลี่ยนชื่อเป็น ธนาคารสแตนดาร์ดชาร์เตอร์ด (ไทย) จำกัด (มหาชน)

              ธนาคารฯ มีธุรกิจหลักคือ บุคคลธนกิจและสถาบันธนกิจ ธุรกิจด้านบุคคลธนกิจให้บริการด้านบัตรเครดิต สินเชื่อบุคคล สินเชื่ออสังหาริมทรัพย์ บริการรับฝากเงิน บริการด้านการบริหารสินทรัพย์ให้แก่ลูกค้ารายบุคคล ลูกค้าเจ้าของธุรกิจรายย่อย จนถึงลูกค้าเจ้าของธุรกิจขนาดกลาง ส่วนสถาบันธนกิจนั้นให้บริการแก่ลูกค้าที่เป็นสถาบันหรือบริษัทในด้านต่างๆ เช่น สินเชื่อพาณิชย์ บริการบริหารเงินสด การบริการเงินทุน บริการด้านหลักทรัพย์ บริการด้านเงินตราต่างประเทศ บริการด้านการกู้ยืมในตลาดทุน และบริการด้านเงินกู้สำหรับธุรกิจ

ธนาคารฯ ได้รับความเชื่อถือและความไว้วางใจจากผู้ที่เกี่ยวข้องตลอดเครือข่ายการทำงานและเป็นองค์กรที่ดำเนินกิจการภายใต้กฎบรรษัทภิบาล รวมทั้งยังเป็นองค์กรที่มีความมุ่งมั่นและสร้างสรรค์สิ่งดีๆ ให้แก่ชุมชนในประเทศไทย

      คือ คำมั่นสัญญาใหม่จากเรา ธนาคารสแตนดาร์ดชาร์เตอร์ด ซึ่งในความเป็นจริงแล้ว สิ่งนี้ก็คือ ความเชื่อดั้งเดิมของเรา เป็นสิ่งที่เรายึดมั่นปฏิบัติมาโดยตลอด 150 ปี และเรายังคงมุ่งมั่นที่จะทำต่อไป เราอยู่ที่นี่เพื่อคุณ เพื่อความก้าวหน้า เพื่ออนาคต เราอยู่ที่นี่ 
เพื่อความยั่งยืนของทุกคน นับจากวันนี้...และตลอดไป

11. ธนาคารทิสโก้

 

ชื่อย่อ : Tisco Bank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 

 
 

 

ธนาคารทิสโก้ จำกัด (มหาชน)
อาคารทิสโก้ทาวเวอร์ 48/2 ถนนสาทรเหนือ
แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 

โทรศัพท์

:

0 2633 6000

โทรสาร

:

0 2633 6800

กรรมการผู้จัดการใหญ่ :   นายสุทัศน์ เรืองมานะมงคล  
กรรมการผู้จัดการใหญ่

Website : www.tisco.co.th

จำนวนสาขา : 46 สาขา

จุดเด่น : 

"ทิสโก้เป็นสถาบันการเงินที่ประกอบธุรกิจด้วยมาตรฐานสูงสุดของการกำกับดูแลกิจการที่ดี เราทุ่มเท สร้างสรรค์คุณค่าที่ยั่งยืน เพื่อลูกค้า ผู้ถือหุ้น พนักงาน และสังคม"

12. ธนาคารเกียรตินาคิน

ชื่อย่อ : KKBank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ :  

500 อาคารอัมรินทร์ ทาวเวอร์ ชั้น 11 ถนนเพลินจิต 
แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
โทรศัพท์ 0-2680-3333  โทรสาร 0-2256-9933

กรรมการผู้จัดการใหญ่ :   นางสาวนวพร  เรืองสกุล

  •  ประธานกรรมการธนาคาร
  •  กรรมการอิสระ
    Website : www.kiatnakin.co.th
    จำนวนสาขา : 52 สาขา
    จุดเด่น : เป็นธนาคารพาณิชย์เต็มรูปแบบ (Commercial Bank) ซึ่งเปิดดำเนินการอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม 2548 เพื่อให้บริการทางการเงินที่หลากหลาย อาทิ บริการด้านเงินฝากประจำ ออมทรัพย์ กระแสรายวัน ประกันชีวิต สินเชื่อรถยนต์ สินเชื่อพัฒนาโครงการ สินเชื่อธุรกิจอพาร์ทเม้นท์ สินเชื่อธุรกิจฟลอร์แพลน สินเชื่อเพื่อธุรกิจขนส่ง สินเชื่อธุรกิจสิ่งพิมพ์และบรรจุภัณฑ์

ธนาคารเกียรตินาคิน ได้รับการจัดอันดับความน่าเชื่อถือ ระดับ A- จากบริษัท ทริส เรทติ้ง จำกัด แนวโน้มอันดับเครดิต Stable หรือคงที่ ซึ่งสะท้อนถึงความน่าเชื่อถือของธนาคาร ในสายตาของลูกค้าและนักลงทุนรวมถึงความมั่นคงทางการเงินที่สูง

13.ธนาคารเมกะสากลพาณิชย์

 

ชื่อย่อ : MEGA Bank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 36/12 พี.เอส.ทาวเวอร์ ซอยสุขุมวิท 21 ถนนอโศก แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร

กรรมการผู้จัดการใหญ่ :

     Rong-Jou Wang

Website : www.megabank.com.tw

จำนวนสาขา :4 สาขา 

จุดเด่น : ประกอบกิจการธนาคารพาณิชย์ รวมทั้งกิจการทั้งปวง ซึ่งเกี่ยวกับธนาคารพาณิชย์ 

14. ธนาคารสินเอเชีย

 

ชื่อย่อ : ACL Bank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : ธนาคารสินเอเซีย จำกัด (มหาชน)
สาขาสำนักงานใหญ่ : ชั้น 11-13 เอ็มโพเรี่ยมทาวเวอร์ เลขที่ 622 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองตัน เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 
โทรศัพท์. 02 663 9999 

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายฮุยเหมิน หยี่  ประธานกรรมการ    นายธงชัย อานันโท Website : www.aclbank.com/th

จำนวนสาขา : 17 สาขา

จุดเด่น : ธนาคารสินเอเซีย จำกัด (มหาชน) หรือในชื่อเดิมคือ บริษัท เงินทุนสินเอเซีย จำกัด (มหาชน) ซึ่งได้รับใบอนุญาตประกอบการธนาคารพาณิชย์จากกระทรวงการคลังและ ธนาคารแห่งประเทศไทย ให้เริ่มเปิดให้บริการประชาชน เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2548

            นับตั้งแต่ขวบปีแรกที่ก้าวสู่ธุรกิจการเงินการธนาคารเมื่อปี พ.ศ. 2512 \ในปี พ.ศ. 2516 จดทะเบียนเข้าสู่ตลาดหลักทรัพย์ในปี พ.ศ. 2521 จนกระทั่งแปรสภาพ เป็นบริษัทมหาชนในปี พ.ศ. 2536 มาจนวันนี้ ธนาคารสินเอเซีย จำกัด (มหาชน) ได้นำประสบการณ์ในแวดวงการเงินที่สั่งสมมากว่า 35 ปี พร้อมที่จะรับใช้ประชาชน อย่างเต็มที่ 
        ธนาคารสินเอเซีย จำกัด (มหาชน) มีฐานะเป็นธนาคารพาณิชย์เต็มรูปแบบ สามารถนำเสนอบริการทางการเงินได้ทุกประเภท นับตั้งแต่การเสนอบริการด้านเงินฝาก สินเชื่อทุกประเภท บริการโอนเงินต่างประเทศ และบริการธุรกิจการค้าต่างประเทศเพื่อการนำเข้าและส่งออก

ธนาคารพาณิชย์เพื่อรายย่อย :

1.ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย

ชื่อย่อ : LH Bank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ :  เลขที่ 1 อาคารคิวเฮ้าส์ ลุมพินี ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 
โทร 0-2359-0000 โทรสาร 0-2677-7223
เวลาทำการ* จันทร์-ศุกร์ : 8.30-17.30 น.

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นางศศิธร พงศธร กรรมการผู้จัดการ

Website : www.lhbank.co.th

จำนวนสาขา : 23 สาขา

จุดเด่น : ธนาคารมีการพิจาณาในด้านสินเชื่อเน้นไปที่เงินกู้เพื่อการเคหะของสินเชื่อโดยรวมทั้งหมด 60% และ 40%จะเป็นสินเชื่อประเภทเอสเอ็มอี เนื่องจากว่าในส่วนของสินเชื่อเคหะมีข้อดีตรงที่มีหลักประกันที่ชัดเจน และทางธนาคารแห่งประเทศไทยก็ให้ความสนใจในเรื่องนี้เป็นสำคัญ เพราะถือว่าเป็นฐานเงินทุนที่มีประสิทธิภาพสูง

2.ธนาคารไทยเครดิต เพื่อรายย่อย ชื่อย่อ : TCR Bank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : สำนักธุรกิจรัชดาภิเษก 

ตั้งอยู่ที่อาคารไทยประกันชีวิต 1 ชั้น 1 ให้บริการด้านรับฝาก-ถอนเงิน ให้คำปรึกษาบริการสินเชื่อ รับชำระค่างวด บริการเครื่อง ATM เครื่องปรับยอดสมุดเงินฝากอัตโนมัติ (Auto Update Passbook) และบริการอื่นๆ

สำนักงานผู้บริหารและกลุ่มงานสนับสนุน : ตั้งอยู่ที่อาคารไทยประกันชีวิต 1/1 ชั้น 5 
กลุ่มธุรกิจสินเชื่อ : ตั้งอยู่ที่อาคารอาร์เอส ทาวเวอร์ ชั้น 17 ให้บริการด้านการขอสินเชื่อ การเบิกเงินกู้ และรับชำระค่างวดต่างๆ

กรรมการผู้จัดการใหญ่ :

Website : www.tcrbank.com

จำนวนสาขา : 9 สาขา

จุดเด่น :  นำเสนอผลิตภัณฑ์ที่แตกต่าง และตอบสนองความต้องการที่แท้จริงของลูกค้า
สร้างทีมงานที่มีจิตสำนึกที่ดีด้านการบริการ มีความรักและภาคภูมิใจในองค์กร 
สร้างระบบงานที่เอื้อหนุนให้การปฏิบัติงานเกิดประสิทธิภาพสูงสุด

ธนาคารพาณิชย์เพื่อรายย่อย :

1.ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย

ชื่อย่อ : LH Bank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ :  เลขที่ 1 อาคารคิวเฮ้าส์ ลุมพินี ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 
โทร 0-2359-0000 โทรสาร 0-2677-7223
เวลาทำการ* จันทร์-ศุกร์ : 8.30-17.30 น.

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นางศศิธร พงศธร กรรมการผู้จัดการ

Website : www.lhbank.co.th

จำนวนสาขา : 23 สาขา

จุดเด่น : ธนาคารมีการพิจาณาในด้านสินเชื่อเน้นไปที่เงินกู้เพื่อการเคหะของสินเชื่อโดยรวมทั้งหมด 60% และ 40%จะเป็นสินเชื่อประเภทเอสเอ็มอี เนื่องจากว่าในส่วนของสินเชื่อเคหะมีข้อดีตรงที่มีหลักประกันที่ชัดเจน และทางธนาคารแห่งประเทศไทยก็ให้ความสนใจในเรื่องนี้เป็นสำคัญ เพราะถือว่าเป็นฐานเงินทุนที่มีประสิทธิภาพสูง

2.ธนาคารไทยเครดิต เพื่อรายย่อย ชื่อย่อ : TCR Bank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : สำนักธุรกิจรัชดาภิเษก 

ตั้งอยู่ที่อาคารไทยประกันชีวิต 1 ชั้น 1 ให้บริการด้านรับฝาก-ถอนเงิน ให้คำปรึกษาบริการสินเชื่อ รับชำระค่างวด บริการเครื่อง ATM เครื่องปรับยอดสมุดเงินฝากอัตโนมัติ (Auto Update Passbook) และบริการอื่นๆ

สำนักงานผู้บริหารและกลุ่มงานสนับสนุน : ตั้งอยู่ที่อาคารไทยประกันชีวิต 1/1 ชั้น 5 
กลุ่มธุรกิจสินเชื่อ : ตั้งอยู่ที่อาคารอาร์เอส ทาวเวอร์ ชั้น 17 ให้บริการด้านการขอสินเชื่อ การเบิกเงินกู้ และรับชำระค่างวดต่างๆ

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายมาณิช  ไชยวรรณ

Website : www.tcrbank.com

จำนวนสาขา : 9 สาขา

จุดเด่น :  นำเสนอผลิตภัณฑ์ที่แตกต่าง และตอบสนองความต้องการที่แท้จริงของลูกค้า
สร้างทีมงานที่มีจิตสำนึกที่ดีด้านการบริการ มีความรักและภาคภูมิใจในองค์กร 
สร้างระบบงานที่เอื้อหนุนให้การปฏิบัติงานเกิดประสิทธิภาพสูงสุด

เพิ่มเติม นายณัฐพงศ์ พงศ์กิดาการ  รหัสนักศึกษา 50473010024
สาขาวิชา เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ  มหาวิทยาลัย ราชภัฎสวนสุนันทา

2. บอลโลกมีผลต่อเศรษฐกิจและผลกระทบต่อสังคมอย่างไร
      ด้านดี :  ทำให้เศรษฐกิจของประเทศแอฟริกาใต้ ดีขึ้นในทุกๆด้าน เช่น ด้านการท่องเที่ยว ด้านการคมนาคม เป็นต้น ทำให้ภาคอุตสาหกรรมมียอดขายที่ดีขึ้น เพราะมีการชิงโชคและจัดโปรโมชั่นต่างๆและร้านข้างทางต่างๆ
     ด้านเสีย : มีการเล่นการพนันมากขึ้น ทำให้ภาคประชาชานมีการใช้จ่ายลดลง

เพิ่มเติม : นางสาวนิสา พจนาท รหัส 50473010007

โปรแกรมวิชา เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการ

ชื่อย่อ : TNC Bank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ เลขที่ 900 อาคารต้นสนทาวเวอร์ ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายบันเทิง ตันติวิท ประธานกรรมการ

Website : www.thanachartbank.co.th

จำนวนสาขา : 50 สาขา

จุดเด่น : การเป็นกลุ่มธุรกิจที่ให้บริการทางการเงินครบวงจร มุ่งเน้นการสร้างสรรค์ความเป็นเลิศให้แก่ผลิตภัณฑ์และบริการจากความร่วมมือของทุกบริษัทภายในกลุ่ม และสามารถตอบสนองทุกความต้องการทางการเงิน

 

ชื่อย่อ : SCB

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ :  9  ถนนรัชดาภิเษก  เขตจัตจักร  กรุงเทพฯ  10900

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : คุณหญิงชฎา วัฒนศิริธรรม

Website : www.scb.co.th

จำนวนสาขา : 873 สาขา

จุดเด่น : ธนาคารที่ให้บริการครบวงจรชั้นนำของประเทศ  โดยมุ่งเน้นการให้บริการในตลาดการเงิน  กลุ่มลูกค้าหลักด้วยการใช้ประโยชน์อย่างสูงสุดจากเครือข่ายของกลุ่มไทยพาณิชย์และมีความรับผิดชอบต่อสังคมอย่างเติมที่

ชื่อย่อ : SCIB

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 1101 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400

โทร. (662) 208-5000

กรรมการผู้จัดการใหญ่นายชัยวัฒน์ อุทัยวรรณ์  ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่

Website : www.scib.co.th

จำนวนสาขา : 400 สาขา

จุดเด่น : ธนาคารกำหนดนโยบายการกำกับดูแลกิจการที่ดี โดยมีหลักการพื้นฐานที่สำคัญ เพื่อให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทุกระดับของธนาคารยึดถือปฏิบัติเป็นมาตรฐานเดียวกัน

ชื่อย่อ : SCNB

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : เลขที่ 90 ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพ 10500

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : ยุทธเดช ปัทมานนท์

Website : www.standardchartered.co.th

จำนวนสาขา : ในประเทศ 41 สาขา และอีกกว่า 1400 สาขาทั่วโลก

จุดเด่น : ธนาคารฯ มีธุรกิจหลักคือ บุคคลธนกิจและสถาบันธนกิจ ธุรกิจด้านบุคคลธนกิจให้บริการด้านบัตรเครดิต สินเชื่อบุคคล สินเชื่ออสังหาริมทรัพย์ บริการรับฝากเงิน บริการด้านการบริหารสินทรัพย์ให้แก่ลูกค้ารายบุคคล ลูกค้าเจ้าของธุรกิจรายย่อย จนถึงลูกค้าเจ้าของธุรกิจขนาดกลาง ส่วนสถาบันธนกิจนั้นให้บริการแก่ลูกค้าที่เป็นสถาบันหรือบริษัทในด้านต่างๆ เช่น สินเชื่อพาณิชย์ บริการบริหารเงินสด การบริการเงินทุน บริการด้านหลักทรัพย์ บริการด้านเงินตราต่างประเทศ บริการด้านการกู้ยืมในตลาดทุน และบริการด้านเงินกู้สำหรับธุรกิจ

 

ธนาคารเมกะสากลพาณิชย์

ชื่อย่อ : MEGA Bank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 36/12 พี.เอส.ทาวเวอร์ ซอยสุขุมวิท 21 ถนนอโศก แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : Rong-Jou Wang

 Website : www.megabank.com.tw

จำนวนสาขา :4 สาขา 

จุดเด่น : ประกอบกิจการธนาคารพาณิชย์ รวมทั้งกิจการทั้งปวง ซึ่งเกี่ยวกับธนาคารพาณิชย์ 

ชื่อย่อ : ACL Bank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : เลขที่ 622 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองตัน เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 
โทรศัพท์. 02 663 9999 

กรรมการผู้จัดการใหญ่ :  นายธงชัย อานันโทไทย    กรรมการผู้จัดการใหญ่

Website : www.aclbank.com/th

จำนวนสาขา : 17 สาขา

จุดเด่น : ธนาคารสินเอเซีย จำกัด (มหาชน) หรือในชื่อเดิมคือ บริษัท เงินทุนสินเอเซีย จำกัด (มหาชน) ซึ่งได้รับใบอนุญาตประกอบการธนาคารพาณิชย์จากกระทรวงการคลังและ ธนาคารแห่งประเทศไทย ให้เริ่มเปิดให้บริการประชาชน เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2548

ชื่อย่อ : UOB

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : ธนาคารยูโอบี จำกัด (มหาชน) 191 ถนนสาทรใต้ กรุงเทพฯ 10120
โทรศัพท์ : 0-2343-3000

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายหว่อง คิม ชุง

Website : www.uob.co.th

จำนวนสาขา : 154 สาขา
จุดเด่น : ธนาคารยูโอบี จำกัด (มหาชน) เกิดจากการรวมกิจการของธนาคารเอเชีย จำกัด (มหาชน) และธนาคารยูโอบีรัตนสิน จำกัด (มหาชน) เมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2548 เป็นธนาคารพาณิชย์ที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 9 ของประเทศไทย มีสินทรัพย์มูลค่ารวม 206,000 ล้านบาท ณ วันที่ 30 กันยายนพ.ศ. 2548 ปัจจุบันมีสาขาทั่วประเทศ 154 สาขา

 

ชื่อย่อ : LH Bank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : สำนักงานใหญ่ 

เลขที่ 1 อาคารคิวเฮ้าส์ ลุมพินี ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 
โทร 0-2359-0000

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นางศศิธร พงศธร กรรมการผู้จัดการ

Website : www.lhbank.co.th

จำนวนสาขา : 23 สาขา

จุดเด่น : ธนาคารมีการพิจาณาในด้านสินเชื่อเน้นไปที่เงินกู้เพื่อการเคหะของสินเชื่อโดยรวมทั้งหมด60% และ40%จะเป็นสินเชื่อประเภทเอสเอ็มอี เนื่องจากว่าในส่วนของสินเชื่อเคหะมีข้อดีตรงที่มีหลักประกันที่ชัดเจน และทางธนาคารแห่งประเทศไทยก็ให้ความสนใจในเรื่องนี้เป็นสำคัญ เพราะถือว่าเป็นฐานเงินทุนที่มีประสิทธิภาพสูง

 

 

ชื่อย่อ : TCR Bank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : สำนักธุรกิจรัชดาภิเษก ตั้งอยู่ที่อาคารไทยประกันชีวิต  

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายวานิช  ไชยวรรณ

Website : www.tcrbank.com

จำนวนสาขา : 9 สาขา

จุดเด่น

นำเสนอผลิตภัณฑ์ที่แตกต่าง และตอบสนองความต้องการที่แท้จริงของลูกค้าสร้างทีมงานที่มีจิตสำนึกที่ดีด้านการบริการ มีความรักและภาคภูมิใจในองค์กร 
สร้างระบบงานที่เอื้อหนุนให้การปฏิบัติงานเกิดประสิทธิภาพสูงสุด
สร้างความน่าเชื่อถือ ด้วยการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล 
แสวงหาเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพในการบริหารงานและความเสี่ยง เพื่อผลลัพธ์ในการทำงานที่ดีที่สุด
แสวงหาพันธมิตร เพื่อเพิ่มโอกาสทางธุรกิจ
แสวงหาแนวทางในการพัฒนาธนาคารสู่ความสำเร็จตามแผนกลยุทธ์

 

 

-     การแข่งขันฟุตบอลโลกครั้งนี้ส่งผลอย่างไรต่อภาคธุรกิจใดบ้าง และจะมีผลกระทบภาคสังคมอย่างไรบ้าง 

ตอบ  การแข่งขันฟุตบอลโลกครั้งนี้ส่งผลดีต่อด้านเศรษฐกิจ หลายๆ ชาติอยากจะเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันฟุตบอลโลก โดยหวังว่า มันจะช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจของชาติได้เป็นอย่างดี  แน่นอนว่า ในช่วงที่มีการแข่งขันจะมีเม็ดเงินมหาศาลสะพัดเข้าสู่ประเทศเจ้าภาพ  อาทิเช่น การขายอุปกรณ์กีฬา ชุดกีฬา ที่เกี่ยวข้องกับนักฟุตบอลที่ตนเองชื่นชอบ 

ผลกระทบต่อสังคม  การทุ่มเททุนจำนวนมากมายในการจัดงานนี้ อาจทำให้ความไม่เสมอภาคทางเชื้อชาติผิวพันธุ์และฐานะทางเศรษฐกิจ ของประชาชน

นางสาวอำพร ธนเสฎธากุล.

นางสาวอำพร  ธนเสฎธากุล  รหัส  50473010008

สาขาวิชาเศรษฐสตร์ธุรกิจ  คณะวิทยาการจัดการ

--------------------------------------------------------------------------

14. ชื่อย่อ : CIMB

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : เลขที่ 44 ถนนหลังสวน แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
โทรศัพท์: 0-2626-7000 
กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายสุภัค ศิวะรักษ์

 

Website : www.cimbthai.com

จำนวนสาขา : 147 สาขา

จุดเด่น : ธนาคารตระหนักถึงสิทธิความเป็นส่วนบุคคลในข้อมูลของผู้ใช้บริการ  และพยายามอย่างยิ่งที่จะให้ผู้ใช้บริการได้รับความปลอดภัยสูงสุดจากการใช้ช่องทางนี้สำหรับการดำเนินธุรกรรมต่างๆ ของผู้ใช้กับธนาคาร   

15.ชื่อย่อ : Tisco Bank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 48/2 ถนนสาทรเหนือแขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทรศัพท์0 2633 6000

กรรมการผู้จัดการใหญ่ :  นายสุทัศน์ เรืองมานะมงคล  กรรมการผู้จัดการใหญ่

Website : www.tisco.co.th

จำนวนสาขา : 46 สาขา

จุดเด่น ทิสโก้เป็นสถาบันการเงินที่ประกอบธุรกิจด้วยมาตรฐานสูงสุดของการกำกับดูแลกิจการที่ดี เราทุ่มเท สร้างสรรค์คุณค่าที่ยั่งยืน เพื่อลูกค้า ผู้ถือหุ้น พนักงาน และสังคม

 

16.ชื่อย่อ : TNC Bank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ เลขที่ 900 อาคารต้นสนทาวเวอร์ ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายบันเทิง ตันติวิท ประธานกรรมการ

Website : www.thanachartbank.co.th

จำนวนสาขา : 50 สาขา

จุดเด่น : การเป็นกลุ่มธุรกิจที่ให้บริการทางการเงินครบวงจร มุ่งเน้นการสร้างสรรค์ความเป็นเลิศให้แก่ผลิตภัณฑ์และบริการจากความร่วมมือของทุกบริษัทภายในกลุ่ม และสามารถตอบสนองทุกความต้องการทางการเงิน

17.ชื่อย่อ : SCNB

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : เลขที่ 90 ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพ 10500

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : ยุทธเดช ปัทมานนท์

Website : www.standardchartered.co.th

จำนวนสาขา : ในประเทศ 41 สาขา และอีกกว่า 1400 สาขาทั่วโลก

จุดเด่น : ธนาคารฯ มีธุรกิจหลักคือ บุคคลธนกิจและสถาบันธนกิจ ธุรกิจด้านบุคคลธนกิจให้บริการด้านบัตรเครดิต สินเชื่อบุคคล สินเชื่ออสังหาริมทรัพย์ บริการรับฝากเงิน บริการด้านการบริหารสินทรัพย์ให้แก่ลูกค้ารายบุคคล ลูกค้าเจ้าของธุรกิจรายย่อย

 

 

18.ชื่อย่อ : ACL Bank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : เลขที่ 622 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองตัน เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 
โทรศัพท์. 02 663 9999 

กรรมการผู้จัดการใหญ่ :  นายธงชัย อานันโทไทย    กรรมการผู้จัดการใหญ่

Website : www.aclbank.com/th

จำนวนสาขา : 17 สาขา

จุดเด่น

ธนาคารสินเอเซีย  มีฐานะเป็นธนาคารพาณิชย์เต็มรูปแบบ สามารถนำเสนอบริการทางการเงินได้ทุกประเภท นับตั้งแต่การเสนอบริการด้านเงินฝาก สินเชื่อทุกประเภท บริการโอนเงินต่างประเทศ และบริการธุรกิจการค้าต่างประเทศเพื่อการนำเข้าและส่งออก

 

ธนาคารเมกะสากลพาณิชย์

ชื่อย่อ : MEGA Bank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 36/12 พี.เอส.ทาวเวอร์ ซอยสุขุมวิท 21 ถนนอโศก แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : Rong-Jou Wang

 Website : www.megabank.com.tw

จำนวนสาขา :4 สาขา 

จุดเด่น : ประกอบกิจการธนาคารพาณิชย์ รวมทั้งกิจการทั้งปวง ซึ่งเกี่ยวกับธนาคารพาณิชย์ 

ชื่อย่อ  ; The Bank of Thailand

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่   นางธาริษา วัฒนเกส

สำนักงานใหญ่  273 ถนนสามเสน บางขุนพรหม เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 เบอร์กลาง  

โทร. 0-2283-5353

สาขาทั้งหมด  ; 5 สาขา

จุดเด่น  ; ได้ออกแนวปฏิบัติของธนาคารแห่งประเทศไทย เรื่อง การจัดทำแผนรองรับการดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง (Business Continuity Plan: BCP) สำหรับกรณีการระบาดของโรคติดต่อร้ายแรง โดยบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 4 สิงหาคม 2551 ภายใต้การสนับสนุนจากสมาคมธนาคารไทย สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย และ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และธนาคารต่างๆ ได้เตรียมความพร้อมเช่นกัน เช่น ธนาคารไทยธนาคาร จำกัด (มหาชน), ธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน) เป็นต้น

เว็บไซต์  =  http://www.bot.or.th

19.ชื่อย่อ : UOB

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : ธนาคารยูโอบี จำกัด (มหาชน) 191 ถนนสาทรใต้ กรุงเทพฯ 10120
โทรศัพท์ : 0-2343-3000

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายหว่อง คิม ชุง

Website : www.uob.co.th

จำนวนสาขา : 154 สาขา
จุดเด่น : ธนาคารยูโอบี จำกัด (มหาชน) เกิดจากการรวมกิจการของธนาคารเอเชีย จำกัด (มหาชน) และธนาคารยูโอบีรัตนสิน จำกัด (มหาชน) เมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2548 เป็นธนาคารพาณิชย์ที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 9 ของประเทศไทย มีสินทรัพย์มูลค่ารวม 206,000 ล้านบาท ณ วันที่ 30 กันยายนพ.ศ. 2548 ปัจจุบันมีสาขาทั่วประเทศ 154 สาขา

20.ชื่อย่อ : LH Bank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : สำนักงานใหญ่ 

เลขที่ 1 อาคารคิวเฮ้าส์ ลุมพินี ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 
โทร 0-2359-0000

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นางศศิธร พงศธร กรรมการผู้จัดการ

Website : www.lhbank.co.th

จำนวนสาขา : 23 สาขา

จุดเด่น : ธนาคารมีการพิจาณาในด้านสินเชื่อเน้นไปที่เงินกู้เพื่อการเคหะของสินเชื่อโดยรวมทั้งหมด60% และ40%จะเป็นสินเชื่อประเภทเอสเอ็มอี เนื่องจากว่าในส่วนของสินเชื่อเคหะมีข้อดีตรงที่มีหลักประกันที่ชัดเจน และทางธนาคารแห่งประเทศไทยก็ให้ความสนใจในเรื่องนี้เป็นสำคัญ เพราะถือว่าเป็นฐานเงินทุนที่มีประสิทธิภาพสูง

21ชื่อย่อ : TCR Bank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : สำนักธุรกิจรัชดาภิเษก ตั้งอยู่ที่อาคารไทยประกันชีวิต  

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายวานิช  ไชยวรรณ

Website : www.tcrbank.com

จำนวนสาขา : 9 สาขา

จุดเด่น

นำเสนอผลิตภัณฑ์ที่แตกต่าง และตอบสนองความต้องการที่แท้จริงของลูกค้า
สร้างทีมงานที่มีจิตสำนึกที่ดีด้านการบริการ มีความรักและภาคภูมิใจในองค์กร 

22.ชื่อย่อ : TMB

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ :3000 ถ.พหลโยธิน จอมพล จตุจักร กรุงเทพฯ 10900

โทรศัพท์ : 0-2299-1111

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นางเสาวนีย์ กมลบุตร

Website : www.tmbbank.com

จำนวนสาขา : 480 สาขา

จุดเด่น : เป็นธนาคารไทยชั้นนำ มาตรฐานระดับโลกป็นธนาคารของประเทศไทย    สำนักงานใหญ่แห่งแรกตั้งอยู่ที่ อาคาร 2 ถนนราชดำเนิน จังหวัดพระนคร(กรุงเทพมหานครในปัจจุบัน) มีพนักงานเริ่มแรก 26 คน

--------------------------------------------------------------------------------------

การแข่งขันฟุตบอลโลกครั้งนี้ส่งผลอย่างไรต่อภาคธุรกิจใดบ้าง และจะมีผลกระทบภาคสังคมอย่างไรบ้าง

ตอบ  การแข่งขันฟุตบอลโลกส่งผลดีต่อด้านเศรษฐกิจ โดยเฉพาะทางด้านการค้าและการลงทุน  ถือว่าเป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจให้เจริญเติบโต เช่น  ทีวี  อุปกรณ์การกีฬา    จัดการแข่งขันฟุตบอลโลก จะช่วยส่งเสริมและกระตุ้นเศรษฐกิจได้เป็นอย่างดี

ผลกระทบต่อสังคม  อาจทำให้ความไม่เสมอภาคทางเชื้อชาติผิวพันธุ์และฐานะทางเศรษฐกิจ ของประชาชน  และภัยจากการเล่นการพนันบอลการแข่งขันฟุตบอลโลกในปีนี้ จะมีผู้ติดตามการแข่งขันฟุตบอลโลกจำนวนมากขึ้น เนื่องจากเทคโนโลยีการติดต่อสื่อสารที่ทันสมัยขึ้น มีช่องทางต่างๆ ที่ชักนำเข้าสู่การเล่นพนันได้ง่ายขึ้น โดยเฉพาะเด็กและเยาวชนซึ่งเป็นกลุ่มเสี่ยงที่ถูกชักจูงได้ง่าย และเป็นกลุ่มที่ยังไม่มีรายได้ จึงอาจเป็นปัจจัยให้เกิดปัญหาสังคมในด้านต่างๆ ตามมา เช่น ปัญหาการล่อลวงแรงงานให้เล่นการพนันจนเป็นหนี้ที่อาจเชื่อมโยงกับการค้ามนุษย์ จึงเป็นเรื่องที่ต้องอาศัยความพยายามและความร่วมมือของหน่วยงานต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นภาครัฐ องค์กรเอกชน องค์การระหว่างประเทศ ผู้ประกอบการ รวมทั้งสถาบันครอบครัวที่ควรเป็นที่ปรึกษาให้เด็กและเยาวชน ตลอดจนควรปลูกฝังความคิดให้ดูฟุตบอลอย่างเข้าใจในการกีฬามากกว่าเป็นเรื่องของการพนัน

นางสาว น้ำฝน  เพาะจะโปะ รหัส 50473010009

โปรแกรม วิชาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

---------------------------------------------------------------------------------------------

การแข่งขันฟุตบอลครั้งนี้ส่งผลอย่างไรต่อธุรกิจใดบ้างอย่างไร 

          โรงรับจำนำเฟื่องฟู การแข่งขันเวิลด์คัพ 2010 เป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่ช่วยกระตุ้นธุรกิจโรงรับจำนำ เนื่องจากความถี่ของการใช้บริการโรงรับจำนำมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจากการที่ “คอพนัน” ส่วนหนึ่งเข้าโรงรับจำนำเพื่อนำเงินมาเป็นค่าใช้จ่ายในการเล่นพนันฟุตบอล และยังเป็นอีกทางเลือกหนึ่งของบรรดาคอพนันบอลที่จะใช้

เป็นแหล่งเงินที่จะนำมาใช้หนี้เมื่อต้องเสียพนัน โดยบอลโลกในครั้งนี้ คาดกันว่าจะมีวงเงินสะพัดหมุนเวียนเพื่อเล่นพนันฟุตบอลโลกของคนกรุงเทพฯ ไม่ตํ่ากว่า9,000 ล้านบาท

          การแข่งขันฟุตบอลโลก ธุรกิจร้านอาหารในบ้านเราได้รับผลดี คึกคักตามไปด้วย มียอดลูกค้าเพิ่มกว่าปกติถึงร้อยละ 30  เพราะลูกค้าต้องการบรรยากาศชมฟุตบอลเป็นกลุ่ม ๆ พร้อมกินดื่มอาหารไปด้วย 

          ภาพรวมธุรกิจเคเบิลทีวีในขณะนี้คึกคักมาก เห็นได้จากยอดติดตั้งจานเคเบิลทีวีเพิ่มขึ้น 20% เพราะได้รับผลดีจากกระแสฟุตบอลโลกที่ประชาชนหันมาติดตั้งเคเบิลจำนวนมาก เนื่องจากปัญหาจานดำที่ไม่สามารถดูฟุตบอลโลกได้ทำให้ลูกค้าบางส่วนเปลี่ยนมาติดตั้งเคเบิลทีวี ซึ่งค่าติดตั้งเพียง 500-1,000 บาท บางบริษัทไม่คิดค่าติดตั้งและคิดค่าบริการรายเดือนเพียง 100-350 บาท

          โทรทัศน์ขายดี โทรทัศน์ คือสุดยอดสินค้าขายดีอีกรายการหนึ่ง โดยหลายแบรนด์ดังไม่ว่าจะเป็นโซนี่ พานาโซนิค ซัมซุงต่างทุ่มงบการตลาดและออกแคมเปญอิงกระแสเวิลด์คัพช่วยกระตุ้นตลาดทีวีจอแบน ไม่ว่าจะเป็นแอลซีดีทีวี หรือพลาสม่าทีวีกันอย่างคึกคัก และเป็นที่น่าติดตามด้วยใจจดจ่ออย่างยิ่งว่า ด้วยนวัตกรรมถ่ายทอดการแข่งขันใหม่ล่าสุดในแบบ “สามมิติ” ที่มีขึ้นเป็นครั้งแรก ณ แอฟริกาใต้หนนี้ จะกระตุ้นยอดขายทีวีแบบสามมิติของแต่ละแบรนด์ที่งัดไม้เด็ดออกมาแย่งชิงส่วนแบ่งกันได้มากน้อยเพียงไร เพราะราคาซื้อขายมิได้ถูกเลย ร้านอาหารคนแน่น คอบอลพันธุ์แท้บอกว่าหากการเชียร์บอลให้สนุก

          ไปรษณียบัตร  ถ้าไม่นับการลุ้นโชคหวยล็อตเตอรี่ราคาแพงขูดเลือดของรัฐบาลแล้วละก็ ต้องบอกว่าโชคจากไปรษณียบัตรทายผลฟุตบอลโลก เป็นสุดยอดความหวังเศรษฐีในช่วงข้ามวันที่ชนชั้นรากหญ้าไปจนถึงชั้นกลางใฝ่ฝันมากที่สุด จึงไม่แปลกที่จะเห็นคลื่นมหาชนแห่กันไปที่ทำการไปรษณีย์เพื่อซื้อหาไปรษณียบัตรลุ้นโชคกันจนล้นหลาม โดยในปีนี้สองพันธมิตร หนังสือพิมพ์หัวสียักษ์ใหญ่ และไปรษณีย์ไทย ได้เตรียมพิมพ์ไปรษณียบัตรไว้เพื่อจำหน่ายแล้วกว่า 160 ล้านใบ

 

มีผลกระทบต่อสังคมอย่างไร 

          การแข่งขันฟุตบอลโลกว่าปัญหาการเล่นพนันฟุตบอลของกลุ่มเด็กและเยาวชนน่าเป็นห่วง  ซึ่งอาจตกเป็นเหยื่อของผู้ไม่พึงประสงค์  หรือแสวงประโยชน์จากเด็ก  โดยการชักนำให้เด็กและเยาวชนเล่นการพนันฟุตบอล  หากเด็กไม่  มีเงินและเสียพนัน  อาจก่อให้เกิดอันตราย  กลายเป็นเด็กที่เสี่ยงต่อการกระทำผิด  ทำให้เด็กมีปัญหาเรื่องการนอนดึก  ซึ่งจะมีอาการง่วงนอนในช่วงเวลาเรียน  และที่เป็นปัญหาใหญ่ก็คือเรื่องการพนันบอล  จึงต้องให้การดูแลอย่างใกล้ชิดพร้อมกับให้คำแนะนำ  อีกทั้งยังจะต้องใช้มาตรการที่เข้มงวด  ซึ่งการลงโทษอย่างเดียวนั้นก็คงจะไม่ได้ผล  ทัศนคติที่มีต่อการเล่นพนันบอลอาจไม่มีส่วนกำหนดพฤติกรรมการเล่นพนันบอลเสมอไป ผลกระทบต่อสังคม เยาวชนส่วนใหญ่เห็นว่าการพนันบอลทำให้เกิดหนี้นอกระบบมากที่สุด รองลงมาคือ ทำให้เกิดการลักขโมย ปล้นจี้ ชิงทรัพย์ นอกจากนี้ยังส่งผลกระทบต่อการเรียนเพราะจะทำให้ผู้ติดพนันบอลมาเรียนสายหรือขาดเรียน  กลุ่มนักเล่นพนันบอลส่วนใหญ่ เริ่มเล่นตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น มีวงเงินที่เล่นพนันเฉลี่ย 100-500 บาท...ต่อครั้ง  พื้นเพส่วนใหญ่ เป็นเยาวชนที่อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยมีสิ่งจูงใจสำคัญคือ อยากได้เงิน และเมื่อได้รางวัลแล้วจะนำไปใช้กิน เที่ยวกับเพื่อน

 ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

 

1. ธนาคาร   ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)

ชื่อย่อ  SCB (Siam Commercial Bank)

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่     นางกรรณิกา  ชลิตอาภรณ์

สำนักงานใหญ่   ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) สำนักงานใหญ่ 9 ถนนรัชดาภิเษก เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900  โทรศัพท์  0 2544 1000

สาขาทั้งหมด    873 สาขา

จุดเด่น 

สร้างเครือข่าย SME จัดกิจกรรมเชื่อมลูกค้า

กลยุทธ์สำคัญของธนาคารปัจจุบันคือการเพิ่มส่วนแบ่งการตลาดในส่วนของลูกค้าธุรกิจ SME รวมทั้งการรักษาความเป็นผู้นำในตลาดลูกค้าบุคคล ด้วยการปรับปรุงและนำเสนอผลิตภัณฑ์การเงินใหม่ๆ ที่ก่อให้เกิดรายได้ค่าธรรมเนียม เพื่อนำไปสู่เป้าหมายหลักในการสร้างอัตราการเติบโตของรายได้ให้สูงขึ้น ทั้งจากส่วนต่างของดอกเบี้ย และรายได้จากค่าธรรมเนียมสุดท้ายก็เพื่อให้เป็นไปตามที่ กรรณิกาสรุปแนวทางไว้ว่า “เราต้องปรับตัว ก้าวหน้าและเติบโต”
กรรณิกาบอกว่า การสร้างความแข็งแกร่งแก่ภาคธุรกิจวิสาหกิจขนาดกลางและย่อม (SME) เป็นสิ่งที่ธนาคารไทยพาณิชย์ให้ความสำคัญมาตลอด 2 ปีที่ผ่านมา ภายใต้การดำเนินงานของกลุ่มลูกค้าธุรกิจ (SCB Business Banking Group) โดยสินเชื่อธุรกิจ SME คิดเป็นสัดส่วนประมาณ 24% ของสินเชื่อทั้งหมดของธนาคาร โดยธนาคารจะใช้กลยุทธ์ การให้บริการที่ดี มีการนำระบบ Electronic Loan Origination System หรือกระบวนการอนุมัติสินเชื่อโดยไม่ใช้กระดาษมาใช้ เพิ่มจำนวนพนักงานดูแลลูกค้ากลุ่ม SME อีกประมาณ 30% พร้อมปรับกระวนการฝึกอบรมพนักงานใหม่ทั้งหมด โดยหันมาเน้นเรื่องความเข้าใจในตัวลูกค้าเป็นหลัก ซึ่งคาดว่าจะช่วยให้ลูกค้ากลุ่มนี้ได้รับการบริการที่รวดเร็วขึ้น

ขณะเดียวกัน ไทยพาณิชย์ยังมีการขยายสาขาสำนักงานธุรกิจเพิ่มขึ้นอีกจากที่ปัจจุบันมีอยู่ประมาณ 49 แห่ง และเครือข่ายสาขาอยู่จำนวนรวมกว่า 840 สาขา โดยตั้งใจให้สาขาที่เกิดขึ้นใหม่เข้ามาเสริมเรื่องความสะดวกสบายให้กับลูกค้า
นอกจากนี้ กรรณิกายังเน้นกลยุทธ์จัดกิจกรรม สร้างมูลค่าเพิ่ม (Value Added Activity) อันจะเป็นการส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้ประกอบการมีความแข็งแกร่งมากยิ่งขึ้น โดยยึดแนวคิด “พันธมิตรธุรกิจ” พร้อมให้การสนับสนุนลูกค้า SME ในทุกด้าน โดยเฉพาะกิจกรรม ในการจัดสัมมนาสำหรับผู้บริหารระดับ CEO หรือ SCB CEO Forum ซึ่งธนาคารเชิญ ผู้บริหารระดับสูงจากภาคธุรกิจขนาดใหญ่และมีความสำคัญระดับประเทศมาพบและร่วมพูดคุยกัน ปัจจุบันจัดไปแล้ว 4 ครั้ง ทั้งในอุตสาหกรรมน้ำมัน การขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ การก่อสร้าง และการเตรียมรับการเติบโตของภูมิภาคสุวรรณภูมิ
และกิจกรรมที่ประสบความสำเร็จอย่างมากและได้รับความสนใจจากผู้ประกอบการที่เป็นลูกค้า SME ของธนาคาร คือ โครงการพัฒนาทักษะเจ้าของธุรกิจยุคใหม่ (SCB Young Entrepreneur Program : SCB-YEP) โดยร่วมมือกับ วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (CIE) เพื่อที่ส่งเสริมผู้ประกอบการรุ่นใหม่ที่เป็นทายาทเจ้าของธุรกิจขนาดกลางให้มีโอกาสเสริมสร้างประสบการณ์นอกตำราและสร้างพันธมิตรธุรกิจระหว่างกัน

“จากที่ธนาคารได้ส่งเสริมและให้คำปรึกษาแก่ลูกค้าธุรกิจมาอย่างใกล้ชิด จึงพบว่าธุรกิจหลายแห่งอยู่ในช่วงส่งผ่านการดำเนินงานจากรุ่นเจ้าของธุรกิจไปสู่ทายาท แต่ปัญหาสำคัญคือทายาทธุรกิจส่วนใหญ่ปฏิเสธการรับช่วงต่อ จึงเกิดเป็นแรงบันดาลใจให้เราจัดโครงการนี้ขึ้น เพื่อช่วยให้ทายาทของเขาเห็นข้อดีในธุรกิจของครอบครัวที่ดำเนินการมายาวนานและยอมรับช่วงธุรกิจต่อ”
ทั้งนี้ โครงการ SCB-YEP เป็นการอบรมกลุ่มขนาดเล็ก มีผู้เข้าร่วมโครงการไม่เกิน 50 คนต่อรุ่น ในระยะเวลาการอบรม 7 สัปดาห์ โดยมีการเชิญวิทยากรที่เป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ที่ประสบความสำเร็จ และผู้เชี่ยวชาญด้านวิชาการ รวมถึงผู้บริหารระดับสูงจากธนาคารไทยพาณิชย์ มาร่วมแลกเปลี่ยนวิสัยทัศน์กับผู้เข้าร่วมโครงการอย่างใกล้ชิด ควบคู่ไปกับการดูแลจากวิทยากร การแสดงความคิดเห็น และการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มภาคปฏิบัตินอกสถานที่

นอกจากนี้ โครงการดังกล่าวยังเปิดโอกาสการให้ผู้ประกอบการรุ่นใหม่เหล่านี้ได้มีโอกาสสร้างเครือข่ายทางธุรกิจระหว่างกัน โดยธนาคารจะเป็นผู้สนับสนุนค่าใช้จ่ายในการเข้าร่วมโครงการทั้งหมด เพื่อสานต่อนโยบายอันมุ่งมั่นในการส่งเสริมผู้ประกอบการไทยให้เติบโตอย่างยั่งยืน
นอกจากนี้ ยังมีกิจกรรม ได้แก่ SCB Business Matching ที่เปิดโอกาสให้กลุ่มผู้ประกอบการธุรกิจที่มีความ เกี่ยวเนื่องกันได้มีโอกาสนำเสนอธุรกิจและสร้างเครือข่ายพันธมิตรธุรกิจระหว่างกัน ในครั้งแรกได้จัด Business Matching สำหรับผู้ประกอบการอุตสาหกรรมอาหารแปรรูป และอุตสาหกรรมผลิตบรรจุภัณฑ์อาหารแปรรูป เมื่อเดือนมิถุนายน 2550 ซึ่งในงานมีการจัดสัมมนาเสริมความรู้ผู้ประกอบการในหัวข้อ “กลยุทธ์บรรจุภัณฑ์สร้างมูลค่าเพิ่มอาหารแปรรูป” ด้วย

  Website   http://www.scb.co.th

 

   

2. ธนาคารธนชาต

 ชื่อย่อ      TNC  (Thanachart Bank)

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่     นายบันเทิง ตันติวิท

สำนักงานใหญ่     สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ เลขที่ 900 อาคารต้นสนทาวเวอร์ ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร

สาขาทั้งหมด    50 สาขา

จุดเด่น

ธนาคารธนชาติ จำกัด(มหาชน) เดิมเป็นสถาบันการเงินที่ประกอบธุรกิจในชื่อ บริษัทเงินทุน เอกชาติ จำกัด(มหาชน) มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ เลขที่ 900 อาคารต้นสนทาวเวอร์ ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร ธนาคารธนชาต จำกัด(มหาชน) ได้เปิดให้บริการเมื่อวันที่ 22 เมษายน 2545 ภายใต้ใบอนุญาตประกอบการธนาคารพาณิชย์แบบจำกัดขอบเขตธุรกิจ หลังจากนั้นได้รับใบอนุญาตประกอบการธนาคารพาณิชย์เต็มรูปแบบ จากกระทรวงการคลังเมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2547 และได้เปิดให้บริการด้านการเงินทุกรูปแบบ โดยมีธุรกิจเช่าซื้อรถยนต์เป็นธุรกิจหลัก

Website       http://www.thanachart.com

 

 3. ธนาคาร ทหารไทย

  ชื่อย่อ  TMB (Thai Military Bank)

 ผู้จัดการสำนักงานใหญ่    นางเสาวนีย์ กมลบุตร

 สำนักงานใหญ่   ธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน) ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 3000 ถ.พหลโยธิน จอมพล จตุจักร กรุงเทพฯ 10900   โทรศัพท์ : 0-2299-1111

สาขาทั้งหมด   480 สาขา

 จุดเด่น   

แบงก์ทหารไทยจัดโครงสร้างหลังควบรวม เน้นจุดเด่นของแต่ละแห่งตั้งเป็นแกนนำเสริมความแข็งแกร่ง ทหารไทยนำด้านสาขา ความสัมพันธ์ลูกค้าและการตลาด ดีบีเอสไทยทนุเด่นคอนซูเมอร์แบงกิ้ง ผลิตภัณฑ์ บริหารความเสี่ยง ไอเอฟซีทีเด่นเอสเอ็มอีและพัฒนาธุรกิจ ระบุเร่ง ทำด้านไอทีและบุคลากร เสร็จก่อน พร้อมโชว์โครงสร้างสาขารวมกัน ลงตัวที่สุด สาขากรุงเทพฯเปิดบริการลูกค้ากว้างขึ้น และสาขาต่าง จังหวัดของไอเอฟซีทีปรับเป็นศูนย์ เอสเอ็มอี

 ว็บไซต์    http://www.tmb.co.th

 

 

4. ธนาคารกรุงเทพ

ชื่อย่อ      BBL

สำนักงานใหญ่        ที่อยู่ เลขที่ 333 ถนนสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่     ชาติศิริ โสภณพนิช

เว็บไซต์  http://www.bangkokbank.com/                       

จำนวนสาขา           917  สาขา

จุดเด่น    

สามารถกำหนดเงื่อนไขและขอบเขตของบริการที่มีความหลากหลาย ให้สอดคล้องกับความต้องการทางธุรกิจ ระบบงานสามารถจัดลำดับขั้นบัญชีได้สูงสุดถึงสามระดับขั้น คือบัญชีหลัก บัญชีรองและ บัญชีพื้นฐาน

ประสิทธิภาพและความสะดวกสบาย

 •ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารเงินให้เกิดประโยชน์สูงสุด 

•ลดภาระและข้อผิดพลาดที่เกิดจากการบริหารการจัดการเงินสดด้วยตนเองโดยไม่มีระบบงานที่ดีรองรับ 

•ลดภาระดอกเบี้ยจ่าย เบิกเงินเกินบัญชี โดยการโอนเงินจากบัญชีที่มียอดเงินเกินมาเติมให้บัญชีที่มียอดเงินขาด ช่วยให้ท่านตรวจสอบธุรกรรมเงินสด และดอกเบี้ยกู้ยืมระหว่างบัญชีได้โดยสะดวก

•เพิ่มประสิทธิภาพด้านการรายงานข้อมูลทางการเงิน

 

5. ธ. กรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน)

 ชื่อย่อ  KRUNGSRI Bank

 สำนักงานใหญ่  1222 ถ.พระรามที่ 3 แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร 10120

โทรศัพท์ 0-2296-2000โทรสาร 0-2683-1304

 เว็บไซด์  http://www.krungsri.com

 จำนวนสาขา : ในประเทศ 577 สาขา

จุดเด่นของบริการ

• ลดขั้นตอน บริษัทไม่ต้องจัดเตรียมเช็คแต่ละฉบับ เพื่อให้ผู้บริหารลงนาม

• ลดต้นทุน เวลาในการทำเช็คจ่าย Supplier แต่ละฉบับลดลง ทำให้ต้นทุนการบริหารงานลดลง

• ปลอดภัย บริษัทไม่ต้องสั่งซื้อเช็คมาเก็บดูแลรักษาเอง

• เพิ่มประสิทธิภาพ โดยธนาคารจะจัดทำรายงานรายละเอียดของการจ่ายเช็คให้กับบริษัทเพื่ออำนวยความสะดวกในการกระทบยอดบัญชี

 

 

6. ธนาคารกสิกรไทย

ชื่อย่อ        KBANK

จำนวนสาขา  595สาขา 

ผู้จัดการใหญ่   นายบรรยงค์ ล่ำซำ                                             

 จุดเด่น  

  ธนาคารกสิกรไทยมุ่งมั่นเป็นสถาบันการเงินที่มั่นคงที่สุด ที่ริเริ่มในสิ่งใหม่ และกระทำทุกวิถีทางเพื่อเป็นสถาบันการเงินไทยที่ให้บริการอย่างดีที่สุดแก่ลูกค้า    

สำนักงานใหญ่       

 1 ซอยกสิกรไทย ถ.ราษฎร์บูรณะ แขวงราษฎร์บูรณะ เขตราษฎร์บูรณะ กรุงเทพมหานคร 10140
โทรศัพท์ 0-2888-8888 โทรสาร 0-2888-8882

เว็บไซด์  http://www.kasikornbank.com         

                       

 

7.  ธนาคารอิสลาม     

ชื่อย่อ      ISLAMIC  BANK

 สำนักงานใหญ่       

เลขที่ 66 ชั้น M, 21, 22 อาคารคิวเฮ้าส์ ถนนสุขุมวิท 21 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110 ...

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่     นายธีรศักดิ์ สุวรรณยศ

จำนวนสาขา           27  สาขา

 เว็บไซต์  www.ibank.co.th

 จุดเด่น  

  มุ่งเน้นการสร้างผลิตภัณฑ์และการให้บริการสอดคล้องกับความต้องการของลูกค้าที่เปลี่ยนไป และมีทางเลือกมากขึ้น โดยคำนึงถึงประโยชน์สูงสุดของลูกค้าและธนาคาร ภายใต้หลักคุณธรรมที่ใส่ใจ และห่วงใยทุกกลุ่มสังคมยืดหลักให้บริการตามหลักศาสนาอิสลาม เต็มรูปแบบ บนพื้นฐานของความเป็นธรรม ยึดคำมั่นสัญญาที่ตกลงกัน และบริหารงานด้วยความโปร่งใส ตรวจสอบได้ทุกขั้นตอน

 

8. EXIM Bank

 ชื่อย่อ      EXIM Bank

 สำนักงานใหญ่        อาคารเอ็กซิม 1193 ถนนพหลโยธิน พญาไท กรุงเทพฯ 10400

 ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่     นายณรงค์ชัย อัครเศรณี

 เว็บไซต์  www.exim.go.th

 จำนวนสาขา           16 สาขา

 จุดเด่น   

ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย (ธสน.) เป็นสถาบันการเงินของรัฐที่อยู่ภายใต้การดูแลของกระทรวงการคลัง จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2536 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 7 กันยายน 2536 กำหนดทุนประเดิมของ ธสน. เป็นจำนวน 2,500 ล้านบาท ต่อมา ธสน. มีความจำเป็นต้องเพิ่มทุนเพื่อรองรับการขยายตัวอย่างรวดเร็ว กระทรวงการคลังจึงได้สมทบเงินทุนเพิ่มเติมให้อีกจำนวน 2,500 ล้านบาทในเดือนเมษายน และจำนวน 1,500 ล้านบาทในเดือนกรกฎาคม 2541

           พระราชบัญญัติธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทยได้กำหนดขอบเขตอำนาจในการทำธุรกิจไว้อย่างกว้างขวาง ธสน. จึงสามารถให้สินเชื่อได้ทุกรูปแบบ เช่น สินเชื่อระยะสั้นและสินเชื่อระยะยาว สินเชื่อในประเทศและสินเชื่อต่างประเทศ โดยสามารถทำธุรกิจได้ทั้งที่เป็นสกุลเงินบาทและสกุลเงินตราต่างประเทศ นอกจากนี้ยังสามารถกู้ยืมเงินจากสถาบันการเงินทุกประเภททั้งในประเทศและต่างประเทศและออกตราสารการเงินระยะสั้นและระยะยาวขายแก่สถาบันการเงินและประชาชนทั่วไปทั้งในประเทศและต่างประเทศ กล่าวโดยสรุป ธสน. สามารถทำธุรกิจทุกประเภทที่ธนาคารพาณิชย์ทำได้ ยกเว้นเพียงการรับฝากเงินจากประชาชนทั่วไปเท่านั้น

          ธสน. เริ่มเปิดดำเนินการในเดือนกุมภาพันธ์ 2537 โดยมีพิธีเปิดอย่างเป็นทางการในวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2537  ในเดือนพฤศจิกายน 2542 ได้มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2542 เพื่อแก้ไขเพิ่มเติมวัตถุประสงค์และอำนาจของ ธสน. เกี่ยวกับการส่งเสริมและสนับสนุนการลงทุนให้ชัดเจนและกว้างขึ้น เพื่อให้ ธสน. เป็นธนาคารที่สามารถสนับสนุนนักลงทุนไทยในต่างประเทศได้อย่างเต็มที่ และเพื่อให้ ธสน. สามารถขยายการสนับสนุนทางการเงินแก่นักลงทุนในประเทศที่ประกอบกิจการเกี่ยวเนื่องกับการส่งออกและการลดการสูญเสียหรือสนับสนุนให้ได้มาซึ่งเงินตราต่างประเทศ

 

 9. ธนาคารซิติแบงค์

ชื่อย่อ   CitiBank

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่     นายปีเตอร์ เอเลียต

 สำนักงานใหญ่ 

ธนาคารซิตี้แบงก์ เอ็น.เอ. สาขากรุงเทพฯ เลขที่ 399 ถนนสุขุมวิท อาคารอินเตอร์เชนจ์ 21 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110

 สาขาทั้งหมด  47 สาขา

Website    http://www.citibank.co.th

จุดเด่น 

 มุ่งมั่นป็นธนาคารระดับโลก เอกลักษณ์ในการมีเครือข่ายสาขาทั่วโลก ทุ่มเทให้ลูกค้าของเรา มีความแงแกร่งทางการเงินเสมอต้นเสมอปลาย สนับสนุน และช่วยพัฒนาศักยภาพของพนักงานอย่างต่อเนื่อง  นำเสนอบริการที่เหนือกว่าแก่นักลงทุนตลอดเวลา

 

 

10. ธนาคารแลนด์แอนด์เฮ้าส์

ชื่อย่อ      LHBANK

สำนักงานใหญ่        1 อาคารคิวเฮ้าส์ ลุมพินี ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่     นางศศิธร พงศธร

เว็บไซต์  http://www.lhbank.in.th/

จำนวนสาขา           23 สาขา

จุดเด่น   

 เป็นธนาคารเพื่อรายย่อยให้ดอกเบี้ยสูงและบริหารสินเชื่อทุกรูปแบบอัตราดอกเบี้ยตามระดับในตลาด ทั้งสินเชื่อที่อยู่อาศัย สินเชื่อแฟคทอริ่ง สินเชื่อธุรกิจและสินเชื่อบุคคล

 

 

11. ธนาคารออมสิน

 ชื่อย่อ GSB

 สำนักงานใหญ่ 470 ถ.พหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400

โทรศัพท์ 0-2299-8000โทรสาร 0-2271-1515

 เว็บไซด์  http://www.gsb.or.th

 จำนวน 400 สาขา

กรรมการผู้จัดการใหญ่   นายวินัย วิทวัสการเวช

 จุดเด่น

 เป็นธนาคารเพื่อลูกค้ารายย่อย จะเน้นให้สินเชื่อเพื่อพัฒนาชนบท พัฒนาผู้ประกอบการรายย่อย โดยจะมีรูปแบบของสินเชื่อและชนิดการฝากเงินรายย่อยมากมาย อีกทั้งยังสร้างเงินทุนหมุนเวียนในกลุ่มชุมชน โครงการธนาคารเพื่อประชาชนโดยให้สิ้นเชื่อระยะสั้นแก่ผู้ประกอบการรายย่อย (ให้ประชาชนมาเป็นหนี้ในระบบ ที่สามารถตรวจสอบได้ และการเก

12. ธนาคารสินเอเชีย

 ชื่อย่อ  ACL Bank

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่     นายฮุยเหมิน หยี่  ประธานกรรมการ   

นายธงชัย อานันโทไทย    กรรมการผู้จัดการใหญ่

สำนักงานใหญ่    ชั้น 11-13 เอ็มโพเรี่ยมทาวเวอร์ เลขที่ 622 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองตัน เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110  โทรศัพท์. 02 663 9999 

สาขาทั้งหมด   17 สาขา

จุดเด่น  

  ธนาคารสินเอเซีย จำกัด (มหาชน) หรือในชื่อเดิมคือ บริษัท เงินทุนสินเอเซีย จำกัด (มหาชน) ซึ่งได้รับใบอนุญาตประกอบการธนาคารพาณิชย์จากกระทรวงการคลังและ ธนาคารแห่งประเทศไทย ให้เริ่มเปิดให้บริการประชาชน เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2548 นับตั้งแต่ขวบปีแรกที่ก้าวสู่ธุรกิจการเงินการธนาคารเมื่อปี พ.ศ. 2512 หลังจากนั้น ก็ได้รับอนุญาตจากกระทรวง การคลังให้ประกอบ ธุรกิจหลักทรัพย์และธุรกิจเงินทุนในปี พ.ศ. 2516 จดทะเบียนเข้าสู่ตลาดหลักทรัพย์ในปี พ.ศ. 2521 จนกระทั่งแปรสภาพ เป็นบริษัทมหาชนในปี พ.ศ. 2536 มาจนวันนี้ ธนาคารสินเอเซีย จำกัด (มหาชน) ได้นำประสบการณ์ในแวดวงการเงินที่สั่งสมมากว่า 35 ปี พร้อมที่จะรับใช้ประชาชน อย่างเต็มที่ 

Website    http://www.bankasia4u.co.th

 

13. ธนาคารอาคารสงเคราะห์

ชื่อย่อ            GHB

สำนักงานใหญ่        63 ถ.พระรามที่ 9 ห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10320

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่     นายชัยเกษม นิติสิริ 

เว็บไซต์  www.ghbank.co.th

จำนวนสาขา           146 สาขา

จุดเด่น  

  เป็นรัฐวิสาหกิจ และเป็นสถาบันการเงินเฉพาะกิจในสังกัดกระทรวงการคลังให้บริการทางการเงินด้านที่อยู่อาศัยอย่างครบวงจร เพื่อให้ประชาชนได้มีที่อยู่อาศัยตามสมควรแก่อัตภาพ และสามารถตอบสนองความคาดหวังของลูกค้า รัฐบาล และสังคมภายใต้แนวทางเศรษฐกิจพอเพียง

 

14.  ธนาคารเพื่อการเกษรและสหกรณ์การเกษตร

   ชื่อย่อ    BAC ( Bank for Agriculture and Agricultural Cooperatives)

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่    นายลักษณ์  วจนานวัช
สำนักงานใหญ่   เลขที่ 469 ถนน นครสวรรค์ เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300 โทร (662) 280-0180

สาขาทั้งหมด    886 สาขา

จุดเด่น 

 เป็นธนาคารพัฒนาชนบทที่มั่นคง มีการจัดการที่ทันสมัย เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของเกษตรกรรายย่อย"

เว็บไซต์     http://www.baac.or.th

 

{img_a}

15. ธนาคารทิสโก้

   ชื่อย่อ      TISCO 

สำนักงานใหญ่        48/2 ถนนสาทรเหนือแขวงสีลม เขตบางรัก

ศิรินันท์ กาญจนพันธุ์วงศ์ รหัส 50473010001 ต่อจากเดิม

 

 

ธ. ออมสิน

 

 

ชื่อย่อ GSB

 

 

470 ถ.พหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400
โทรศัพท์ 0-2299-8000
โทรสาร 0-2271-1515

 

 

http://www.gsb.or.th

 

 

จำนวน 400 สาขา
   กรรมการผู้จัดการใหญ่นายวินัย วิทวัสการเวช

 

 

จุดเด่น เป็นธนาคารเพื่อลูกค้ารายย่อย จะเน้นให้สินเชื่อเพื่อพัฒนาชนบท พัฒนาผู้ประกอบการรายย่อย โดยจะมีรูปแบบของสินเชื่อและชนิดการฝากเงินรายย่อยมากมาย อีกทั้งยังสร้างเงินทุนหมุนเวียนในกลุ่มชุมชน โครงการธนาคารเพื่อประชาชนโดยให้สิ้นเชื่อระยะสั้นแก่ผู้ประกอบการรายย่อย (ให้ประชาชนมาเป็นหนี้ในระบบ ที่สามารถตรวจสอบได้ และการเก็บดอกเบี้ยตามความเป็นจริง) เป็นช่องทางการรับ-จ่ายเงินกู้จากโครงการกองทุนหมู่บ่นและชุมชนเมือง อีกทั้งยังลงทุนในการพัฒนาประเทศของหน่วยงานรัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ ให้บริการรูปแบบเงินฝากที่หลายหลายรูปแบบที่เหมาะกับแต่ละช่วงวัย

 

 

 

 

ธ. อาคารสงเคราะห์

 

 

ชื่อย่อ  ธอส. หรือ GH Bank

 

 

63 ถ.พระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310
โทรศัพท์ 0-2645-9000
โทรสาร 0-2645-9001

 

 

   http://www.ghb.co.th

 

 

 จำนวนสาขา146 สาขา
กรรมการผู้จัดการใหญ่

 

 

นายชัยเกษม นิติสิริ  

 

 

จุดเด่น

 

 

เป็นธนาคารทำหน้าที่ช่วยเหลือทางการเงินให้กับประชาชน ได้มีที่อยู่อาศัยตามสมควรแก่อัตภาพ โดยการให้กู้ยืมเงิน และ จัดสรรที่ดินเพื่อก่อสร้างที่เป็นหน่วยงานของรัฐบาลที่ประกอบธุรกิจในการส่งเสริมและช่วยเหลือประชาชนนำเงินไป ลงทุนเกี่ยวกับการสร้างอาคารและที่ดินโดยตรงทำหน้าที่เสมือนสื่อกลางในการนำเงินไปใช้ประโยชน์ ใน กิจการเคหะและเป็นสถาบันการเงินที่ดำเนินธุรกิจ อีกทั้งยัง ร่วมมือกับหน่วยงานของรัฐต่างๆ สนับสนุนให้ประชาชนมีที่อยู่เป็นของตนเอง อาทิ ให้สินเชื่อกับผู้ที่ซื้อบ้านกับการเคหะแห่งชาติ สินเชื่อกับผู้ประกันตนกับสำนักงานประกันสังคม ร่วมกับกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการให้สมาชิกกู้เงินเพื่ออสังหาริมทรัพย์ ความช่วยเหลือด้านการมีบ้าน

 

 

 

 

 

 

 

ธ. อิสลามแห่งประเทศไทย                                                

 

 

ชื่อย่อ -

 

 

 

 

 

66 อาคารคิวเฮาส์ อโศก ชั้น 21,22 ถ.สุขุมวิท 21 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110
โทรศัพท์ 0-2650-6999
โทรสาร 0-2204-2765

 

 

   http:\\www.ibank.co.th

 

 

 

 

 

จำนวน 28 สาขา
กรรมการผู้จัดการใหญ่                                                                                                               นายธีรศักดิ์ สุวรรณยศ                                                                                                                 

 

 

จุดเด่น      เป็นธนาคารที่ดำเนินธุรกรรมโดยปราศจากดอกเบี้ย แต่อยู่บนหลักการ กำไร-ขาดทุนร่วมกัน และดำเนินธุรกิจตาม พ.ร.บ.ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2545 โดยมีคณะที่ปรึกษาด้านศาสนาให้คำแนะนำ ตรวจสอบ เพื่อให้ธนาคารดำเนินงานถูกต้องตามหลักศาสนาอิสลาม ปัจจุบันธนาคารมีฐานะเป็นรัฐวิสาหกิจ สังกัดกระทรวงการคลัง

 

 

 

 

 

สาขาของธนาคารต่างประเทศ 15

 

 

            http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/028.gif

 

 

ธ. เครดิต อะกริกอล คอร์ปอเรทแอนด์อินเวสเมนท์แบงก์

 

 

ชื่อเดิม ธนาคารคาลิยง

 

 

152 อาคารอินโดสุเอซ เฮ้าส์ ถ.วิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
โทรศัพท์ 0-2624-8000
โทรสาร 0-2651-4586

 

 

http://www.ca-cib.com/global-presence/thailand.htm

 

 

จำนวนสาขา 12 สาขาแถบเอเชียและแปซิกฟิก
 ผู้จัดการประจำภูมิภาค   
นายปาทริช กูแวร์น 

 

 

จุดเด่น เป็นธนาคารใหญ่ในฝรั่งเศสและมีสินทรัพย์เป็นอันดับที่ 6 ของโลก หนึ่งในธนาคารชั้นนำของโลกที่มีบทบาทสำคัญต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมและมีความสัมพันธ์กับเศรษฐกิจของไทยยาวนานถึง 112 ปี

 

 

  

 

 

http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/008.gif

 

 

ธ. เจพีมอร์แกน เชส
จำนวนสาขา – สาขา

 

 

กรรมการผู้จัดการใหญ่ นายเจมี ไดมอน

 

 

ชื่อย่อ JPmorgan

 

 

20 อาคารบุปผจิต ถ.สาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500
โทรศัพท์ 0-2684-2000
โทรสาร 0-2684-2020

 

 

   http://www.th.jpmorgan.com

 

 

จุดเด่นบริษัทที่ให้บริการด้านการเงินการธนาคาร การลงทุน และการบริหารทรัพย์สิน ที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก ธนาคารเพื่อการลงทุนรายใหญ่ของสหรัฐ

 

 

 

 

 

 

 

ธ. ซิตี้แบงก์  

 

 

ชื่อย่อ : CitiBank

 

 

82 อาคารแสงทองธานี ถ.สาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500
โทรศัพท์ 0-2232-2000, 0-2639-2000
โทรสาร 0-2232-3500

 

 

   http://www.citibank.co.th

 

 

จำนวนสาขา : 47 สาขา

 

 

กรรมการผู้จัดการใหญ่ นายปีเตอร์ เอเลียต

 

 

จุดเด่น ธนาคารซิตี้แบงก์เริ่มเปิดดำเนินกิจการ ในมหานครนิวยอร์คในปี พ.ศ. 2355 ปัจจุบันธนาคารมีเครือข่ายครอบคลุมทั่วโลก มากกว่า 3,000 สาขาใน 100 ประเทศ กิจการบุคคลธนกิจของธนาคารให้บริการบัตรเครดิตกว่า 60 ล้านใบทั่วโลก จาก เครือข่ายที่กว้างไกลของธนาคารทำให้สามารถให้บริการด้านเงินทุน และธุรกรรมการเงินเพื่อตอบสนองลูกค้าสถาบันทั้งในและต่างประเทศ รวมทั้งประเทศในตลาดเกิดใหม่

 

 

 

 

 

http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/018.gif

 

 

ธ. ซูมิโตโม มิตซุย แบงกิ้ง คอร์ปอเรชั่น
จำนวนสาขา - สาขา

 

 

ชื่อย่อ SMEC

 

 

1 อาคารคิวเฮ้าส์ลุมพินี ชั้น 8-10 ถ.สาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120
โทรศัพท์ 0-2353-8000
โทรสาร 0-2353-8282

 

 

   http://www.smbc.co.jp/global/bangkok

 

 

กรรมการผู้จัดการใหญ่ นายเซจิ ซาโต้

 

 

จุดเด่น -

 

 

 

 

 

     http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/032.gif

 

 

ธ. ดอยซ์แบงก์

 

 

ชื่อย่อ ดอยซ์ แบงค์

 

 

63 อาคารแอทธินี ทาวเวอร์ ชั้น 27-29 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน 10330
โทรศัพท์ 0-2651-5000
โทรสาร 0-2651-5151

 

 

   http://www.db.com/thailand

 

 

จุดเด่น ธนาคารดอยซ์แบงก์ได้รับจัดอันดับจากการสำรวจของวารสารยูโรมันนี่  ให้เป็นผู้นำด้านธุรกรรมการแลกเปลี่ยน เงินตราต่างประเทศ โดยเป็นธนาคารอันดับหนึ่งของตลาดเอเชียและของตลาดโลก

 

 

  

 

 

http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/005.GIF

 

 

ธ. เดอะรอยัลแบงก์อ๊อฟสกอตแลนด์ เอ็น.วี.

 

 

179/3 อาคารบางกอกซิตี้ทาวเวอร์ ชั้น 3-4 ถ.สาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120
โทรศัพท์ 0-2679-5900
โทรสาร 0-2679-5901-2

 

 

   http://www.rbs.com/customers/our-services/our-locations/thailand.ashx

 

 

  

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ศิรินันท์ กาญจนพันธุ์วงศ์ 50473010001 เศรษบศาสตร์ธุรกิจ ต่อจากเดิม 3

 

http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/045.gif

ธ. บีเอ็นพี พารีบาส์

990 อาคารอับดุลราฮิม เพลส ชั้น 29 ถ.พระราม 4 แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500
โทรศัพท์ 0-2636-1900
โทรสาร 0-2636-1935

http://www.bnpparibas.co.th

http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/039.gif

ธ. มิซูโฮ คอร์ปอเรต จำกัด

48 ตึกทิสโก้ทาวเวอร์ ชั้นที่ 18 ถ.สาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500
โทรศัพท์ 0-2638-0200-5
โทรสาร 0-2638-0218

 http://www.mizuhocbk.co.th/mizuhocbk

http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/010.gif

ธ. แห่งโตเกียว-มิตซูบิชิ ยูเอฟเจ จำกัด

ชื่อย่อ MUFG

54 อาคารหะรินธร ถ.สาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500
โทรศัพท์ 0-2266-3011-35
โทรสาร 0-2266-3054-5

   http://www.th.bk.mufg.jp/

 

ธ. แห่งประเทศจีน จำกัด

179/4 อาคารบางกอกซิตี้ทาวเวอร์ ถ.สาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120
โทรศัพท์ 0-2286-1010
โทรสาร 0-2286-1020

http://www.boc.cn/mangu/index.htm

 

Bank of America Home

ธ. แห่งอเมริกาเนชั่นแนลแอสโซซิเอชั่น

87/2 อาคาร ซี อาร์ ซี ออลซีซั่นส์เพลส ชั้น 33 ถ.วิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
โทรศัพท์ 0-2305-2800
โทรสาร 0-2305-2999

   http://www.bankofamerica.com/th

 http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/023.gif

ธ. อาร์ เอช บี จำกัด

87/2 อาคารออลซีซั่น เพลส ชั้น G และ ชั้น 18 ถ.วิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
โทรศัพท์ 0-2126-8600
โทรสาร 0-2126-8601

http://www.rhbbank.com.my/cbob/thailand

http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/029.gif

ธ. อินเดียนโอเวอร์ซีส์

221 ถ.ราชวงศ์ แขวงจักรวรรดิ เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร 10100
โทรศัพท์ 0-2224-5389, 0-2224-5411-4
โทรสาร 0-2224-5405

   http://www.iob.co.th

จุดเด่น ธนาคารเปิดให้บริการโอนเงินผ่านระบบบาทเนต

OCBC Bank

ธ. โอเวอร์ซี-ไชนีสแบงกิ้งคอร์ปอเรชั่น จำกัด

ชื่อย่อ OCBC

1 อาคาร Q-House Lumpini ชั้น 25 ยูนิต 2501-2 ถ.สาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120
โทรศัพท์ 0-2287-9840
โทรสาร 0-2287-9898

http://www.ocbc.com/global/countries/Gco_International.shtm?bcid=M3_C3_S1

ธ. ฮ่องกงและเซี่ยงไฮ้แบงกิ้งคอร์ปอเรชั่น จำกัด

ชื่อย่อ HSBC

กรรมการผู้จัดการใหญ่ นายไชย ไชยวรรณ

968 อาคารอื้อจือเหลียง ถ.พระราม 4 แขวงสาทร เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500
โทรศัพท์ 0-2614-4000
โทรสาร 0-2632-4818

   http://www.hsbc.co.th

จุดเด่น

 ได้รับการคัดเลือกให้เป็นธนาคารดีเด่นในการพัฒนาอย่างยั่งยืนในทุกสาขา ด้วยรับรางวัล Sustainable Banking Award ประจำปี 2549 ในฐานะที่เป็นผู้นำในการผนวกจุดมุ่งหมายทางธุรกิจ ที่คำนึงถึง สิ่งแวดล้อม และสังคมได้ดีจึงเป็นการยกย่องบทบาทธนาคารที่มี CSR ชัดเจนรางวัลนี้จัดขึ้นเป็นครั้งแรก โดยความร่วมมือของนิตยสารไฟแนนเชียล ไทม์ และบรรษัทเงินทุนระหว่างประเทศ (IFC) ซึ่งเป็นหน่วยงานหนึ่งของธนาคารโลก โดยคัดเลือกจาก 90 ผลงาน ที่ส่งเข้าร่วมประกวดจากสถาบันการเงินทั้งสิ้น 48 แห่ง


ชื่อย่อ   The Bank of Thailand

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่     นางธาริษา วัฒนเกส

273 ถนนสามเสน บางขุนพรหม เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 เบอร์กลาง  

โทร. 0-2283-5353

สาขา 5 สาขา 

จุดเด่น  ; ได้ออกแนวปฏิบัติของธนาคารแห่งประเทศไทย เรื่อง การจัดทำแผนรองรับการดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง (Business Continuity Plan: BCP) สำหรับกรณีการระบาดของโรคติดต่อร้ายแรง โดยบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 4 สิงหาคม 2551 ภายใต้การสนับสนุนจากสมาคมธนาคารไทย สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย และ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และธนาคารต่างๆ ได้เตรียมความพร้อมเช่นกัน เช่น ธนาคารไทยธนาคาร จำกัด (มหาชน), ธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน) เป็นต้น

เว็บไซต์  =  http://www.bot.or.th

การแข่งขันฟุตบอลโลกครั้งนี้ส่งผลอย่างไรต่อภาคธุรกิจสังคม
                 ผู้อำนวยการศูนย์พยากรณ์เศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยา ลัยหอการค้าไทย เปิดเผยว่า ผลสำรวจพฤติ กรรมการใช้จ่ายของผู้บริโภคในช่วงเทศกาลฟุตบอลโลก 2010 จำนวน 1,112 ตัวอย่าง วันที่ 26-31 พ.ค. 53 พบว่าการใช้จ่ายช่วงเทศกาลฟุตบอลโลกจะมีเม็ดเงินสะพัดกว่า 59,672 ล้านบาทเพิ่มขึ้น 50.48% เมื่อเทียบกับฟุตบอลโลกปี ค.ศ. 2006 ที่มีเงินสะพัด 39,655 ล้านบาท โดยแยกเม็ดเงินจากการพนันบอล 37,200 ล้านบาทเพิ่มขึ้น 90.48% จาก 4 ปีก่อนที่ 19,534 ล้านบาท และการซื้อสินค้าอุปโภคบริโภคกับอื่น ๆ 22,464 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 11.64% จาก 20,121 ล้านบาท
   
   
                 การใช้จ่ายในเทศกาลฟุตบอลโลก  ปีนี้ จะช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจไทยได้ในระดับหนึ่ง เพราะเป็นกิจกรรมที่มีการจับจ่ายใช้สอย และผ่อนคลายความเครียดให้คนไทย โดย  ค่าใช้จ่ายส่วนหนึ่งประมาณ 5,000-10,000 ล้านบาท จะเป็นการใช้จ่ายจากภาคธุรกิจ ในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการขาย เช่น งานอีเวนต์ การทำโปรโมชั่นของสินค้า รวมถึงค่าใช้จ่ายด้านโฆษณา ซึ่งถือเป็นค่าใช้จ่ายพิเศษที่เพิ่มขึ้นมาไม่ได้รวมกับการใช้จ่ายปกติ ส่วนการใช้จ่ายภาคประชาชนมาจากการซื้อสินค้าอุปโภคบริโภคและสังสรรค์ 19,000 ล้านบาท การซื้อเครื่องใช้ไฟฟ้าอุปกรณ์รับสัญญาณ 2,205 ล้านบาท และอื่น ๆ อีก 1,234 ล้านบาท จึงคาดว่าฟุตบอลโลกหนนี้ช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจให้กลับขึ้นมาได้ 0.2-0.3%”
   
                       นอกจากนี้พฤติกรรมที่น่าสนใจพบว่า มีสถิติการเล่นพนันเพิ่มขึ้นจาก 4 ปีก่อนถึง 78.3% และเพิ่มขึ้นจากฟุตบอลลีกฤดูกาล  ปกติ 53.7% อีกทั้งผู้ติดตามถึง 48% ตอบว่าจะเล่นพนันที่เหลือ 52% ไม่เล่น   

ธุรกิจที่ได้รับอานิสงส์จากเทศกาลฟุตบอลโลก ได้แก่ สื่อโทรทัศน์ เพราะประชาชนส่วนใหญ่ติดตามฟุตบอลโลกจากสื่อโทรทัศน์มากที่สุด ซึ่งจะเป็นผลให้งบโฆษณาเทเข้ามาที่สื่อนี้เพิ่มขึ้นกว่า 10% รวมทั้งธุรกิจเครื่องดื่ม อาหารจะคึกคักตามไปด้วย ส่วนพฤติกรรมการใช้จ่ายเพิ่มขึ้นได้แก่ ทานข้าวนอกบ้าน รองลงมาเป็นส่งไปรษณียบัตร หนังสือพิมพ์ สลากกินแบ่งรัฐบาล ซื้อสินค้าของที่ระลึก ติดตั้งสัญญาณดาวเทียม สังสรรค์จัดเลี้ยง ซื้อโทรทัศน์ใหม่ เครื่องมือที่มีแอลกอฮอล์

            จากข้างต้นที่กล่าวมายังมีผลกระทบที่สำคัญตามมา เกิดเหตุชิงทรัพย์หาเงินมาใช้หนี้พนันบอลอาละวาด สืบเนื่องมาจากมีการเล่นพนันฟุตบอลกันโดยอาชีพที่ตอบเล่นพนันมากสุดคือ นักเรียนนักศึกษา รองลงมาเป็นข้าราชการ ลูกจ้างรายวัน เจ้าของกิจการและพนักงานบริษัทเอกชน  สำหรับสาเหตุที่ทำให้คนหันมาเล่นพนันบอลกันมาก เพราะต้องการรางวัลจากการพนันบอล  

 

น.ส.ลัดดา วงษ์สวาท รหัส 50473010060 โปรเเกรมเศรษฐศาสตร์ ธุรกิจ

น.ส.ลัดดา วงษ์สวาท รหัส 50473010060

โปรเเกรมเศรษฐศาสตร์ ธุรกิจ มหาวิทยาลัย ราชภัฎสวนสุนันทา

ธนาคารของรัฐบาล

1.ธนาคารกรุงเทพ

ชื่อย่อ --> BBL

สำนักงานใหญ่ --> ที่อยู่ เลขที่ 333 ถนนสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่ --> ชาติศิริ โสภณพนิช

จำนวนสาขา --> 917 สาขา

เว็บไซต์ --> http://www.bangkokbank.com/

จุดเด่น --> สามารถกำหนดเงื่อนไขและขอบเขตของบริการที่มีความหลากหลาย ให้สอดคล้องกับความต้องการทางธุรกิจ ระบบงานสามารถจัดลำดับขั้นบัญชีได้สูงสุดถึงสามระดับขั้น คือบัญชีหลัก บัญชีรองและ บัญชีพื้นฐาน

2.ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย

ชื่อย่อ --> ISLAMIC BANK

สำนักงานใหญ่ --> เลขที่ 66 ชั้น M, 21, 22 อาคารคิวเฮ้าส์ ถนนสุขุมวิท 21 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110 ...

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่ --> นายธีรศักดิ์ สุวรรณยศ

จำนวนสาขา --> 27 สาขา

เว็บไซต์ --> www.ibank.co.th

จุดเด่น --> มุ่งเน้นการสร้างผลิตภัณฑ์และการให้บริการสอดคล้องกับความต้องการของลูกค้าที่เปลี่ยนไป และมีทางเลือกมากขึ้น โดยคำนึงถึงประโยชน์สูงสุดของลูกค้าและธนาคาร ภายใต้หลักคุณธรรมที่ใส่ใจ และห่วงใยทุกกลุ่มสังคมยืดหลักให้บริการตามหลักศาสนาอิสลาม เต็มรูปแบบ บนพื้นฐานของความเป็นธรรม ยึดคำมั่นสัญญาที่ตกลงกัน และบริหารงานด้วยความโปร่งใส

3.ธนาคารกสิกรไทย

ชื่อย่อ --> KBANK

สำนักงานใหญ่ --> 1 ซอยกสิกรไทย ถนนราษฎร์บูรณะ กรุงเทพฯ 10140

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่ --> ดร.ประสาร ไตรรัตน์วรกุล

จำนวนสาขา --> 809 สาขา

เว็บไซต์ --> http://www.kasikornbank.com/

จุดเด่น --> เป็นสินเชื่อบุคคลที่ไม่ต้องมีหลักทรัพย์ค้ำประกันคิดอัตราดอกเบี้ยต่ำกว่าคู่แข่งในตลาดลูกค้าสามารถถอนเงินสดได้ตลอด 24 ชั่วโมงจากตู้เอทีเอ็มทุกเครื่องของทุกธนาคาร รวมทั้งไม่เก็บค่าธรรมเนียมใด ๆ ทั้งสิ้น

4.ธนาคารกรุงไทย

ชื่อย่อ --> KTB

สำนักงานใหญ่ --> 35 ถนนสุขุมวิท เขตวัฒนา กรุงเทพฯ

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่ --> นายอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์

จำนวนสาขา --> 800 สาขา

เว็บไซต์ --> www.ktb.co.th

จุดเด่น --> จะเป็นความสะดวก รวดเร็ว สินค้าโดนใจ และเลือกใช้ได้ตามต้องการ เช่น การขายประกันผ่านธนาคาร ร่วมมือกับกรุงไทยแอกซ่า ประกันชีวิต

5.ธนาคารไทยพาณิชย์

ชื่อย่อ --> SCB

สำนักงานใหญ่ --> 9 ถนนรัชดาภิเษก เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่ --> คุณหญิงชฎา วัฒนศิริธรรม

จำนวนสาขา --> 873 สาขา

เว็บไซต์ --> http://www.scb.co.th/

จุดเด่น --> เช็คและตู้นิรภัย ป้องกันผลกระทบจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน กับบริการรับซื้อ และขายเงินสกุลต่างประเทศกว่า 25 สกุลหลัก ที่มีไว้ให้คุณเลือกฝาก-ถอน- โอนสกุลเงินต่างประเทศ ได้ครบทุกประเภทบัญชี ด้วยอัตราดอกเบี้ยเทียบเท่าสากล ณ สาขาธนาคารทั่วประเทศ

6.ธนาคารกรุงศรีอยุธยา

ชื่อย่อ --> BAY

สำนักงานใหญ่ --> สาขาสำนักพระรามที่ 3 (สำนักงานใหญ่) (รหัสสาขา 777)

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่ --> นายมาร์ค จอห์น อาร์โนลด์

จำนวนสาขา --> 577 สาขา

เว็บไซต์ --> http://www.krungsri.com

จุดเด่น --> ลดขั้นตอน บริษัทไม่ต้องจัดเตรียมเช็คแต่ละฉบับ เพื่อให้ผู้บริหารลงนาม ลดต้นทุน เวลาในการทำเช็คจ่าย Supplier แต่ละฉบับลดลง ทำให้ต้นทุนการบริหารงานลดลง ปลอดภัย บริษัทไม่ต้องสั่งซื้อเช็คมาเก็บดูแลรักษาเอง เพิ่มประสิทธิภาพ โดยธนาคารจะจัดทำรายงานรายละเอียดของการจ่ายเช็คให้กับบริษัทเพื่ออำนวยความสะดวกในการกระทบยอดบัญชี

7.ธนาคารทหารไทย

ชื่อย่อ --> TMB

สำนักงานใหญ่ --> 3000 ถ.พหลโยธิน จอมพล จตุจักร กรุงเทพฯ 10900

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่ --> นางเสาวนีย์ กมลบุตร

จำนวนสาขา --> 480 สาขา

เว็บไซต์ --> http://www.tmbbank.com

จุดเด่น --> คอนซูเมอร์แบงกิ้ง-รีเทลแบงกิ้ง การบริหารความเสี่ยง และไอเอฟซีทีจะเด่นเรื่องของลูกค้าขนาดกลางและขนาดย่อม ด้านพัฒนาธุรกิจ

8.ธนาคารนครหลวงไทย

ชื่อย่อ --> SCIB

สำนักงานใหญ่ --> 1101 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่ --> นายชัยวัฒน์ อุทัยวรรณ์

จำนวนสาขา --> 400 สาขา

เว็บไซต์ --> http://www.scib.co.th/

จำนวนสาขา --> 400 สาขา

จุดเด่น --> ดอกเบี้ยต่ำจูงใจลูกค้าบุคคล มาใช้สินเชื่อบ้าน แยกฝ่ายสินเชื่อรายย่อยเพื่อให้บริการสินเชื่อธุรกิจ

9.ธนาคารเกียรตินาคิน

ชื่อย่อ --> KK

สำนักงานใหญ่ --> 500 อาคารอัมรินทร์ ทาวเวอร์ ชั้น 11 ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่ --> นางสาวนวพร เรืองสกุล

จำนวนสาขา --> 52 สาขา

เว็บไซต์ --> http://www.kiatnakinbank.com/

จุดเด่น --> ได้รับการอนุมัติให้ยกระดับจากบริษัทเงินทุนขึ้นเป็นธนาคารพาณิชย์ตามแผนแม่บทพัฒนา สถาบันการเงินและเปิดดำเนินธุรกิจเป็นรายที่สองต่อจากธนาคารทิสโก้

10.ธนาคารยูไนเต็ด โอเวอร์ซีส

ชื่อย่อ --> UOB

สำนักงานใหญ่ --> 191 ถนนสาทรใต้ กรุงเทพฯ 10120

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่ -->

จำนวนสาขา --> 154 สาขา

เว็บไซต์ --> http://www.uob.co.th

จุดเด่น --> การตรวจสอบยอดเงินและรายการเคลื่อนไหวในบัญชี บริการโอนเงินไปบุคคลอื่นภายในธนาคารฯ และต่างธนาคาร การชำระค่าสินค้าและบริการ ธนาณัติออนไลน์ และธุรกรรมทางการเงินอื่นๆ ตลอด 24 ชั่วโมง ด้วยระบบรักษาความปลอดภัยมาตรฐานสากล ที่ท่านไว้วางใจได้

11.ธนาคารสแตนดาร์ดชาร์เตอร์

ชื่อย่อ --> SCNB

สำนักงานใหญ่ --> 90 ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพ 10500

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่ --> ยุทธเดช ปัทมานนท์

จำนวนสาขา --> 41 สาขา

เว็บไซต์ --> http://www.standardchartered.co.th/

จุดเด่น --> จัดการลูกค้าสัมพันธ์ที่จะช่วยท่าน วางแผน สร้างเสริม และปกป้อง ผลประโยชน์ของท่าน ทางเลือกหลากหลายเพื่อตอบสนองความต้องการทางการเงินที่แตกต่างกันไป ศูนย์บริการธนาคารพิเศษและสิ่งอำนวยความสะดวก ที่มีเครือข่ายในประเทศต่างๆทั่วโลก

12.ธนาคารธนชาติ

ชื่อย่อ --> TNC

สำนักงานใหญ่ --> 900 อาคารต้นสนทาวเวอร์ ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่ --> นายบันเทิง ตันติวิท

จำนวนสาขา --> 50 สาขา

เว็บไซต์ --> http://www.thanachartbank.com/

จุดเด่น --> ขึ้นอัตราดอกเบี้ยตลาดซื้อคืนพันธบัตรระยะเวลา 14 วัน ปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยเงินฝากออมทรัพย์ เพื่อเป็นประโยชน์และเพิ่มทางเลือกแก่ผู้ฝากเงินออมทรัพย์ลูกค้าที่ใช้บัตรเอทีเอ็มของธนาคารธนชาต ยังสามารถใช้บริการที่ตู้เอทีเอ็มของธนาคารอื่นๆโดยไม่เสียค่าธรรมเนียม

13.ธนาคารทิสโก้

ชื่อย่อ --> TISCO

สำนักงานใหญ่ --> 48/2 ถนนสาทรเหนือแขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่ --> นายสุทัศน์ เรืองมานะ

เว็บไซต์ --> http://www.tisco.co.th/

จำนวนสาขา --> 46 สาขา

จุดเด่น --> มีลักษณะการดำเนินธุรกิจที่ครบวงจรให้ความสำคัญกับการบริหารความเสี่ยง และออกสินค้าใหม่ ๆ อย่างต่อเนื่อง

14.ธนาคารสินเอเซีย

ชื่อย่อ ---> ACL

สำนักงานใหญ่ --> ชั้น 11-13 เอ็มโพเรี่ยมทาวเวอร์ เลขที่ 622 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองตัน เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่ --> นายฮุยเหมิน หยี่

เว็บไซต์ --> http://www.aclbank.com/

จำนวนสาขา --> 17 สาขา

จุดเด่น --> ธนาคารที่มุ่งเน้นให้บริการสินเชื่อสำหรับ การทำธุรกิจและรับฝากเงินเป็นหลัก โดยเน้นลูกค้าตั้งแต่ระดับกลางขึ้นไป ให้เอื้ออำนวยปล่อยสินเชื่อได้ง่ายขึ้น โดยเฉพาะการปล่อยสินเชื่อให้กับลูกค้าในต่างจังหวัด

15ธนาคารอาคารสงเคราะห์

ชื่อย่อ --> GHB

สำนักงานใหญ่ --> 63 ถ.พระรามที่ 9 ห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10320

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่ --> นายชัยเกษม นิติสิริ

เว็บไซต์ --> www.ghbank.co.th

จำนวนสาขา --> 146 สาขา

จุดเด่น --> เป็นรัฐวิสาหกิจ และเป็นสถาบันการเงินเฉพาะกิจในสังกัดกระทรวงการคลังให้บริการทางการเงินด้านที่อยู่อาศัยอย่างครบวงจร เพื่อให้ประชาชนได้มีที่อยู่อาศัยตามสมควรแก่อัตภาพ และสามารถตอบสนองความคาดหวังของลูกค้า รัฐบาล และสังคมภายใต้แนวทางเศรษฐกิจพอเพียง

16ธนาคารแลนด์แอนด์เฮ้าส์

ชื่อย่อ --> LHBANK

สำนักงานใหญ่ --> 1 อาคารคิวเฮ้าส์ ลุมพินี ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่ --> นางศศิธร พงศธร

จำนวนสาขา --> 23 สาขา

เว็บไซต์ --> http://www.lhbank.in.th/

จุดเด่น --> เป็นธนาคารเพื่อรายย่อยให้ดอกเบี้ยสูงและบริหารสินเชื่อทุกรูปแบบอัตราดอกเบี้ยตามระดับในตลาด ทั้งสินเชื่อที่อยู่อาศัย สินเชื่อแฟคทอริ่ง สินเชื่อธุรกิจและสินเชื่อบุคคล

17. ธนาคารออมสิน

ชื่อย่อ --> GSB

สำนักงานใหญ่ --> ถ.พหลโยธิน บริเวณสี่แยกสะพานควาย

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่ --> นายวินัย วิทวัสการเวช

เว็บไซต์ --> www.gsb.or.th

จำนวนสาขา --> 400 สาขา

จุดเด่น --> สนับสนุนสินเชื่อผู้ประกอบการรายใหม่ช่วยคุณให้มีอาชีพพึ่งพาตนเองได้ เพียงคุณมีใจรักที่จะเป็นเจ้าของธุรกิจด้วยตัวคุณเองกับมีหลักทรัพย์หรือมีบุคคลค้ำประกันเงินและเลือกผ่อนชำระสบาย ๆ ได้ถึง 3 ปี

18. ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร

ชื่อย่อ --> BAC

สำนักงานใหญ่ --> เลขที่ 469 ถนน นครสวรรค์ เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่ --> นายกรณ์ จาติกวณิช

จำนวนสาขา --> 886 สาขา

เว็บไซต์ --> www.baac.or.th

จุดเด่น --> มุ่งให้ ความช่วยเหลือทางการเงิน เพื่อส่งเสริม อาชีพการเกษตรหรือการดำเนินงาน ของ เกษตรกร กลุ่ม เกษตรกร หรือสหกรณ์การเกษตร ตลอดจนส่งเสริมให้ เกษตรกร กลุ่มเกษตรกร หรือ สหกรณ์การเกษตร สามารถ ประกอบอาชีพอย่างอื่น ที่เกี่ยวเนื่องในการเกษตร เพื่อเพิ่ม รายได้ ให้แก่ รอบครัวเกษตรกร รวมทั้งให้ บริการรับ ฝากเงิน เช่นเดียวกับธนาคารพาณิชย์ทั่วไปอีกด้วย

19.ธนาคารซีไอเอ็มบีไทย

ชื่อย่อ --> CIMB THAI

สำนักงานใหญ่ --> อาคารหลังสวน เลขที่ 44 ถนนหลังสวน แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพ

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่ --> นายสุภัค ศิวะรักษ์

เว็บไซต์ --> www.cimbthai.com

จำนวนสาขา --> 147 สาขา

จุดเด่น --> สะดวก รวดเร็ว ธนาคารจะโอนเงินสินเชื่อที่คุณได้รับอนุมัติเข้าบัญชีเงินฝากของคุณที่ธนาคาร ไทยธนาคาร หรือธนาคารอื่นที่คุณแจ้งความประสงค์ไว้ภายหลังการอนุมัติ ด้วยช่องทางการรับชำระคืนที่หลากหลาย ตลอด 24 ชม. โดยการหักบัญชีเงินฝากที่ คุณเปิดไว้กับธนาคาร หรือโดยการชำระเงินที่เคาน์เตอร์ของธนาคาร หรือจุดบริการเคาน์เตอร์เซอร์วิสทุกสาขาทั่วประเทศ

20.ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย

ชื่อย่อ --> EXIM Bank

สำนักงานใหญ่ --> อาคารเอ็กซิม 1193 ถนนพหลโยธิน พญาไท กรุงเทพฯ 10400

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่ --> นายณรงค์ชัย อัครเศรณี

เว็บไซต์--> www.exim.go.th

จำนวนสาขา --> 16 สาขา

จุดเด่น --> ส่งเสริมและสนับสนุนผู้ส่งออกและผู้ลงทุนไทยเพื่อการพัฒนาประเทศ ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดความร่วมมือระหว่างสถาบันการเงินและประเทศในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง เพื่อพัฒนาการค้าและการลงทุน บริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลและมีความรับผิดชอบต่อสังคม

21.ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย

ชื่อย่อ --> SME Bank

สำนักงานใหญ่ --> 310 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่ --> นายพงษ์ภาณุ เศวตรุนทร์

เว็บไซต์ --> http://www.smebank.co.th

จำนวนสาขา --> 95 สาขา

จุดเด่น --> สนับสนุนนโยบายภาครัฐในการช่วยเหลือและส่งเสริม SMEs ไทย ให้บริการทางการเงินที่ตอบสนองความต้องการของ SMEs ไทย ส่งเสริมและพัฒนา SMEs ไทย ควบคู่กับการสนับสนุนเงินทุนพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และระบบจัดการขององค์กรให้มีประสิทธิภาพและมีธรรมาภิบาล

การแข่งขันฟุตบอลโลกครั้งนี้ส่งผลอย่างไรต่อภาคธุรกิจใดบ้าง และจะมีผลกระทบภาคสังคมอย่างไรบ้าง

-การแข่งขันฟุตบอลโลกส่งผลดีต่อด้านเศรษฐกิจ โดยเฉพาะทางด้านการค้าและการลงทุน ถือว่าเป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจให้เจริญเติบโต จัดการแข่งขันฟุตบอลโลก จะช่วยส่งเสริมและกระตุ้นเศรษฐกิจได้เป็นอย่างดี ตลอดจนเป็นการสนับสนุนให้ความสำคัญทางด้านก๊ฬา อย่างไรก็ตามก็ยังเป็นผลดีต่อนักธุรกิจที่จะสามารถสร้างผลกำไรทางการค้าเช่น บริษัทอุปกรณ์กีฬา ก็ให้ความสนใจทำ

กิฟเซ็ตให้เข้ากับเทศกาลบอลโลก

-โรงรับจำนำ การแข่งขันเวิลด์คัพ 2010 เป็นปัจจัยหนึ่งที่ช่วยกระตุ้นธุรกิจโรงรับจำนำ เนื่องจากความถี่ของการใช้บริการโรงรับจำนำมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจากการที่ “คอพนัน” ส่วนหนึ่งเข้าโรงรับจำนำเพื่อนำเงินมาเป็นค่าใช้จ่ายในการเล่นพนันฟุตบอล และยังเป็นอีกทางเลือกหนึ่งของบรรดาคอพนันบอลที่จะใช้

-การแข่งขันฟุตบอลโลก ธุรกิจร้านอาหารในบ้านเราได้รับผลดีตามไปด้วย มียอดลูกค้าเพิ่มกว่าปกติ เพราะลูกค้าต้องการบรรยากาศชมฟุตบอลเป็นกลุ่ม ๆ พร้อมกินดื่มอาหารไปด้วย

-ผลกระทบต่อสังคม อาจทำให้ความไม่เสมอภาคทางเชื้อชาติของประชาชน และภัยจากการเล่นการพนันบอลการแข่งขันฟุตบอล จะมีผู้ติดตามการแข่งขันฟุตบอลโลกจำนวนมากขึ้น เนื่องจากเทคโนโลยีการติดต่อสื่อสารที่ทันสมัยขึ้น มีช่องทางต่างๆ ที่ชักนำเข้าสู่การเล่นพนันได้ง่ายขึ้น โดยเฉพาะเด็กและเยาวชนซึ่งเป็นกลุ่มเสี่ยงที่ถูกชักจูงได้ง่าย และเป็นกลุ่มที่ยังไม่มีรายได้ จึงอาจเป็นปัจจัยให้เกิดปัญหาสังคมในด้านต่างๆ ตามมา

นางสาวปวิตรา คลังทอง โปรแกรมเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ 50473010035

ธนาคารแห่งประเทศไทย (Bank of Thailand)

ชื่อย่อ                         BOT

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่    :  วัดสามพระยา  พระนคร กรุงเทพมหานคร
กรรมการผู้จัดการ         นางธาริษา วัฒนเกส

 Website                    www.bot.or.th

 สาขาในปัจจุบัน 

  • สำนักงานใหญ่ กรุงเทพมหานคร
  • สาขาสุรวงศ์
  • สาขาเชียงใหม่ และสาขาย่อยลำปาง สำนักงานภาคเหนือ
  • สาขาขอนแก่น สำนักงานภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
  • สาขาหาดใหญ่ สำนักงานภาคใต้

          ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ทำหน้าที่เป็นตัวแทนประเทศไทยในองค์กรระหว่างประเทศ รวมไปถึงกรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจการเงินระหว่างประเทศ ทั้งในระดับทวิภาคีและพหุภาคี โดยการเป็นตัวแทนของไทยในองค์กรระหว่างประเทศนั้น มีวัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างความมั่นคงและแข็งแกร่งของระบบการเงินและเศรษฐกิจโลก ในขณะที่การเข้าไปมีส่วนร่วมในกรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจการเงินระหว่างประเทศมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความสัมพันธ์ทางการเงิน และการสอดส่องดูแลเศรษฐกิจเป็นสำคัญ

          ธนาคารกลางของประเทศไทย จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติธนาคารแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2485 มีหน้าที่หลักในการดูและกำกับเรื่องการเงินของชาติ ทั้งออกกฎเกณฑ์และควบคุมสถาบันการเงิน นำออกหมุนเวียนซึ่งธนบัตรไทยรวมถึงการควบคุมการถ่ายโอนเงินตราระหว่างประเทศ และเฝ้าระวังอัตราแลกเปลี่ยนเงินบาทเทียบกับสกุลเงินตราอื่น

          ธนาคารแห่งประเทศไทยจัดตั้งขึ้นหลังจากประเทศไทยได้มีธนาคารพาณิชย์ทั้งของรัฐและเอกชนเริ่มดำเนินการไปก่อนหน้านั้นแล้ว ภาระกิจและหน้าที่ของธนาคารแห่งประเทศไทยเดิมซ้อนเหลื่อมอยู่กับกระทรวงการคลังและได้มีการเปลี่ยนแปลงมาเป็นลำดับหลังจากที่ระบบการเงินของโลกพัฒนาไปและมีวิกฤตเศรษฐกิจครั้งสำคัญต่างๆ

 

 

ธนาคารกรุงเทพ (Bangkok Bank)

ชื่อย่อ                            BBL

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่    :     333ถ.สีลม แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร

Website                        www.bangkokbank.com

จำนวนสาขา                    950   แห่ง

           ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) จดทะเบียน โดยข้าราชการ นักธุรกิจ และกลุ่มบุคคลที่มีแนวคิดเดียวกัน มีสโลแกนที่ว่า "เพื่อนคู่คิด มิตรคู่บ้าน"

           รายงานผลการสำรวจธนาคารยอดเยี่ยมในประเทศกำลังพัฒนาประจำปี 2546 ซึ่งตีพิมพ์ใน นิตยสารโกลบอล ไฟแนนซ์ ฉบับประจำเดือนพฤษภาคม 2546 ได้กล่าวถึง ธนาคารกรุงเทพ ว่าเป็นธนาคารที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย และเป็นหนึ่งในธนาคารขนาดใหญ่ของภูมิภาคเอเชียอาคเนย์

           ธนาคารกรุงเทพมีฐานะการเงินมั่นคงเป็นอันดับ 1 ในประเทศไทย และเป็นหนึ่งในธนาคารที่ใหญ่ที่สุดในเอเชียอาคเนย์ และในวันนี้ ธนาคารกรุงเทพก็ยังคงยึดมั่นในภาระหน้าที่ของ ‘เพื่อนคู่คิด’ ที่พร้อมจะอยู่เคียงข้างลูกค้าเพื่อคอยให้การสนับสนุนในทุกย่างก้าวสำคัญของชีวิตตลอดไป

 

ธนาคารกรุงไทย (Krung Thai Bank)

- รัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงการคลัง

บมจ.ธนาคารกรุงไทย - Krungthai Bank Public Company Limited

ชื่อย่อ                             KTB

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่    :      35 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพ 

Website                        www.ktb.co.th

จำนวนสาขา                     800  สาขา        

กรรมการผู้จัดการ 

- นายอภิศักดิ์  ตันติวรวงศ์

         ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) เป็นธนาคารของรัฐ อยู่ภายใต้การกำกับดูแลของกระทรวงการคลัง โดยการควบกิจการของธนาคารมณฑลและธนาคารเกษตร ซึ่งเป็นธนาคารที่รัฐบาลถือหุ้นใหญ่ทั้งคู่ และใช้ชื่อธนาคารใหม่ที่เกิดจากการควบรวมว่า "ธนาคารกรุงไทย จำกัด" มีตราสัญลักษณ์เป็นรูป นกวายุภักษ์ ซึ่งเป็นตราสัญลักษณ์ของกระทรวงการคลังเป็นสัญลักษณ์ของธนาคาร

        ธนาคารกรุงไทยเป็นรัฐวิสาหกิจ แห่งแรกในประเทศไทยที่เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปัจจุบันผู้ถือหุ้นใหญ่คือกระทรวงการคลัง โดยถือหุ้นผ่านกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน

        นอกจากพาณิชยกรรมเช่นธนาคารพาณิชย์ทั่วไปแล้ว ธนาคารกรุงไทยยังเป็นช่องทางของรัฐบาลในการให้บริการทางการเงินสนองตามนโยบายของรัฐ โดยปล่อยสินเชื่อให้ธุรกิจบางประเภท เช่น สินเชื่อเพื่อโอท็อป (OTOP : หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์) สินเชื่อคอมพิวเตอร์ไอซีที สินเชื่อเพื่อการศึกษา ฯลฯ ธนาคารกรุงไทยยังเป็นธนาคารที่หน่วยงานราชการส่วนใหญ่เลือกใช้ อาทิเช่น กรมสรรพากร จ่ายเช็คคืนภาษีเป็นเช็คของธนาคารกรุงไทย และการเบิกจ่ายงบประมาณราชการ รวมถึงบำเหน็จบำนาญต่างๆ ของรัฐก็มีความเกี่ยวข้องกับธนาคารกรุงไทย

        เวลาทำการของธนาคารกรุงไทยนั้นแตกต่างจากธนาคารพาณิชย์ทั่วไปที่ปรับตามสภาวะเศรษฐกิจและความเหมาะสมในการดำเนินพาณิชยกรรม แต่เวลาทำการของธนาคารกรุงไทยสอดคล้องกับเวลาทำการของรัฐวิสาหกิจและราชการมากกว่า เช่นในปัจจุบันที่เปิดทำการถึงเวลา 16.30 น. ขณะที่ธนาคารพาณิชย์อื่นๆ ปิดทำการก่อนหน้านั้น

 

ธนาคารทหารไทย (TMB Bank)

- กลุ่มกองทัพไทย เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่

Bank TMB Newfull.png

ชื่อย่อ                             TMB

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่    :      3000 ถ.พหลโยธิน แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร ตรงข้ามสวนจตุจักร
Website                        www.tmbbank.com

จำนวนสาขา                    480  สาขา

          TMB ดำเนินธุรกิจด้วยหลักธรรมาภิบาล และเติบโตโดยไม่ละทิ้งการตอบแทนสังคม ด้วยมิตรภาพเชื่อม ด้วยการเชื่อมประสานองค์กรและชุมชนผ่านโครงการและกิจกรรมต่างๆ และมีบทบาทในการให้ความร่วมมือแก่ภาครัฐและองค์กรระหว่างประเทศ ในการบริหารโครงการที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ด้วยศักยภาพที่พร้อมให้คำแนะนำปรึกษาในการวางแผนการลงทุน และสนับสนุนแหล่งเงินทุนแก่โครงการอนุรักษ์พลังงานและรักษาสิ่งแวดล้อม โครงการเพื่อสังคม ตลอดจนพัฒนาบริการเสริมใหม่ๆที่เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม

        ในระยะแรกแม้จะเป็นธนาคารพาณิชย์มีใบอนุญาตประกอบกิจการได้ทั่วไป    แต่จำกัดการทำพาณิชยกรรมอยู่ในแวดวงจำกัดดังนี้

  1. ผู้ถือหุ้น ต้องเป็นทหารเท่านั้น บุคคลทั่วไปถือหุ้นไม่ได้
  2. ลูกค้า มุ่งรับฝากจากทหารและครอบครัวทหารเป็นส่วนใหญ่
  3. วัตถุประสงค์ เพื่ออำนวยความสะดวกในการให้บริหารทางการเงินแก่หน่วยงานทหาร และเพิ่มสวัสดิการการเงินแก่ข้าราชการทหาร

ประธานกรรมการ

- นางเสาวนีย์    กมลบุตร         

กรรมการ 

- พลเอก อนุพงษ์     เผ่าจินดา  

 

ธนาคารกรุงศรีอยุธยา (Bank of Ayudhaya)

Bank Krungsri.gif

ชื่อย่อ                             BAY

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่    :      1222 ถ.พระรามที่ 3 แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร

Website                         http://www.krungsri.com

จำนวนสาขา                     577 สาขา และในต่างประเทศ 4 สาขา

          ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน)  ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 27 มกราคม 2488 และได้นำหลักทรัพย์เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในปี 2520 ปัจจุบันเป็นธนาคารพาณิชย์ไทยที่มีฐานเงินฝาก สินทรัพย์ และสินเชื่อใหญ่เป็นอันดับ 5 ของประเทศ และเป็นธนาคารที่ให้บริการทางการเงินอย่างครบวงจรแก่ทั้งลูกค้าธุรกิจ และลูกค้าบุคคล

โครงสร้างผู้ถือหุ้น ณ มีนาคม 2553 : ทุนจดทะเบียนชำระแล้ว : 60,741 ล้านบาท

 

ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายมาร์ค จอห์น อาร์โนลด์

 

ธนาคารกสิกรไทย (KasikornBank)

KBankLogo new.gif

ชื่อย่อ                             KBANK

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่    :      1 ซอยกสิกรไทย ถ.ราษฎร์บูรณะ แขวงราษฎร์บูรณะ เขตราษฎร์บูรณะ  กรุงเทพมหานคร

Website                         http://www.kasikornbank.com

จำนวนสาขา                     595  สาขา

ผู้บริหารธนาคาร

 -  นายบัณฑูร ล่ำซำ                ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

 -  นายประสาร ไตรรัตน์วรกุล     กรรมการผู้จัดการ

           ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) เป็นธนาคารของประเทศไทย ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2488 โดยกลุ่มตระกูล ล่ำซำ ทุนจดทะเบียนเริ่มแรก 5 ล้านบาท  มีสำนักงานใหญ่แห่งแรกตั้งอยู่ที่ สำนักถนนเสือป่า   ต่อมาได้ขยายการบริหารงานไปยังสำนักสีลม , สำนักพหลโยธิน , สำนักงานใหญ่ราษฎร์บูรณะและสำนักแจ้งวัฒนะตามลำดับ   ปัจจุบันสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่ ซอยกสิกรไทย ถนนราษฎร์บูรณะ เชิงสะพานพระราม 9 ฝั่งธนบุรี

 

ธนาคารไทยพาณิชย์ (Siam Commercial Bank)

- สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ เป็นผู้ถือหุ้นให

 ธนาคารไทยพาณิขย์

 ชื่อย่อ                          SCB

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่    :    9 ถ.รัชดาภิเษก แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร

Website                       http://www.scb.co.th

จำนวนสาขา                   873 สาขา

กรรมการผู้จัดการใหญ่

       -   คุณหญิงชฎา วัฒนศิริธรรม

ผู้บริหาร

  • นายอานันท์ ปันยารชุน นายกกรรมการ
  • ดร. วิชิต สุรพงษ์ชัย ประธานกรรมการบริหาร
  • นางกรรณิกา ชลิตอาภรณ์ กรรมการผู้จัดการใหญ่

          ประวัติศาสตร์หน้าแรกของธนาคารไทยพาณิชย์ ซึ่งนับเป็นสถาบันการเงินแห่งแรกของชาวสยามนั้น เริ่มต้นขึ้นในนาม "บุคคลัภย์" (Book Club) โดย พระเจ้าน้องยาเธอกรมหมื่นมหิศรราชหฤทัย ซึ่งขณะนั้นทรง ดำรงตำแหน่งเสนาบดีกระทรวง พระคลังมหาสมบัติในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงตั้งพระทัยอย่างแน่วแน่ที่จะให้มีสถาบัน การเงินของสยาม เป็นฐานรองรับการเติบโตทางด้านเศรษฐกิจการเงินของประเทศ จากการที่โลกตะวันตกได้ขยายเส้นทางการค้าทางทะเลมาสู่ดินแดนสยามเป็นอย่างมาก

         ในยุคนั้น ในขั้นแรกจึงทรงริเริ่มดำเนินกิจการธนาคารพาณิชย์เป็นการ ทดลองในนาม "บุคคลัภย์" ต่อมากิจการทดลองประสบความสำเร็จเป็นอย่างดีพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงมีพระบรมราชานุญาตให้ตั้งเป็นธนาคารในนาม "บริษัท แบงก์สยาม กัมมาจล ทุนจำกัด"  ประกอบธุรกิจ ธนาคารพาณิชย์ อย่างเป็นทางการ นับตั้งแต่นั้นมาและได้ กลายมาเป็น "ต้นแบบธนาคารไทย" โดยริเริ่ม นำระบบ และ แนวคิดของการให้บริการ รับฝากเงินออมทรัพย์ และบริการบัญชีกระแสรายวัน  ถอนเงิน โดยใช้เช็คมาให้บริการ แก่ประชาชน พร้อมทั้งจัดตั้งสาขาขึ้น ทั้งในกรุงเทพฯ และภูมิภาคต่างๆ นอกจากนี้ธนาคารยังมีส่วนร่วม ในการก่อกำเนิดและวางรากฐานสหกรณ์การเกษตร ของประเทศ

 

ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย   (Small and Medium Enterprise Development Bank of Thailand)

ชื่อย่อ                            SME BANK 

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่    :     310 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ

Website                        www.smebank.co.th

จำนวนสาขา                    95 สาขา 

กรรมการผู้จัดการ       

 -  นายพงษ์ภาณุ เศวตรุนทร์

              ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย (ธพว.หรือเอสเอ็มอีแบงก์) เป็นธนาคารที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2545 เพื่อประกอบธุรกิจอันเป็นการพัฒนา ส่งเสริม ช่วยเหลือ และสนับสนุนการจัดตั้ง การดำเนินงาน การขยาย หรือการปรับปรุงวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม โดยการให้สินเชื่อค้ำประกัน ร่วมลงทุน สนับสนุนบริการทางการเงิน ให้คำปรึกษาแนะนำหรือให้บริการที่จำเป็นแก่ผู้ประกอบการไทย มีฐานะเป็นนิติบุคคลโดยมีผู้ถือหุ้นทั้งภาครัฐและเอกชนร่วมกัน

พันธกิจ ( Mission )

1. สนับสนุนนโยบายภาครัฐในการช่วยเหลือและส่งเสริม SMEs ไทย
2. ให้บริการทางการเงินที่ตอบสนองความต้องการของ SMEs ไทย
3. ส่งเสริมและพัฒนา SMEs ไทย ควบคู่กับการสนับสนุนเงินทุน
4. พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และระบบจัดการขององค์กรให้มีประสิทธิภาพและมีธรรมาภิบาล

 

ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร 

(Bank for Agriculture and Agricultural Cooperatives)

ชื่อย่อ                           BAC   ( ชื่อย่ออย่างเป็นทางการคือ BAAC )

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่    :    469 ถนน นครสวรรค์ เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร
Website                       www.baac.or.th

จำนวนสาขา                   886 สาขา

คณะกรรมการ

 

นายกรณ์ จาติกวณิช
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
ตำแหน่งประธานกรรมการ

 

นายยุคล ลิ้มแหลมทอง
ผู้แทนกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ตำแหน่งรองประธานกรรมการ

 

   
   
   
   
   
   
 

           ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) ทำหน้าที่อำนวยสินเชื่อทางการเกษตรอย่างกว้างขวาง ทั้งโดยตรงและสู่สถาบันเกษตรกร มุ่งให้ความช่วยเหลือทางการเงิน เพื่อส่งเสริมอาชีพการเกษตรหรือการดำเนินงานของเกษตรกร กลุ่มเกษตรกร หรือสหกรณ์การเกษตร ตลอดจนส่งเสริมให้ เกษตรกร กลุ่มเกษตรกร หรือ สหกรณ์การเกษตร สามารถประกอบอาชีพอย่างอื่นที่เกี่ยวเนื่องในการเกษตร เพื่อเพิ่มรายได้ให้แก่ครอบครัวเกษตรกร รวมทั้งให้บริการรับฝากเงิน เช่นเดียวกับธนาคารพาณิชย์ทั่วไปอีกด้วย

 

ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย 

(Export-Import Bank of Thailand)

ชื่อย่อ                               EXIMBANK

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่    :        ณ ห้องอัญชัน ชั้น 24 EXIM BANK สำนักงานใหญ่
Website                           www.exim.go.th

จำนวนสาขา                        16 สาขา

           ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย (ธสน.) หรือ EXIM Bank มีขอบเขตอำนาจในการทำธุรกิจไว้อย่างกว้างขวาง ธสน. จึงสามารถให้สินเชื่อได้ทุกรูปแบบ เช่น สินเชื่อระยะสั้นและสินเชื่อระยะยาว สินเชื่อในประเทศและสินเชื่อต่างประเทศ โดยสามารถทำธุรกิจได้ทั้งที่เป็นสกุลเงินบาทและสกุลเงินตราต่างประเทศ นอกจากนี้ยังสามารถกู้ยืมเงินจากสถาบันการเงินทุกประเภททั้งในประเทศและต่างประเทศและออกตราสารการเงินระยะสั้นและระยะยาวขายแก่สถาบันการเงินและประชาชนทั่วไปทั้งในประเทศและต่างประเทศ กล่าวโดยสรุป ธสน. สามารถทำธุรกิจทุกประเภทที่ธนาคารพาณิชย์ทำได้ ยกเว้นเพียงการรับฝากเงินจากประชาชนทั่วไปเท่านั้น สำหรับนักลงทุนไทยที่ไปลงทุนในต่างประเทศ สนับสนุนการลงทุนในรูปของการให้บริการทางการเงินทั้งสินเชื่อระยะสั้นและระยะยาว และเพื่อเป็นการเพิ่มความมั่นใจให้แก่นักลงทุน ยังพร้อมที่จะร่วมลงทุนถือหุ้นในกิจการอีกด้วย การรับประกันความเสี่ยงในการเรียกเก็บเงินจากการส่งออก

คณะกรรมการธนาคาร      

-  นายณรงค์ชัย   อัครเศรณี

 

ธนาคารออมสิน (Government Saving Bank)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่    :   470 ถนนพหลโยธิน สามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพ
Website                      www.gsb.or.th

สาขาทั้งหมด                 400 สาขา             

            ธนาคารออมสิน  เป็นธนาคารเพื่อลูกค้ารายย่อย จะเน้นให้สินเชื่อเพื่อพัฒนาชนบท พัฒนาผู้ประกอบการรายย่อย โดยจะมีรูปแบบของสินเชื่อและชนิดการฝากเงินรายย่อยมากมาย อีกทั้งยังสร้างเงินทุนหมุนเวียนในกลุ่มชุมชน โครงการธนาคารเพื่อประชาชนโดยให้สิ้นเชื่อระยะสั้นแก่ผู้ประกอบการรายย่อย (ให้ประชาชนมาเป็นหนี้ในระบบ ที่สามารถตรวจสอบได้ และการเก็บดอกเบี้ยตามความเป็นจริง) เป็นช่องทางการรับ-จ่ายเงินกู้จากโครงการกองทุนหมู่บ่นและชุมชนเมือง อีกทั้งยังลงทุนในการพัฒนาประเทศของหน่วยงานรัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ ให้บริการรูปแบบเงินฝากที่หลายหลายรูปแบบที่เหมาะกับแต่ละช่วงวัย และมีการให้บริการตามหลักศาสนาอิสลาม

           สลากออมสินเป็นรูปแบบหนึ่งของการออมทรัพย์ที่มีลักษณะพิเศษ ผลตอบแทนที่ผู้ฝากได้รับนอกจากดอกเบี้ยแล้วยังสามารถทวีเงินออมโดยผู้ฝากมีสิทธิถูกรางวัลตามที่ธนาคารกำหนด โดยทั้งดอกเบี้ยและเงินรางวัลที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องเสียภาษี ซึ่งธนาคารมักจะโฆษณาด้วยข้อความที่ว่า สลากออมสินไม่กินทุน อนึ่งสลากออมสินนี้เป็นสลากที่เสนอขายแก่ประชาชนทั่วไปได้อย่างถูกต้องตามกฎหมายนอกจากสลากกินแบ่งรัฐบาล และสลากที่ออกโดยธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธกส.) ซึ่งยังไม่มีธนาคารเอกชนรายใดได้รับอนุญาตให้ดำเนินการในลักษณะนี้ได้

คณะผู้บริหารธนาคาร 

   

 

 

 

นายเลอศักดิ์ จุลเทศ
ผู้อำนวยการธนาคารออมสิน

 

 

 

 

     

 

     

 

     

 

     

 

     

 

     
               

นางสาว ชมพูนุช  เอี่ยมจันทร์ รหัส 50473010038

เอก เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

1. ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร

ชื่อย่อ  =  BAC ( Bank for Agriculture and Agricultural Cooperatives)

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่   นายลักษณ์  วจนานวัช
สำนักงานใหญ่  = เลขที่ 469 ถนน นครสวรรค์ เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300 โทร (662) 280-0180

สาขาทั้งหมด  =  886 สาขา

จุดเด่น  = "เป็นธนาคารพัฒนาชนบทที่มั่นคง มีการจัดการที่ทันสมัย เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของเกษตรกรรายย่อย"

Website  =    http://www.baac.or.th

 

2. ธนาคารแสตนดาร์ดชาร์เตอร์ นครธน จำกัด (มหาชน)

ชื่อย่อ  =  SCNB  ( Standard Chartered Nakornthon Bank)

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่   =  ยุทธเดช ปัทมานนท์

สำนักงานใหญ่  =  สำนักงานใหญ่ของธนาคารฯ ตั้งอยู่ที่เลขที่ 90 ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพ 10500

สาขาทั้งหมด  =  ในประเทศ 41 สาขา และอีกกว่า 1400 สาขาทั่วโลก

จุดเด่น  =  ธนาคารฯ มีธุรกิจหลักคือ บุคคลธนกิจและสถาบันธนกิจ ธุรกิจด้านบุคคลธนกิจให้บริการด้านบัตรเครดิต สินเชื่อบุคคล สินเชื่ออสังหาริมทรัพย์ บริการรับฝากเงิน บริการด้านการบริหารสินทรัพย์ให้แก่ลูกค้ารายบุคคล ลูกค้าเจ้าของธุรกิจรายย่อย จนถึงลูกค้าเจ้าของธุรกิจขนาดกลาง ส่วนสถาบันธนกิจนั้นให้บริการแก่ลูกค้าที่เป็นสถาบันหรือบริษัทในด้านต่างๆ เช่น สินเชื่อพาณิชย์ บริการบริหารเงินสด การบริการเงินทุน บริการด้านหลักทรัพย์ บริการด้านเงินตราต่างประเทศ บริการด้านการกู้ยืมในตลาดทุน และบริการด้านเงินกู้สำหรับธุรกิจ 

Website : www.standardchartered.co.th

 

3. ธนาคารสินเอเชีย

ชื่อย่อ  =  ACL Bank

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่   =  นายฮุยเหมิน หยี่  ประธานกรรมการ   

นายธงชัย อานันโทไทย    กรรมการผู้จัดการใหญ่

สำนักงานใหญ่  =  ชั้น 11-13 เอ็มโพเรี่ยมทาวเวอร์ เลขที่ 622 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองตัน เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110  โทรศัพท์. 02 663 9999 

สาขาทั้งหมด  =  17 สาขา

จุดเด่น  =   ธนาคารสินเอเซีย จำกัด (มหาชน) หรือในชื่อเดิมคือ บริษัท เงินทุนสินเอเซีย จำกัด (มหาชน) ซึ่งได้รับใบอนุญาตประกอบการธนาคารพาณิชย์จากกระทรวงการคลังและ ธนาคารแห่งประเทศไทย ให้เริ่มเปิดให้บริการประชาชน เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2548 นับตั้งแต่ขวบปีแรกที่ก้าวสู่ธุรกิจการเงินการธนาคารเมื่อปี พ.ศ. 2512 หลังจากนั้น ก็ได้รับอนุญาตจากกระทรวง การคลังให้ประกอบ ธุรกิจหลักทรัพย์และธุรกิจเงินทุนในปี พ.ศ. 2516 จดทะเบียนเข้าสู่ตลาดหลักทรัพย์ในปี พ.ศ. 2521 จนกระทั่งแปรสภาพ เป็นบริษัทมหาชนในปี พ.ศ. 2536 มาจนวันนี้ ธนาคารสินเอเซีย จำกัด (มหาชน) ได้นำประสบการณ์ในแวดวงการเงินที่สั่งสมมากว่า 35 ปี พร้อมที่จะรับใช้ประชาชน อย่างเต็มที่ 

Website   http://www.bankasia4u.co.th

 

4. ธนาคาร ซีไอเอ็มบี ไทย

ชื่อย่อ  = CIMB

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่   นายสุภัค ศิวะรักษ์

สำนักงานใหญ่  =เลขที่ 44 ถนนหลังสวน แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
โทรศัพท์: 0-2626-7000   โทรสาร: 0-26573-3333

สาขาทั้งหมด  =  147 สาขา

จุดเด่น  =    ธนาคารตระหนักถึงสิทธิความเป็นส่วนบุคคลในข้อมูลของผู้ใช้บริการ  และพยายามอย่างยิ่งที่จะให้ผู้ใช้บริการได้รับความปลอดภัยสูงสุดจากการใช้ช่องทางนี้สำหรับการดำเนินธุรกรรมต่างๆ ของผู้ใช้กับธนาคาร    ดังนั้นข้อมูลต่างๆ ที่ได้รับธนาคารจะเก็บรักษา และดำเนินการอย่างเข้มงวดเพื่อรักษาความปลอดภัย และป้องกันการนำข้อมูลต่างๆ ไปใช้โดยมีเจตนาที่ไม่สุจริต ตามเกณฑ์มาตรฐานสำหรับการรักษาข้อมูลที่เป็นความลับ

 Website www.cimbthai.com

 

5.  ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)

ชื่อย่อ  = SCB (Siam Commercial Bank)

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่   =   นางกรรณิกา  ชลิตอาภรณ์

สำนักงานใหญ่  =  ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) สำนักงานใหญ่ 9 ถนนรัชดาภิเษก เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900  โทรศัพท์  0 2544 1000

สาขาทั้งหมด  =  873 สาขา

จุดเด่น  =

-  นำเสนอผลิตภัณฑ์ และบริการที่ดีในระดับมาตรฐานสากล 

สร้างผลตอบแทนระยะยาวที่ดีอย่างสม่ำเสมอ 

-  รักษา ดึงดูด และสร้างความผูกพันของพนักงาน 

ดำเนินงานอย่างมีธรรมาภิบาลและมีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคม และชุมชนอย่างเต็มที่ 

 Website =   http://www.scb.co.th

 

6. ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย

ชื่อย่อ  =   IBT ( Islamic Bank oF Thailand)

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่   =  นายธีรศักดิ์ สุวรรณยศ

สำนักงานใหญ่  = เลขที่ 66 ชั้น M, 21, 22 อาคารคิวเฮ้าส์ ถนนสุขุมวิท 21 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา
กรุงเทพมหานคร 10110  โทรศัพท์ : 0-2650-6999
สาขาทั้งหมด  =  28 สาขา

จุดเด่น  =   เป็นธนาคารที่ดำเนินธุรกรรมโดยปราศจากดอกเบี้ย แต่อยู่บนหลักการ กำไร-ขาดทุนร่วมกัน และดำเนินธุรกิจตาม พ.ร.บ.ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2545 โดยมีคณะที่ปรึกษาด้านศาสนาให้คำแนะนำ ตรวจสอบ เพื่อให้ธนาคารดำเนินงานถูกต้องตามหลักศาสนาอิสลาม ปัจจุบันธนาคารมีฐานะเป็นรัฐวิสาหกิจ สังกัดกระทรวงการคลัง

Website http://www.isbt.co.th

 

7. ธนาคารออมสิน

ชื่อย่อ  =   GSB ( Government Savings Bank)

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่   นายเลอศักดิ์ จุลเทศ

สำนักงานใหญ่  = ธนาคารออมสิน สำนักงานใหญ่ 470 ถนนพหลโยธิน สามเสนใน เขตพญาไท

กรุงเทพ 10400   ติดต่อสอบถาม โทร 1115 หรือ 0-2299-8000

สาขาทั้งหมด  =  400 สาขา

จุดเด่น  =  เป็นสถาบันการเงินที่มั่นคงเพื่อการออม การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศโดยเฉพาะเศรษฐกิจฐานราก

Website http://www.gsb.or.th

 

8. ธนาคารอาคารสงเคราะห์

ชื่อย่อ  =  GHB (Government Housing Bank)

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่   =  นายขรรค์ ประจวบเหมาะ

สำนักงานใหญ่  =  63 ถ.พระราม9 เขต ห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310 โทรศัพท์ 02-6459000

สาขาทั้งหมด  =  146 สาขา

จุดเด่น  =  เป็นธนาคารมั่นคงทันสมัย เพื่อที่อยู่อาศัยครบวงจร : Secured Modern Housing Bank

Website =  http://www.ghb.co.th

 

9. ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย

ชื่อย่อ  = EXIM THAILAND

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่   นายณรงค์ชัย อัครเศรณี

สำนักงานใหญ่  =  อาคารเอ็กซิม 1193 ถนนพหลโยธิน พญาไท กรุงเทพฯ

สาขาทั้งหมด  =  16 สาขา

จุดเด่น  = เป็นสถาบันการเงินชั้นนำด้านการค้าและการลงทุนในระดับอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจ

Website http://www.exim.go.th

 

10. ธนาคารแห่งประเทศไทย

ชื่อย่อ  = The Bank of Thailand

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่   =  นางธาริษา วัฒนเกส

สำนักงานใหญ่  =  273 ถนนสามเสน บางขุนพรหม เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 เบอร์กลาง โทร. 0-2283-5353 โทรสาร : 0-2280-0449, 0-2280-0626

สาขาทั้งหมด  = 5 สาขา

จุดเด่น  = ได้ออกแนวปฏิบัติของธนาคารแห่งประเทศไทย เรื่อง การจัดทำแผนรองรับการดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง (Business Continuity Plan: BCP) สำหรับกรณีการระบาดของโรคติดต่อร้ายแรง โดยบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 4 สิงหาคม 2551 ภายใต้การสนับสนุนจากสมาคมธนาคารไทย สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย และ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และธนาคารต่างๆ ได้เตรียมความพร้อมเช่นกัน เช่น ธนาคารไทยธนาคาร จำกัด (มหาชน), ธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน) เป็นต้น

Websitewww.bot.or.th

 

11. ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย

ชื่อย่อ  =   LH Bank

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่   =   นางศศิธร พงศธร

สำนักงานใหญ่  =  เลขที่ 1 อาคารคิวเฮ้าส์ ลุมพินี ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 

โทร 0-2359-0000 โทรสาร 0-2677-7223

สาขาทั้งหมด = 23 สาขา

จุดเด่น  =   ธนาคารมีการพิจาณาในด้านสินเชื่อเน้นไปที่เงินกู้เพื่อการเคหะของสินเชื่อโดยรวมทั้งหมด60% และ40%จะเป็นสินเชื่อประเภทเอสเอ็มอี เนื่องจากว่าในส่วนของสินเชื่อเคหะมีข้อดีตรงที่มีหลักประกันที่ชัดเจน และทางธนาคารแห่งประเทศไทยก็ให้ความสนใจในเรื่องนี้เป็นสำคัญ เพราะถือว่าเป็นฐานเงินทุนที่มีประสิทธิภาพสูง

Website www.lhbank.co.th

 

12. ธนาคารกสิกรไทย

ชื่อย่อ  = KBank

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่   =   คุณศาศวัต วีระปรีย

สำนักงานใหญ่  =  ที่อยู่ 400/22 อาคารธนาคารกสิกรไทย ชั้น 3 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท  กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท์:0-2290-2900

สาขาทั้งหมด  =  595 สาขา

จุดเด่น  =   แฟคเตอรี แอนด์ ควิปเมนท์ กสิกรไทย มุ่งมั่นเป็นบริษัทลีสซิ่งและเช่าซื้อเครื่องจักรและอุปกรณ์ที่มั่นคงและดีที่สุดในการให้บริการแก่ลูกค้าและเพื่อเสริมภาพลักษณ์ การบริการทางการเงินที่ครอบคลุมทุกๆ ด้าน (Universal Banking) ของธนาคารกสิกรไทย  

Website http://www.kasikornfactoring.com

 

13. ธนาคารซิติแบงค์

ชื่อย่อ  =   CitiBank

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่   =  นายปีเตอร์ เอเลียต

สำนักงานใหญ่  =ธนาคารซิตี้แบงก์ เอ็น.เอ. สาขากรุงเทพฯ เลขที่ 399 ถนนสุขุมวิท อาคารอินเตอร์เชนจ์ 21 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110

สาขาทั้งหมด  =  47 สาขา

จุดเด่น  =  มุ่งมั่นป็นธนาคารระดับโลก เอกลักษณ์ในการมีเครือข่ายสาขาทั่วโลก ทุ่มเทให้ลูกค้าของเรา มีความแงแกร่งทางการเงินเสมอต้นเสมอปลาย สนับสนุน และช่วยพัฒนาศักยภาพของพนักงานอย่างต่อเนื่อง  นำเสนอบริการที่เหนือกว่าแก่นักลงทุนตลอดเวลา

Website   http://www.citibank.co.th

 

14. ธนาคารกรุงศรีอยุธยา

ชื่อย่อ  BAY (Bank of Ayudthaya)

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่   =  นายมาร์ค จอห์น อาร์โนลด์

สำนักงานใหญ่  =ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) 1222 ถนนพระรามที่ 3 แขวงบางโพงพาง
เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 1012 โทรศัพท์ : 1572
สาขาทั้งหมด  =  ในประเทศ 577 สาขา ต่างประเทศ 4 สาขา

จุดเด่น  =  ทีมงานกลมเกลียว หนึ่งเดียว มุ่งมั่นมอบผลิตภัณฑ์และบริการสุดประทับใจ เพื่อเป็นธนาคารอันดับหนึ่งในใจลูกค้า

Website  http://www.krungsri.com

 

15. ธนาคารเกียรตินาคิน

ชื่อย่อ  =  KKBank

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่   =  นางสาวนวพร เรืองสกุล

สำนักงานใหญ่  =  500 อาคารอัมรินทร์ ทาวเวอร์ ชั้น 11 ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330  โทรศัพท์ 0-2680-3333
โทรสาร 0-2256-9933

สาขาทั้งหมด  = 52 สาขา

จุดเด่น  =   เป็นธนาคารพาณิชย์เต็มรูปแบบ (Commercial Bank) ซึ่งเปิดดำเนินการอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม 2548 เพื่อให้บริการทางการเงินที่หลากหลาย อาทิ บริการด้านเงินฝากประจำ ออมทรัพย์ กระแสรายวัน ประกันชีวิต สินเชื่อรถยนต์ สินเชื่อพัฒนาโครงการ สินเชื่อธุรกิจอพาร์ทเม้นท์ สินเชื่อธุรกิจฟลอร์แพลน สินเชื่อเพื่อธุรกิจขนส่ง สินเชื่อธุรกิจสิ่งพิมพ์และบรรจุภัณฑ์

Website  =    www.kiatnakin.co.th

 

16. ธนาคารกรุงเทพ

ชื่อย่อ  =  BKB  ( Bangkok Bank)

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่   =  นายชาติศิริ  โสภณพณิช

สำนักงานใหญ่  =   ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน)333 ถนนสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500

โทรศัพท์: (66) 0-2231-4333

สาขาทั้งหมด  =   950 สาขา

จุดเด่น  =   รายงานผลการสำรวจธนาคารยอดเยี่ยมในประเทศกำลังพัฒนาประจำปี 2546 ซึ่งตีพิมพ์ใน นิตยสารโกลบอล ไฟแนนซ์ ฉบับประจำเดือนพฤษภาคม 2546 ได้กล่าวถึง ธนาคารกรุงเทพ ว่าเป็นธนาคารที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย

Website   www.bangkokbank.com

 

17. ธนาคารกรุงไทย

ชื่อย่อ  =   KTB ( Krung Thai Bank)

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่   =   ดร. พงศธร สิริโยธิน 

สำนักงานใหญ่  =  อาคาร1 เลขที่ 35 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110

โทรศัพท์ 02-2552222

สาขาทั้งหมด  =  800 สาขา

จุดเด่น  =   ธนาคารแสนสะดวก (The Convenience Bank)  สำหรับลูกค้ารายย่อย ภาคธุรกิจ ภาครัฐ และสถาบัน

Website   http://www.ktb.co.th

 

18. ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย

ชื่อย่อ  =   SME Bank 

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่   =  นายพงษ์ภาณุ เศวตรุนทร์

สำนักงานใหญ่  =   เลขที่ 310 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 
โทร. 0-2265-3000 โทรสาร 0-2265-4000 

สาขาทั้งหมด  95 สาขา

จุดเด่น  =   เพื่อประกอบธุรกิจอันเป็นการพัฒนา ส่งเสริม ช่วยเหลือ และสนับสนุนการจัดตั้ง การดำเนินงาน การขยาย หรือการปรับปรุงวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม โดยการให้สินเชื่อค้ำประกัน ร่วมลงทุน สนับสนุนบริการทางการเงิน ให้คำปรึกษาแนะนำหรือให้บริการที่จำเป็นแก่ผู้ประกอบการไทย มีฐานะเป็นนิติบุคคลโดยมีผู้ถือหุ้นทั้งภาครัฐและเอกชนร่วมกัน (จาก พ.ร.บ. ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2545 มาตรา 8 ให้กำหนดทุนเรือนหุ้นของธนาคารไว้หนึ่งหมื่นล้านบาท แบ่งออกเป็นหนึ่งร้อยล้านหุ้น มูลค่าหุ้นละหนึ่งร้อยบาท โดยให้ธนาคารขายหุ้นให้แก่กระทรวงการคลัง สถาบันการเงิน หรือบุคคลอื่น ทั้งนี้ ตามที่กำหนดไว้ในข้อบังคับของธนาคาร

Website   =   www.smebank.co.th

19. ธนาคารทิสโก้

ชื่อย่อ  =   TISCO ( Thai Investment and Securities Public Co )

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่   =   นายสุทัศน์ เรืองมานะมงคล

สำนักงานใหญ่  =  ธนาคารทิสโก้ จำกัด (มหาชน) อาคารทิสโก้ทาวเวอร์ 48/2 ถนนสาทรเหนือ
แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทรศัพท์ : 0 2-633 6000 โทรสาร : 0 2-633 6800

สาขาทั้งหมด  =  46 สาขา

จุดเด่น  =  "ทิสโก้เป็นสถาบันการเงินที่ประกอบธุรกิจด้วยมาตรฐานสูงสุดของการกำกับดูแลกิจการที่ดี เราทุ่มเท สร้างสรรค์คุณค่าที่ยั่งยืน เพื่อลูกค้า ผู้ถือหุ้น พนักงาน และสังคม"

Website   http://www.tisco.co.th

 

20. ธนาคารธนชาต

ชื่อย่อ  =    TNC  (Thanachart Bank)

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่   =  นายบันเทิง ตันติวิท

สำนักงานใหญ่  =    สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ เลขที่ 900 อาคารต้นสนทาวเวอร์ ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร

สาขาทั้งหมด  =  50 สาขา

จุดเด่น  =  การเป็นกลุ่มธุรกิจที่ให้บริการทางการเงินครบวงจร มุ่งเน้นการสร้างสรรค์ความเป็นเลิศให้แก่ผลิตภัณฑ์และบริการจากความร่วมมือของทุกบริษัทภายในกลุ่ม และสามารถตอบสนองทุกความต้องการทางการเงิน

Website   =      http://www.thanachart.com

 

21. ธนาคารนครหลวงไทย

ชื่อย่อ  =    SCB (SIAM CITY BANK)

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่   =  นายชัยวัฒน์ อุทัยวรรณ์

สำนักงานใหญ่  = 1101 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400

โทรศัพท์ 0-2208-5000, 0-2253-0200-43

สาขาทั้งหมด  =   422 สาขา

จุดเด่น  =  ธนาคารกำหนดนโยบายการกำกับดูแลกิจการที่ดี โดยมีหลักการพื้นฐานที่สำคัญ เพื่อให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทุกระดับของธนาคารยึดถือปฏิบัติเป็นมาตรฐานเดียวกัน

Website   http://www.scib.co.th

 

22. ธนาคารยูโอบี

ชื่อย่อ  = UOB ( United Overseas Bank)

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่   =  นายหว่อง คิม ชุง

สำนักงานใหญ่  = ธนาคารยูโอบี จำกัด (มหาชน) 191 ถนนสาทรใต้ กรุงเทพฯ 10120
โทรศัพท์ : 0-2343-3000  โทรสาร : 0-2287-2973-4

สาขาทั้งหมด  =  154 สาขา

จุดเด่น  = ธนาคารยูโอบี มีพันธกิจใน การเป็นธนาคารชั้นนำในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก และมุ่งมั่นที่จะนำ เสนอผลิตภัณฑ์คุณภาพ และบริการชั้นเลิศ

Website   http://www.uob-radanasin.co.th

23. ธนาคารทิสโก้

ชื่อย่อ  =   TISCO ( Thai Investment and Securities Public Co )

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่   =   นายสุทัศน์ เรืองมานะมงคล

สำนักงานใหญ่  =  ธนาคารทิสโก้ จำกัด (มหาชน) อาคารทิสโก้ทาวเวอร์ 48/2 ถนนสาทรเหนือ
แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทรศัพท์ : 0 2-633 6000 โทรสาร : 0 2-633 6800

สาขาทั้งหมด  =  46 สาขา

จุดเด่น  =  "ทิสโก้เป็นสถาบันการเงินที่ประกอบธุรกิจด้วยมาตรฐานสูงสุดของการกำกับดูแลกิจการที่ดี เราทุ่มเท สร้างสรรค์คุณค่าที่ยั่งยืน เพื่อลูกค้า ผู้ถือหุ้น พนักงาน และสังคม"

Website   http://www.tisco.co.th

 

24. ธนาคารธนชาต

ชื่อย่อ  =    TNC  (Thanachart Bank)

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่   =  นายบันเทิง ตันติวิท

สำนักงานใหญ่  =    สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ เลขที่ 900 อาคารต้นสนทาวเวอร์ ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร

สาขาทั้งหมด  =  50 สาขา

จุดเด่น  =  การเป็นกลุ่มธุรกิจที่ให้บริการทางการเงินครบวงจร มุ่งเน้นการสร้างสรรค์ความเป็นเลิศให้แก่ผลิตภัณฑ์และบริการจากความร่วมมือของทุกบริษัทภายในกลุ่ม และสามารถตอบสนองทุกความต้องการทางการเงิน

Website   =      http://www.thanachart.com

 

25. ธนาคารนครหลวงไทย

ชื่อย่อ  =    SCB (SIAM CITY BANK)

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่   =  นายชัยวัฒน์ อุทัยวรรณ์

สำนักงานใหญ่  = 1101 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400

โทรศัพท์ 0-2208-5000, 0-2253-0200-43

สาขาทั้งหมด  =   422 สาขา

จุดเด่น  =  ธนาคารกำหนดนโยบายการกำกับดูแลกิจการที่ดี โดยมีหลักการพื้นฐานที่สำคัญ เพื่อให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทุกระดับของธนาคารยึดถือปฏิบัติเป็นมาตรฐานเดียวกัน

Website   http://www.scib.co.th

 

26. ธนาคารยูโอบี

ชื่อย่อ  = UOB ( United Overseas Bank)

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่   =  นายหว่อง คิม ชุง

สำนักงานใหญ่  = ธนาคารยูโอบี จำกัด (มหาชน) 191 ถนนสาทรใต้ กรุงเทพฯ 10120
โทรศัพท์ : 0-2343-3000  โทรสาร : 0-2287-2973-4

สาขาทั้งหมด  =  154 สาขา

จุดเด่น  = ธนาคารยูโอบี มีพันธกิจใน การเป็นธนาคารชั้นนำในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก และมุ่งมั่นที่จะนำ เสนอผลิตภัณฑ์คุณภาพ และบริการชั้นเลิศ

Website   http://www.uob-radanasin.co.th

 -     การแข่งขันฟุตบอลโลกครั้งนี้ส่งผลอย่างไรต่อภาคธุรกิจใดบ้าง และจะมีผลกระทบภาคสังคมอย่างไรบ้าง 

มหกรรมฟุตบอลโลกที่กำลังเปิดตำนานหน้าใหม่ในช่วงระหว่างวันที่  9 มิถุนายน - 9 กรกฎาคม 2549 ณ ประเทศเยอรมนี ได้ตอกย้ำความเป็นกีฬาสากลที่ผู้คนคลั่งไคล้กันมากที่สุด ขณะเดียวกันก็เป็นเกมกีฬาที่มีผู้คนติดตามมากขึ้นเรื่อยๆ เนื่องจากได้รับปัจจัยสนับสนุนในหลายๆด้านไม่ว่าจะเป็นเครือข่ายเทคโนโลยีที่ทันสมัย การเดินทางที่สะดวกรวดเร็วขึ้น การติดต่อสื่อสารที่ง่ายดายเหมือนพลิกฝ่

นางสาวพรพิมล พรหมผาบ รหัส 50473010056 โปรแกรมวิชา เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

ธนาคารแห่งประเทศไทย ( The Bank  of  Thailand) ชื่อย่อ ธปท.)(แบงค์ชาติ)

ชื่อผู้ว่า ธปท.คนปัจจุบันคือ นางธาริษา  วัฒนเกส

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ  273  ถนนสามเสน  บางขุนพรหม   เขตพระนคร  กรุงเทพฯ 10200

จุดเด่น : ได้ออกแนวปฏิบัติของธนาคารแห่งประเทศไทย เรื่อง การจัดทำแผนรองรับการดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง (Business Continuity Plan: BCP) สำหรับกรณีการระบาดของโรคติดต่อร้ายแรง โดยบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 4 สิงหาคม 2551 ภายใต้การสนับสนุนจากสมาคมธนาคารไทย สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย และ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และธนาคารต่างๆ ได้เตรียมความพร้อมเช่นกัน เช่น ธนาคารไทยธนาคาร จำกัด (มหาชน), ธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน) เป็นต้น

ธนาคารกสิกรไทย (KasikornBank) ชื่อย่อ KBANK 

ประธานเจ้าหน้าที่บริหารคือ นายบัณฑูร ล่ำซำ 

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ   1 ซอยกสิกรไทย ถ.ราษฎร์บูรณะ ชั้น 12 เขตทุ่งครุกรุงเทพฯ 10140

มีสาขาทั้งหมด  595  สาขา

จุดเด่น  :   แฟคเตอรี แอนด์ ควิปเมนท์ กสิกรไทย มุ่งมั่นเป็นบริษัทลีสซิ่งและเช่าซื้อเครื่องจักรและอุปกรณ์ที่มั่นคงและดีที่สุดในการให้บริการแก่ลูกค้าและเพื่อเสริมภาพลักษณ์ การบริการทางการเงินที่ครอบคลุมทุกๆ ด้าน (Universal Banking) ของธนาคารกสิกรไทย

ธนาคารกรุงเทพ  จำกัด (มหาชน) ((Bangkok Bank Public Company Limited)  ชื่อย่อ  BBL.

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นายชาติศิริ   โสภณพนิช

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ เลขที่ 333 ถนนสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร

มีสาขาทั้งหมดในไทย  950 สาขา 

จุดเด่น  : รายงานผลการสำรวจธนาคารยอดเยี่ยมในประเทศกำลังพัฒนาประจำปี 2546 ซึ่งตีพิมพ์ใน นิตยสารโกลบอล ไฟแนนซ์ ฉบับประจำเดือนพฤษภาคม 2546 ได้กล่าวถึง ธนาคารกรุงเทพ ว่าเป็นธนาคารที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย

ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน)  ( Krung Thai Bank Public Company Limited)  ชื่อย่อ  KTB.

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ : ดร. พงศธร สิริโยธิน  

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ เลขที่  35 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ

มีสาขาทั้งหมด  800 สาขา 

จุดเด่น :   ธนาคารแสนสะดวก (The Convenience Bank)  สำหรับลูกค้ารายย่อย ภาคธุรกิจ ภาครัฐ    และสถาบัน 

ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)  ( Siam Commercial Bank Public Company Limited )  ชื่อย่อ  SCB.

 กรรมการผู้จัดการใหญ่ : คุณหญิงชฎา วัฒนศิริธรรม

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ :  9 ถนนรัชดาภิเษก แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร

มีสาขาทั้งหมดในไทย 998 สาขาทั่วประเทศ

จุดเด่น  -  นำเสนอผลิตภัณฑ์ และบริการที่ดีในระดับมาตรฐานสากล 

สร้างผลตอบแทนระยะยาวที่ดีอย่างสม่ำเสมอ 

-  รักษา ดึงดูด และสร้างความผูกพันของพนักงาน 

ดำเนินงานอย่างมีธรรมาภิบาลและมีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคม และชุมชนอย่างเต็มที่ 

ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) ( Bank of Ayudthaya Public Company Limited)  ชื่อย่อ  BAY

กรรมการผู้จัดกี่ใหญ่คือ  นายประไพสิทธิ์ ตัณฑ์เกยูร

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ: 1222 ถนนพระรามที่ 3 แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร 10120

มีสาขาภายในประเทศ   จำนวน 577   แห่ง  และสาขาต่างประเทศ  จำนวน 4  แห่ง

 

จุดเด่น  :  ทีมงานกลมเกลียว หนึ่งเดียว มุ่งมั่นมอบผลิตภัณฑ์และบริการสุดประทับใจ เพื่อเป็นธนาคารอันดับหนึ่งในใจลูกค้า

ธนาคารทหารไทย จำกัด  (มหาชน)  ((TMB Bank Public Company Limited)  ชื่อย่อ  TMB

โดย TMB ย่อมาจาก Thai Military Bank

ประธานเจ้าหน้าที่บริหารคือ  นางเสาวนีย์ กมลบุตร

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  เลขที่ 3000 ถ.พหลโยธิน แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900

มีสาขาทั้งหมด  480  สาขา

จุดเด่น:  ธนาคารไทยชั้นนำ มาตรฐานระดับโลก

ธนาคารออมสิน  (Government Savings Bank )  ชื่อย่อ  GSB

ประธานกรรมการคือ  นายวินัย วิทวัสการเวช

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่   เลขที่  470 ถ.พหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400

มีสาขาทั้งหมด  400   สาขาทั่วประเทศ

จุดเด่น :  เป็นสถาบันการเงินที่มั่นคงเพื่อการออม การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศโดยเฉพาะเศรษฐกิจฐานราก

ธนาคารนครหลวงไทย จำกัด (มหาชน)  ( Siam City Bank Public Company Limited)  ชื่อย่อ  SCIB

ประธานเจ้าหน้าที่บริหารคือ  นายชัยวัฒน์ อุทัยวรรณ์

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  เลขที่ 1101, ถ.เพชรบุรีตัดใหม่, มักกะสัน, เขตราชเทวี  กรุงเทพมหานคร, 10400

มีสาขาทั้งหมด  382 สาขาทั่วประเทศ

จุดเด่น :  ธนาคารกำหนดนโยบายการกำกับดูแลกิจการที่ดี โดยมีหลักการพื้นฐานที่สำคัญ เพื่อให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทุกระดับของธนาคารยึดถือปฏิบัติเป็นมาตรฐานเดียวกัน

ธนาคารอาคารสงเคราะห์ (Government Housing Bank)  ชื่อย่อ  ธอส. หรือ GH BANK

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นายขรรค์ ประจวบเหมาะ 

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  เลขที่  63 ถ.พระรามที่ 9 ห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10320

มีสาขาทั้งหมด  146  สาขา

จุดเด่น :  เป็นธนาคารมั่นคงทันสมัย เพื่อที่อยู่อาศัยครบวงจร : Secured Modern Housing Bank

ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย (Islamic Bank of Thailand)  ชื่อย่อ( ธอท.) IBT.

กรรมการผู้จัดการใหญ่ นายธีรศักดิ์ สุวรรณยศ

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  เลขที่ 66 ชั้น M, 21, 22 อาคารคิวเฮ้าส์ ถนนสุขุมวิท 21แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา
กรุงเทพมหานคร 10110

มีสาขาทั้งหมด  28  สาขา

            จุดเด่น  :   เป็นธนาคารที่ดำเนินธุรกรรมโดยปราศจากดอกเบี้ย แต่อยู่บนหลักการ กำไร-ขาดทุนร่วมกัน และดำเนินธุรกิจตาม พ.ร.บ.ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2545 โดยมีคณะที่ปรึกษาด้านศาสนาให้คำแนะนำ ตรวจสอบ เพื่อให้ธนาคารดำเนินงานถูกต้องตามหลักศาสนาอิสลาม ปัจจุบันธนาคารมีฐานะเป็นรัฐวิสาหกิจ สังกัดกระทรวงการคลัง

ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย (Small and Medium Enterprise Development Bank of Thailand)  ชื่อย่อ ธพว.  (SME  BANK)

ประธานกรรมการ  นายพงษ์ภาณุ เศวตรุนทร์

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  อาคาร SME BANK TOWER ตั้งอยู่เลขที่ 310 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน       เขตพญาไท กทม. 10400

มีสาขาทั้งหมด  99 สาขาทั่วประเทศ

          จุดเด่น :  เพื่อประกอบธุรกิจอันเป็นการพัฒนา ส่งเสริม ช่วยเหลือ และสนับสนุนการจัดตั้ง การดำเนินงาน การขยาย หรือการปรับปรุงวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม โดยการให้สินเชื่อค้ำประกัน ร่วม

ลงทุน สนับสนุนบริการทางการเงิน ให้คำปรึกษาแนะนำหรือให้บริการที่จำเป็นแก่ผู้ประกอบการไทย มีฐานะเป็นนิติบุคคลโดยมีผู้ถือหุ้นทั้งภาครัฐและเอกชนร่วมกัน (จาก พ.ร.บ. ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2545 มาตรา 8 ให้กำหนดทุนเรือนหุ้นของธนาคารไว้หนึ่งหมื่นล้านบาท แบ่งออกเป็นหนึ่งร้อยล้านหุ้น มูลค่าหุ้นละหนึ่งร้อยบาท โดยให้ธนาคารขายหุ้นให้แก่กระทรวงการคลัง สถาบันการเงิน หรือบุคคลอื่น ทั้งนี้ ตามที่กำหนดไว้ในข้อบังคับของธนาคาร

ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร  (BANK  FOR AGRICULTURE AND AGRICULTURAL CO - OPERATIVES)  ชื่อย่อ  ธ.ก.ส. หรือ  (BAAC)

ผู้จัดการใหญ่คือ  นายลักษณ์   วจนานวัช 

มีสำนักงานใหญ่  ตั้งอยู่เลขที่ ๔๖๙ ถนนนครสวรรค์ แขวงจิตรลดา เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร

มีสาขาทั้งหมด  886 สาขา

จุดเด่น   "เป็นธนาคารพัฒนาชนบทที่มั่นคง มีการจัดการที่ทันสมัย เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของเกษตรกรรายย่อย"

 

ธนาคารธนชาต จำกัด (มหาชน) ( Thanachart Bank Public Company Limited ) ชื่อย่อ  TBANK

ประธานกรรมการ คือ นายบันเทิง ตันติวิท

สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่ เลขที่ 900 อาคารต้นสนทาวเวอร์ ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กทม. 10330

มีสาขาทั้งหมด  50  สาขา

        จุดเด่น:  การเป็นกลุ่มธุรกิจที่ให้บริการทางการเงินครบวงจร มุ่งเน้นการสร้างสรรค์ความเป็นเลิศให้แก่ผลิตภัณฑ์และบริการจากความร่วมมือของทุกบริษัทภายในกลุ่ม และสามารถตอบสนองทุกความต้องการทางการเงิน

ธนาคารสินเอเชีย จำกัด  (มหาชน)  ( Asia Credit Public Company Limited)  ชื่อย่อ  ACLBANK

ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร   นายโชติ  โภควนิช

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  ตั้งอยู่  เลขที่ 622   ชั้น 11-13 อาคารเอ็มโพเรี่ยม ทาวเวอร์  ถนนสุขุมวิท กรุงเทพมหานคร    

มีสาขาทั้งหมด  17  สาขา

             จุดเด่น:  ธนาคารสินเอเซีย จำกัด (มหาชน) หรือในชื่อเดิมคือ บริษัท เงินทุนสินเอเซีย จำกัด (มหาชน) ซึ่งได้รับใบอนุญาตประกอบการธนาคารพาณิชย์จากกระทรวงการคลังและ ธนาคารแห่งประเทศไทย ให้เริ่มเปิดให้บริการประชาชน เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2548 นับตั้งแต่ขวบปีแรกที่ก้าวสู่ธุรกิจการเงินการธนาคารเมื่อปี พ.ศ. 2512 หลังจากนั้น ก็ได้รับอนุญาตจากกระทรวง การคลังให้ประกอบ ธุรกิจหลักทรัพย์และธุรกิจเงินทุนในปี พ.ศ. 2516 จดทะเบียนเข้าสู่ตลาดหลักทรัพย์ในปี พ.ศ. 2521 จนกระทั่งแปรสภาพ เป็นบริษัทมหาชนในปี พ.ศ. 2536 มาจนวันนี้ ธนาคารสินเอเซีย จำกัด (มหาชน) ได้นำประสบการณ์ในแวดวงการเงินที่สั่งสมมากว่า 35 ปี พร้อมที่จะรับใช้ประชาชน อย่างเต็มที่ 

ธนาคารซีไอเอ็มบี ไทย  จำกัด  (มหาชน)  (CIMB Thai Bank Public Company Limited) ชื่อย่อ CIMB

กรรมการผู้จัดการใหญ่   นายสุภัค ศิวะรักษ์

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่   อาคารหลังสวนเลขที่ 44 ถนนหลังสวน แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

มีสาขาทั้งหมด 147  สาขา

            จุดเด่น : ธนาคารตระหนักถึงสิทธิความเป็นส่วนบุคคลในข้อมูลของผู้ใช้บริการ  และพยายามอย่างยิ่งที่จะให้ผู้ใช้บริการได้รับความปลอดภัยสูงสุดจากการใช้ช่องทางนี้สำหรับการดำเนินธุรกรรมต่างๆ ของผู้ใช้กับธนาคาร    ดังนั้นข้อมูลต่างๆ ที่ได้รับธนาคารจะเก็บรักษา และดำเนินการอย่างเข้มงวดเพื่อรักษาความปลอดภัย และป้องกันการนำข้อมูลต่างๆ ไปใช้โดยมีเจตนาที่ไม่สุจริต ตามเกณฑ์มาตรฐานสำหรับการรักษาข้อมูลที่เป็นความลับ

ธนาคารยูโอบี จำกัด  (มหาชน)( United Overseas Bank , Thailand)  ชื่อย่อ UOB

ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่  นายชัยวัฒน์   อุทัยวรรณ์

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  เลขที่  191 ถนนสาทรใต้ แขวงยานนาวา  เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120

มีสาขาทั้งหมด  400   สาขา

         จุดเด่น : ธนาคารยูโอบี มีพันธกิจใน การเป็นธนาคารชั้นนำในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก และมุ่งมั่นที่จะนำ เสนอผลิตภัณฑ์คุณภาพ และบริการชั้นเลิศ

 

ธนาคารทิสโก้ จำกัด  (มหาชน) (Thai Investment and Securities  Public  Company Bank) ชื่อย่อ TISCO

ประธานบริหาร  นางอรนุช  อภิศักดิ์ศิริกุล

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  เลขที่  48/2  อาคารทิสโก้ทาวเวอร์ ชั้น 1  ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

มีสาขาทั้งหมด  46  สาขา

        จุดเด่น:  "ทิสโก้เป็นสถาบันการเงินที่ประกอบธุรกิจด้วยมาตรฐานสูงสุดของการกำกับดูแลกิจการที่ดี เราทุ่มเท สร้างสรรค์คุณค่าที่ยั่งยืน เพื่อลูกค้า ผู้ถือหุ้น พนักงาน และสังคม"

ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย (Export-Import Bank of Thailand ) ชื่อย่อ ธสน. หรือ EXIM BANK

ประธานกรรมการ  ดร.ณรงค์ชัย อัครเศรณี

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  เลขที่ 1193  อาคารเอ็กซิม  ถนนพหลโยธิน  แขวงสามเสนใน เขตพญาไท  กรุงเทพฯ  10400

มีสาขาทั้งหมด  16 สาขา

จุดเด่น : เป็นสถาบันการเงินชั้นนำด้านการค้าและการลงทุนในระดับอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจ

ธนาคารเกียรตินาคิน จำกัด  (มหาชน) (Kiatnakin Bank) ชื่อย่อ KK

นางสาวนวพร เรืองสกุล

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  เลขที่  500 อาคารอัมรินทร์ ทาวเวอร์ ชั้น 11 ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

มีสาขาทั้งหมด 49 แห่งทั่วประเทศ

“โครงการพัฒนาคน พัฒนาชาติกับเกียรตินาคิน”

 

ธนาคารสแตนดาร์ชาร์เตอร์ดไทย  จำกัด  (มหาชน)  (Standard Chartered Bank Thai)  ชื่อย่อ SCNB

ผู้จัดการใหญ่คือ  นาย ยุทธเดช   ปัทมานนท์

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ เลขที่ 90 อาคารสาทรธานี ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพ 10500

มีสาขาทั้งหมด  ในประเทศ 41 สาขา และอีกกว่า 1400 สาขาทั่วโลก

จุดเด่น  :  ธนาคารฯ มีธุรกิจหลักคือ บุคคลธนกิจและสถาบันธนกิจ ธุรกิจด้านบุคคลธนกิจให้บริการด้านบัตรเครดิต สินเชื่อบุคคล สินเชื่ออสังหาริมทรัพย์ บริการรับฝากเงิน บริการด้านการบริหารสินทรัพย์ให้แก่ลูกค้ารายบุคคล ลูกค้าเจ้าของธุรกิจรายย่อย จนถึงลูกค้าเจ้าของธุรกิจขนาดกลาง ส่วนสถาบันธนกิจนั้นให้บริการแก่ลูกค้าที่เป็นสถาบันหรือบริษัทในด้านต่างๆ เช่น สินเชื่อพาณิชย์ บริการบริหารเงินสด การบริการเงินทุน บริการด้านหลักทรัพย์ บริการด้านเงินตราต่างประเทศ บริการด้านการกู้ยืมในตลาดทุน และบริการด้านเงินกู้สำหรับธุรกิจ 

 

ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย (Land and Houses Retail Bank)  ชื่อย่อ LH

 กรรมการผู้จัดการ  นางศศิธร พงศธร

สำนักงานใหญ่   1 อาคารคิวเฮ้าส์ ลุมพินี ถ.สาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120

มีสาขาทั้งหมด  23  สาขา

จุดเด่น  :   ธนาคารมีการพิจาณาในด้านสินเชื่อเน้นไปที่เงินกู้เพื่อการเคหะของสินเชื่อโดยรวมทั้งหมด60% และ40%จะเป็นสินเชื่อประเภทเอสเอ็มอี เนื่องจากว่าในส่วนของสินเชื่อเคหะมีข้อดีตรงที่มีหลักประกันที่ชัดเจน และทางธนาคารแห่งประเทศไทยก็ให้ความสนใจในเรื่องนี้เป็นสำคัญ เพราะถือว่าเป็นฐานเงินทุนที่มีประสิทธิภาพสูง

ธนาคารซิตี้แบงก์  จำกัด  (มหาชน)  (Citibank)

ผู้จัดการใหญ่  นายปีเตอร์   เอเลียต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  ตั้งอยู่เลขที่  82  อาคารแสงทองธานี  ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม  เขตบางรัก  กรุงเทพฯ  10500 

มีสาขาทั้งหมด  47  สาขา

จุดเด่น  :  มุ่งมั่นป็นธนาคารระดับโลก เอกลักษณ์ในการมีเครือข่ายสาขาทั่วโลก ทุ่มเทให้ลูกค้าของเรา มีความแงแกร่งทางการเงินเสมอต้นเสมอปลาย สนับสนุน และช่วยพัฒนาศักยภาพของพนักงานอย่างต่อเนื่อง  นำเสนอบริการที่เหนือกว่าแก่นักลงทุนตลอดเวลา

ธนาคารไทยเครดิตเพื่อรายย่อย  จำกัด  (มหาชน)  (The Thai Credit Retail Bank Public Company Limited ) ชื่อย่อ TCR

ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ คือ นายมงคล ลีลาธรรม

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  เลขที่  123 ชั้น 1 อาคาร ไทยประกันชีวิต ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กทม. 10400

มีสาขาทั้งหมด  9  สาขา

จุดเด่น : นำเสนอผลิตภัณฑ์ที่แตกต่าง และตอบสนองความต้องการที่แท้จริงของลูกค้า
สร้างทีมงานที่มีจิตสำนึกที่ดีด้านการบริการ มีความรักและภาคภูมิใจในองค์กร 
สร้างระบบงานที่เอื้อหนุนให้การปฏิบัติงานเกิดประสิทธิภาพสูงสุด
สร้างความน่าเชื่อถือ ด้วยการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล 
แสวงหาเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพในการบริหารงานและความเสี่ยง เพื่อผลลัพธ์ในการทำงานที่ดีที่สุด
แสวงหาพันธมิตร เพื่อเพิ่มโอกาสทางธุรกิจ
แสวงหาแนวทางในการพัฒนาธนาคารสู่ความสำเร็จตามแผนกลยุทธ์

ธนาคารเมกะ สากลพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) (Mega International Commercial Bank)  ชื่อย่อ  MEGA BANK 

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  Rong-Jou Wang

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  เลขที่  36/12 อาคารพี.เอส.ทาวเวอร์ ถ.สุขุมวิท 21 (อโศก) แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110

มีสาขาทั้งหมด  4  สาขา

จุดเด่น : ประกอบกิจการธนาคารพาณิชย์ รวมทั้งกิจการทั้งปวง ซึ่งเกี่ยวกับธนาคารพาณิชย์ 

 

 

การแข่งขันฟุตบอลโลกครั้งนี้ส่งผล อย่างไรต่อภาคธุรกิจใดบ้าง และจะมีผลกระทบภาคสังคมอย่างไรบ้าง

 ตอบ… มหกรรมฟุตบอลโลกคึกคักมากสำหรับครอบครัว เมื่อไรที่ถึงฤดูกาลฟุตบอลโลก ก็จะต้องมีผู้คนอดหลับอดนอน เพื่อคอยลุ้นแมทซ์สำคัญๆ ซึ่งมักจะมารอบดึกระดับตีหนึ่งตีสอง ทำให้สุขภาพร่างกายทรุดโทรมกันเป็นแถวๆ

 

          แต่สิ่งหนึ่งที่มักมาพร้อมกับการแข่งขันฟุตบอลโลกทุกครั้งก็คือ การพนันฟุตบอล น่าแปลกที่ตำรวจกลับหาไม่เจอ..!!นับวันการพนันชนิดนี้ ยิ่งเข้าหากลุ่มเป้าหมายที่เด็กลงๆ ทุกขณะ เมื่อก่อนระดับอุดมศึกษา แต่ตอนนี้มาระดับมัธยมศึกษา และลงมาประถมปลายอีกต่างหาก

 

          ล่าสุดผลกระทบจากการเล่นฟุตบอลของเยาวชนต่อสังคมไทยขึ้น โดยสอบถามกลุ่มเป้าหมายเยาวชนตั้งแต่ระดับมัธยมต้นถึงระดับอุดมศึกษาจำนวน4,461 คน ใน 25 จังหวัดทั่วประเทศ พบว่า กลุ่มนักเล่นพนันบอลส่วนใหญ่เริ่มเล่นตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น มีวงเงินที่เล่นพนันโดยเฉลี่ยครั้งละ 100-500 บาท พื้นเพส่วนใหญ่เป็นเยาวชนที่อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สิ่งจูงใจให้เยาวชนไทยเล่นพนันบอลคืออยากได้เงิน เมื่อได้รางวัลแล้วจะนำไปใช้ในการกินเที่ยวกับเพื่อนฝูงมีเยาวชนร้อยละ 21.82 ที่เคยเล่นพนันบอลแล้วบอกว่าเคยเป็นหนี้เป็นนักศึกษาชั้นอนุปริญญาตรี ส่วนใหญ่มีภูมิลำเนาและสถานศึกษาอยู่ในภาคใต้

 

          ร้อยละ 43.33 จะใช้หนี้พนันบอลโดยยืมเงินจากเพื่อน โต๊ะบอล วิธีการทวงหนี้โดยการเจรจา รองลงมาคือการข่มขู่ และสุดท้ายรายการแข่งขันชิงถ้วยที่เยาวชนฮิตเล่นพนันอันดับหนึ่งคือพรีเมียร์ลีกของอังกฤษแต่ก็ยังมีเยาวชนส่วนใหญ่ใฝ่ดีที่ไม่เห็นด้วยกับการเล่นพนันบอล โดยพวกเขาบอกว่าไม่ยอมรับว่าการพนันบอลเป็นเรื่องปกติและไม่ได้ทำให้ดูทันสมัย กลุ่มเยาวชนเหล่านี้ไม่เห็นด้วยกับการเปิดให้มีการเล่นพนันบอลอย่างถูกกฎหมาย เพราะเห็นว่าจะทำให้เกิดหนี้นอกระบบมากที่สุด รวมทั้งปัญหาการลักขโมย ชิงทรัพย์ ฯลฯ และส่งผลกระทบถึงการเรียน

 

          เมื่อลองสอบถามกลุ่มเยาวชนตัวอย่างที่ปัจจุบันเลิกเล่นพนันบอลไปแล้ว ส่วนใหญ่บอกเหตุผลตรงกันว่า เพราะได้รับผลตอบแทนไม่คุ้มค่ากับที่เสีย ตลอดจนไม่มีเงินเล่น กลัวติด กลัวพ่อแม่เสียใจและกลัวถูกจับ เป็นต้น สิ่งที่น่าเป็นห่วงคือผลสำรวจในครั้งนี้พบว่าในช่วงฤดูกาลแข่งขันบอลโลก 2010 มีเยาวชนร้อยละ 17.66 บอกว่าจะเล่นพนันบอลครั้งนี้ด้วย ส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มอนุปริญญาตรี

 

          ที่น่าสนใจยิ่งไปกว่านั้น มีเด็กที่เคยติดพนันบอลก็บอกทุกปีเหมือนกันว่า การรณรงค์ที่ผ่านๆ มาไม่ให้เด็กเล่นพนันบอลเป็นเรื่องไม่ได้ผล เพราะคนที่เล่นเขาก็ยังคงเล่นต่อไป พวกเขาเหล่านั้นไม่สนใจเรื่องการรณรงค์อยู่แล้ว และเด็กทุกคนก็รู้ว่าการพนันเป็นสิ่งไม่ดี แต่เขากลับพบมันมีอยู่ทุกหนทุกแห่ง

ทางด้านธุรกิจ ทำให้เศรษฐกิจในด้านการกีฬามีการขยายตัว โดยเฉพาะสัญลักษณ์ในการแข่งขัน และทีมฟุตบอลที่มีคนสนใจมากเป็นพิเศษ มีการหมุนเวียนของเงิน ส่งผลให้ประเทศเจ้าบ้านมีรายได้เพิ่มสูงขึ้น แต่เศรษฐกิจในประเทศมีการหมุนเวียนเฉพาะกลุ่มและเงินส่วนใหญ่ก็ออกไปนอกประเทศเนื่องจากต้องเสียค่าลิขสิทธิ์ แต่ก็ส่งให้เกิดการหมุนเวียนของเงิน เนื่องจากมีประชาชนที่ไม่น้อยที่สนใจในการแข่งขันบอลโลก จึงมีผู้ที่อยากได้ของที่ระลึก ผู้ที่ได้รับผลประโยชน์ในด้านนี้ คือผู้ที่มีสิทธิ์ในการจัดจำหน่ายของที่ระลึก และผู้นำเข้า และประชาชนส่วนใหญ่มักจะดูบอลที่บ้าน หรือก็ไปดูที่ร้านอาหาร ที่มีการฉายฟุตบอล การที่ร้านอาหารจะสามารถถ่ายถอดสดได้ก็ต้องได้รับสิทธิ์จาก RS จึงทำให้ RS ได้รับผลประโยชน์เพียงผู้เดียว ส่วนผู้ที่เสียผลประโยชน์ น่าจะเป็นพ่อค้าในตลาดกลางคืนที่ไม่มีการถ่ายทอดฟุตบอล เช่น ร้านอาหารข้างทาง พ่อค้าแผงลอย เป็นต้น

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

นางสาวเหมือนฝัน คำใจดี สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ธุกิจ รหัส 50473010049

ธนาคารแห่งประเทศไทย ( The Bank  of  Thailand) ชื่อย่อ ธปท.)(แบงค์ชาติ)

ชื่อผู้ว่า ธปท.คนปัจจุบันคือ นางธาริษา  วัฒนเกส

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ  273  ถนนสามเสน  บางขุนพรหม   เขตพระนคร  กรุงเทพฯ 10200

จุดเด่น : ได้ออกแนวปฏิบัติของธนาคารแห่งประเทศไทย เรื่อง การจัดทำแผนรองรับการดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง (Business Continuity Plan: BCP) สำหรับกรณีการระบาดของโรคติดต่อร้ายแรง โดยบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 4 สิงหาคม 2551 ภายใต้การสนับสนุนจากสมาคมธนาคารไทย สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย และ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และธนาคารต่างๆ ได้เตรียมความพร้อมเช่นกัน เช่น ธนาคารไทยธนาคาร จำกัด (มหาชน), ธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน) เป็นต้น

 

ธนาคารกสิกรไทย (KasikornBank) ชื่อย่อ KBANK 

ประธานเจ้าหน้าที่บริหารคือ นายบัณฑูร ล่ำซำ 

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ   1 ซอยกสิกรไทย ถ.ราษฎร์บูรณะ ชั้น 12 เขตทุ่งครุกรุงเทพฯ 10140

มีสาขาทั้งหมด  595  สาขา

จุดเด่น  :   แฟคเตอรี แอนด์ ควิปเมนท์ กสิกรไทย มุ่งมั่นเป็นบริษัทลีสซิ่งและเช่าซื้อเครื่องจักรและอุปกรณ์ที่มั่นคงและดีที่สุดในการให้บริการแก่ลูกค้าและเพื่อเสริมภาพลักษณ์ การบริการทางการเงินที่ครอบคลุมทุกๆ ด้าน (Universal Banking) ของธนาคารกสิกรไทย 

 

ธนาคารกรุงเทพ  จำกัด (มหาชน) ((Bangkok Bank Public Company Limited)  ชื่อย่อ  BBL.

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นายชาติศิริ   โสภณพนิช

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ เลขที่ 333 ถนนสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร

มีสาขาทั้งหมดในไทย  950 สาขา 

จุดเด่น  : รายงานผลการสำรวจธนาคารยอดเยี่ยมในประเทศกำลังพัฒนาประจำปี 2546 ซึ่งตีพิมพ์ใน นิตยสารโกลบอล ไฟแนนซ์ ฉบับประจำเดือนพฤษภาคม 2546 ได้กล่าวถึง ธนาคารกรุงเทพ ว่าเป็นธนาคารที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย

  

 

ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน)  ( Krung Thai Bank Public Company Limited)  ชื่อย่อ  KTB.

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ : ดร. พงศธร สิริโยธิน  

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ เลขที่  35 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ

มีสาขาทั้งหมด  800 สาขา 

จุดเด่น :   ธนาคารแสนสะดวก (The Convenience Bank)  สำหรับลูกค้ารายย่อย ภาคธุรกิจ ภาครัฐ    และสถาบัน

 

ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)  ( Siam Commercial Bank Public Company Limited )  ชื่อย่อ  SCB.

 กรรมการผู้จัดการใหญ่ : คุณหญิงชฎา วัฒนศิริธรรม

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ :  9 ถนนรัชดาภิเษก แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร

มีสาขาทั้งหมดในไทย 998 สาขาทั่วประเทศ

จุดเด่น  -  นำเสนอผลิตภัณฑ์ และบริการที่ดีในระดับมาตรฐานสากล 

สร้างผลตอบแทนระยะยาวที่ดีอย่างสม่ำเสมอ 

-  รักษา ดึงดูด และสร้างความผูกพันของพนักงาน 

ดำเนินงานอย่างมีธรรมาภิบาลและมีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคม และชุมชนอย่างเต็มที่ 

 

ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) ( Bank of Ayudthaya Public Company Limited)  ชื่อย่อ  BAY

กรรมการผู้จัดกี่ใหญ่คือ  นายประไพสิทธิ์ ตัณฑ์เกยูร

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ: 1222 ถนนพระรามที่ 3 แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร 10120

มีสาขาภายในประเทศ   จำนวน 577   แห่ง  และสาขาต่างประเทศ  จำนวน 4  แห่ง

 

จุดเด่น  :  ทีมงานกลมเกลียว หนึ่งเดียว มุ่งมั่นมอบผลิตภัณฑ์และบริการสุดประทับใจ เพื่อเป็นธนาคารอันดับหนึ่งในใจลูกค้า

 

ธนาคารทหารไทย จำกัด  (มหาชน)  ((TMB Bank Public Company Limited)  ชื่อย่อ  TMB

โดย TMB ย่อมาจาก Thai Military Bank

ประธานเจ้าหน้าที่บริหารคือ  นางเสาวนีย์ กมลบุตร

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  เลขที่ 3000 ถ.พหลโยธิน แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900

มีสาขาทั้งหมด  480  สาขา

จุดเด่น:  ธนาคารไทยชั้นนำ มาตรฐานระดับโลก 

 

ธนาคารออมสิน  (Government Savings Bank )  ชื่อย่อ  GSB

ประธานกรรมการคือ  นายวินัย วิทวัสการเวช

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่   เลขที่  470 ถ.พหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400

มีสาขาทั้งหมด  400   สาขาทั่วประเทศ

จุดเด่น :  เป็นสถาบันการเงินที่มั่นคงเพื่อการออม การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศโดยเฉพาะเศรษฐกิจฐานราก 

 

ธนาคารนครหลวงไทย จำกัด (มหาชน)  ( Siam City Bank Public Company Limited)  ชื่อย่อ  SCIB

ประธานเจ้าหน้าที่บริหารคือ  นายชัยวัฒน์ อุทัยวรรณ์

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  เลขที่ 1101, ถ.เพชรบุรีตัดใหม่, มักกะสัน, เขตราชเทวี  กรุงเทพมหานคร, 10400

มีสาขาทั้งหมด  382 สาขาทั่วประเทศ

จุดเด่น :  ธนาคารกำหนดนโยบายการกำกับดูแลกิจการที่ดี โดยมีหลักการพื้นฐานที่สำคัญ เพื่อให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทุกระดับของธนาคารยึดถือปฏิบัติเป็นมาตรฐานเดียวกัน

 

ธนาคารอาคารสงเคราะห์ (Government Housing Bank)  ชื่อย่อ  ธอส. หรือ GH BANK

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นายขรรค์ ประจวบเหมาะ 

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  เลขที่  63 ถ.พระรามที่ 9 ห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10320

มีสาขาทั้งหมด  146  สาขา

จุดเด่น :  เป็นธนาคารมั่นคงทันสมัย เพื่อที่อยู่อาศัยครบวงจร : Secured Modern Housing Bank

 

ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย (Islamic Bank of Thailand)  ชื่อย่อ( ธอท.) IBT.

กรรมการผู้จัดการใหญ่ นายธีรศักดิ์ สุวรรณยศ

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  เลขที่ 66 ชั้น M, 21, 22 อาคารคิวเฮ้าส์ ถนนสุขุมวิท 21แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา
กรุงเทพมหานคร 10110

มีสาขาทั้งหมด  28  สาขา

            จุดเด่น  :   เป็นธนาคารที่ดำเนินธุรกรรมโดยปราศจากดอกเบี้ย แต่อยู่บนหลักการ กำไร-ขาดทุนร่วมกัน และดำเนินธุรกิจตาม พ.ร.บ.ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2545 โดยมีคณะที่ปรึกษาด้านศาสนาให้คำแนะนำ ตรวจสอบ เพื่อให้ธนาคารดำเนินงานถูกต้องตามหลักศาสนาอิสลาม ปัจจุบันธนาคารมีฐานะเป็นรัฐวิสาหกิจ สังกัดกระทรวงการคลัง 

 

ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย (Small and Medium Enterprise Development Bank of Thailand)  ชื่อย่อ ธพว.  (SME  BANK)

ประธานกรรมการ  นายพงษ์ภาณุ เศวตรุนทร์

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  อาคาร SME BANK TOWER ตั้งอยู่เลขที่ 310 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน       เขตพญาไท กทม. 10400

มีสาขาทั้งหมด  99 สาขาทั่วประเทศ

          จุดเด่น :  เพื่อประกอบธุรกิจอันเป็นการพัฒนา ส่งเสริม ช่วยเหลือ และสนับสนุนการจัดตั้ง การดำเนินงาน การขยาย หรือการปรับปรุงวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม โดยการให้สินเชื่อค้ำประกัน ร่วมลงทุน สนับสนุนบริการทางการเงิน ให้คำปรึกษาแนะนำหรือให้บริการที่จำเป็นแก่ผู้ประกอบการไทย มีฐานะเป็นนิติบุคคลโดยมีผู้ถือหุ้นทั้งภาครัฐและเอกชนร่วมกัน (จาก พ.ร.บ. ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2545 มาตรา 8 ให้กำหนดทุนเรือนหุ้นของธนาคารไว้หนึ่งหมื่นล้านบาท แบ่งออกเป็นหนึ่งร้อยล้านหุ้น มูลค่าหุ้นละหนึ่งร้อยบาท โดยให้ธนาคารขายหุ้นให้แก่กระทรวงการคลัง สถาบันการเงิน หรือบุคคลอื่น ทั้งนี้ ตามที่กำหนดไว้ในข้อบังคับของธนาคาร

 

ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร  (BANK  FOR AGRICULTURE AND AGRICULTURAL CO - OPERATIVES)  ชื่อย่อ  ธ.ก.ส. หรือ  (BAAC)

ผู้จัดการใหญ่คือ  นายลักษณ์   วจนานวัช 

มีสำนักงานใหญ่  ตั้งอยู่เลขที่ ๔๖๙ ถนนนครสวรรค์ แขวงจิตรลดา เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร

มีสาขาทั้งหมด  886 สาขา

จุดเด่น   "เป็นธนาคารพัฒนาชนบทที่มั่นคง มีการจัดการที่ทันสมัย เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของเกษตรกรรายย่อย"

 

ธนาคารธนชาต จำกัด (มหาชน) ( Thanachart Bank Public Company Limited ) ชื่อย่อ  TBANK

ประธานกรรมการ คือ นายบันเทิง ตันติวิท

สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่ เลขที่ 900 อาคารต้นสนทาวเวอร์ ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กทม. 10330

มีสาขาทั้งหมด  50  สาขา

        จุดเด่น:  การเป็นกลุ่มธุรกิจที่ให้บริการทางการเงินครบวงจร มุ่งเน้นการสร้างสรรค์ความเป็นเลิศให้แก่ผลิตภัณฑ์และบริการจากความร่วมมือของทุกบริษัทภายในกลุ่ม และสามารถตอบสนองทุกความต้องการทางการเงิน

 

ธนาคารสินเอเชีย จำกัด  (มหาชน)  ( Asia Credit Public Company Limited)  ชื่อย่อ  ACLBANK

ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร   นายโชติ  โภควนิช

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  ตั้งอยู่  เลขที่ 622   ชั้น 11-13 อาคารเอ็มโพเรี่ยม ทาวเวอร์  ถนนสุขุมวิท กรุงเทพมหานคร    

มีสาขาทั้งหมด  17  สาขา

             จุดเด่น:  ธนาคารสินเอเซีย จำกัด (มหาชน) หรือในชื่อเดิมคือ บริษัท เงินทุนสินเอเซีย จำกัด (มหาชน) ซึ่งได้รับใบอนุญาตประกอบการธนาคารพาณิชย์จากกระทรวงการคลังและ ธนาคารแห่งประเทศไทย ให้เริ่มเปิดให้บริการประชาชน เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2548 นับตั้งแต่ขวบปีแรกที่ก้าวสู่ธุรกิจการเงินการธนาคารเมื่อปี พ.ศ. 2512 หลังจากนั้น ก็ได้รับอนุญาตจากกระทรวง การคลังให้ประกอบ ธุรกิจหลักทรัพย์และธุรกิจเงินทุนในปี พ.ศ. 2516 จดทะเบียนเข้าสู่ตลาดหลักทรัพย์ในปี พ.ศ. 2521 จนกระทั่งแปรสภาพ เป็นบริษัทมหาชนในปี พ.ศ. 2536 มาจนวันนี้ ธนาคารสินเอเซีย จำกัด (มหาชน) ได้นำประสบการณ์ในแวดวงการเงินที่สั่งสมมากว่า 35 ปี พร้อมที่จะรับใช้ประชาชน อย่างเต็มที่ 

 

ธนาคารซีไอเอ็มบี ไทย  จำกัด  (มหาชน)  (CIMB Thai Bank Public Company Limited) ชื่อย่อ CIMB

กรรมการผู้จัดการใหญ่   นายสุภัค ศิวะรักษ์

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่   อาคารหลังสวนเลขที่ 44 ถนนหลังสวน แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

มีสาขาทั้งหมด 147  สาขา

            จุดเด่น : ธนาคารตระหนักถึงสิทธิความเป็นส่วนบุคคลในข้อมูลของผู้ใช้บริการ  และพยายามอย่างยิ่งที่จะให้ผู้ใช้บริการได้รับความปลอดภัยสูงสุดจากการใช้ช่องทางนี้สำหรับการดำเนินธุรกรรมต่างๆ ของผู้ใช้กับธนาคาร    ดังนั้นข้อมูลต่างๆ ที่ได้รับธนาคารจะเก็บรักษา และดำเนินการอย่างเข้มงวดเพื่อรักษาความปลอดภัย และป้องกันการนำข้อมูลต่างๆ ไปใช้โดยมีเจตนาที่ไม่สุจริต ตามเกณฑ์มาตรฐานสำหรับการรักษาข้อมูลที่เป็นความลับ

 

ธนาคารยูโอบี จำกัด  (มหาชน)( United Overseas Bank , Thailand)  ชื่อย่อ UOB

ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่  นายชัยวัฒน์   อุทัยวรรณ์

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  เลขที่  191 ถนนสาทรใต้ แขวงยานนาวา  เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120

มีสาขาทั้งหมด  400   สาขา

         จุดเด่น : ธนาคารยูโอบี มีพันธกิจใน การเป็นธนาคารชั้นนำในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก และมุ่งมั่นที่จะนำ เสนอผลิตภัณฑ์คุณภาพ และบริการชั้นเลิศ

ธนาคารทิสโก้ จำกัด  (มหาชน) (Thai Investment and Securities  Public  Company Bank) ชื่อย่อ TISCO

ประธานบริหาร  นางอรนุช  อภิศักดิ์ศิริกุล

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  เลขที่  48/2  อาคารทิสโก้ทาวเวอร์ ชั้น 1  ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

มีสาขาทั้งหมด  46  สาขา

        จุดเด่น:  "ทิสโก้เป็นสถาบันการเงินที่ประกอบธุรกิจด้วยมาตรฐานสูงสุดของการกำกับดูแลกิจการที่ดี เราทุ่มเท สร้างสรรค์คุณค่าที่ยั่งยืน เพื่อลูกค้า ผู้ถือหุ้น พนักงาน และสังคม"

ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย (Export-Import Bank of Thailand ) ชื่อย่อ ธสน. หรือ EXIM BANK

ประธานกรรมการ  ดร.ณรงค์ชัย อัครเศรณี

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  เลขที่ 1193  อาคารเอ็กซิม  ถนนพหลโยธิน  แขวงสามเสนใน เขตพญาไท  กรุงเทพฯ  10400

มีสาขาทั้งหมด  16 สาขา

จุดเด่น : เป็นสถาบันการเงินชั้นนำด้านการค้าและการลงทุนในระดับอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจ

ธนาคารเกียรตินาคิน จำกัด  (มหาชน) (Kiatnakin Bank) ชื่อย่อ KK

นางสาวนวพร เรืองสกุล

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  เลขที่  500 อาคารอัมรินทร์ ทาวเวอร์ ชั้น 11 ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

มีสาขาทั้งหมด 49 แห่งทั่วประเทศ

“โครงการพัฒนาคน พัฒนาชาติกับเกียรตินาคิน”

 

ธนาคารสแตนดาร์ชาร์เตอร์ดไทย  จำกัด  (มหาชน)  (Standard Chartered Bank Thai)  ชื่อย่อ SCNB

ผู้จัดการใหญ่คือ  นาย ยุทธเดช   ปัทมานนท์

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ เลขที่ 90 อาคารสาทรธานี ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพ 10500

มีสาขาทั้งหมด  ในประเทศ 41 สาขา และอีกกว่า 1400 สาขาทั่วโลก

จุดเด่น  :  ธนาคารฯ มีธุรกิจหลักคือ บุคคลธนกิจและสถาบันธนกิจ ธุรกิจด้านบุคคลธนกิจให้บริการด้านบัตรเครดิต สินเชื่อบุคคล สินเชื่ออสังหาริมทรัพย์ บริการรับฝากเงิน บริการด้านการบริหารสินทรัพย์ให้แก่ลูกค้ารายบุคคล ลูกค้าเจ้าของธุรกิจรายย่อย จนถึงลูกค้าเจ้าของธุรกิจขนาดกลาง ส่วนสถาบันธนกิจนั้นให้บริการแก่ลูกค้าที่เป็นสถาบันหรือบริษัทในด้านต่างๆ เช่น สินเชื่อพาณิชย์ บริการบริหารเงินสด การบริการเงินทุน บริการด้านหลักทรัพย์ บริการด้านเงินตราต่างประเทศ บริการด้านการกู้ยืมในตลาดทุน และบริการด้านเงินกู้สำหรับธุรกิจ 

ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย (Land and Houses Retail Bank)  ชื่อย่อ LH

 กรรมการผู้จัดการ  นางศศิธร พงศธร

สำนักงานใหญ่   1 อาคารคิวเฮ้าส์ ลุมพินี ถ.สาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120

มีสาขาทั้งหมด  23  สาขา

จุดเด่น  :   ธนาคารมีการพิจาณาในด้านสินเชื่อเน้นไปที่เงินกู้เพื่อการเคหะของสินเชื่อโดยรวมทั้งหมด60% และ40%จะเป็นสินเชื่อประเภทเอสเอ็มอี เนื่องจากว่าในส่วนของสินเชื่อเคหะมีข้อดีตรงที่มีหลักประกันที่ชัดเจน และทางธนาคารแห่งประเทศไทยก็ให้ความสนใจในเรื่องนี้เป็นสำคัญ เพราะถือว่าเป็นฐานเงินทุนที่มีประสิทธิภาพสูง

ธนาคารซิตี้แบงก์  จำกัด  (มหาชน)  (Citibank)

ผู้จัดการใหญ่  นายปีเตอร์   เอเลียต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  ตั้งอยู่เลขที่  82  อาคารแสงทองธานี  ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม  เขตบางรัก  กรุงเทพฯ  10500 

มีสาขาทั้งหมด  47  สาขา

จุดเด่น  :  มุ่งมั่นป็นธนาคารระดับโลก เอกลักษณ์ในการมีเครือข่ายสาขาทั่วโลก ทุ่มเทให้ลูกค้าของเรา มีความแงแกร่งทางการเงินเสมอต้นเสมอปลาย สนับสนุน และช่วยพัฒนาศักยภาพของพนักงานอย่างต่อเนื่อง  นำเสนอบริการที่เหนือกว่าแก่นักลงทุนตลอดเวลา

ธนาคารไทยเครดิตเพื่อรายย่อย  จำกัด  (มหาชน)  (The Thai Credit Retail Bank Public Company Limited ) ชื่อย่อ TCR

ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ คือ นายมงคล ลีลาธรรม

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  เลขที่  123 ชั้น 1 อาคาร ไทยประกันชีวิต ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กทม. 10400

มีสาขาทั้งหมด  9  สาขา

จุดเด่น : นำเสนอผลิตภัณฑ์ที่แตกต่าง และตอบสนองความต้องการที่แท้จริงของลูกค้า
สร้างทีมงานที่มีจิตสำนึกที่ดีด้านการบริการ มีความรักและภาคภูมิใจในองค์กร 
สร้างระบบงานที่เอื้อหนุนให้การปฏิบัติงานเกิดประสิทธิภาพสูงสุด
สร้างความน่าเชื่อถือ ด้วยการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล 
แสวงหาเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพในการบริหารงานและความเสี่ยง เพื่อผลลัพธ์ในการทำงานที่ดีที่สุด
แสวงหาพันธมิตร เพื่อเพิ่มโอกาสทางธุรกิจ
แสวงหาแนวทางในการพัฒนาธนาคารสู่ความสำเร็จตามแผนกลยุทธ์

 

ธนาคารเมกะ สากลพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) (Mega International Commercial Bank)  ชื่อย่อ  MEGA BANK 

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  Rong-Jou Wang

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  เลขที่  36/12 อาคารพี.เอส.ทาวเวอร์ ถ.สุขุมวิท 21 (อโศก) แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110

มีสาขาทั้งหมด  4  สาขา

จุดเด่น : ประกอบกิจการธนาคารพาณิชย์ รวมทั้งกิจการทั้งปวง ซึ่งเกี่ยวกับธนาคารพาณิชย์ 

 

 

เหมือนฝัน คำใจดี สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ธุกิจ รหัส 50473010049

ฟุตบอลโลกส่งผลกระทบต่อภาคธุรกิจและภาคสังคมอย่างไร

ความสำคัญที่เพิ่มพูนขึ้นทำให้ฟุตบอลโลก ถูกโยงเกี่ยวพันกับหลายมิติทางสังคม โดยเฉพาะผลประโยชน์เชิงธุรกิจ ที่แต่ละครั้งฟุตบอลโลกสร้างรายได้แก่ผู้เกี่ยวข้องเป็นกอบเป็นกำ อย่างในการแข่งขันที่แอฟริกาใต้ประเมินว่า ฟุตบอลโลกช่วยเพิ่มการเติบโตทางเศรษฐกิจ (จีดีพี) ไม่ต่ำกว่า 1% จากเดิม 2.6% เพิ่มเป็น 3.6% มีรายได้จากการท่องเที่ยว 1.8 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ มีนักท่องเที่ยวแฟนบอลเดินทางเข้ามาเชียร์ไม่ต่ำกว่า 450,000 คน รวมทั้งยังก่อให้เกิดเงินสะพัดจากการบริโภค ของคนในประเทศ การจ้างงาน การลงทุนภาครัฐ เพื่อเตรียมพร้อมสำหรับจัดการแข่งขันอีก 4,300 ล้านดอลลาร์สหรัฐ

โทรทัศน์ขายดี โทรทัศน์ คือสุดยอดสินค้าขายดีอีกรายการหนึ่ง โดยหลายแบรนด์ดังไม่ว่าจะเป็นโซนี่ พานาโซนิค ซัมซุงต่างทุ่มงบการตลาดและออกแคมเปญอิงกระแสเวิลด์คัพช่วยกระตุ้นตลาดทีวีจอแบน ไม่ว่าจะเป็นแอลซีดีทีวี หรือพลาสม่าทีวีกันอย่างคึกคัก และเป็นที่น่าติดตามด้วยใจจดจ่ออย่างยิ่งว่า ด้วยนวัตกรรมถ่ายทอดการแข่งขันใหม่ล่าสุดในแบบ “สามมิติ” ที่มีขึ้นเป็นครั้งแรก ณ แอฟริกาใต้หนนี้ จะกระตุ้นยอดขายทีวีแบบสามมิติของแต่ละแบรนด์ที่งัดไม้เด็ดออกมาแย่งชิงส่วนแบ่งกันได้มากน้อยเพียงไร เพราะราคาซื้อขายมิได้ถูกเลย ร้านอาหารคนแน่น คอบอลพันธุ์แท้บอกว่าหากการเชียร์บอลให้สนุกภาพรวมธุรกิจเคเบิลทีวีในขณะนี้คึกคักมาก เห็นได้จากยอดติดตั้งจานเคเบิลทีวีเพิ่มขึ้น 20% เพราะได้รับผลดีจากกระแสฟุตบอลโลกที่ประชาชนหันมาติดตั้งเคเบิลจำนวนมาก เนื่องจากปัญหาจานดำที่ไม่สามารถดูฟุตบอลโลกได้ทำให้ลูกค้าบางส่วนเปลี่ยนมาติดตั้งเคเบิลทีวี ซึ่งค่าติดตั้งเพียง 500-1,000 บาท บางบริษัทไม่คิดค่าติดตั้งและคิดค่าบริการรายเดือนเพียง 100-350 บาท ในช่วงที่มีการแข่งขันฟุตบอลโลกนี้ ยังส่งผลให้ยอดขายมาม่าประเภทถ้วย หรือมาม่าคัพ เติบโตมากกว่าปกติคือ 20% เนื่องจากมาม่าคัพสะดวกต่อการรับประทานส่วนหนึ่งที่ผลักดันให้ยอดขายในเดือนที่ผ่านมาเติบโตก็คือ การมีฟุตบอลโลกในเดือนมิถุนายน ที่เชื่อว่าผู้บริโภคก็มีการซื้อมาม่ากักตุนไว้เช่นกัน

ฟุตบอลโลก 2010 วิกฤตหรือโอกาสของเด็กและเยาวชนไทย” ระบุว่าเด็กและเยาวชนจะเป็นผู้ได้รับผลกระทบสำคัญจากการเล่นพนันฟุตบอล แต่ก็เห็นว่าฟุตบอลโลกครั้งนี้มีประโยชน์มากกว่าผลเสีย เพียงแต่ต้องร่วมมือกันป้องกันผลกระทบด้านลบ ตำรวจปราบปรามสถานที่เล่นการพนันฟุตบอลอย่างเด็ดขาดจริงจัง พ่อแม่ผู้ปกครองสังเกตพฤติกรรมบุตรหลาน และร่วมชมการแข่งขันกับเด็ก ๆ ด้วย สถานศึกษาควรจัดให้นักเรียนนักศึกษามีโอกาสชมฟุตบอลร่วมกัน และสอดแทรกสาระที่เป็นประโยชน์ สื่อมวลชนโดยเฉพาะผู้จัดการถ่ายทอด ควรเตรียมข้อมูลความรู้ที่เป็นประโยชน์แก่ผู้ชม

นายเกียรติชัย เกียรติสูงส่ง

นายเกียรติชัย เกียรติสูงส่ง

คณะวิทยาการจัดการ โปรแกรม เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ ปี 4

รหัสนักศึกษา 50473010045

ธนาคารไทยพาณิชย์ (Siam Commercial Bank)

ชื่อย่อ SCB

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 9 ถ.รัชดาภิเษก แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร

Website http://www.scb.co.th

จำนวนสาขา 873 สาขา

ประวัติศาสตร์หน้าแรกของธนาคารไทยพาณิชย์ ซึ่งนับเป็นสถาบันการเงินแห่งแรกของชาวสยามนั้น เริ่มต้นขึ้นในนาม "บุคคลัภย์" (Book Club) โดย พระเจ้าน้องยาเธอกรมหมื่นมหิศรราชหฤทัย ซึ่งขณะนั้นทรง ดำรงตำแหน่งเสนาบดีกระทรวง พระคลังมหาสมบัติในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงตั้งพระทัยอย่างแน่วแน่ที่จะให้มีสถาบัน การเงินของสยาม เป็นฐานรองรับการเติบโตทางด้านเศรษฐกิจการเงินของประเทศ จากการที่โลกตะวันตกได้ขยายเส้นทางการค้าทางทะเลมาสู่ดินแดนสยามเป็นอย่างมาก

ในยุคนั้น ในขั้นแรกจึงทรงริเริ่มดำเนินกิจการธนาคารพาณิชย์เป็นการ ทดลองในนาม "บุคคลัภย์" ต่อมากิจการทดลองประสบความสำเร็จเป็นอย่างดีพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงมีพระบรมราชานุญาตให้ตั้งเป็นธนาคารในนาม "บริษัท แบงก์สยาม กัมมาจล ทุนจำกัด" ประกอบธุรกิจ ธนาคารพาณิชย์ อย่างเป็นทางการ นับตั้งแต่นั้นมาและได้ กลายมาเป็น "ต้นแบบธนาคารไทย" โดยริเริ่ม นำระบบ และ แนวคิดของการให้บริการ รับฝากเงินออมทรัพย์ และบริการบัญชีกระแสรายวัน ถอนเงิน โดยใช้เช็คมาให้บริการ แก่ประชาชน พร้อมทั้งจัดตั้งสาขาขึ้น ทั้งในกรุงเทพฯ และภูมิภาคต่างๆ นอกจากนี้ธนาคารยังมีส่วนร่วม ในการก่อกำเนิดและวางรากฐานสหกรณ์การเกษตร ของประเทศ

ธนาคารกรุงเทพ (Bangkok Bank)

ชื่อย่อ BBL

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 333ถ.สีลม แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร

Website www.bangkokbank.com

จำนวนสาขา 950 แห่ง

ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) จดทะเบียน โดยข้าราชการ นักธุรกิจ และกลุ่มบุคคลที่มีแนวคิดเดียวกัน มีสโลแกนที่ว่า "เพื่อนคู่คิด มิตรคู่บ้าน"

รายงานผลการสำรวจธนาคารยอดเยี่ยมในประเทศกำลังพัฒนาประจำปี 2546 ซึ่งตีพิมพ์ใน นิตยสารโกลบอล ไฟแนนซ์ ฉบับประจำเดือนพฤษภาคม 2546 ได้กล่าวถึง ธนาคารกรุงเทพ ว่าเป็นธนาคารที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย และเป็นหนึ่งในธนาคารขนาดใหญ่ของภูมิภาคเอเชียอาคเนย์

ธนาคารกรุงเทพมีฐานะการเงินมั่นคงเป็นอันดับ 1 ในประเทศไทย และเป็นหนึ่งในธนาคารที่ใหญ่ที่สุดในเอเชียอาคเนย์ และในวันนี้ ธนาคารกรุงเทพก็ยังคงยึดมั่นในภาระหน้าที่ของ ‘เพื่อนคู่คิด’ ที่พร้อมจะอยู่เคียงข้างลูกค้าเพื่อคอยให้การสนับสนุนในทุกย่างก้าวสำคัญของชีวิตตลอดไป

ธนาคารกรุงศรีอยุธยา (Bank of Ayudhaya)

ชื่อย่อ BAY

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 1222 ถ.พระรามที่ 3 แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร

Website http://www.krungsri.com

จำนวนสาขา 577 สาขา และในต่างประเทศ 4 สาขา

ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 27 มกราคม 2488 และได้นำหลักทรัพย์เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในปี 2520 ปัจจุบันเป็นธนาคารพาณิชย์ไทยที่มีฐานเงินฝาก สินทรัพย์ และสินเชื่อใหญ่เป็นอันดับ 5 ของประเทศ และเป็นธนาคารที่ให้บริการทางการเงินอย่างครบวงจรแก่ทั้งลูกค้าธุรกิจ และลูกค้าบุคคล

ธนาคารกรุงไทย (Krung Thai Bank)

- รัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงการคลัง

ชื่อย่อ KTB

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 35 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพ

Website www.ktb.co.th

จำนวนสาขา 800 สาขา

ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) เป็นธนาคารของรัฐ อยู่ภายใต้การกำกับดูแลของกระทรวงการคลัง โดยการควบกิจการของธนาคารมณฑลและธนาคารเกษตร ซึ่งเป็นธนาคารที่รัฐบาลถือหุ้นใหญ่ทั้งคู่ และใช้ชื่อธนาคารใหม่ที่เกิดจากการควบรวมว่า "ธนาคารกรุงไทย จำกัด" มีตราสัญลักษณ์เป็นรูป นกวายุภักษ์ ซึ่งเป็นตราสัญลักษณ์ของกระทรวงการคลังเป็นสัญลักษณ์ของธนาคาร

ธนาคารกรุงไทยเป็นรัฐวิสาหกิจ แห่งแรกในประเทศไทยที่เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปัจจุบันผู้ถือหุ้นใหญ่คือกระทรวงการคลัง โดยถือหุ้นผ่านกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน

นอกจากพาณิชยกรรมเช่นธนาคารพาณิชย์ทั่วไปแล้ว ธนาคารกรุงไทยยังเป็นช่องทางของรัฐบาลในการให้บริการทางการเงินสนองตามนโยบายของรัฐ โดยปล่อยสินเชื่อให้ธุรกิจบางประเภท เช่น สินเชื่อเพื่อโอท็อป (OTOP : หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์) สินเชื่อคอมพิวเตอร์ไอซีที สินเชื่อเพื่อการศึกษา ฯลฯ ธนาคารกรุงไทยยังเป็นธนาคารที่หน่วยงานราชการส่วนใหญ่เลือกใช้ อาทิเช่น กรมสรรพากร จ่ายเช็คคืนภาษีเป็นเช็คของธนาคารกรุงไทย และการเบิกจ่ายงบประมาณราชการ รวมถึงบำเหน็จบำนาญต่างๆ ของรัฐก็มีความเกี่ยวข้องกับธนาคารกรุงไทย

เวลาทำการของธนาคารกรุงไทยนั้นแตกต่างจากธนาคารพาณิชย์ทั่วไปที่ปรับตามสภาวะเศรษฐกิจและความเหมาะสมในการดำเนินพาณิชยกรรม แต่เวลาทำการของธนาคารกรุงไทยสอดคล้องกับเวลาทำการของรัฐวิสาหกิจและราชการมากกว่า เช่นในปัจจุบันที่เปิดทำการถึงเวลา 16.30 น. ขณะที่ธนาคารพาณิชย์อื่นๆ ปิดทำการก่อนหน้านั้น

ธนาคารทหารไทย (TMB Bank)

- กลุ่มกองทัพไทย เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่

ชื่อย่อ TMB

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 3000 ถ.พหลโยธิน แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร ตรงข้ามสวนจตุจักร

Website www.tmbbank.com

จำนวนสาขา 480 สาขา

TMB ดำเนินธุรกิจด้วยหลักธรรมาภิบาล และเติบโตโดยไม่ละทิ้งการตอบแทนสังคม ด้วยมิตรภาพเชื่อม ด้วยการเชื่อมประสานองค์กรและชุมชนผ่านโครงการและกิจกรรมต่างๆ และมีบทบาทในการให้ความร่วมมือแก่ภาครัฐและองค์กรระหว่างประเทศ ในการบริหารโครงการที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ด้วยศักยภาพที่พร้อมให้คำแนะนำปรึกษาในการวางแผนการลงทุน และสนับสนุนแหล่งเงินทุนแก่โครงการอนุรักษ์พลังงานและรักษาสิ่งแวดล้อม โครงการเพื่อสังคม ตลอดจนพัฒนาบริการเสริมใหม่ๆที่เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม

ในระยะแรกแม้จะเป็นธนาคารพาณิชย์มีใบอนุญาตประกอบกิจการได้ทั่วไป แต่จำกัดการทำพาณิชยกรรมอยู่ในแวดวงจำกัดดังนี้

1. ผู้ถือหุ้น ต้องเป็นทหารเท่านั้น บุคคลทั่วไปถือหุ้นไม่ได้

2. ลูกค้า มุ่งรับฝากจากทหารและครอบครัวทหารเป็นส่วนใหญ่

3. วัตถุประสงค์ เพื่ออำนวยความสะดวกในการให้บริหารทางการเงินแก่หน่วยงานทหาร และเพิ่มสวัสดิการการเงินแก่ข้าราชการทหาร

ธนาคารแห่งประเทศไทย (Bank of Thailand)

ชื่อย่อ BOT

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : วัดสามพระยา พระนคร กรุงเทพมหานคร

กรรมการผู้จัดการ นางธาริษา วัฒนเกส

Website www.bot.or.th

สาขาในปัจจุบัน

• สำนักงานใหญ่ กรุงเทพมหานคร

• สาขาสุรวงศ์

• สาขาเชียงใหม่ และสาขาย่อยลำปาง สำนักงานภาคเหนือ

• สาขาขอนแก่น สำนักงานภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

• สาขาหาดใหญ่ สำนักงานภาคใต้

ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ทำหน้าที่เป็นตัวแทนประเทศไทยในองค์กรระหว่างประเทศ รวมไปถึงกรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจการเงินระหว่างประเทศ ทั้งในระดับทวิภาคีและพหุภาคี โดยการเป็นตัวแทนของไทยในองค์กรระหว่างประเทศนั้น มีวัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างความมั่นคงและแข็งแกร่งของระบบการเงินและเศรษฐกิจโลก ในขณะที่การเข้าไปมีส่วนร่วมในกรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจการเงินระหว่างประเทศมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความสัมพันธ์ทางการเงิน และการสอดส่องดูแลเศรษฐกิจเป็นสำคัญ

ธนาคารกลางของประเทศไทย จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติธนาคารแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2485 มีหน้าที่หลักในการดูและกำกับเรื่องการเงินของชาติ ทั้งออกกฎเกณฑ์และควบคุมสถาบันการเงิน นำออกหมุนเวียนซึ่งธนบัตรไทยรวมถึงการควบคุมการถ่ายโอนเงินตราระหว่างประเทศ และเฝ้าระวังอัตราแลกเปลี่ยนเงินบาทเทียบกับสกุลเงินตราอื่น

ธนาคารแห่งประเทศไทยจัดตั้งขึ้นหลังจากประเทศไทยได้มีธนาคารพาณิชย์ทั้งของรัฐและเอกชนเริ่มดำเนินการไปก่อนหน้านั้นแล้ว ภาระกิจและหน้าที่ของธนาคารแห่งประเทศไทยเดิมซ้อนเหลื่อมอยู่กับกระทรวงการคลังและได้มีการเปลี่ยนแปลงมาเป็นลำดับหลังจากที่ระบบการเงินของโลกพัฒนาไปและมีวิกฤตเศรษฐกิจครั้งสำคัญต่างๆ

ธนาคารกสิกรไทย (KasikornBank)

ชื่อย่อ KBANK

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 1 ซอยกสิกรไทย ถ.ราษฎร์บูรณะ แขวงราษฎร์บูรณะ เขตราษฎร์บูรณะ กรุงเทพมหานคร

Website http://www.kasikornbank.com

จำนวนสาขา 595 สาขา

ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) เป็นธนาคารของประเทศไทย ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2488 โดยกลุ่มตระกูล ล่ำซำ ทุนจดทะเบียนเริ่มแรก 5 ล้านบาท มีสำนักงานใหญ่แห่งแรกตั้งอยู่ที่ สำนักถนนเสือป่า ต่อมาได้ขยายการบริหารงานไปยังสำนักสีลม , สำนักพหลโยธิน , สำนักงานใหญ่ราษฎร์บูรณะและสำนักแจ้งวัฒนะตามลำดับ ปัจจุบันสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่ ซอยกสิกรไทย ถนนราษฎร์บูรณะ เชิงสะพานพระราม 9 ฝั่งธนบุรี

ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย (Small and Medium Enterprise Development Bank of Thailand)

ชื่อย่อ SME BANK

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 310 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ

Website www.smebank.co.th

จำนวนสาขา 95 สาขา

ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย (ธพว.หรือเอสเอ็มอีแบงก์) เป็นธนาคารที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2545 เพื่อประกอบธุรกิจอันเป็นการพัฒนา ส่งเสริม ช่วยเหลือ และสนับสนุนการจัดตั้ง การดำเนินงาน การขยาย หรือการปรับปรุงวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม โดยการให้สินเชื่อค้ำประกัน ร่วมลงทุน สนับสนุนบริการทางการเงิน ให้คำปรึกษาแนะนำหรือให้บริการที่จำเป็นแก่ผู้ประกอบการไทย มีฐานะเป็นนิติบุคคลโดยมีผู้ถือหุ้นทั้งภาครัฐและเอกชนร่วมกัน

พันธกิจ ( Mission )

1. สนับสนุนนโยบายภาครัฐในการช่วยเหลือและส่งเสริม SMEs ไทย

2. ให้บริการทางการเงินที่ตอบสนองความต้องการของ SMEs ไทย

3. ส่งเสริมและพัฒนา SMEs ไทย ควบคู่กับการสนับสนุนเงินทุน

4. พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และระบบจัดการขององค์กรให้มีประสิทธิภาพและมีธรรมาภิบาล

ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร

(Bank for Agriculture and Agricultural Cooperatives)

ชื่อย่อ BAC ( ชื่อย่ออย่างเป็นทางการคือ BAAC )

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 469 ถนน นครสวรรค์ เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร

Website www.baac.or.th

จำนวนสาขา 886 สาขา

ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) ทำหน้าที่อำนวยสินเชื่อทางการเกษตรอย่างกว้างขวาง ทั้งโดยตรงและสู่สถาบันเกษตรกร มุ่งให้ความช่วยเหลือทางการเงิน เพื่อส่งเสริมอาชีพการเกษตรหรือการดำเนินงานของเกษตรกร กลุ่มเกษตรกร หรือสหกรณ์การเกษตร ตลอดจนส่งเสริมให้ เกษตรกร กลุ่มเกษตรกร หรือ สหกรณ์การเกษตร สามารถประกอบอาชีพอย่างอื่นที่เกี่ยวเนื่องในการเกษตร เพื่อเพิ่มรายได้ให้แก่ครอบครัวเกษตรกร รวมทั้งให้บริการรับฝากเงิน เช่นเดียวกับธนาคารพาณิชย์ทั่วไปอีกด้วย

ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย

(Export-Import Bank of Thailand)

ชื่อย่อ EXIMBANK

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : ณ ห้องอัญชัน ชั้น 24 EXIM BANK สำนักงานใหญ่

Website www.exim.go.th

จำนวนสาขา 16 สาขา

ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย (ธสน.) หรือ EXIM Bank มีขอบเขตอำนาจในการทำธุรกิจไว้อย่างกว้างขวาง ธสน. จึงสามารถให้สินเชื่อได้ทุกรูปแบบ เช่น สินเชื่อระยะสั้นและสินเชื่อระยะยาว สินเชื่อในประเทศและสินเชื่อต่างประเทศ โดยสามารถทำธุรกิจได้ทั้งที่เป็นสกุลเงินบาทและสกุลเงินตราต่างประเทศ นอกจากนี้ยังสามารถกู้ยืมเงินจากสถาบันการเงินทุกประเภททั้งในประเทศและต่างประเทศและออกตราสารการเงินระยะสั้นและระยะยาวขายแก่สถาบันการเงินและประชาชนทั่วไปทั้งในประเทศและต่างประเทศ กล่าวโดยสรุป ธสน. สามารถทำธุรกิจทุกประเภทที่ธนาคารพาณิชย์ทำได้ ยกเว้นเพียงการรับฝากเงินจากประชาชนทั่วไปเท่านั้น สำหรับนักลงทุนไทยที่ไปลงทุนในต่างประเทศ สนับสนุนการลงทุนในรูปของการให้บริการทางการเงินทั้งสินเชื่อระยะสั้นและระยะยาว และเพื่อเป็นการเพิ่มความมั่นใจให้แก่นักลงทุน ยังพร้อมที่จะร่วมลงทุนถือหุ้นในกิจการอีกด้วย การรับประกันความเสี่ยงในการเรียกเก็บเงินจากการส่งออก

ธนาคารออมสิน (Government Saving Bank)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 470 ถนนพหลโยธิน สามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพ

Website www.gsb.or.th

สาขาทั้งหมด 400 สาขา

ธนาคารออมสิน เป็นธนาคารเพื่อลูกค้ารายย่อย จะเน้นให้สินเชื่อเพื่อพัฒนาชนบท พัฒนาผู้ประกอบการรายย่อย โดยจะมีรูปแบบของสินเชื่อและชนิดการฝากเงินรายย่อยมากมาย อีกทั้งยังสร้างเงินทุนหมุนเวียนในกลุ่มชุมชน โครงการธนาคารเพื่อประชาชนโดยให้สิ้นเชื่อระยะสั้นแก่ผู้ประกอบการรายย่อย (ให้ประชาชนมาเป็นหนี้ในระบบ ที่สามารถตรวจสอบได้ และการเก็บดอกเบี้ยตามความเป็นจริง) เป็นช่องทางการรับ-จ่ายเงินกู้จากโครงการกองทุนหมู่บ่นและชุมชนเมือง อีกทั้งยังลงทุนในการพัฒนาประเทศของหน่วยงานรัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ ให้บริการรูปแบบเงินฝากที่หลายหลายรูปแบบที่เหมาะกับแต่ละช่วงวัย และมีการให้บริการตามหลักศาสนาอิสลาม

สลากออมสินเป็นรูปแบบหนึ่งของการออมทรัพย์ที่มีลักษณะพิเศษ ผลตอบแทนที่ผู้ฝากได้รับนอกจากดอกเบี้ยแล้วยังสามารถทวีเงินออมโดยผู้ฝากมีสิทธิถูกรางวัลตามที่ธนาคารกำหนด โดยทั้งดอกเบี้ยและเงินรางวัลที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องเสียภาษี ซึ่งธนาคารมักจะโฆษณาด้วยข้อความที่ว่า สลากออมสินไม่กินทุน อนึ่งสลากออมสินนี้เป็นสลากที่เสนอขายแก่ประชาชนทั่วไปได้อย่างถูกต้องตามกฎหมายนอกจากสลากกินแบ่งรัฐบาล และสลากที่ออกโดยธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธกส.) ซึ่งยังไม่มีธนาคารเอกชนรายใดได้รับอนุญาตให้ดำเนินการในลักษณะนี้ได้

การแข่งขันฟุตบอลโลกครั้งนี้ส่งผลอย่างไรต่อภาคธุรกิจใดบ้าง และจะมีผลกระทบภาคสังคมอย่างไรบ้าง

หอการค้าไทย เผยฟุตบอลโลกไม่คึกคักมาก คาดเงินสะพัด 60,000 ล้าน

กรุงเทพฯ (3 มิ.ย.) นายธนวรรธน์ พลวิชัย ผู้อำนวยการศูนย์พยากรณ์เศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย เปิดเผยผลสำรวจผลกระทบเศรษฐกิจและสังคมไทยจากการจัดงานฟุตบอลโลก 2010 จำนวน 1,112 ตัวอย่าง ว่า ส่วนใหญ่มีผู้ที่ติดตามข่าวสารเกี่ยวกับฟุตบอลโลกร้อยละ 97.4 และร้อยละ 2.6 ไม่ติดตามข่าวสารเลย โดยร้อยละ 53.4 จะติดตามเฉพาะทีมที่ชื่นชอบหรือแมต์สำคัญ

สำหรับสื่อที่ใช้ในการติดตามการถ่ายทอดสดฟุตบอลโลกส่วนใหญ่จะติดตามจากโทรทัศน์ร้อยละ 93.6 รองลงมาคือ วิทยุ ร้อยละ 23.2 และอินเทอร์เน็ต 15.6

โดยกลุ่มคนที่ร่วมรับชม/ฟังการถ่ายทอดสด ส่วนใหญ่ร้อยละ 35.4 จะดูกับครอบครัว และร้อยละ 34.8 จะชมคนเดียว สำหรับค่าใช่จ่ายในช่วงฟุตบอลโลก 2010 พบว่าร้อยละ 50.1 ระบุว่าเพิ่มขึ้น ร้อยละ 31.5 ไม่มีการเปลี่ยนแปลง และร้อยละ 18.4 ค่าใช้จ่ายลดลง สำหรับค่าใช้จ่ายในช่วงฟุตบอลโลก โดยใช้ในการพนันบอล 37,208.14 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 90.8 ซื้อสินค้าอุปโภคบริโภคอื่น ๆ 22,464.56 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 11.64 คิดเป็นมูลค่าโดยรวม 59,672.70 ล้านบาท ขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 50.48 เมื่อเทียบกับช่วงฟุตบอลโลก 2006

ทั้งนี้ เมื่อถามถึงทัศนคติต่อภาวะเศรษฐกิจ พบว่า ร้อยละ 84.2 เห็นว่าเศรษฐกิจแย่ และร้อยละ 15.5 เศรษฐกิจปานกลาง มีเพียงร้อยละ 0.4 ที่มองว่าเศรษฐกิจดีขึ้น นอกจากนี้กลุ่มตัวอย่างยังมองว่าในช่วงการแข่งขันฟุตบอลโลกจะก่อให้เกิดหนี้สินเพิ่มมากขึ้น การพนันเพิ่มมากขึ้น แต่จะมีส่วนช่วยในการลดความตึงเครียดจากการทำงานหรือการเรียน

"ช่วงฟุตบอลโลกนี้ คาดว่า จะไม่คึกคักมากนัก เนื่องจากประชาชนนิยมอยู่ในบ้านมากขึ้น แต่จะมีส่วนใหญ่ทำให้ประชาชนจะเครียดน้อยลง จากสถานการณ์ทางการเมือง โดยจะมีส่วนช่วยในการกระตุ้นเศรษฐกิจ 3 หมื่นล้านบาท จะช่วยให้เศรษฐกิจได้ดีขึ้นร้อยละ 0.2-0.3 แต่ยังอยู่ในกรอบร้อยละ 4-5 แต่หากไม่มีปัญหาทางการเมืองคาดว่า จะมีเงินสะพัดกว่า 70,000 ล้านบาท และจะช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจในยุโรปได้ส่วนหนึ่ง ซึ่งจะช่วยพยุงการส่งออกของไทยให้ดีขึ้นด้วย โดยสื่อโทรทัศน์จะได้รับประโยชน์จากการถ่ายทอดสดฟุตบอลโลกมากที่สุด"

นายสัญชัย ภัทรพงศ์โอฬาร รหัส 50473010054 โปรแกรมวิชาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

ธนาคารแห่งประเทศไทย ( The Bank  of  Thailand) ชื่อย่อ ธปท.)(แบงค์ชาติ)

ชื่อผู้ว่า ธปท.คนปัจจุบันคือ นางธาริษา  วัฒนเกส

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ  273  ถนนสามเสน  บางขุนพรหม   เขตพระนคร  กรุงเทพฯ 10200

จุดเด่น : ได้ออกแนวปฏิบัติของธนาคารแห่งประเทศไทย เรื่อง การจัดทำแผนรองรับการดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง (Business Continuity Plan: BCP) สำหรับกรณีการระบาดของโรคติดต่อร้ายแรง โดยบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 4 สิงหาคม 2551 ภายใต้การสนับสนุนจากสมาคมธนาคารไทย สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย และ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และธนาคารต่างๆ ได้เตรียมความพร้อมเช่นกัน เช่น ธนาคารไทยธนาคาร จำกัด (มหาชน), ธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน) เป็นต้น

ธนาคารกสิกรไทย (KasikornBank) ชื่อย่อ KBANK 

ประธานเจ้าหน้าที่บริหารคือ นายบัณฑูร ล่ำซำ 

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ   1 ซอยกสิกรไทย ถ.ราษฎร์บูรณะ ชั้น 12 เขตทุ่งครุกรุงเทพฯ 10140

มีสาขาทั้งหมด  595  สาขา

จุดเด่น  :   แฟคเตอรี แอนด์ ควิปเมนท์ กสิกรไทย มุ่งมั่นเป็นบริษัทลีสซิ่งและเช่าซื้อเครื่องจักรและอุปกรณ์ที่มั่นคงและดีที่สุดในการให้บริการแก่ลูกค้าและเพื่อเสริมภาพลักษณ์ การบริการทางการเงินที่ครอบคลุมทุกๆ ด้าน (Universal Banking) ของธนาคารกสิกรไทย 

ธนาคารกรุงเทพ  จำกัด (มหาชน) ((Bangkok Bank Public Company Limited)  ชื่อย่อ  BBL.

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นายชาติศิริ   โสภณพนิช

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ เลขที่ 333 ถนนสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร

มีสาขาทั้งหมดในไทย  950 สาขา 

จุดเด่น  : รายงานผลการสำรวจธนาคารยอดเยี่ยมในประเทศกำลังพัฒนาประจำปี 2546 ซึ่งตีพิมพ์ใน นิตยสารโกลบอล ไฟแนนซ์ ฉบับประจำเดือนพฤษภาคม 2546 ได้กล่าวถึง ธนาคารกรุงเทพ ว่าเป็นธนาคารที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย

ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน)  ( Krung Thai Bank Public Company Limited)  ชื่อย่อ  KTB.

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ : ดร. พงศธร สิริโยธิน  

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ เลขที่  35 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ

มีสาขาทั้งหมด  800 สาขา 

จุดเด่น :   ธนาคารแสนสะดวก (The Convenience Bank)  สำหรับลูกค้ารายย่อย ภาคธุรกิจ ภาครัฐ    และสถาบัน

ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)  ( Siam Commercial Bank Public Company Limited )  ชื่อย่อ  SCB.

 กรรมการผู้จัดการใหญ่ : คุณหญิงชฎา วัฒนศิริธรรม

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ :  9 ถนนรัชดาภิเษก แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร

มีสาขาทั้งหมดในไทย 998 สาขาทั่วประเทศ

จุดเด่น  -  นำเสนอผลิตภัณฑ์ และบริการที่ดีในระดับมาตรฐานสากล 

สร้างผลตอบแทนระยะยาวที่ดีอย่างสม่ำเสมอ 

-  รักษา ดึงดูด และสร้างความผูกพันของพนักงาน 

ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) ( Bank of Ayudthaya Public Company Limited)  ชื่อย่อ  BAY

กรรมการผู้จัดกี่ใหญ่คือ  นายประไพสิทธิ์ ตัณฑ์เกยูร

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ: 1222 ถนนพระรามที่ 3 แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร 10120

มีสาขาภายในประเทศ   จำนวน 577   แห่ง  และสาขาต่างประเทศ  จำนวน 4  แห่ง

 

ธนาคารทหารไทย จำกัด  (มหาชน)  ((TMB Bank Public Company Limited)  ชื่อย่อ  TMB

โดย TMB ย่อมาจาก Thai Military Bank

ประธานเจ้าหน้าที่บริหารคือ  นางเสาวนีย์ กมลบุตร

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  เลขที่ 3000 ถ.พหลโยธิน แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900

มีสาขาทั้งหมด  480  สาขา

จุดเด่น:  ธนาคารไทยชั้นนำ มาตรฐานระดับโลก

ธนาคารออมสิน  (Government Savings Bank )  ชื่อย่อ  GSB

ประธานกรรมการคือ  นายวินัย วิทวัสการเวช

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่   เลขที่  470 ถ.พหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400

มีสาขาทั้งหมด  400   สาขาทั่วประเทศ

จุดเด่น :  เป็นสถาบันการเงินที่มั่นคงเพื่อการออม การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศโดยเฉพาะเศรษฐกิจฐานราก

ธนาคารนครหลวงไทย จำกัด (มหาชน)  ( Siam City Bank Public Company Limited)  ชื่อย่อ  SCIB

ประธานเจ้าหน้าที่บริหารคือ  นายชัยวัฒน์ อุทัยวรรณ์

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  เลขที่ 1101, ถ.เพชรบุรีตัดใหม่, มักกะสัน, เขตราชเทวี  กรุงเทพมหานคร, 10400

มีสาขาทั้งหมด  382 สาขาทั่วประเทศ

จุดเด่น :  ธนาคารกำหนดนโยบายการกำกับดูแลกิจการที่ดี โดยมีหลักการพื้นฐานที่สำคัญ เพื่อให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทุกระดับของธนาคารยึดถือปฏิบัติเป็นมาตรฐานเดียวกัน

 

ธนาคารอาคารสงเคราะห์ (Government Housing Bank)  ชื่อย่อ  ธอส. หรือ GH BANK

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นายขรรค์ ประจวบเหมาะ

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  เลขที่  63 ถ.พระรามที่ 9 ห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10320

มีสาขาทั้งหมด  146  สาขา

จุดเด่น :  เป็นธนาคารมั่นคงทันสมัย เพื่อที่อยู่อาศัยครบวงจร : Secured Modern Housing Bank

 

ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย (Islamic Bank of Thailand)  ชื่อย่อ( ธอท.) IBT.

กรรมการผู้จัดการใหญ่ นายธีรศักดิ์ สุวรรณยศ

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  เลขที่ 66 ชั้น M, 21, 22 อาคารคิวเฮ้าส์ ถนนสุขุมวิท 21แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา
กรุงเทพมหานคร 10110

มีสาขาทั้งหมด  28  สาขา

            จุดเด่น  :   เป็นธนาคารที่ดำเนินธุรกรรมโดยปราศจากดอกเบี้ย แต่อยู่บนหลักการ กำไร-ขาดทุนร่วมกัน และดำเนินธุรกิจตาม พ.ร.บ.ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2545 โดยมีคณะที่ปรึกษาด้านศาสนาให้คำแนะนำ ตรวจสอบ เพื่อให้ธนาคารดำเนินงานถูกต้องตามหลักศาสนาอิสลาม ปัจจุบันธนาคารมีฐานะเป็นรัฐวิสาหกิจ สังกัดกระทรวงการคลัง

ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย (Small and Medium Enterprise Development Bank of Thailand)  ชื่อย่อ ธพว.  (SME  BANK)

ประธานกรรมการ  นายพงษ์ภาณุ เศวตรุนทร์

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  อาคาร SME BANK TOWER ตั้งอยู่เลขที่ 310 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน       เขตพญาไท กทม. 10400

มีสาขาทั้งหมด  99 สาขาทั่วประเทศ

          จุดเด่น :  เพื่อประกอบธุรกิจอันเป็นการพัฒนา ส่งเสริม ช่วยเหลือ และสนับสนุนการจัดตั้ง การดำเนินงาน การขยาย หรือการปรับปรุงวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม โดยการให้สินเชื่อค้ำประกัน ร่วมลงทุน สนับสนุนบริการทางการเงิน ให้คำปรึกษาแนะนำหรือให้บริการที่จำเป็นแก่ผู้ประกอบการไทย มีฐานะเป็นนิติบุคคลโดยมีผู้ถือหุ้นทั้งภาครัฐและเอกชนร่วมกัน (จาก พ.ร.บ. ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2545 มาตรา 8 ให้กำหนดทุนเรือนหุ้นของธนาคารไว้หนึ่งหมื่นล้านบาท แบ่งออกเป็นหนึ่งร้อยล้านหุ้น มูลค่าหุ้นละหนึ่งร้อยบาท โดยให้ธนาคารขายหุ้นให้แก่กระทรวงการคลัง สถาบันการเงิน หรือบุคคลอื่น ทั้งนี้ ตามที่กำหนดไว้ในข้อบังคับของธนาคาร

 

ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร  (BANK  FOR AGRICULTURE AND AGRICULTURAL CO - OPERATIVES)  ชื่อย่อ  ธ.ก.ส. หรือ  (BAAC)

ผู้จัดการใหญ่คือ  นายลักษณ์   วจนานวัช 

มีสำนักงานใหญ่  ตั้งอยู่เลขที่ ๔๖๙ ถนนนครสวรรค์ แขวงจิตรลดา เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร

มีสาขาทั้งหมด  886 สาขา

จุดเด่น   "เป็นธนาคารพัฒนาชนบทที่มั่นคง มีการจัดการที่ทันสมัย เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของเกษตรกรรายย่อย"

ธนาคารธนชาต จำกัด (มหาชน) ( Thanachart Bank Public Company Limited ) ชื่อย่อ  TBANK

ประธานกรรมการ คือ นายบันเทิง ตันติวิท

สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่ เลขที่ 900 อาคารต้นสนทาวเวอร์ ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กทม. 10330

มีสาขาทั้งหมด  50  สาขา

        จุดเด่น:  การเป็นกลุ่มธุรกิจที่ให้บริการทางการเงินครบวงจร มุ่งเน้นการสร้างสรรค์ความเป็นเลิศให้แก่ผลิตภัณฑ์และบริการจากความร่วมมือของทุกบริษัทภายในกลุ่ม และสามารถตอบสนองทุกความต้องการทางการเงิน

 

ธนาคารสินเอเชีย จำกัด  (มหาชน)  ( Asia Credit Public Company Limited)  ชื่อย่อ  ACLBANK

ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร   นายโชติ  โภควนิช

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  ตั้งอยู่  เลขที่ 622   ชั้น 11-13 อาคารเอ็มโพเรี่ยม ทาวเวอร์  ถนนสุขุมวิท กรุงเทพมหานคร    

มีสาขาทั้งหมด  17  สาขา

             จุดเด่น:  ธนาคารสินเอเซีย จำกัด (มหาชน) หรือในชื่อเดิมคือ บริษัท เงินทุนสินเอเซีย จำกัด (มหาชน) ซึ่งได้รับใบอนุญาตประกอบการธนาคารพาณิชย์จากกระทรวงการคลังและ ธนาคารแห่งประเทศไทย ให้เริ่มเปิดให้บริการประชาชน เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2548 นับตั้งแต่ขวบปีแรกที่ก้าวสู่ธุรกิจการเงินการธนาคารเมื่อปี พ.ศ. 2512 หลังจากนั้น ก็ได้รับอนุญาตจากกระทรวง การคลังให้ประกอบ ธุรกิจหลักทรัพย์และธุรกิจเงินทุนในปี พ.ศ. 2516 จดทะเบียนเข้าสู่ตลาดหลักทรัพย์ในปี พ.ศ. 2521 จนกระทั่งแปรสภาพ เป็นบริษัทมหาชนในปี พ.ศ. 2536 มาจนวันนี้ ธนาคารสินเอเซีย จำกัด (มหาชน) ได้นำประสบการณ์ในแวดวงการเงินที่สั่งสมมากว่า 35 ปี พร้อมที่จะรับใช้ประชาชน อย่างเต็มที่ 

 

ธนาคารซีไอเอ็มบี ไทย  จำกัด  (มหาชน)  (CIMB Thai Bank Public Company Limited) ชื่อย่อ CIMB

กรรมการผู้จัดการใหญ่   นายสุภัค ศิวะรักษ์

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่   อาคารหลังสวนเลขที่ 44 ถนนหลังสวน แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

มีสาขาทั้งหมด 147  สาขา

            จุดเด่น : ธนาคารตระหนักถึงสิทธิความเป็นส่วนบุคคลในข้อมูลของผู้ใช้บริการ  และพยายามอย่างยิ่งที่จะให้ผู้ใช้บริการได้รับความปลอดภัยสูงสุดจากการใช้ช่องทางนี้สำหรับการดำเนินธุรกรรมต่างๆ ของผู้ใช้กับธนาคาร    ดังนั้นข้อมูลต่างๆ ที่ได้รับธนาคารจะเก็บรักษา และดำเนินการอย่างเข้มงวดเพื่อรักษาความปลอดภัย และป้องกันการนำข้อมูลต่างๆ ไปใช้โดยมีเจตนาที่ไม่สุจริต ตามเกณฑ์มาตรฐานสำหรับการรักษาข้อมูลที่เป็นความลับ

 

ธนาคารยูโอบี จำกัด  (มหาชน)( United Overseas Bank , Thailand)  ชื่อย่อ UOB

ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่  นายชัยวัฒน์   อุทัยวรรณ์

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  เลขที่  191 ถนนสาทรใต้ แขวงยานนาวา  เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120

มีสาขาทั้งหมด  400   สาขา

         จุดเด่น : ธนาคารยูโอบี มีพันธกิจใน การเป็นธนาคารชั้นนำในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก และมุ่งมั่นที่จะนำ เสนอผลิตภัณฑ์คุณภาพ และบริการชั้นเลิศ

 

ธนาคารทิสโก้ จำกัด  (มหาชน) (Thai Investment and Securities  Public  Company Bank) ชื่อย่อ TISCO

ประธานบริหาร  นางอรนุช  อภิศักดิ์ศิริกุล

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  เลขที่  48/2  อาคารทิสโก้ทาวเวอร์ ชั้น 1  ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

มีสาขาทั้งหมด  46  สาขา

        จุดเด่น:  "ทิสโก้เป็นสถาบันการเงินที่ประกอบธุรกิจด้วยมาตรฐานสูงสุดของการกำกับดูแลกิจการที่ดี เราทุ่มเท สร้างสรรค์คุณค่าที่ยั่งยืน เพื่อลูกค้า ผู้ถือหุ้น พนักงาน และสังคม"

ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย (Export-Import Bank of Thailand ) ชื่อย่อ ธสน. หรือ EXIM BANK

ประธานกรรมการ  ดร.ณรงค์ชัย อัครเศรณี

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  เลขที่ 1193  อาคารเอ็กซิม  ถนนพหลโยธิน  แขวงสามเสนใน เขตพญาไท  กรุงเทพฯ  10400

มีสาขาทั้งหมด  16 สาขา

จุดเด่น : เป็นสถาบันการเงินชั้นนำด้านการค้าและการลงทุนในระดับอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจ

ธนาคารเกียรตินาคิน จำกัด  (มหาชน) (Kiatnakin Bank) ชื่อย่อ KK

นางสาวนวพร เรืองสกุล

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  เลขที่  500 อาคารอัมรินทร์ ทาวเวอร์ ชั้น 11 ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

มีสาขาทั้งหมด 49 แห่งทั่วประเทศ

“โครงการพัฒนาคน พัฒนาชาติกับเกียรตินาคิน”

 

ธนาคารสแตนดาร์ชาร์เตอร์ดไทย  จำกัด  (มหาชน)  (Standard Chartered Bank Thai)  ชื่อย่อ SCNB

ผู้จัดการใหญ่คือ  นาย ยุทธเดช   ปัทมานนท์

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ เลขที่ 90 อาคารสาทรธานี ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพ 10500

มีสาขาทั้งหมด  ในประเทศ 41 สาขา และอีกกว่า 1400 สาขาทั่วโลก

จุดเด่น  :  ธนาคารฯ มีธุรกิจหลักคือ บุคคลธนกิจและสถาบันธนกิจ ธุรกิจด้านบุคคลธนกิจให้บริการด้านบัตรเครดิต สินเชื่อบุคคล สินเชื่ออสังหาริมทรัพย์ บริการรับฝากเงิน บริการด้านการบริหารสินทรัพย์ให้แก่ลูกค้ารายบุคคล ลูกค้าเจ้าของธุรกิจรายย่อย จนถึงลูกค้าเจ้าของธุรกิจขนาดกลาง ส่วนสถาบันธนกิจนั้นให้บริการแก่ลูกค้าที่เป็นสถาบันหรือบริษัทในด้านต่างๆ เช่น สินเชื่อพาณิชย์ บริการบริหารเงินสด การบริการเงินทุน บริการด้านหลักทรัพย์ บริการด้านเงินตราต่างประเทศ บริการด้านการกู้ยืมในตลาดทุน และบริการด้านเงินกู้สำหรับธุรกิจ 

 

ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย (Land and Houses Retail Bank)  ชื่อย่อ LH

 กรรมการผู้จัดการ  นางศศิธร พงศธร

สำนักงานใหญ่   1 อาคารคิวเฮ้าส์ ลุมพินี ถ.สาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120

มีสาขาทั้งหมด  23  สาขา

จุดเด่น  :   ธนาคารมีการพิจาณาในด้านสินเชื่อเน้นไปที่เงินกู้เพื่อการเคหะของสินเชื่อโดยรวมทั้งหมด60% และ40%จะเป็นสินเชื่อประเภทเอสเอ็มอี เนื่องจากว่าในส่วนของสินเชื่อเคหะมีข้อดีตรงที่มีหลักประกันที่ชัดเจน และทางธนาคารแห่งประเทศไทยก็ให้ความสนใจในเรื่องนี้เป็นสำคัญ เพราะถือว่าเป็นฐานเงินทุนที่มีประสิทธิภาพสูง

 

ธนาคารซิตี้แบงก์  จำกัด  (มหาชน)  (Citibank)

ผู้จัดการใหญ่  นายปีเตอร์   เอเลียต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  ตั้งอยู่เลขที่  82  อาคารแสงทองธานี  ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม  เขตบางรัก  กรุงเทพฯ  10500 

มีสาขาทั้งหมด  47  สาขา

จุดเด่น  :  มุ่งมั่นป็นธนาคารระดับโลก เอกลักษณ์ในการมีเครือข่ายสาขาทั่วโลก ทุ่มเทให้ลูกค้าของเรา มีความแงแกร่งทางการเงินเสมอต้นเสมอปลาย สนับสนุน และช่วยพัฒนาศักยภาพของพนักงานอย่างต่อเนื่อง  นำเสนอบริการที่เหนือกว่าแก่นักลงทุนตลอดเวลา

ธนาคารไทยเครดิตเพื่อรายย่อย  จำกัด  (มหาชน)  (The Thai Credit Retail Bank Public Company Limited ) ชื่อย่อ TCR

ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ คือ นายมงคล ลีลาธรรม

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  เลขที่  123 ชั้น 1 อาคาร ไทยประกันชีวิต ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กทม. 10400

มีสาขาทั้งหมด  9  สาขา

จุดเด่น : นำเสนอผลิตภัณฑ์ที่แตกต่าง และตอบสนองความต้องการที่แท้จริงของลูกค้า
สร้างทีมงานที่มีจิตสำนึกที่ดีด้านการบริการ มีความรักและภาคภูมิใจในองค์กร 
สร้างระบบงานที่เอื้อหนุนให้การปฏิบัติงานเกิดประสิทธิภาพสูงสุด
สร้างความน่าเชื่อถือ ด้วยการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล 
แสวงหาเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพในการบริหารงานและความเสี่ยง เพื่อผลลัพธ์ในการทำงานที่ดีที่สุด
แสวงหาพันธมิตร เพื่อเพิ่มโอกาสทางธุรกิจ
แสวงหาแนวทางในการพัฒนาธนาคารสู่ความสำเร็จตามแผนกลยุทธ์

 

ธนาคารเมกะ สากลพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) (Mega International Commercial Bank)  ชื่อย่อ  MEGA BANK 

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  Rong-Jou Wang

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  เลขที่  36/12 อาคารพี.เอส.ทาวเวอร์ ถ.สุขุมวิท 21 (อโศก) แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110

มีสาขาทั้งหมด  4  สาขา

จุดเด่น : ประกอบกิจการธนาคารพาณิชย์ รวมทั้งกิจการทั้งปวง ซึ่งเกี่ยวกับธนาคารพาณิชย์ 

 

การแข่งขันฟุตบอลโลกครั้งนี้ส่งผล อย่างไรต่อภาคธุรกิจใดบ้าง และจะมีผลกระทบภาคสังคมอย่างไรบ้าง

 ตอบ 

กระแสการแข่งขันฟุตบอลโลกปีนี้ ได้ทำให้ยอดขายเบียร์ทั่วโลกพุ่งกระฉูดหลังจากที่ประสบภาวะซบเซาไปในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมานี้จากผลกระทบวิกฤตเศรษฐกิจโลก

ชินยา อิซูมิ โฆษกบริษัทผู้ผลิตเบียร์คิริน ของญี่ปุ่น เชื่อว่า ยอดขายเบียร์ของบริษัทจะพุ่งขึ้นมากกว่า 4% ตลอดการแข่งขันฟุตบอลโลก และยิ่งทีมญี่ปุ่นสามารถเอาชนะทีมแคเมอรูนได้ยิ่งทำให้ยอดสั่งซื้อจากร้านค้าพุ่งขึ้นตามไปด้วย

รายงานระบุว่า บริษัทผู้ผลิตเบียร์ในญี่ปุ่นหลายแห่งหวังว่ากระแสฟุตบอลโลกจะช่วยฟื้นชีวิตธุรกิจเบียร์ขึ้นอีกครั้งหนึ่งหลังจากที่ยอดตกลงไปฮวบฮาบนับตั้งแต่การแข่งขันฟุตบอลโลกครั้งก่อนหน้าเมื่อปี 2006

ด้านจีนนั้นบริษัทผู้ผลิตเบียร์ยี่ห้อ “ชิงเต่า” ในเองจู้โจว เผยว่ายอดขายพุ่งขึ้นถึง 2 เท่าตัว จาก 2.4 หมื่นขวดต่อวัน เป็น 4.2 หมื่นขวดต่อวันแล้ว

เช่นเดียวกับเกาหลีใต้ ในช่วงแมตช์การแข่งขันระหว่างทีมโสมขาวและอาร์เจนตินานั้นมียอดขายเบียร์ “จีเอส25” ถึง 345,000 ขวด/กระป๋อง เพิ่มจากสัปดาห์ก่อนหน้าถึง 123%

ทางด้านสถานการณ์ในยุโรปอย่างที่อังกฤษนั้น ผับและร้านอาหารต่างมีลูกค้าเบียร์แน่นขนัด โดยในช่วงแมตช์ระหว่างอังกฤษและสหรัฐเมื่อวันที่ 12 มิ.ย.ที่ผ่านมา มีการขายเบียร์ถึง 12 ล้านเหยือก คิดเป็นมูลค่า 42 ล้านยูโร

สำหรับเยอรมนี ซึ่งขึ้นชื่อเรื่องการผลิตเบียร์ของโลกนั้นระบุว่า ยอดขายจะเพิ่มหรือลดนั้นอยู่ที่ว่าทีมเยอรมนีจะสามารถเอาชนะได้หรือไม่ ซึ่งการดื่มเบียร์ของชาวเยอรมันนั้นอยู่ที่ 100 ลิตรต่อคนต่อปี ลดจากเดิมที่ 150 ลิตรเมื่อราว 30 ปีก่อน

แอฟริกาใต้ประเทศเจ้าภาพฟุตบอลโลกนั้น “ซาบมิลเลอร์” บริษัทผู้ผลิตเบียร์ยี่ห้อมิลเลอร์ไลท์, เปโรนี และกรอช นั้นได้ทำการตุนสินค้าล่วงหน้ากันทีเดียว โดยคาดว่าตลอดการแข่งขัน 5 สัปดาห์นั้นจะขายเบียร์ได้ถึง 10 ล้านลิตรทีเดียว

 

 

 

 

 

 

 

 

นางสาวปวิตรา คลังทอง โปรแกรมเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ 50473010035

ต่อจาก blog 27

น.ส.ปวิตรา  คลังทอง  โปรแกรมเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ  50473010035

ธนาคารอาคารสงเคราะห์ (Government Housing Bank)

ชื่อย่อ                            GHB

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่    :     63 ถนนพระราม 9 เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร
Website                        www.ghb.co.th

จำนวนสาขา                    147  สาขา

ธนาคารอาคารสงเคราะห์ (ธอส.) (Government Housing Bank) เป็นธนาคารทำหน้าที่ช่วยเหลือทางการเงินให้กับประชาชน ได้มีที่อยู่อาศัยตามสมควรแก่อัตภาพ โดยการให้กู้ยืมเงิน และ จัดสรรที่ดินเพื่อก่อสร้างที่เป็นหน่วยงานของรัฐบาลที่ประกอบธุรกิจในการส่งเสริมและช่วยเหลือประชาชนนำเงินไป ลงทุนเกี่ยวกับการสร้างอาคารและที่ดินโดยตรงทำหน้าที่เสมือนสื่อกลางในการนำเงินไปใช้ประโยชน์ ใน กิจการเคหะและเป็นสถาบันการเงินที่ดำเนินธุรกิจ อีกทั้งยัง ร่วมมือกับหน่วยงานของรัฐต่างๆ สนับสนุนให้ประชาชนมีที่อยู่เป็นของตนเอง อาทิ ให้สินเชื่อกับผู้ที่ซื้อบ้านกับการเคหะแห่งชาติ สินเชื่อกับผู้ประกันตนกับสำนักงานประกันสังคม ร่วมกับกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการให้สมาชิกกู้เงินเพื่ออสังหาริมทรัพทย์ ความช่วยเหลือด้านการมีบ้าน ให้บริการทางการเงินด้านที่อยู่อาศัยอย่างครบวงจร เพื่อให้ประชาชนได้มีที่อยู่อาศัยตามสมควรแก่อัตภาพ และสามารถตอบสนองความคาดหวังของลูกค้า รัฐบาล และสังคมภายใต้แนวทางเศรษฐกิจพอเพียง"

คณะกรรมการจัดการ 

 - นายขรรค์ ประจวบเหมาะ
 

ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย (Islamic Bank of Thailand)

 

ชื่อย่อ                             IBANK

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่    :      อาคารคิวเฮ้าส์ ถนนสุขุมวิท 21แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนากรุงเทพมหานคร
Website                         www.ibank.co.th

กรรมการผู้จัดการ    

  -   นายธีรศักดิ์ สุวรรณยศ 

เป็นธนาคารที่ดำเนินธุรกรรมโดยปราศจากดอกเบี้ย แต่อยู่บนหลักการ กำไร-ขาดทุนร่วมกัน และดำเนินธุรกิจตาม พ.ร.บ.ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2545 โดยมีคณะที่ปรึกษาด้านศาสนาให้คำแนะนำ ตรวจสอบ เพื่อให้ธนาคารดำเนินงานถูกต้องตามหลักศาสนาอิสลาม[1] ปัจจุบันธนาคารมีฐานะเป็นรัฐวิสาหกิจ สังกัดกระทรวงการคลัง

จำนวนสาขา 

หลังจากรับโอนกิจการธนาคารกรุงไทย ชาริอะฮ์ ได้มีการยุบรวมสาขาที่ใกล้เคียงกันในภาคใต้ และเพิ่มสาขาในบางพื้นที่ ปัจจุบัน ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย   ปัจจุบันมี   28 สาขา

 

 ธนาคารเกียรตินาคิน (Kiatnakin Bank)

  

 ชื่อย่อ                             Kiatnakin    ( ตลาดหลักทรัพย์ใช้ KK)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่    :      500 อาคารอัมรินทร์ทาวเวอร์ ถ.เพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร

 Website                        www.kiatnakin.co.th 

จำนวนสาขา                     52 สาขา

 ประธานกรรมการธนาคาร

-  นางสาวนวพร เรืองสกุล   

 
 

           ธนาคารเกียรตินาคิน จำกัด (มหาชน) เป็นธนาคารพาณิชย์เต็มรูปแบบ (Commercial Bank) ซึ่งเปิดดำเนินการอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม 2548 เพื่อให้บริการทางการเงินที่หลากหลาย อาทิ บริการด้านเงินฝากประจำ ออมทรัพย์ กระแสรายวัน ประกันชีวิต สินเชื่อรถยนต์ สินเชื่อพัฒนาโครงการ สินเชื่อธุรกิจอพาร์ทเม้นท์ สินเชื่อธุรกิจฟลอร์แพลน สินเชื่อเพื่อธุรกิจขนส่ง สินเชื่อธุรกิจสิ่งพิมพ์และบรรจุภัณฑ์

         ธนาคารเกียรตินาคิน ได้รับการจัดอันดับความน่าเชื่อถือ ระดับ A- จากบริษัท ทริส เรทติ้ง จำกัด แนวโน้มอันดับเครดิต Stable หรือคงที่ ซึ่งสะท้อนถึงความน่าเชื่อถือของธนาคาร ในสายตาของลูกค้าและนักลงทุนรวมถึงความมั่นคงทางการเงินที่สูง

 

ธนาคารซิติแบงก์ (Citibank)

ชื่อย่อ                             CITI  bank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่    :      ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร

Website                         www.citibank.com

จำนวนสาขา                     3,000  สาขา  ใน 100 ประเทศ

            ซิตี้แบงค์ไทยแลนด์ยังถูกจัดให้เป็นธนาคารต่างชาติที่ใหญ่ที่สุดและมากที่สุดของเงินฝากในประเทศไทย โดยวัดจากบัญชีทางการเงินบริษัทที่มั่นคงและจำนวนลูกค้า ปัจจุบัน สำนักงานใหญ่ ซิตี้แบงค์ ประเทศไทย ตั้งอยู่ที่ ถนน สาธร ดำเนินการในชื่อของ ซิตี้แบงก์ เอ็นเอ

            ซิตี้แบงก์ ประเทศไทย เสนอการบริการที่มากมายแก่ลูกค้าแบบส่วนบุคคล และของส่วนองค์กรธุรกิจ ในการลงทุน การธนาคารการจัดการการเงินส่วนบุคคล โดยข้อเสนอและการบริการหลักเน้นกลุ่มลูกค้าองค์กรธุรกิจบ้าน รวมไปถึงการแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ การค้า การจัดการเงินสด การให้บริการต่างๆทางการเงิน การกู้ยืมเงิน การรักษาความปลอดภัยทางการเงิน และตลาดการลงทุน

 

 ธนาคารทิสโก้ (Thai Investment and Securities Company Bank)

 ชื่อย่อ                             TISCO  BANK

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่    :      48/2 ทิสโก้ทาวเวอร์ ชั้น 1 ถ.สาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร

Website                         http://www.tisco.co.th

จำนวนสาขา                     41  แห่ง

              ทิสโก้ ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2512 มีสถานะเป็นบริษัทเงินทุนแห่งแรกในประเทศไทย ชื่อ “ ทิสโก้” และตราสัญลักษณ์ “TISCO” พัฒนามาจากคำย่อของชื่อเต็มในภาษาอังกฤษที่ใช้ว่า Thai Investment and Securities Company Limited

              ทิสโก้เติบโตอย่างมั่นคงเป็นสถาบันการเงินชั้นนำที่ให้บริการทางการเงินและการลงทุนตลอดจนมีบทบาทโดดเด่นในการมีส่วนร่วมในการพัฒนาตลาดเงินและตลาดทุนของประเทศไทย ทิสโก้ได้รับอนุมัติให้ยกสถานะเป็นธนาคารพาณิชย์เต็มรูปแบบและเปิดให้บริการธนาคารในปี 2548 ปัจจุบัน ธนาคารทิสโก้ดำเนินธุรกิจธนาคารพาณิชย์ โดยให้บริการทางด้านการเงินอันประกอบด้วย บริการสินเชื่อลูกค้ารายย่อยและสินเชื่อธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม บริการสินเชื่อพาณิชย์ธนกิจ บริการเงินฝากรายย่อย บริการลูกค้าธนบดีธนกิจ บริการตัวแทนขายประกันผ่านธนาคาร บริการจัดการการเงิน และบริการคัสโตเดียน

               

              

 

ธนาคารซีไอเอ็มบี ไทย (CIMB Thai Bank)

(ชื่อเดิม ธ.ไทยธนาคาร จำกัด(มหาชน)) 

 

ชื่อย่อ                           CIMBT

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่    :    44 ถ.หลังสวน แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร

Website                       http://www.cimbthai.com

จำนวนสาขา                   รวมทั้งสิ้น 147 แห่ง จำแนกเป็นสำนักและสาขาในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล 96 แห่ง สำนักและสาขาในเขตต่างจังหวัด 51 แห่ง

กรรมการผู้จัดการใหญ่ และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

  -นายสุภัค ศิวะรักษ์   

             

           กลุ่มซีไอเอ็มบี ดำเนินธุรกิจในฐานะของธนาคารผู้ให้บริการทางการเงินอย่างครบวงจร (Universal Bank) โดยเป็นผู้ให้บริการทางการเงินที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศมาเลเซีย และอันดับ 5 ของภูมิภาคตะวันออกเฉียงใต้ เมื่อจัดอันดับตามขนาดสินทรัพย์ และมีเงินทุนหมุนเวียนในตลาด

            ปัจจุบัน กลุ่มซีไอเอ็มบีมีฐานการตลาดหลักด้านการเงินธนาคารแบบครบวงจรในประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซีย สิงคโปร์ และไทย นอกจากนี้ ยังมีเครือข่ายทั่วภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตลอดจนศูนย์ให้บริการทางการเงินทั่วโลก รวมถึงในประเทศต่างๆ ที่ลูกค้ามีธุรกิจและการลงทุนอยู่

              

ธนาคารธนชาต (Thanachart Bank) 

 

ชื่อย่อ                           TNC  ( ตลาดหลักทรัพย์ใช้ TBANK)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่    :    900 อาคารต้นสนทาวเวอร์ ถ.เพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร

Website                       http://www.thanachartbank.co.th

จำนวนสาขา                  50  สาขา

ผู้บริหาร

 -  นายบันเทิง ตันติวิท

         ธนาคารธนชาต จำกัด(มหาชน) เดิมเป็นสถาบันการเงินที่ประกอบธุรกิจในชื่อ บริษัทเงินทุน เอกชาติ จำกัด(มหาชน) มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ เลขที่ 900 อาคารต้นสนทาวเวอร์ ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร ธนาคารธนชาต จำกัด(มหาชน) ได้เปิดให้บริการเมื่อวันที่ 22 เมษายน 2545 ภายใต้ใบอนุญาตประกอบการธนาคารพาณิชย์แบบจำกัดขอบเขตธุรกิจ หลังจากนั้นได้รับใบอนุญาตประกอบการธนาคารพาณิชย์เต็มรูปแบบ จากกระทรวงการคลังเมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2547 และได้เปิดให้บริการด้านการเงินทุกรูปแบบ โดยมีธุรกิจเช่าซื้อรถยนต์ เป็นธุรกิจหลัก

 

ธนาคารนครหลวงไทย Siam City Bank

  Bank SCIB.gif

ชื่อย่อ                            SCIB

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่    :     1101 ถ.เพชรบุรีตัดใหม่ แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร

Website                        http://www.scib.co.th

จำนวนสาขา                    405  สาขา

นายชัยวัฒน์ อุทัยวรรณ์
-ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่

            ธนาคารนครหลวงไทยจำกัด (มหาชน) ก่อตั้งขึ้น โดยคณะบุคคลของรัฐบาลร่วมกับสมาชิกในราชวงศ์ ด้วยทุนจดทะเบียนเริ่มแรก 1,000,000 บาท หลังการควบรวมกับธนาคารศรีนครในเดือนเมษายน พ.ศ. 2545 ธนาคารได้นำหุ้นกลับเข้าซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์เมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2546 ปัจจุบันธนาคารมีขนาดของสินทรัพย์ใหญ่เป็นอันดับ 7 ของธนาคารพาณิชย์ไทย

 

 

         
         
   

 

   

ธนาคารยูโอบี (United Overseas Bank, Thailand)

 

  

ชื่อย่อ                            UOB

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่    :     191 ถ.สาทรใต้ แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพมหานคร

Website                        http://www.uob.co.th

จำนวนสาขา                   145   สาขา

              คณะกรรมการธนาคา

1. คุณวี โชว เยา                 ประธานกรรมการ

2. คุณหว่อง คิม ชุง            กรรมการผู้จัดการใหญ่ 

              ธนาคารยูโอบี จำกัด ( มหาชน ) หรือ ธนาคารยูโอบี เกิดจากการรวมกิจการที่ประสบความสำเร็จระหว่างธนาคารเอเชีย จำกัด ( มหาชน ) และธนาคารยูโอบี รัตนสิน จำกัด ( มหาชน ) นับเป็นธนาคารพาณิชย์ที่ใหญ่ที่สุดอันดับที่ 9 ในประเทศไทย

ผลิตภัณฑ์และบริการ

                  ธนาคารยูโอบีเน้นการให้บริการด้านธนาคารเพื่อบุคคลทั่วไป ธุรกิจวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม และโครงการพัฒนาขนาดใหญ่ของภาครัฐและเอกชน ให้บริการด้านบุคคลธนกิจ บรรษัทธนกิจ บริการบริหารเงินและตลาดทุน รวมทั้งวาณิชธนกิจ และพร้อมจะนำผลิตภัณฑ์และบริการที่หลากหลาย ของธนาคารยูโอบี ในประเทศสิงคโปร์และเครือข่ายในประเทศต่างๆ ซึ่งประสบความสำเร็จมานำเสนอกับลูกค้าในประเทศไทย

 

ธนาคารสแตนดาร์ดชาร์เตอร์ดไทย (Standard Chartered Bank Thai)

 

 

ชื่อย่อ                            SCNB  (ตลาดหลักทรัพย์ใช้ SCBT)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่    :     90  อาคารสาทรธานี ถ.สาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร

Website                         http://www.standardchartered.co.th

จำนวนสาขา                     41 สาขา และอีกประมาณ 1,400 สาขาทั่วโลก

          ธนาคารฯ มีธุรกิจหลักคือ บุคคลธนกิจและสถาบันธนกิจ ธุรกิจด้านบุคคลธนกิจให้บริการด้านบัตรเครดิต สินเชื่อบุคคล สินเชื่ออสังหาริมทรัพย์ บริการรับฝากเงิน บริการด้านการบริหารสินทรัพย์ให้แก่ลูกค้ารายบุคคล ลูกค้าเจ้าของธุรกิจรายย่อย จนถึงลูกค้าเจ้าของธุรกิจขนาดกลาง ส่วนสถาบันธนกิจนั้นให้บริการแก่ลูกค้าที่เป็นสถาบันหรือบริษัทในด้านต่างๆ เช่น สินเชื่อพาณิชย์ บริการบริหารเงินสด การบริการเงินทุน บริการด้านหลักทรัพย์ บริการด้านเงินตราต่างประเทศ บริการด้านการกู้ยืมในตลาดทุน และบริการด้านเงินกู้สำหรับธุรกิจ

            

ธนาคารสินเอเชีย (Asia Credit Limited Bank)

 

ชือย่อ                            ACL  BANK

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่    :     ถ.สุขุมวิท แขวงคลองตัน เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร

Website                        http://www.aclbank.com

จำนวนสาขา                    17 สาขา

คณะกรรมการธนาคาร

             นายฮุยเหมิน หยี่

ประธานกรรมการ

 

             นายโหยวบิน เฉิน

 

- รองประธานกรรมการ
- ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร
- ประธานกรรมการบริหาร

             นายธงชัย อานันโทไทย

 

- กรรมการผู้จัดการใหญ่
- กรรมการบริหาร

           สินเอเซียได้รับรางวัล Small but Cool จากธนาคารแห่งประเทศไทย ซึ่งเป็นเครื่องยืนยันได้เป็นอย่างดีว่า สินเอเซีย เป็นสถาบันการเงินขนาดเล็ก ที่สามารถจัดส่งข้อมูล ได้ถูกต้อง ครบถ้วน ภายใต้เงื่อนไขที่ซับซ้อน โดยสามารถจัดส่งได้ก่อนเวลาที่กำหนด รางวัล Small but Cool บ่งชี้ถึงคุณภาพในการทำงานที่รวดเร็ว โปร่งใส และความรับผิดชอบกับภาระผูกพันที่มีต่อธนาคารแห่งประเทศไทย

         ธนาคารสินเอเซีย จำกัด (มหาชน) มีฐานะเป็นธนาคารพาณิชย์เต็มรูปแบบ สามารถนำเสนอบริการทางการเงินได้ทุกประเภท นับตั้งแต่การเสนอบริการด้านเงินฝาก สินเชื่อทุกประเภท บริการโอนเงินต่างประเทศ และบริการธุรกิจการค้าต่างประเทศเพื่อการนำเข้าและส่งออก 

 

               

 

ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย (Land and Houses Retail Bank)

 

 

ชื่อย่อ                            LH  BANK

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่    :     ถ.สาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร

Website                       http://www.lhbank.co.th

จุดเด่น : ธนาคารมีการพิจาณาในด้านสินเชื่อเน้นไปที่เงินกู้เพื่อการเคหะของสินเชื่อโดยรวมทั้งหมด  60% และ40%จะเป็นสินเชื่อประเภทเอสเอ็มอี เนื่องจากว่าในส่วนของสินเชื่อเคหะมีข้อดีตรงที่มีหลักประกันที่ชัดเจน และทางธนาคารแห่งประเทศไทยก็ให้ความสนใจในเรื่องนี้เป็นสำคัญ เพราะถือว่าเป็นฐานเงินทุนที่มีประสิทธิภาพสูง

            การปล่อยสินเชื่อรายย่อยอื่นคงมีแต่จะเป็นส่วนน้อย เป็นองค์ประกอบ เพราะLH BANK จะเน้นการปล่อยสินเชื่อบ้านและที่ดินให้กับลูกค้ารายย่อย แต่ละล็อตที่ปล่อยไปถึงจุดๆหนึ่งจะนำมารวมกันขายออกไปและนำเงินที่ได้มาปล่อยสินเชื่อใหม่ ทำให้ธนาคารนั้นไม่มีลูกหนี้มาก สินทรัพย์ไม่โตมาก เพราะเป็นที่ธนาคารที่มีรายได้จาการปล่อยสินเชื่อให้ลูกค้า

              

ธนาคารเมกะสากลพาณิชย์

ชื่อย่อ                            MEGA   BANK  

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่          พี.เอส.ทาวเวอร์ ซอยสุขุมวิท 21 ถนนอโศก แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร

Website                       www.megabank.com.tw

จำนวนสาขา                  4   สาขา 

กรรมการผู้จัดการใหญ่    Rong-Jou Wang

 

ธนาคารไทยเครดิต เพื่อรายย่อย Thai Credit Retail Bank


 ชื่อย่อ                            TCR  BANK

 ที่ตั้งสำนักงานใหญ่    :     123 อาคารไทยประกันชีวิต ชั้น 1ถ.รัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร

Website                        http://www.tcrbank.com

จำนวนสาขา                    9    สาขา

            นำเสนอผลิตภัณฑ์ที่แตกต่าง และตอบสนองความต้องการที่แท้จริงของลูกค้าสร้างทีมงานที่มีจิตสำนึกที่ดีด้านการบริการ มีความรักและภาคภูมิใจในองค์กร สร้างระบบงานที่เอื้อหนุนให้การปฏิบัติงานเกิดประสิทธิภาพสูงสุด   สร้างความน่าเชื่อถือ ด้วยการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล  แสวงหาเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพในการบริหารงานและความเสี่ยง เพื่อผลลัพธ์ในการทำงานที่ดีที่สุดแสวงหาพันธมิตร เพื่อเพิ่มโอกาสทางธุรกิจ  แสวงหาแนวทางในการพัฒนาธนาคารสู่ความสำเร็จตามแผนกลยุทธ์

 

 

การแข่งขันฟุตบอลโลก 2010ส่งผลกระทบต่อภาคธุรกิจ

            แน่นอนว่า ในขณะนี้ กีฬาฟุตบอลได้แปรสถานะเป็นธุรกิจอย่างเต็มตัวแล้ว หรืออาจเรียกว่าเป็น "ธุรกิจการตลาดกีฬา" ตัวอย่างเช่น  พันธมิตรธุรกิจที่ได้รับเลือกเป็นผู้สนับสนุนหลัก (สปอนเซอร์) อย่างเป็นทางการของฟีฟ่า มีโอกาสที่จะได้รับสิทธิพิเศษอันเป็นประโยชน์ทางธุรกิจมากกว่าธุรกิจอื่น เพราะมีโอกาสมากที่จะสร้างอุปสงค์ที่มีต่อสินค้าของตนอยู่ตลอดเวลา ซึ่งมีส่วนเกื้อกูลต่อการเติบโตของธุรกิจ กระตุ้นการบริโภค และขับเคลื่อนเศรษฐกิจโลกตามศักยภาพของแต่ละประเทศบนโลกใบนี้


           ฟุตบอลโลกที่มีผู้คนติดตามกันครึ่งค่อนโลกอยู่ในขณะนี้ ได้ส่งผลกระตุ้นการบริโภคทางเศรษฐกิจขึ้น จึงมีการคาดการณ์กันว่าทวีปยุโรปจะได้รับการกระตุ้นทางเศรษฐกิจสูงที่สุดจากการบริโภคอันเกิดจากเกมการแข่งขันฟุตบอลโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งเศรษฐกิจของประเทศเจ้าภาพจะดีขึ้นจากกระตุ้นการใช้จ่าย การได้รับรายได้จากการท่องเที่ยวและการได้รับความเชื่อมั่นที่มีต่อเศรษฐกิจสูงขึ้น

            ***แม้กระทั่งประเทศไทยเองอย่างน้อยที่สุดก็เป็นการบริโภคที่เพิ่มขึ้นในธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับประเภทอาหารและเครื่องดื่ม   ขนมขบเคี้ยว   ภัตตาคารและร้านอาหาร   สถานบันเทิง  เครื่องใช้ไฟฟ้า เสื้อผ้าและอุปกรณ์กีฬา   ของที่ระลึก   หนังสือพิมพ์   ไปรษณียบัตร   และการใช้บริการติดต่อสื่อสารผ่านโทรศัพท์มือถือ   ตลอดจนสินค้าตรายี่ห้อหรือแบรนด์เนมต่างๆที่ต่างจัดกิจกรรมแบบทุ่มสุดตัวทั้งในห้างสรรพสินค้าและไฮเปอร์ มาร์เก็ต เพื่อสร้างความแตกต่างให้โดดเด่น และดึงดูดผู้บริโภค ซึ่งวาระของฟุตบอลโลกจะเป็นโอกาสสำคัญให้ผู้ประกอบการใช้ทำกิจกรรมเพื่อผลักดันยอดขายในปีนี้ให้เข้าเป้า
           ***อย่างไรก็ตาม เกมฟุตบอลโลกอาจเป็นเพียงแรงกระตุ้นการบริโภคได้เพียงชั่วคราวเท่านั้น เพราะมีระยะเวลาการแข่งขันเพียง 1 เดือนเท่านั้น ทำให้สิ่งที่เหลืออยู่หลังจากที่ฟุตบอลโลกลาจากไป ก็คือความจริงที่เศรษฐกิจไทยต้องเผชิญท่ามกลางมรสุมยังคงรุมเร้า เนื่องจากยังมีหลายปัจจัยที่เข้ามาบั่นทอนความเชื่อมั่นของผู้บริโภค อาทิ ความไม่แน่นอนเกี่ยวกับสถานการณ์ทางการเมืองภายในประเทศ แนวโน้มอัตราดอกเบี้ยที่อยู่ในช่วงขาขึ้น การปรับตัวสูงขึ้นของราคาน้ำมันที่ส่งผลทำให้ราคาสินค้าและค่าครองชีพมีการปรับตัวเพิ่มขึ้น ตลอดจนนโยบายเข้มงวดของทางการเพื่อควบคุมการก่อหนี้ของภาคครัวเรือน

                ในภาวะที่ค่าครองชีพสูงขึ้น ขณะที่รายได้กลับคงที่ ทำให้ผู้บริโภคบางส่วนจำเป็นต้องหาทางเพิ่มรายได้ของตนเองด้วยวิธีการต่างๆ และการเสี่ยงโชคก็เป็นหนทางหนึ่งที่ดูเหมือนว่าจะได้รับความนิยมมากในปัจจุบัน  การเสี่ยงโชค  ที่เป็นที่นิยมมากที่สุดในช่วงเวลานี้ ก็คือ การทายผลการแข่งขันฟุตบอลโลกที่จัดโดยหน่วยธุรกิจต่างๆ เพียงเขียนคำทำนายว่า "ประเทศใดจะเป็นแชมป์ฟุตบอลโลก 2010" ลงบนไปรษณียบัตร หรือแบบฟอร์มตามที่หน่วยธุรกิจระบุ หรือลงทะเบียนผ่านโทรศัพท์มือถือ ความนิยมดังกล่าวส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากภาวะเศรษฐกิจที่ตึงตัว ทำให้คนไทยอยากเสี่ยงโชคมากขึ้น ประกอบกับสถานการณ์การตื่นตัวของทุกสื่อที่มีการรายงานข่าวความเคลื่อนไหวของทีมชาติต่างๆที่เข้าแข่งขัน ทำให้คนไทยได้รับข่าวสารง่ายขึ้น การตื่นตัวจึงมีมากขึ้นตามไปด้วย รวมทั้งการที่ภาครัฐเข้มงวดกับการปราบปรามเรื่องการพนันซึ่งถือเป็นสิ่งที่ดี ตลอดจนมูลค่าของรางวัลที่เพิ่มขึ้น ก็เป็นอีกแรงจูงใจสำคัญที่ทำให้คนไทยหันมาเสี่ยงโชคกันมากขึ้น

                ***ถือเป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่ไทยจะมีโอกาสในการขยายการส่งออกสินค้าไปยังตลาดแอฟริกาใต้เพิ่มขึ้น "ผลไม้กระป๋องและแปรรูป" ก็เป็นสินค้าอาหารอีกประเภทหนึ่งที่คาดว่า จะได้รับอานิสงส์ในการขยายการส่งออกจากช่วงเวลาดังกล่าวนี้ ทั้งจากความต้องการบริโภคของคนในประเทศเองที่เริ่มนิยมรับประทานผลไม้ของไทยมากขึ้น รวมถึงนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติจากทั่วโลกที่มาชมการแข่งขันฟุตบอลโลก 2010 ซึ่งถึงแม้ว่าปัจจุบัน ไทยจะมีมูลค่าการส่งออกผลไม้กระป๋องและแปรรูปไปยังตลาดแอฟริกาใต้ไม่สูงนัก เม

น.ส. ฐิรดา สันทาลุนัย 50473010052 เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ
  http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/002.gif
ธ. กรุงเทพ จำกัด (มหาชน)
   http://www.bangkokbank.com
333 ถ.สีลม แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500
โทรศัพท์ 0-2231-4333
โทรสาร 0-2236-8281-2
http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/006.gif
ธ. กรุงไทย จำกัด (มหาชน)
   http://www.ktb.co.th
                           35 ถ.สุขุมวิท แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110
                           โทรศัพท์ 0-2255-2222
                           โทรสาร 0-2255-9391-3
  http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/025.gif
ธ. กรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน)
   http://www.krungsri.com
1222 ถ.พระรามที่ 3 แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร 10120
โทรศัพท์ 0-2296-2000
โทรสาร 0-2683-1304
  http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/004.gif
ธ. กสิกรไทย จำกัด (มหาชน)
   http://www.kasikornbank.com
1 ซอยกสิกรไทย ถ.ราษฎร์บูรณะ แขวงราษฎร์บูรณะ เขตราษฎร์บูรณะ กรุงเทพมหานคร 10140
โทรศัพท์ 0-2888-8888
โทรสาร 0-2888-8882
http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/069.gif
ธ. เกียรตินาคิน จำกัด (มหาชน)
   http://www.kiatnakin.co.th
            500 อาคารอัมรินทร์ทาวเวอร์ ถ.เพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร   10331
            โทรศัพท์ 0-2680-3333
            โทรสาร 0-2256-9933

 

  http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/022.gif
ธ. ซีไอเอ็มบี ไทย จำกัด (มหาชน)
   http://www.cimbthai.com
44 ถ.หลังสวน แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
โทรศัพท์ 0-2626-7000, 0-2638-8000
โทรสาร 0-2633-9026
(ชื่อเดิม ธ.ไทยธนาคาร จำกัด(มหาชน))
               
  .
http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/011.gif
ธ. ทหารไทย จำกัด (มหาชน)
   http://www.tmbbank.com
3000 ถ.พหลโยธิน แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900
โทรศัพท์ 0-2299-1111
โทรสาร 0-2990-6010
http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/067.gif
ธ. ทิสโก้ จำกัด (มหาชน)
   http://www.tisco.co.th
48/2 ทิสโก้ทาวเวอร์ ชั้น 1 ถ.สาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500
โทรศัพท์ 0-2633-6000
โทรสาร 0-2633-6800
  http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/014.gif
ธ. ไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)
   http://www.scb.co.th
9 ถ.รัชดาภิเษก แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900
โทรศัพท์ 0-2544-1000
โทรสาร 0-2544-4948
  http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/065.gif
ธ. ธนชาต จำกัด (มหาชน)
   http://www.thanachartbank.co.th
900 อาคารต้นสนทาวเวอร์ ถ.เพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
โทรศัพท์ 0-2655-9000
โทรสาร 0-2655-9001
  http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/015.gif
ธ. นครหลวงไทย จำกัด (มหาชน)
   http://www.scib.co.th
1101 ถ.เพชรบุรีตัดใหม่ แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400
โทรศัพท์ 0-2208-5000
โทรสาร 0-2253-1240, 0-2226-3798
http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/024.gif
ธ. ยูโอบี จำกัด (มหาชน)
   http://www.uob.co.th
191 ถ.สาทรใต้ แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120
โทรศัพท์ 0-2343-3000
โทรสาร 0-2287-2973-4
http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/020.gif
ธ. สแตนดาร์ดชาร์เตอร์ด (ไทย) จำกัด (มหาชน)
   http://www.standardchartered.co.th
90 อาคารสาทรธานี ถ.สาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500
โทรศัพท์ 0-2724-4000
โทรสาร 0-2724-4444
  http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/070.gif
ธ. สินเอเซีย จำกัด (มหาชน)
   http://www.aclbank.com
622 อาคารเอ็มโพเรียมทาวเวอร์ ชั้น 11-13 ถ.สุขุมวิท แขวงคลองตัน เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110
โทรศัพท์ 0-2663-9999
โทรสาร 0-2663-9888
http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/071.gif
ธ. ไทยเครดิต เพื่อรายย่อย จำกัด (มหาชน)
   http://www.tcrbank.com
123 อาคารไทยประกันชีวิต ชั้น 1 ถ.รัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10310
โทรศัพท์ 0-2697-5454
โทรสาร 0-2246-9782
http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/073.GIF
ธ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำกัด (มหาชน)
   http://www.lhbank.co.th
1 อาคารคิวเฮ้าส์ ลุมพินี ถ.สาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120
โทรศัพท์ 0-2359-0000
โทรสาร 0-2677-7223
http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/026.gif
ธ. เมกะ สากลพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)
   https://overseas.megabank.com.tw
36/12 อาคารพี.เอส.ทาวเวอร์ ถ.สุขุมวิท 21 (อโศก) แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110
โทรศัพท์ 0-2259-2000-9
โทรสาร 0-2259-1330, 0-2261-3660
http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/028.gif
ธ. เครดิต อะกริกอล คอร์ปอเรทแอนด์อินเวสเมนท์แบงก์
   http://www.ca-cib.com/global-presence/thailand.htm
152 อาคารอินโดสุเอซ เฮ้าส์ ถ.วิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
โทรศัพท์ 0-2624-8000
โทรสาร 0-2651-4586
http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/008.gif
ธ. เจพีมอร์แกน เชส
   http://www.th.jpmorgan.com
20 อาคารบุปผจิต ถ.สาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500
โทรศัพท์ 0-2684-2000
โทรสาร 0-2684-2020
http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/017.gif
ธ. ซิตี้แบงก์
   http://www.citibank.co.th
82 อาคารแสงทองธานี ถ.สาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500
โทรศัพท์ 0-2232-2000, 0-2639-2000
โทรสาร 0-2232-3500
  http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/018.gif
ธ. ซูมิโตโม มิตซุย แบงกิ้ง คอร์ปอเรชั่น
   http://www.smbc.co.jp/global/bangkok
1 อาคารคิวเฮ้าส์ลุมพินี ชั้น 8-10 ถ.สาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120
โทรศัพท์ 0-2353-8000
โทรสาร 0-2353-8282
  http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/032.gif
ธ. ดอยซ์แบงก์
   http://www.db.com/thailand
63 อาคารแอทธินี ทาวเวอร์ ชั้น 27-29 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน 10330
โทรศัพท์ 0-2651-5000
โทรสาร 0-2651-5151
http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/005.GIF
ธ. เดอะรอยัลแบงก์อ๊อฟสกอตแลนด์ เอ็น.วี.
   http://www.rbs.com/customers/our-services/our-locations/thailand.ashx
179/3 อาคารบางกอกซิตี้ทาวเวอร์ ชั้น 3-4 ถ.สาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120
โทรศัพท์ 0-2679-5900
โทรสาร 0-2679-5901-2
http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/045.gif
ธ. บีเอ็นพี พารีบาส์
   http://www.bnpparibas.co.th
990 อาคารอับดุลราฮิม เพลส ชั้น 29 ถ.พระราม 4 แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500
โทรศัพท์ 0-2636-1900
โทรสาร 0-2636-1935
  http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/039.gif
ธ. มิซูโฮ คอร์ปอเรต จำกัด
   http://www.mizuhocbk.co.th/mizuhocbk
48 ตึกทิสโก้ทาวเวอร์ ชั้นที่ 18 ถ.สาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500
โทรศัพท์ 0-2638-0200-5
โทรสาร 0-2638-0218
http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/010.gif
ธ. แห่งโตเกียว-มิตซูบิชิ ยูเอฟเจ จำกัด
   http://www.th.bk.mufg.jp/
54 อาคารหะรินธร ถ.สาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500
โทรศัพท์ 0-2266-3011-35
โทรสาร 0-2266-3054-5
http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/052.gif
ธ. แห่งประเทศจีน จำกัด
   http://www.boc.cn/mangu/index.htm
179/4 อาคารบางกอกซิตี้ทาวเวอร์ ถ.สาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120
โทรศัพท์ 0-2286-1010
โทรสาร 0-2286-1020
http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/027.gif
ธ. แห่งอเมริกาเนชั่นแนลแอสโซซิเอชั่น
   http://www.bankofamerica.com/th
87/2 อาคาร ซี อาร์ ซี ออลซีซั่นส์เพลส ชั้น 33 ถ.วิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
โทรศัพท์ 0-2305-2800
โทรสาร 0-2305-2999
  http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/023.gif
ธ. อาร์ เอช บี จำกัด
   http://www.rhbbank.com.my/cbob/thailand
87/2 อาคารออลซีซั่น เพลส ชั้น G และ ชั้น 18 ถ.วิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
โทรศัพท์ 0-2126-8600
โทรสาร 0-2126-8601
http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/029.gif
ธ. อินเดียนโอเวอร์ซีส์
   http://www.iob.co.th
221 ถ.ราชวงศ์ แขวงจักรวรรดิ เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร 10100
โทรศัพท์ 0-2224-5389, 0-2224-5411-4
โทรสาร 0-2224-5405
http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/009.gif
ธ. โอเวอร์ซี-ไชนีสแบงกิ้งคอร์ปอเรชั่น จำกัด
   http://www.ocbc.com/global/countries/Gco_International.shtm?bcid=M3_C3_S1
1 อาคาร Q-House Lumpini ชั้น 25 ยูนิต 2501-2 ถ.สาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120
โทรศัพท์ 0-2287-9840
โทรสาร 0-2287-9898
http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/031.gif
ธ. ฮ่องกงและเซี่ยงไฮ้แบงกิ้งคอร์ปอเรชั่น จำกัด
   http://www.hsbc.co.th
968 อาคารอื้อจือเหลียง ถ.พระราม 4 แขวงสาทร เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500
โทรศัพท์ 0-2614-4000
โทรสาร 0-2632-4818
http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/098.gif
ธ. พัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย
   http://www.smebank.co.th
310 ถ.พหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400
โทรศัพท์ 0-2265-3000
โทรสาร 0-2265-4000
http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/034.gif
ธ. เพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร
   http://www.baac.or.th
469 ถ.นครสวรรค์ แขวงจิตรลดา เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300
โทรศัพท์ 0-2280-0180
โทรสาร 0-2280-0442
  http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/035.gif
ธ. เพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย
   http://www.exim.go.th
1193 อาคารเอ็กซิม ถ.พหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400
โทรศัพท์ 0-2271-3700
โทรสาร 0-2271-3204
http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/030.gif
ธ. ออมสิน
   http://www.gsb.or.th
470 ถ.พหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400
โทรศัพท์ 0-2299-8000
โทรสาร 0-2271-1515
  http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/033.gif
ธ. อาคารสงเคราะห์
   http://www.ghb.co.th
63 ถ.พระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310
โทรศัพท์ 0-2645-9000
โทรสาร 0-2645-9001
  http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/066.gif
ธ. อิสลามแห่งประเทศไทย
   http:\\www.ibank.co.th
ุ66 อาคารคิวเฮาส์ อโศก ชั้น 21,22 ถ.สุขุมวิท 21 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110
โทรศัพท์ 0-2650-6999
โทรสาร 0-2204-2765

ธ.กรุงเทพ (จำกัด) มหาชน

ชาติศิริ โสภณพานิช เป็นประธานกรรมการ

ตัวย่อหุ้น BBL จำนวนสาขา 955

จุดเด่น เป็นธนาคารที่มีผลกาประกอบการที่ดีที่สุด

ธนาคาร กรุงไทย (จำกัด) มหาชน

นาย ศุภรัตน์ ควัฒน์กุล ดำรงตำแหน่งประธานกรรมการ

จำนวนสาขา 615 ตัวย่อหุ้น KTB

จุดเด่น เป็นธนาคารที่มีความมั่นคงเพราะเป็นธนาคารรัฐวิสาหกิจ คือรัฐบาล และเอกชน

ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด มหาชน

นาย วีระพันธ์ ทีปสุวรรณ ประธานกรรมการ

จำนวนสาขา 577 ตัวย่อหุ้น BAY

ธนาคารกสิกรไทย จำกัด มหาชน

นาย บรรยงค์ ล่ำซ้ำ ประธานกรรมการ

จำนวนสาขา 595 ตัวย่อหุ้น KBANK

ธนาคารเกียรตินาคิน จำกัด มหาชน

นวพร เรืองสกุล ประธานกรรมการ

จำนวนสาขา 37 ชื่อย่อหุ้น KK

ธนาคาร ซีไอเอ็มบี จำกัด มหาชน

ดาโต๊ะ ศรี ราเซียร์ ราซัค ประธานกรรมการ

จำนวนสาขา 147 ตัวย่อหุ้น CIMBT

ธนาคารทหารไทย จำกัด มหาชน

เสาวนีย์ กลมบุตร ประธานกรรมการ

จำนวนสาขา 344 ตัวย่อหุ้น TMB

จุดเด่น เป็นธนาคารที่เกี่ยวข้องกับทหาร

ธนาคาร ทิสโก้ จำกัด มหาชน

นาย ปลิว มังกรกนก ประธานกรรมการบริหาร

จำนวนสาขา 47 ตัวย่อหุ้น TISCO

ธนาคารไทยพานิชย์ จำกัด มหาชน

ดร. วิชิต สุรพงศ์ชัย ประธานกรรมการ

จำนวนสาขา 987 ตัวย่อหุ้น SCB

ธนาคารธนชาติ จำกัด มหาชน

นาย ศุ๓เดช พูนพิพัฒน์

จำนวนสาขา 256 ตัวย่อหุ้น TBANK

ธนาคารนครหลวงไทย จำกัด มหาชน

นาย สมเจตต์ หมู่ศิริเลิศ  ประธานกรรมการ

จำนวนสาขา 411 ตัวย่อหุ้น SCIB

ธนาคาร ยูโอบี จำกัด มหาชน

นาย วิ โช เยา ประธานกรรมการ

จำนวนสาขา 148 ตัวย่อหุ้น UOB

ธนาคารสแตนดาร์ดชาร์ตเตอร์ จำกัด มหาชน

มาร์ค เดวาเดซัน ประธานกรรมการ

จำนวนสาขา 41 ตัวย่อหุ้น SCBT

ธนาคาร สินเอเชีย จำกัด มหาชน

นาย ธงชัย อานันโททัย ประธานกรรมการ

จำนวนสาขา 17 ตัวย่อหุ้น ACL

ธนาคารไทยเครดิต เพื่อรายย่อย จำกัด มหาชน

นาย มงคล สีลาธรรม ประธานกรรมการ

จำนวนสาขา 9 ตัวย่อหุ้น -

ธนาคาร แลนด์ เเอนด์ เฮาส์ เพื่อรายย่อย จำกัด มหาชน

นาย รัตน์ พานิชพันธ์ ประธานกรรมการ

จำนวนสาขา 23 ตัวย่อหุ้น LHBANK (ไม่อยู่ในตลาดหลักทรัพย์)

จุดเด่น เป็นธนาคารที่ปล่อนสินเชื่อในการกู้บ้านในโครงการของบริษัทเท่านั้น ไม่มีการกู้ยืมจากธนาคารเป็นเงินของทางบริษัท

ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลาง และ ขนาดย่อม ของประเทศไทย

นายพงษ์ภาณุ เศวตรุนทร์ ประธานกรรมการ

จำนวนสาขา 94 ตัวย่อหุ้น SME

ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเศไทย

นาย จีระศักดิ์ พงศ์พิษณุพิจิตร์ ประธานกรรมการ

จำนวนสาขา 588 ตัวย่อหุ้น EXIM

ธนาคาร ออมสิน

นาย วินัย วิทวัสการเวท ประธานกรรมการ

จำนวนสาขา 636 ตัวย่อหุ้น GSB ไม่อยู่ในตลาดหลักทรัพย์

จุดเด่น เป็นธนาคารของรัฐบาล

ธนาคาร อาคารสงเคราะห์

นาย อารีพงศ์ ภู่ชอุ่ม ประธานกรรมการ

จำนวนสาขา 886 ตัวย่อหุ้น -

ธนาคาร อิสลามแห่งประเทศไทย

นาย ธีรศักดิ์ สุวรรณยศ ประธานกรรมการ

จำนวนสาขา 26 ตัวย่อหุ้น SWIFT

จุดเด่น เป็นธนาคารที่ศาสนาอิสลามก่อตั้งแต่มีการเรียกการทำธุรกรรมการเงินที่ไม่เหมือนกับธนาคารทั่วไป เพราะทางหลักศาสนาอิสลาม มีข้อห้ามที่แตกต่างกับศาสนาอื่น

2. การแข่งขันฟุตบอลโลกมีบทบาทอย่างไรกับเศรษฐกิจของประเทศไทย

ตอบ    การแข่งขันบอลโลก ในความคิดของข้าพเจ้า เศรษฐกิจมีพัฒนามากขึ้น ร้านอาหารก็ได้ผลประโยชน์ เพราะว่า ลูกค้าส่วนมากมักต้องการดูบอลแล้วก็ทานอาหารมีเพื่อนร่วมคุยกันเพื่อเสริมสร้างอรรถรสในการดู หากมีเพื่อนที่เชียรืทีมเดียวกับเราก็จะสนุกมากขึ้นในการดูบอล match  นั้น ร้านอาหารที่มักจะขายดีในช่วงเทศกาลบอลโลก มีหลายร้ายด้วยกัน ยกตัวอย่างเช่น ร้านหมูกระทะ ที่มักจะมีจอถ่ายทอดสดขนาดใหญ่ เพื่อใช้เรียกลูกค้าให้มาทานอาหารที่ร้านเพราะลูกค้าจะคิดว่า มาทานอาหารแล้ว ยังได้เชียรืบอลร่วมกับเพื่อนอีกด้วย เงินก็จะสะพัดมากขึ้น

 

1. ธนาคารธนชาต (Thanachart Bank)

http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/065.gif

นายศุภเดช พูนพิพัฒน์                                    ประธานกรรมการบริหารและประธานเจ้าหน้าที่บริหาร
  เว็บไซด์                                                               http://www.thanachartbank.co.th

สำนักงานใหญ่                                           900 อาคารต้นสนทาวเวอร์ ถ.เพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

โทรศัพท์                                                               0-2655-9000

โทรสาร                                                                 0-2655-9001

ตัวย่อหุ้น                                                               TBANK

จำนวนสาขา                                                         256

2.ธนาคารสินเอเชีย (Asia Credit Limited Bank)

http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/070.gif

นายธงชัย อานันโทไทย                                    กรรมการผู้จัดการใหญ่ 

เว็บไซด์                                                                http://www.aclbank.com

สำนักงานใหญ่                                                    622 อาคารเอ็มโพเรียมทาวเวอร์ ชั้น 11-13 ถ.สุขุมวิท แขวงคลองตัน เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 1011

โทรศัพท์                                                               0-2663-9999

โทรสาร                                                                 0-2663-9888

ตัวย่อหุ้น                                                               ACL      

จำนวนสาขา                                                         17

3.ธนาคารกสิกรไทย (KasikornBank)

http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/004.gif

นาย บรรยงค์  ล่ำซำ                            ประธานกรรมการ และ กรรมการที่ปรึกษาแก่คณะจัดการ

 เว็บไซด์                                               http://www.kasikornbank.com

สำนักงานใหญ่                                    1 ซอยกสิกรไทย ถ.ราษฎร์บูรณะ แขวงราษฎร์บูรณะ เขตราษฎร์บูรณะ กรุงเทพมหานคร 10140

โทรศัพท์                                               0-2888-8888

โทรสาร                                                 0-2888-8882

จำนวนสาขา                                         595

ตัวย่อหุ้น                                               K BANK

4.ธนาคารซิติแบงก์ (Citibank)

http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/017.gif

ประธานกรรมการ

เว็บไซด์                                                http://www.citibank.co.th

สำนักงานใหญ่                                    82 อาคารแสงทองธานี ถ.สาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

โทรศัพท์                                               0-2232-2000, 0-2639-2000

โทรสาร                                                 0-2232-3500

จำนวนสาขา

ตัวย่อหุ้น

5.ธนาคารไทยพาณิชย์ (Siam Commercial Bank) - สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่]

http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/014.gif

ดร.วิชิต สุรพงษ์ชัย                             ประธานกรรมการบริหาร

เว็บไซด์                                                http://www.scb.co.th

สำนักงานใหญ่                                    9 ถ.รัชดาภิเษก แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900
โทรศัพท์                                               0-2544-1000
โทรสาร                                                 0-2544-4948

ตัวย่อหุ้น                                               SCB

จำนวนสาขา                                         987

6.ธนาคารนครหลวงไทย (Siam City Bank)

http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/015.gif

นายสมเจตน์ หมู่ศิริเลิศ                                     ประธานกรรมการบริหาร 

เว็บไซด์                                                                http://www.scib.co.th

สำนักงานใหญ่                                                    1101 ถ.เพชรบุรีตัดใหม่ แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400

โทรศัพท์                                                               0-2208-5000

โทรสาร                                                                 0-2253-1240, 0-2226-3798

จำนวนสาขา                                                         411

ตัวย่อหุ้น                   

7.ธนาคารกรุงศรีอยุธยา (Bank of Ayudhaya)

                       http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/025.gif                    

นาย วีระพันธุ์  ทีปสุวรรณ                ประธานกรรมการ

เว็บไซด์                                                http://www.krungsri.com

สำนักงานใหญ่                                    1222 ถ.พระรามที่ 3 แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร 10120

โทรศัพท์                                               0-2296-2000

โทรสาร                                                 0-2683-1304

ตัวย่อหุ้น                                               BAY

จำนวนสาขา                                         577

8.ธนาคารเกียรตินาคิน (Kiatnakin Bank)

http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/069.gif

นางสาว นวพร  เรืองสกุล                ประธานกรรมการธนาคาร กรรมการอิสระ

เว็บไซด์                                                  http://www.kiatnakin.co.th

สำนักงานใหญ่                                    500 อาคารอัมรินทร์ทาวเวอร์ ถ.เพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10331

โทรศัพท์                                               0-2680-3333

โทรสาร                                                 0-2256-9933

จำนวนสาขา                                         37

ตัวย่อหุ้น                                               KK        

9.ธนาคารกรุงเทพ (Bangkok Bank)

http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/002.gif

ชาติศิริ โสภณพนิช                                             ประธานกรรมการ

เว็บไซด์                                                                  http://www.bangkokbank.com

สำนักงานใหญ่                                                     333 ถ.สีลม แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

โทรศัพท์                                                                0-2231-4333

โทรสาร                                                                  0-2236-8281-2

ตัวย่อหุ้น                                                              BBL

จำนวนสาขา                                                        955

               

10.ธนาคารออมสิน (Government Saving Bank)

http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/030.gif

นายวินัย  วิทวัสการเวช                     ประธานกรรมการ

นาย เลอศักดิ์  จุลเทศ                          ผู้อำนวยการธนาคารออมสิน

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่                            470 ถนนพหลโยธิน สามเสนใน เขตพญาไท
กรุงเทพ 10400

ติดต่อสอบถาม โทร                            1115 หรือ 0-2299-8000

เว็บไซด์                                                 http://www.gsb.or.th

จำนวนสาขา                                         636

ตัวย่อ                                                      GSB = Government Savings Bank (ธ ออมสิน - ไม่อยู่ในตลาดหลักทรัพย์)

11.ธนาคารแห่งประเทศไทย (Bank of Thailand)

ผู้ว่าการ ธนาคารแห่งประเทศไทย                  ดร. ธาริษา วัฒนเกส  

ชื่อเว็บไซต์                                                            http://www.bot.or.th

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่                                            273 ถนนสามเสน บางขุนพรหม เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200

เบอร์กลาง โทร. 0-2283-5353

โทรสาร : 0-2280-0449, 0-2280-0626

จำนวนสาขา                                                         -สำนักงานใหญ่ กรุงเทพมหานคร

                                                                                -สาขาสุรวงศ์

-สาขาเชียงใหม่ และสาขาย่อยลำปาง สำนักงานภาคเหนือ

-สาขาขอนแก่น สำนักงานภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

-สาขาหาดใหญ่ สำนักงานภาคใต้

ตัวย่อหุ้น                                                              

12.ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย (Export-Import Bank of Thailand)

http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/035.gif

ประธานกรรมการ                               นายจีรศักดิ์  พงษ์พิษณุพิจิตร์            นาย ณงค์ชัย  อัครเศรณี                                                                     ประธานกรรมการ(ผู้ทรงคุณวุฒิ)

ชื่อเว็บไซต์                                            http://www.exim.go.th

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่                            อาคารเอ็กซิม 1193 ถนนพหลโยธิน พญาไท กรุงเทพฯ 10400

โทร                                                        02-2713700 , 02-2780047 ,  02-6172111

โทรสาร                                                 02-2713204

จำนวนสาขา                                         588

ตัวย่อ     

13.ธนาคารอาคารสงเคราะห์ (Government Housing Bank)

http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/033.gif

นายอารีพงศ์ ภู่ชอุ่ม                            ประธานกรรมการ

เว็บไซด์                                                 http://www.ghbank.co.th

จำนวนสาขา                                         63 ถนนพระราม 9 เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310

โทร                                                        02-6459000

จำนวนสาขา                                         886

ตัวย่อ

14.ธนาคารกรุงไทย (Krung Thai Bank) - รัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงการคลัง

http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/006.gif

นายศุภรัตน์ ควัฒน์กุล                       ดำรงตำแหน่งประธานกรรมการ    

เว็บไซด์                                                http://www.ktb.co.th

สำนักงานใหญ่                                    35 ถ.สุขุมวิท แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110

โทรศัพท์                                               0-2255-2222

โทรสาร                                                 0-2255-9391-3

จำนวนสาขา                                         615

ตัวย่อหุ้น                                               KTB      

15.ธนาคารสแตนดาร์ดชาร์เตอร์ดไทย (Standard Chartered Bank Thai)

http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/020.gif

มาร์ค เดวาเดสัน                                                  กรรมการผู้จัดการใหญ่ และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

เว็บไซด์                                                                 http://www.standardchartered.co.th

สำนักงานใหญ่                                                    90 อาคารสาทรธานี ถ.สาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

โทรศัพท์                                                               0-2724-4000

โทรสาร                                                                 0-2724-4444

จำนวนสาขา                                                         41

ตัวย่อหุ้น                                                               SCBT

16.ธนาคารยูโอบี (United Overseas Bank, Thailand)

http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/024.gif

 

คุณ วี โชว เยา                                                      ประธานกรรมการ

เว็บไซด์                                                                  http://www.uob.co.th

สำนักงานใหญ่                                                    191 ถ.สาทรใต้ แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120

โทรศัพท์                                                               0-2343-3000

โทรสาร                                                                 0-2287-2973-4

จำนวนสาขา                                                         148

ตัวย่อหุ้น                                                               UOB

17.ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย (Islamic Bank of Thailand)

http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/066.gif

นายธีรศักดิ์ สุวรรณยศ ประธานอนุกรรมการบริหาร และรักษาการกรรมการผู้จัดการ ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย

 (สำนักงานใหญ่)
เลขที่ 66 ชั้น M, 21, 22 อาคารคิวเฮ้าส์ ถนนสุขุมวิท 21  แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา
กรุงเทพมหานคร 10110
โทรศัพท์                                                0-2650-6999
แฟกซ์                                                    0-2664-3345
อีเมล์                                                       [email protected]

SWIFT                                                                  TIBTTHBK

จำนวนสาขา                                         26

ตัวย่อ

18.ธนาคารซีไอเอ็มบี ไทย (CIMB Thai Bank)

http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/022.gif

ดาโต๊ะ ศรี นาเซียร์ ราซัค                  ประธานบริหารกลุ่ม CIMB GROUP  

สำนักงานใหญ่                                    44 ถ.หลังสวน แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
โทรศัพท์                                               0-2626-7000, 0-2638-8000
โทรสาร                                                 0-2633-9026

จำนวนสาขา                                         147

ตัวย่อหุ้น                                               CIMBT

(ชื่อเดิม ธ.ไทยธนาคาร จำกัด(มหาชน))

19.ธนาคารเมกะสากลพาณิชย์ (Mega International Commercial Bank)

http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/022.gif

ดาโต๊ะ ศรี นาเซียร์ ราซัค                  ประธานบริหารกลุ่ม CIMB GROUP  

สำนักงานใหญ่                                    44 ถ.หลังสวน แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
โทรศัพท์                                               0-2626-7000, 0-2638-8000
โทรสาร                                                 0-2633-9026

จำนวนสาขา                                         147

ตัวย่อหุ้น                                               CIMBT

(ชื่อเดิม ธ.ไทยธนาคาร จำกัด(มหาชน))

19.ธนาคารเมกะสากลพาณิชย์ (Mega International Commercial Bank)

http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/026.gif

เว็บไซด์                                                                   https://overseas.megabank.com.tw

สำนักงานใหญ่                                                    36/12 อาคารพี.เอส.ทาวเวอร์ ถ.สุขุมวิท 21 (อโศก) แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร

โทรศัพท์                                                               0-2259-2000-9

โทรสาร                                                                 0-2259-1330, 0-2261-3660

จำนวนสาขา

ตัวย่อหุ้น

20.ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย (Land and Houses Retail Bank)

นายรัตน์ พานิชพันธ์                                         ประธานกรรมการบริหาร

เว็บไซด์                                                                http://www.lhbank.co.th

สำนักงานใหญ่                                                    1 อาคารคิวเฮ้าส์ ลุมพินี ถ.สาทรใต

การแข่งขันฟุตบอลมีผลกระทบอย่างไร

ตอบ  การแข่งขันฟุตบอลโลกทำให้หุ้นบริษัทเกี่ยวกับกีฬามีแนวโน้มดีขึ้น นอกจากนี้เงินยังสะพัดในเศรษฐกิจมากขึ้นไม่ว่าจะเป็นการซื้อโทรทัศน์ที่เพิ่มขึ้นในช่วงนี้ รวมทั้งเงินที่มาจากการพนันบอล และยังมีค่าลิขสิทธิ์ในการถ่ายทอด หรือ ของที่ระลึกต่างๆซึ่งปัจจัยเหล่านี้ล้วนมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคม

 

                                                                                       นางสาว ณัฐธิดา สมยศ  

                                                                                       รหัส 50473010022

                                                                                       โปรแกรม เศรษฐศาสตรุรกิจ

ธนาคารกลางแห่งชาติ 

ธนาคารแห่งประเทศไทย (Bank of Thailand) ธปท.

ที่ตั้ง วัดสามพระยา
พระนคร กรุงเทพมหานคร 10200

นางธาริษา วัฒนเกส

www.bot.or.th/

ธนาคารของรัฐบาล 

 

ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย (Small and Medium Enterprise Development Bank of Thailand) ธพว. หรือ SME Bank

ที่ตั้ง เลขที่ 310 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายพงษ์ภาณุ เศวตรุนทร์

www.smebank.co.th/

ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (Bank for Agriculture and Agricultural Cooperatives) ธ.ก.ส.

เลขที่ 469 ถนน นครสวรรค์ เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300

ผู้จัดการ นายลักษณ์ วจนานวัช

www.baac.or.th/

 

ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย (Export-Import Bank of Thailand) ธสน. หรือ EXIM Bank

อาคารเอ็กซิม 1193 ถนนพหลโยธิน พญาไท กรุงเทพฯ10400

ประธานกรรมการ : นายณรงค์ชัย อัครเศรณี

www.exim.go.th/

ธนาคารออมสิน (Government Saving Bank) GSB

ธนาคารออมสิน สำนักงานใหญ่
470 ถนนพหลโยธิน สามเสนใน เขตพญาไท
กรุงเทพ 10400

ผู้อำนวยการธนาคารออมสิน : นายเลอศักดิ์ จุลเทศ

http://www.gsb.or.th

 

ธนาคารอาคารสงเคราะห์ (Government Housing Bank) ธอส. หรือ GH Bank

63 ถนนพระราม9 เขตห้วยขวาง กทม. 10310

กรรมการผู้จัดการ : นายขรรค์ ประจวบเหมาะ
http://www.ghbank.co.th/th/index.html

ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย (Islamic Bank of Thailand) IBANK

เลขที่ 66 ชั้น M, 21, 22 อาคารคิวเฮ้าส์ ถนนสุขุมวิท 21
แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา
กรุงเทพมหานคร 10110

http://www.ibank.co.th/th/index.php

ธนาคารพาณิชย์ของรัฐบาล 

ธนาคารกรุงไทย (Krung Thai Bank) - รัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงการคลัง  KTB

35 ถนน สุขุมวิท แขวง คอลงเตยเหนือ เขต วัฒนา กทม. 10110

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์

www.ktb.co.th/

693 สาขา

 

ธนาคารทหารไทย (TMB Bank) - กลุ่มกองทัพไทย เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ TMB

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 3000 ถ.พหลโยธิน จอมพล จตุจักร กรุงเทพฯ 10900

ประธานกรรมการ : นางเสาวนีย์ กมลบุตร

http://www.tmbbank.com

450 สาขา

ธนาคารพาณิชย์ 

 

ธนาคารกรุงเทพ (Bangkok Bank) BBL

333 ถนน สีลม กทม. 10500

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายชาติศิริ โสภณพนิช

http://www.bangkokbank.com

917 สาขา

ธนาคารกรุงศรีอยุธยา (Bank of Ayudhaya) BAY

1222 ถนนพระรามที่ 3 แขวงบางโพงพาง
เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120

ประธานกรรมการ : นายวีระพันธุ์ ทีปสุวรรณ

http://www.krungsri.com

575 สาขา

 

 

ธนาคารกสิกรไทย (KasikornBank) KBANK

   1 ซอยราษฎร์บูรณะ 27/1 ถนนราษฎร์บูรณะ แขวงราษฎร์บูรณะ เขตราษฎร์บูรณะ กรุงเทพฯ 10140 

ประธานกรรมการ : นายบรรยงค์ ล่ำซำ

http://www.kasikornbank.com/

809 สาขา

ธนาคารเกียรตินาคิน (Kiatnakin Bank) KKB

500 อาคารอัมรินทร์ทาวเวอร์ ถนน เพลินจิต ลุมพินี ปทุมวัน กทม. 10330

ประธานกรรมการบริหาร : นายสุพล วัธนเวคิน

http://www.kiatnakin.co.th

50 สาขา

ธนาคารซิติแบงก์ (Citibank) Citibank

ธนาคารซิตี้แบงก์ เอ็น.เอ. สาขากรุงเทพฯ
เลขที่ 399 ถนนสุขุมวิท อาคารอินเตอร์เชนจ์ 21
แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110

ผู้จัดการใหญ่  นายปีเตอร์   เอเลียต

http://www.citibank.co.th

 

ธนาคารทิสโก้ (Thai Investment and Securities Company Bank) TISCO

อาคารทิสโก้ทาวเวอร์ 48/2 ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก
กรุงเทพมหานคร 10500

ประธานบริหาร  นางอรนุช  อภิศักดิ์ศิริกุล

www.tisco.co.th

40 สาขา

ธนาคารซีไอเอ็มบี ไทย (CIMB Thai Bank) CIMB

เลขที่ 44 ถนนหลังสวน แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

นายสุภัค ศิวะรักษ์: กรรมการผู้จัดการใหญ่ และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

www.cimbthai.com/

147 สาขา

ธนาคารไทยพาณิชย์ (Siam Commercial Bank) – สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ SCB

9 ถนน รัชดาภิเษก เขต จตุจักร กทม. 10900

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นางกรรณิกา ชลิตอาภรณ์

www.scb.co.th/

999 สาขา

 

 

ธนาคารธนชาต (Thanachart Bank) TNC

เลขที่ 900 อาคารต้นสนทาวเวอร์ ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กทม. 10330

ประธานกรรมการ : นายบันเทิง ตันติวิท

www.thanachartbank.co.th/

155 สาขา

ธนาคารนครหลวงไทย (Siam City Bank) SCIB

1101 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400

นายชัยวัฒน์ อุทัยวรรณ์
ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่

www.scib.co.th/

334 สาขา

 

ธนาคารยูโอบี (United Overseas Bank, Thailand) UOB

เลขที่  191 ถนนสาทรใต้ แขวงยานนาวา  เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120

ประธานกรรมการ คุณวี โชว เยา

www.uob.co.th/

144 สาขา

 

ธนาคารสแตนดาร์ดชาร์เตอร์ดไทย (Standard Chartered Bank Thai) SCBT

เลขที่ 90 อาคารสาทรธานี ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพ 10500

ผู้จัดการใหญ่ : นาย ยุทธเดช   ปัทมานนท์

www.standardchartered.co.th/

28 สาขา

ธนาคารเมกะสากลพาณิชย์ (Mega International Commercial Bank)

เลขที่  36/12 อาคารพี.เอส.ทาวเวอร์ ถ.สุขุมวิท 21 (อโศก) แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  Rong-Jou Wang

https://overseas.megabank.com.tw/

4 สาขา

ธนาคารสินเอเชีย (Asia Credit Limited Bank) ACL

เลขที่ 622   ชั้น 11-13 อาคารเอ็มโพเรี่ยม ทาวเวอร์  ถนนสุขุมวิท กรุงเทพมหานคร    

นายฮุยเหมิน หยี่  ประธานกรรมการ  

www.aclbank.com/th

19 สาขา

 

ธนาคารพาณิชย์เพื่อรายย่อย 

ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย (Land and Houses Retail Bank) LH

 1 อาคารคิวเฮ้าส์ ลุมพินี ถ.สาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120

กรรมการผู้จัดการ  นางศศิธร พงศธร

www.lhbank.co.th/

24 สาขา

ธนาคารไทยเครดิต เพื่อรายย่อย (Thai Credit Retail Bank) TCRB

เลขที่  123 ชั้น 1 อาคาร ไทยประกันชีวิต ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กทม. 10400

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นาย วานิช ไชยวรรณ

www.tcrbank.com/

7 สาขา

ธนาคารต่างประเทศ 

 

ธ. เครดิต อะกริกอล คอร์ปอเรทแอนด์อินเวสเมนท์แบงก์ 

http://www.ca-cib.com/global-presence/thailand.htm 

152 อาคารอินโดสุเอซ เฮ้าส์ ถ.วิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 

 

 

ธ. เจพีมอร์แกน เชส 

http://www.th.jpmorgan.com 

20 อาคารบุปผจิต ถ.สาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

 

 

ธ. ซิตี้แบงก์ 

http://www.citibank.co.th 

82 อาคารแสงทองธานี ถ.สาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500 

 

 

ธ. ซูมิโตโม มิตซุย แบงกิ้ง คอร์ปอเรชั่น 

http://www.smbc.co.jp/global/bangkok 

1 อาคารคิวเฮ้าส์ลุมพินี ชั้น 8-10 ถ.สาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 

 

 

ธ. ดอยซ์แบงก์ 

 http://www.db.com/thailand 

63 อาคารแอทธินี ทาวเวอร์ ชั้น 27-29 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน 10330 

 

 

ธ. เดอะรอยัลแบงก์อ๊อฟสกอตแลนด์ เอ็น.วี. 

http://www.rbs.com/customers/our-services/our-locations/thailand.ashx 

179/3 อาคารบางกอกซิตี้ทาวเวอร์ ชั้น 3-4 ถ.สาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120

 

 

ธ. บีเอ็นพี พารีบาส์ 

http://www.bnpparibas.co.th 

990 อาคารอับดุลราฮิม เพลส ชั้น 29 ถ.พระราม 4 แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500 

 

 

ธ. มิซูโฮ คอร์ปอเรต จำกัด 

http://www.mizuhocbk.co.th/mizuhocbk 

48 ตึกทิสโก้ทาวเวอร์ ชั้นที่ 18 ถ.สาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500 

 

 

ธ. แห่งโตเกียว-มิตซูบิชิ ยูเอฟเจ จำกัด 

http://www.th.bk.mufg.jp/ 

54 อาคารหะรินธร ถ.สาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500 

 

 

ธ. แห่งประเทศจีน จำกัด 

http://www.boc.cn/mangu/index.htm 

179/4 อาคารบางกอกซิตี้ทาวเวอร์ ถ.สาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 

 

 

ธ. แห่งอเมริกาเนชั่นแนลแอสโซซิเอชั่น 

 http://www.bankofamerica.com/th

87/2 อาคาร ซี อาร์ ซี ออลซีซั่นส์เพลส ชั้น 33 ถ.วิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 

 

 

ธ. อาร์ เอช บี จำกัด 

http://www.rhbbank.com.my/cbob/thailand 

87/2 อาคารออลซีซั่น เพลส ชั้น G และ ชั้น 18 ถ.วิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 

 

 

ธ. อินเดียนโอเวอร์ซีส์ 

http://www.iob.co.th 

221 ถ.ราชวงศ์ แขวงจักรวรรดิ เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร 10100 

 

 

ธ. โอเวอร์ซี-ไชนีสแบงกิ้งคอร์ปอเรชั่น จำกัด 

http://www.ocbc.com/global/countries/Gco_International.shtm?bcid=M3_C3_S1 

1 อาคาร Q-House Lumpini ชั้น 25 ยูนิต 2501-2 ถ.สาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 

 

 

ธ. ฮ่องกงและเซี่ยงไฮ้แบงกิ้งคอร์ปอเรชั่น จำกัด 

http://www.hsbc.co.th 

968 อาคารอื้อจือเหลียง ถ.พระราม 4 แขวงสาทร เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500 

ธนาคารแห่งประเทศไทย

 

 

ชื่อย่อ (ธปท.)( The Bank of Thailand)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ :  กรุงเทพมหานคร ( แถวศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิต)

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่ นางธาริษา วัฒนเกส 8 ตุลาคม 2549 - ปัจจุบัน

Websit www.bot.or.th 

จำนวนสาขาโดยประมาณ

- สำนักงานใหญ่ กรุงเทพมหานคร

- สาขาสุรวงศ์

- สาขาเชียงใหม่ และสาขาย่อยลำปาง สำนักงานภาคเหนือ

- สาขาขอนแก่น สำนักงานภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

- สาขาหาดใหญ่ สำนักงานภาคใต้

จุดเด่น   มีหน้าที่หลักในการดูและกำกับเรื่องการเงินของชาติ ทั้งออกกฎเกณฑ์และควบคุมสถาบันการเงิน นำออกหมุนเวียนซึ่งธนบัตรไทยรวมถึงการควบคุมการถ่ายโอนเงินตราระหว่างประเทศ และเฝ้าระวังอัตราแลกเปลี่ยนเงินบาทเทียบกับสกุลเงินตราอื่น

 

ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย

 

 ชื่อย่อ (ธพว.หรือเอสเอ็มอีแบงก์)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ เลขที่ 310 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 
ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่ นายพงษ์ภาณุ เศวตรุนทร์

 Websit www.smebank.co.th

จำนวนสาขาโดยประมาณ 95 สาขา 

จุดเด่น : เพื่อประกอบธุรกิจอันเป็นการพัฒนา ส่งเสริม ช่วยเหลือ และสนับสนุนการจัดตั้ง การดำเนินงาน การขยาย หรือการปรับปรุงวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม โดยการให้สินเชื่อค้ำประกัน ร่วมลงทุน สนับสนุนบริการทางการเงิน ให้คำปรึกษาแนะนำหรือให้บริการที่จำเป็นแก่ผู้ประกอบการไทย มีฐานะเป็นนิติบุคคลโดยมีผู้ถือหุ้นทั้งภาครัฐและเอกชนร่วมกัน (จาก พ.ร.บ. ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2545 มาตรา 8 ให้กำหนดทุนเรือนหุ้นของธนาคารไว้หนึ่งหมื่นล้านบาท แบ่งออกเป็นหนึ่งร้อยล้านหุ้น มูลค่าหุ้นละหนึ่งร้อยบาท โดยให้ธนาคารขายหุ้นให้แก่กระทรวงการคลัง สถาบันการเงิน หรือบุคคลอื่น ทั้งนี้ ตามที่กำหนดไว้ในข้อบังคับของธนาคาร

 

ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร 

 

ชื่อย่อ (ธ.ก.ส.) (: Bank for Agriculture and Agricultural Cooperatives)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ เลขที่ 469 ถนน นครสวรรค์ เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่ นายลักษณ์ วจนานวัช

Websit  www.baac.or.th

จำนวนสาขาโดยประมาณ 886 สาขา

จุดเด่น ทำหน้าที่อำนวยสินเชื่อทางการเกษตรอย่างกว้างขวาง ทั้งโดยตรงและสู่สถาบันเกษตรกร มุ่งให้ความช่วยเหลือทางการเงิน เพื่อส่งเสริมอาชีพการเกษตรหรือการดำเนินงานของเกษตรกร กลุ่มเกษตรกร       หรือสหกรณ์การเกษตร ตลอดจนส่งเสริมให้ เกษตรกร กลุ่มเกษตรกร หรือ สหกรณ์การเกษตร สามารถประกอบอาชีพอย่างอื่นที่เกี่ยวเนื่องในการเกษตร เพื่อเพิ่มรายได้ให้แก่ครอบครัวเกษตรกร รวมทั้งให้บริการรับฝากเงิน เช่นเดียวกับธนาคารพาณิชย์ทั่วไปอีกด้วย

 

ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย

 

ชื่อย่อ  (ธสน.) (Export-Import Bank of Thailand หรือ EXIM Bank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ อาคารเอ็กซิม 1193 ถนนพหลโยธิน พญาไท กรุงเทพฯ 10400

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่ นายณรงค์ชัย อัครเศรณี

 Websit www.exim.go.th

จำนวนสาขาโดยประมาณ 16 สาขา

จุดเด่น ให้สินเชื่อได้ทุกรูปแบบ เช่น สินเชื่อระยะสั้นและสินเชื่อระยะยาว สินเชื่อในประเทศและสินเชื่อต่างประเทศ โดยสามารถทำธุรกิจได้ทั้งที่เป็นสกุลเงินบาทและสกุลเงินตราต่างประเทศ นอกจากนี้ยังสามารถกู้ยืมเงินจากสถาบันการเงินทุกประเภททั้งในประเทศและต่างประเทศและออกตราสารการเงินระยะสั้นและระยะยาวขายแก่สถาบันการเงินและประชาชนทั่วไปทั้งในประเทศและต่างประเทศ กล่าวโดยสรุป ธสน. สามารถทำธุรกิจทุกประเภทที่ธนาคารพาณิชย์ทำได้ ยกเว้นเพียงการรับฝากเงินจากประชาชนทั่วไปเท่านั้น สำหรับนักลงทุนไทยที่ไปลงทุนในต่างประเทศ สนับสนุนการลงทุนในรูปของการให้บริการทางการเงินทั้งสินเชื่อระยะสั้นและระยะยาว และเพื่อเป็นการเพิ่มความมั่นใจให้แก่นักลงทุน ยังพร้อมที่จะร่วมลงทุนถือหุ้นในกิจการอีกด้วย การรับประกันความเสี่ยงในการเรียกเก็บเงินจากการส่งออก

 

ธนาคารออมสิน 

 

 

ชื่อย่อ (Government Savings Bank) (GSB)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  ถ.พหลโยธิน บริเวณสี่แยกสะพานควาย 

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่ นายวินัย วิทวัสการเวช  

Websit www.gsb.or.th

จำนวนสาขาโดยประมาณ 400 สาขา

จุดเด่น เป็นธนาคารเพื่อลูกค้ารายย่อย จะเน้นให้สินเชื่อเพื่อพัฒนาชนบท พัฒนาผู้ประกอบการรายย่อย โดยจะมีรูปแบบของสินเชื่อและชนิดการฝากเงินรายย่อยมากมาย อีกทั้งยังสร้างเงินทุนหมุนเวียนในกลุ่มชุมชน โครงการธนาคารเพื่อประชาชนโดยให้สิ้นเชื่อระยะสั้นแก่ผู้ประกอบการรายย่อย (ให้ประชาชนมาเป็นหนี้ในระบบ ที่สามารถตรวจสอบได้ และการเก็บดอกเบี้ยตามความเป็นจริง) เป็นช่องทางการรับ-จ่ายเงินกู้จากโครงการกองทุนหมู่บ่นและชุมชนเมือง อีกทั้งยังลงทุนในการพัฒนาประเทศของหน่วยงานรัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ ให้บริการรูปแบบเงินฝากที่หลายหลายรูปแบบที่เหมาะกับแต่ละช่วงวัย และมีการให้บริการตามหลักศาสนาอิสลาม

ธนาคารอาคารสงเคราะห์

 

ชื่อย่อ  (ธอส.) (Government Housing Bank)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 63 ถ.พระรามที่ 9 ห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10320 

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่ นายชัยเกษม นิติสิริ  

Websit www.ghb.co.th

จำนวนสาขาโดยประมาณ 146 สาขา

จุดเด่น เป็นธนาคารทำหน้าที่ช่วยเหลือทางการเงินให้กับประชาชน ได้มีที่อยู่อาศัยตามสมควรแก่อัตภาพ โดยการให้กู้ยืมเงิน และ จัดสรรที่ดินเพื่อก่อสร้างที่เป็นหน่วยงานของรัฐบาลที่ประกอบธุรกิจในการส่งเสริมและช่วยเหลือประชาชนนำเงินไป ลงทุนเกี่ยวกับการสร้างอาคารและที่ดินโดยตรงทำหน้าที่เสมือนสื่อกลางในการนำเงินไปใช้ประโยชน์ ใน กิจการเคหะและเป็นสถาบันการเงินที่ดำเนินธุรกิจ อีกทั้งยัง ร่วมมือกับหน่วยงานของรัฐต่างๆ สนับสนุนให้ประชาชนมีที่อยู่เป็นของตนเอง อาทิ ให้สินเชื่อกับผู้ที่ซื้อบ้านกับการเคหะแห่งชาติ สินเชื่อกับผู้ประกันตนกับสำนักงานประกันสังคม ร่วมกับกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการให้สมาชิกกู้เงินเพื่ออสังหาริมทรัพทย์ ความช่วยเหลือด้านการมีบ้าน

ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย

 

 

ชื่อย่อ (Islamic Bank of Thailand)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ เลขที่ 66 ชั้น M, 21, 22 อาคารคิวเฮ้าส์ ถนนสุขุมวิท 21แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา
กรรุงเทพมหานคร 10110
ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่ นายธีรศักดิ์ สุวรรณยศ

Websit www.ibank.co.th

จำนวนสาขาโดยประมาณ

 กรุงเทพฯ                                                                                      

สาขาคลองตัน

สาขามีนบุรี

สาขาศรีนครินทร์ (ย้ายมาจากถนนพัฒนาการ)

สาขาทุ่งครุ

สาขาปทุมธานี

สาขาสาทร

สาขาอโศก

      สาขาศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ (ถนนแจ้งวัฒนะ)

ภาคกลาง

สาขาอยุธยา

ภาคใต้

สาขาเพชรบุรี

สาขาชุมพร

สาขากระบี่

สาขาสงขลา

สาขาหาดใหญ่

สาขาจะนะ (อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา)

สาขาปัตตานี

สาขาจะบังติกอ (อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี)

สาขายะลา

สาขานราธิวาส

สาขาถ.วิจิตรไชยบูลย์ (อำเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส)

สาขาสตูล

สาขาภูเก็ต

ภาคเหนือ

สาขาพิษณุโลก

สาขาลำปาง

สาขาเชียงใหม่

สาขาเชียงราย

ภาคตะวันออก

สาขาพัทยา

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

สาขาขอนแก่น

จุดเด่น เป็นธนาคารที่ดำเนินธุรกรรมโดยปราศจากดอกเบี้ย แต่อยู่บนหลักการ กำไร-ขาดทุนร่วมกัน และดำเนินธุรกิจตาม พ.ร.บ.ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2545 โดยมีคณะที่ปรึกษาด้านศาสนาให้คำแนะนำ ตรวจสอบ เพื่อให้ธนาคารดำเนินงานถูกต้องตามหลักศาสนาอิสลาม ปัจจุบันธนาคารมีฐานะเป็นรัฐวิสาหกิจ สังกัดกระทรวงการคลัง

 

ธนาคารกรุงไทย

 

 

ชื่อย่อ  KTB  (Krung Thai Bank Public Company Limited)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  35 ถนนสุขุมวิท เขตวัฒนา กรุงเทพฯ

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่  นายอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์

Websit www.ktb.co.th

จำนวนสาขาโดยประมาณ  800 สาขา

จุดเด่น ธนาคารกรุงไทยได้เริ่มดำเนินกิจการมา มีการเจริญเติบโตที่มั่นคง รวดเร็ว มีการปรับปรุง และขยายองค์กรงานใหม่ ซึ่งตอบสนองลูกค้าได้มากขึ้น จนกระทั่งเมื่อปี พ.ศ. 2531 ธนาคารกรุงไทย เป็นธนาคารเพียงแห่งเดียวในสมัยนั้น ที่มีสาขาและเอทีเอ็ม (ATM) ครบทุกจังหวัดทั่วประเทศ

 ธนาคารกรุงไทยเป็นรัฐวิสาหกิจ แห่งแรกในประเทศไทยที่เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2532 ปัจจุบันผู้ถือหุ้นใหญ่คือกระทรวงการคลัง โดยถือหุ้นผ่านกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน จำนวน 6.184 พันล้านหุ้น คิดเป็น 55.31% ของหุ้นทั้งหมด

 

ธนาคารทหารไทย 

 

 

ชื่อย่อ  TMB                                                                             

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  เลขที่ 3000 ถ.พหลโยธิน แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่ นางเสาวนีย์ กมลบุตร

Websit www.tmbbank.com

จำนวนสาขาโดยประมาณ  480 สาขา

จุดเด่น เป็นธนาคารของประเทศไทย ก่อตั้งโดย จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เมื่อวันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2499 มีทุนจดทะเบียนเริ่มแรก 10 ล้านบาท สำนักงานใหญ่แห่งแรกตั้งอยู่ที่ อาคาร 2 ถนนราชดำเนิน จังหวัดพระนคร(กรุงเทพมหานครในปัจจุบัน) มีพนักงานเริ่มแรก 26 คน

ในระยะแรกแม้จะเป็นธนาคารพาณิชย์มีใบอนุญาตประกอบกิจการได้ทั่วไป แต่จำกัดการทำพาณิชยกรรมอยู่ในแวดวงจำกัดดังนี้

  1. ผู้ถือหุ้น ต้องเป็นทหารเท่านั้น บุคคลทั่วไปถือหุ้นไม่ได้
  2. ลูกค้า มุ่งรับฝากจากทหารและครอบครัวทหารเป็นส่วนใหญ่
  3. วัตถุประสงค์ เพื่ออำนวยความสะดวกในการให้บริหารทางการเงินแก่หน่วยงานทหาร และเพิ่มสวัสดิการการเงินแก่ข้าราชการทหาร

ธนาคารกรุงเทพ 

 

ชื่อย่อ  BBL                                                                              

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  เลขที่ 333 ถนนสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่  นายชาติศิริ โสภนพนิช

 Websit www.bangkokbank.com

จำนวนสาขาโดยประมาณ  950 สาขา

จุดเด่น จดทะเบียนก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2487 โดยข้าราชการ นักธุรกิจ และกลุ่มบุคคลที่มีแนวคิดเดียวกัน มีสโลแกนที่ว่า "เพื่อนคู่คิด มิตรคู่บ้าน"รายงานผลการสำรวจธนาคารยอดเยี่ยมในประเทศกำลังพัฒนาประจำปี 2546 ซึ่งตีพิมพ์ใน นิตยสารโกลบอล ไฟแนนซ์ ฉบับประจำเดือนพฤษภาคม 2546 ได้กล่าวถึง ธนาคารกรุงเทพ ว่าเป็นธนาคารที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย

  • จุดเด่นของบริการ ท่านสามารถกำหนดเงื่อนไขและขอบเขตของบริการที่มีความหลากหลาย ให้สอดคล้องกับความต้องการทางธุรกิจของท่าน 
  • ระบบงานสามารถจัดลำดับขั้นบัญชีได้สูงสุดถึงสามระดับขั้น คือบัญชีหลัก บัญชีรองและ บัญชีพื้นฐาน พร้อมทั้งสามารถจัดลำดับความสำคัญของบัญชีตามลำดับก่อนหลังได้ตามที่บริษัทกำหนด 
  • ระบบงานไม่มีข้อจำกัดด้านจำนวนบัญชีที่ให้บริการ 
  • ระบบงานสามารถคำนวณ และกระจายดอกเบี้ยตามภาระผูกพันที่เกินจากการจัดการเงินโดยอัตโนมัติในบัญชีต่างๆ ตามที่เกิดขึ้นจริงทุกวัน

 

ธนาคารกรุงศรีอยุธยา 

 

 

ชื่อย่อ  KRUNGSRI Bank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 1222 ถนนพระรามที่ 3 แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา จังหวัดกรุงเทพฯ 10120 

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่  นายมาร์ค จอห์น อาร์โนลด์

Websit www.krungsri.com

จำนวนสาขาโดยประมาณ  ในประเทศ 577 สาขา ต่างประเทศ 4 สาขา

จุดเด่น สามารถรองรับการชำระเงินด้วยบัตรเครดิต และการหักบัญชีเงินฝากที่มีอยู่กับธนาคาร

ไม่ต้องติดตั้งโปรแกรมใดๆ ที่ฝั่งของร้านค้าสามารถสมัครใช้บริการเพย์เม้นท์เกทเวย์ที่สาขาของธนาคารได้

เจ้าของร้านค้าสามารถตรวจสอบการเคลื่อนไหวรายการทางการเงินผ่านบริการ Krungsri Online สามารถโอนเงินที่ได้รับจากการขายสินค้า หรือบริการให้แก่ร้านค้าออนไลน์ได้ทั้งแบบอัตโนมัติ(Electronic Settlement) และแบบเลือกรายการได้ด้วยตนเอง (Manual Settlement) ได้

ธนาคารกสิกรไทย 

 

 

ชื่อย่อ  KBank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  ซอยกสิกรไทย ถนนราษฎร์บูรณะ เชิงสะพานพระราม 9 ฝั่งธนบุรี 

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่  นายบัณฑูร ล่ำซำ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

                                นายประสาร ไตรรัตน์วรกุล กรรมการผู้จัดการ

Websit www.kasikornbank.com

จำนวนสาขาโดยประมาณ  595 สาขา

จุดเด่น ธนาคารกสิกรไทยมุ่งมั่นเป็นสถาบันการเงินที่มั่นคงที่สุด ที่ริเริ่มในสิ่งใหม่ และกระทำทุกวิถีทางเพื่อเป็นสถาบันการเงินไทยที่ให้บริการอย่างดีที่สุดแก่ลูกค้า ผลงานเด่นเข้าตานิตยสารชื่อดัง ฟอร์บส์ เอเชีย ยกให้เป็นบริษัทไทยแห่งเดียวติด 1 ใน 50 บริษัทจดทะเบียนขนาดใหญ่ที่มีผลงานโดดเด่นที่สุดในเอเชีย (Asian Fab 50) ประจำปีนี้ ผลจาก ยอดสินเชื่อ รายได้ค่าธรรมเนียม และการดำเนินธุรกิจเติบโตสวนทางกระแสเศรษฐกิจที่ผันผวน

 

ธนาคารเกียรตินาคิน 

 

ชื่อย่อ  KKBank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  เลขที่ 500 อาคารอัมรินทร์ ทาวเวอร์ ชั้น 11 ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่  นางสาวนวพร เรืองสกุล

Websit www.kiatnakin.co.th

จำนวนสาขาโดยประมาณ  มีสาขา 52 แห่งทั่วประเทศ

จุดเด่น เป็นธนาคารพาณิชย์เต็มรูปแบบ (Commercial Bank) ซึ่งเปิดดำเนินการอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม 2548 เพื่อให้บริการทางการเงินที่หลากหลาย อาทิ บริการด้านเงินฝากประจำ ออมทรัพย์ กระแสรายวัน ประกันชีวิต สินเชื่อรถยนต์ สินเชื่อพัฒนาโครงการ สินเชื่อธุรกิจอพาร์ทเม้นท์ สินเชื่อธุรกิจฟลอร์แพลน สินเชื่อเพื่อธุรกิจขนส่ง สินเชื่อธุรกิจสิ่งพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ ธนาคารเกียรตินาคิน ได้รับการจัดอันดับความน่าเชื่อถือ ระดับ A- จากบริษัท ทริส เรทติ้ง จำกัด แนวโน้มอันดับเครดิต Stable หรือคงที่ ซึ่งสะท้อนถึงความน่าเชื่อถือของธนาคาร ในสายตาของลูกค้าและนักลงทุนรวมถึงความมั่นคงทางการเงินที่สูง

ธนาคารซิติแบงก์ 

 

ชื่อย่อ  CitiBank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่   เลขที่ 399 ถนนสุขุมวิท อาคารอินเตอร์เชนจ์ 21 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่  นายปีเตอร์ เอเลียต

Websit www.citibank.co.th

จำนวนสาขาโดยประมาณ  47 สาขา

จุดเด่น : ธนาคารซิตี้แบงก์ และบริษัทในเครือซิตี้กรุ๊ปให้บริการแก่ลูกค้ารายย่อย และลูกค้าสถาบันมากกว่าสถาบันการเงินอื่นใด ธนาคารซิตี้แบงก์เริ่มเปิดดำเนินกิจการ ในมหานครนิวยอร์คในปี พ.ศ. 2355 ปัจจุบันธนาคารมีเครือข่ายครอบคลุมทั่วโลก มากกว่า 3,000 สาขาใน 100 ประเทศ กิจการบุคคลธนกิจของธนาคารให้บริการบัตรเครดิตกว่า 60 ล้านใบทั่วโลก จาก เครือข่ายที่กว้างไกลของธนาคารทำให้สามารถให้บริการด้านเงินทุน และธุรกรรมการเงินเพื่อตอบสนองลูกค้าสถาบันทั้งในและต่างประเทศ รวมทั้งประเทศในตลาดเกิดใหม่ ซิตี้กรุ๊ปมีเจ้าหน้าที่มากกว่า 255,000 คนทั่วโลก ซึ่งได้รับความไว้วางใจจากลูกค้า และนักลงทุน   เจ้าหน้าที่ของเราเป็นผู้มีความสามารถ มีประสบการณ์ มีประสิทธิภาพสูงซึ่งทำให้เรามีความโดดเด่นมากกว่าสถาบันการเงินอื่นใด ทำให้ซิตี้กรุ๊ปสามารถให้บริการการเงินตอบสนองลูกค้าได้ดียิ่งขึ้น

ธนาคารซีไอเอ็มบี ไทย

 

 

 

ชื่อย่อ  CIMB

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  อาคารหลังสวน (สำนักงานใหญ่)เลขที่ 44 ถนนหลังสวน แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่  นายสุภัค ศิวะรักษ์                                           

Websit   www.bankthai.co.th

จำนวนสาขาโดยประมาณ  147 สาขา

จุดเด่น กลุ่มซีไอเอ็มบี ดำเนินธุรกิจในฐานะของธนาคารผู้ให้บริการทางการเงินอย่างครบวงจร (Universal Bank) โดยเป็นผู้ให้บริการทางการเงินที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศมาเลเซีย และอันดับ 5 ของภูมิภาคตะวันออกเฉียงใต้ เมื่อจัดอันดับตามขนาดสินทรัพย์ และมีเงินทุนหมุนเวียนในตลาดประมาณ 6 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ปัจจุบัน กลุ่มซีไอเอ็มบีมีฐานการตลาดหลักด้านการเงินธนาคารแบบครบวงจรในประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซีย สิงคโปร์ และไทย นอกจากนี้ ยังมีเครือข่ายทั่วภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตลอดจนศูนย์ให้บริการทางการเงินทั่วโลก รวมถึงในประเทศต่างๆ ที่ลูกค้ามีธุรกิจและการลงทุนอยู่

ทั้งนี้ กลุ่มซีไอเอ็มบี ดำเนินธุรกิจผ่าน 3 หน่วยงานหลักที่มีแบรนด์ดังนี้ CIMB Bank, CIMB Investment Bank และ CIMB Islamic โดย CIMB Bank เป็นส่วนสำคัญในการดำเนินธุรกิจด้านธนาคารพาณิชย์ของกลุ่ม ขณะที่ CIMB Islamic ดำเนินธุรกิจด้านการเงินและการธนาคารอิสลามในระดับโลก ซึ่งทั้ง CIMB Bank และ CIMB Islamic ให้บริการธุรกิจรายย่อย (Retail Banking) บนระบบธนาคาร 2 ระบบควบคู่กัน โดยมีลูกค้ารายย่อยมากกว่า 4.7 ล้านคนใน 367 สาขาทั่วประเทศมาเลเซีย กลุ่มซีไอเอ็มบี ถือหุ้นโดย Bumiputra – Commerce Holdings Bhd ซึ่งเป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศมาเลเซีย ด้วยมูลค่าตลาด (Market Capitalization) เกือบ 49.7 พันล้านริงกิต หรือเกือบ 5 แสนล้านบาท และมีพนักงานรวมกว่า 36,000 คน ประจำอยู่ใน 11 ประเทศ

 

ธนาคารไทยพาณิชย์ 

 

ชื่อย่อ  SCB

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  9 ถนนรัชดาภิเษก เขตจตุจักร กรุงเทพ 10900

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่  นายอานันท์ ปันยารชุน นายกกรรมการ

                                     ดร. วิชิต สุรพงษ์ชัย ประธานกรรมการบริหาร

                                     นางกรรณิกา ชลิตอาภรณ์ กรรมการผู้จัดการใหญ่

website  www.scb.co.th

จำนวนสาขาโดยประมาณ  : 873 สาขา

จุดเด่น สามารถใช้บัตรเครดิตภายในประเทศของธนาคารในการชำระเงิน สามารถใช้บัตรเครดิต ของกลุ่ม JCB ในการชำระเงิน เจ้าของร้านค้าสามารถตรวจสอบการเคลื่อนไหวรายการทางการเงินผ่านบริการ SCB Easy Banking ได้ตลอดเวลา สามารถโอนเงินที่ได้รับจากการขายสินค้าหรือบริการ ให้แก่ร้านค้าออนไลน์ได้ทั้งแบบอัตโนมัติ(Electronic Settlement) และแบบเลือกรายการได้ด้วยตนเอง (Manual Settlement) ได้

 

ธนาคารธนชาต

 

 

 ชื่อย่อ   TBANK

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  เลขที่ 900 อาคารต้นสนทาวเวอร์ ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กทม. 10330

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่  นายบันเทิง ตันติวิท ประธานกรรมการ

Websit www.thanachartbank.co.th

จำนว

นางสาวนริมล สายวงษ์คำ โปรแกรมเศรษศาสตร์ธุรกิจ

รหัสนักศึกษา 50473010005

ธนาคารกรุงไทย

ชื่อย่อ KTB

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ อาคารเลขที่ 35 ถนนสุขุมวิท

เว็บไซด์ www.ktb.co.th

จำนวนสาขาโดยประมาณ 800 สาขา

รองกรรมการผู้จัดการอาวุโส ผู้บริหารสายงาน ดร.พงศธร สิริโยธิน

จุดเด่น ธนาคารมีความสะดวกสบาย สำหรับลูกค้ารายย่อยและภาครัฐ

วรนาถ สาธิตนิมิต 50473010047 เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

นาย วรนาถ สาธิตนิมิต รหัสประจำตัว 50473010047

คณะวิทยาการจัดการ เอก เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

ธนาคารกลางแห่งชาติ

ธนาคารแห่งประเทศไทย (Bank of Thailand) ธปท.

ที่ตั้ง วัดสามพระยา
พระนคร กรุงเทพมหานคร 10200

นางธาริษา วัฒนเกส

www.bot.or.th/

ธนาคารของรัฐบาล

ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย (Small and Medium Enterprise Development Bank of Thailand) ธพว. หรือ SME Bank

ที่ตั้ง เลขที่ 310 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายพงษ์ภาณุ เศวตรุนทร์

www.smebank.co.th/

ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (Bank for Agriculture and Agricultural Cooperatives) ธ.ก.ส.

เลขที่ 469 ถนน นครสวรรค์ เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300

ผู้จัดการ นายลักษณ์ วจนานวัช

www.baac.or.th/

ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย (Export-Import Bank of Thailand) ธสน. หรือ EXIM Bank

อาคารเอ็กซิม 1193 ถนนพหลโยธิน พญาไท กรุงเทพฯ10400

ประธานกรรมการ : นายณรงค์ชัย อัครเศรณี

www.exim.go.th/

ธนาคารออมสิน (Government Saving Bank) GSB

ธนาคารออมสิน สำนักงานใหญ่
470 ถนนพหลโยธิน สามเสนใน เขตพญาไท
กรุงเทพ 10400

ผู้อำนวยการธนาคารออมสิน : นายเลอศักดิ์ จุลเทศ

http://www.gsb.or.th

ธนาคารอาคารสงเคราะห์ (Government Housing Bank) ธอส. หรือ GH Bank

63 ถนนพระราม9 เขตห้วยขวาง กทม. 10310

กรรมการผู้จัดการ : นายขรรค์ ประจวบเหมาะ
http://www.ghbank.co.th/th/index.html

ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย (Islamic Bank of Thailand) IBANK

เลขที่ 66 ชั้น M, 21, 22 อาคารคิวเฮ้าส์ ถนนสุขุมวิท 21
แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา
กรุงเทพมหานคร 10110

http://www.ibank.co.th/th/index.php

ธนาคารพาณิชย์ของรัฐบาล

ธนาคารกรุงไทย (Krung Thai Bank) - รัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงการคลัง  KTB

35 ถนน สุขุมวิท แขวง คอลงเตยเหนือ เขต วัฒนา กทม. 10110

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์

www.ktb.co.th/

693 สาขา

 

ธนาคารทหารไทย (TMB Bank) - กลุ่มกองทัพไทย เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ TMB

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 3000 ถ.พหลโยธิน จอมพล จตุจักร กรุงเทพฯ 10900

ประธานกรรมการ : นางเสาวนีย์ กมลบุตร

http://www.tmbbank.com

450 สาขา

ธนาคารพาณิชย์

ธนาคารกรุงเทพ (Bangkok Bank) BBL

333 ถนน สีลม กทม. 10500

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายชาติศิริ โสภณพนิช

http://www.bangkokbank.com

917 สาขา

ธนาคารกรุงศรีอยุธยา (Bank of Ayudhaya) BAY

1222 ถนนพระรามที่ 3 แขวงบางโพงพาง
เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120

ประธานกรรมการ : นายวีระพันธุ์ ทีปสุวรรณ

http://www.krungsri.com

575 สาขา

ธนาคารกสิกรไทย (KasikornBank) KBANK

   1 ซอยราษฎร์บูรณะ 27/1 ถนนราษฎร์บูรณะ แขวงราษฎร์บูรณะ เขตราษฎร์บูรณะ กรุงเทพฯ 10140 

ประธานกรรมการ : นายบรรยงค์ ล่ำซำ

http://www.kasikornbank.com/

809 สาขา

ธนาคารเกียรตินาคิน (Kiatnakin Bank) KKB

500 อาคารอัมรินทร์ทาวเวอร์ ถนน เพลินจิต ลุมพินี ปทุมวัน กทม. 10330

ประธานกรรมการบริหาร : นายสุพล วัธนเวคิน

http://www.kiatnakin.co.th

50 สาขา

ธนาคารซิติแบงก์ (Citibank) Citibank

ธนาคารซิตี้แบงก์ เอ็น.เอ. สาขากรุงเทพฯ
เลขที่ 399 ถนนสุขุมวิท อาคารอินเตอร์เชนจ์ 21
แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110

ผู้จัดการใหญ่  นายปีเตอร์   เอเลียต

http://www.citibank.co.th

ธนาคารทิสโก้ (Thai Investment and Securities Company Bank) TISCO

อาคารทิสโก้ทาวเวอร์ 48/2 ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก
กรุงเทพมหานคร 10500

ประธานบริหาร  นางอรนุช  อภิศักดิ์ศิริกุล

www.tisco.co.th

40 สาขา

ธนาคารซีไอเอ็มบี ไทย (CIMB Thai Bank) CIMB

เลขที่ 44 ถนนหลังสวน แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

นายสุภัค ศิวะรักษ์: กรรมการผู้จัดการใหญ่ และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

www.cimbthai.com/

147 สาขา

ธนาคารไทยพาณิชย์ (Siam Commercial Bank) – สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ SCB

9 ถนน รัชดาภิเษก เขต จตุจักร กทม. 10900

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นางกรรณิกา ชลิตอาภรณ์

www.scb.co.th/

999 สาขา

ธนาคารธนชาต (Thanachart Bank) TNC

เลขที่ 900 อาคารต้นสนทาวเวอร์ ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กทม. 10330

ประธานกรรมการ : นายบันเทิง ตันติวิท

www.thanachartbank.co.th/

155 สาขา

ธนาคารนครหลวงไทย (Siam City Bank) SCIB

1101 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400

นายชัยวัฒน์ อุทัยวรรณ์
ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่

www.scib.co.th/

334 สาขา

ธนาคารยูโอบี (United Overseas Bank, Thailand) UOB

เลขที่  191 ถนนสาทรใต้ แขวงยานนาวา  เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120

ประธานกรรมการ คุณวี โชว เยา

www.uob.co.th/

144 สาขา

ธนาคารสแตนดาร์ดชาร์เตอร์ดไทย (Standard Chartered Bank Thai) SCBT

เลขที่ 90 อาคารสาทรธานี ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพ 10500

ผู้จัดการใหญ่ : นาย ยุทธเดช   ปัทมานนท์

www.standardchartered.co.th/

28 สาขา

ธนาคารเมกะสากลพาณิชย์ (Mega International Commercial Bank)

เลขที่  36/12 อาคารพี.เอส.ทาวเวอร์ ถ.สุขุมวิท 21 (อโศก) แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  Rong-Jou Wang

https://overseas.megabank.com.tw/

4 สาขา

ธนาคารสินเอเชีย (Asia Credit Limited Bank) ACL

เลขที่ 622   ชั้น 11-13 อาคารเอ็มโพเรี่ยม ทาวเวอร์  ถนนสุขุมวิท กรุงเทพมหานคร    

นายฮุยเหมิน หยี่  ประธานกรรมการ  

www.aclbank.com/th

19 สาขา

 

ธนาคารพาณิชย์เพื่อรายย่อย

ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย (Land and Houses Retail Bank) LH

 1 อาคารคิวเฮ้าส์ ลุมพินี ถ.สาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120

กรรมการผู้จัดการ  นางศศิธร พงศธร

www.lhbank.co.th/

24 สาขา

ธนาคารไทยเครดิต เพื่อรายย่อย (Thai Credit Retail Bank) TCRB

เลขที่  123 ชั้น 1 อาคาร ไทยประกันชีวิต ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กทม. 10400

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นาย วานิช ไชยวรรณ

www.tcrbank.com/

7 สาขา

ธนาคารต่างประเทศ

ธ. เครดิต อะกริกอล คอร์ปอเรทแอนด์อินเวสเมนท์แบงก์

http://www.ca-cib.com/global-presence/thailand.htm

152 อาคารอินโดสุเอซ เฮ้าส์ ถ.วิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

 

ธ. เจพีมอร์แกน เชส

http://www.th.jpmorgan.com

20 อาคารบุปผจิต ถ.สาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

 

ธ. ซิตี้แบงก์

http://www.citibank.co.th

82 อาคารแสงทองธานี ถ.สาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

 

ธ. ซูมิโตโม มิตซุย แบงกิ้ง คอร์ปอเรชั่น

http://www.smbc.co.jp/global/bangkok

1 อาคารคิวเฮ้าส์ลุมพินี ชั้น 8-10 ถ.สาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120

 

ธ. ดอยซ์แบงก์

 http://www.db.com/thailand

63 อาคารแอทธินี ทาวเวอร์ ชั้น 27-29 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน 10330

 

ธ. เดอะรอยัลแบงก์อ๊อฟสกอตแลนด์ เอ็น.วี.

http://www.rbs.com/customers/our-services/our-locations/thailand.ashx

179/3 อาคารบางกอกซิตี้ทาวเวอร์ ชั้น 3-4 ถ.สาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120

 

ธ. บีเอ็นพี พารีบาส์

http://www.bnpparibas.co.th

990 อาคารอับดุลราฮิม เพลส ชั้น 29 ถ.พระราม 4 แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

 

ธ. มิซูโฮ คอร์ปอเรต จำกัด

http://www.mizuhocbk.co.th/mizuhocbk

48 ตึกทิสโก้ทาวเวอร์ ชั้นที่ 18 ถ.สาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

 

ธ. แห่งโตเกียว-มิตซูบิชิ ยูเอฟเจ จำกัด

http://www.th.bk.mufg.jp/

54 อาคารหะรินธร ถ.สาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

 

ธ. แห่งประเทศจีน จำกัด

http://www.boc.cn/mangu/index.htm

179/4 อาคารบางกอกซิตี้ทาวเวอร์ ถ.สาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120

ธ. แห่งอเมริกาเนชั่นแนลแอสโซซิเอชั่น

 http://www.bankofamerica.com/th

87/2 อาคาร ซี อาร์ ซี ออลซีซั่นส์เพลส ชั้น 33 ถ.วิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

 

ธ. อาร์ เอช บี จำกัด

http://www.rhbbank.com.my/cbob/thailand

87/2 อาคารออลซีซั่น เพลส ชั้น G และ ชั้น 18 ถ.วิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

 

ธ. อินเดียนโอเวอร์ซีส์

http://www.iob.co.th

221 ถ.ราชวงศ์ แขวงจักรวรรดิ เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร 10100

 

ธ. โอเวอร์ซี-ไชนีสแบงกิ้งคอร์ปอเรชั่น จำกัด

http://www.ocbc.com/global/countries/Gco_International.shtm?bcid=M3_C3_S1

1 อาคาร Q-House Lumpini ชั้น 25 ยูนิต 2501-2 ถ.สาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120

 

ธ. ฮ่องกงและเซี่ยงไฮ้แบงกิ้งคอร์ปอเรชั่น จำกัด

http://www.hsbc.co.th

968 อาคารอื้อจือเหลียง ถ.พระราม 4 แขวงสาทร เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

ธนาคารแห่งประเทศไทย ( The Bank of Thailand)

ชื่อย่อ :ธปท.(แบงค์ชาติ)

ชื่อผู้ว่า ธปท.คนปัจจุบันคือ :นางธาริษา วัฒนเกส

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 273 ถนนสามเสน บางขุนพรหม เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200

จุดเด่น : ได้ออกแนวปฏิบัติของธนาคารแห่งประเทศไทย เรื่อง การจัดทำแผนรองรับการดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง (Business Continuity Plan: BCP) สำหรับกรณีการระบาดของโรคติดต่อร้ายแรง โดยบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 4 สิงหาคม 2551 ภายใต้การสนับสนุนจากสมาคมธนาคารไทย สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย และ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และธนาคารต่างๆ ได้เตรียมความพร้อมเช่นกัน เช่น ธนาคารไทยธนาคาร จำกัด (มหาชน), ธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน) เป็นต้น

ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย

ชื่อย่อ : ธพว. หรือ SME Bank

ที่ตั้งธนาคาร : ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย (SME BANK)

SME BANK Tower

เลขที่ 310 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400

โทร. 0-2265-3000 โทรสาร 0-2265-4000

Website: http://www.smebank.co.th

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายพงษ์ภาณุ เศวตรุนทร์

จำนวนสาขา : 95 สาขา

จุดเด่น : เพื่อประกอบธุรกิจอันเป็นการพัฒนา ส่งเสริม ช่วยเหลือ และสนับสนุนการจัดตั้ง การดำเนินงาน การขยาย หรือการปรับปรุงวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม โดยการให้สินเชื่อค้ำประกัน ร่วมลงทุน สนับสนุนบริการทางการเงิน ให้คำปรึกษาแนะนำหรือให้บริการที่จำเป็นแก่ผู้ประกอบการไทยที่ มีฐานะเป็นนิติบุคคลโดยมีผู้ถือหุ้นทั้งภาครัฐและเอกชนร่วมกัน

ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร

ชื่อย่อ :ธ.ก.ส. หรือ (BAAC)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : เลขที่ 469 ถนน นครสวรรค์ เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300 โทร (662) 280-0180, 281-7355 โทรสาร (662) 280-0442, 281-6164, 280-5320

ธ.ก.ส. Call Center 0-2555-0555

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายกรณ์ จาติกวณิช

จำนวนสาขา : 886 สาขา

จุดเด่น : ทำหน้าที่อำนวยสินเชื่อทางการเกษตร ทั้งโดยตรงและสู่สถาบันเกษตรกร มุ่งให้ความช่วยเหลือทางการเงิน เพื่อส่งเสริมอาชีพการเกษตรหรือการดำเนินงานของเกษตรกร กลุ่มเกษตรกร เพื่อให้สามารถประกอบอาชีพอย่างอื่นที่เกี่ยวเนื่องในการเกษตร เพื่อเพิ่มรายได้ให้แก่ครอบครัวเกษตรกร รวมทั้งให้บริการรับฝากเงิน เช่นเดียวกับธนาคารพาณิชย์ทั่วไปอีกด้วย

ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย

ชื่อย่อ : ธสน. หรือ EXIM Bank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : อาคารเอ็กซิม 1193 ถนนพหลโยธิน พญาไท กรุงเทพฯ 10400

อีเมล:[email protected]

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายณรงค์ชัย อัครเศรณี

Website : www.exim.go.th

จำนวนสาขา : 16 สาขา

จุดเด่น : ให้สินเชื่อได้ทุกรูปแบบ เช่น สินเชื่อระยะสั้นและสินเชื่อระยะยาว สินเชื่อในประเทศและสินเชื่อต่างประเทศ กล่าวโดยสรุป ธสน. สามารถทำธุรกิจทุกประเภทที่ธนาคารพาณิชย์ทำได้ ยกเว้นเพียงการรับฝากเงินจากประชาชนทั่วไปเท่านั้น

ธนาคารออมสิน

ชื่อย่อ : GSB

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : ถ.พหลโยธิน บริเวณสี่แยกสะพานควาย

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายวินัย วิทวัสการเวช

Website : www.gsb.or.th

จำนวนสาขา : 400 สาขา

จุดเด่น : เป็นธนาคารเพื่อลูกค้ารายย่อย จะเน้นให้สินเชื่อเพื่อพัฒนาชนบท อีกทั้งยังสร้างเงินทุนหมุนเวียนในกลุ่มชุมชน โครงการธนาคารเพื่อประชาชนโดยให้สิ้นเชื่อระยะสั้นแก่ผู้ประกอบการรายย่อย เป็นช่องทางการรับ-จ่ายเงินกู้จากโครงการกองทุนหมู่บ่นและชุมชนเมือง อีกทั้งยังลงทุนในการพัฒนาประเทศของหน่วยงานรัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ ให้บริการรูปแบบเงินฝากที่หลายหลายรูปแบบที่เหมาะกับแต่ละช่วงวัย และมีการให้บริการตามหลักศาสนาอิสลาม

ธนาคารอาคารสงเคราะห์

ชื่อย่อ : ธอส. หรือ GH Bank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : อยู่ที่นั63 ถ.พระรามที่ 9 ห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10320นให

โทรศัพท์ 0-2645-9000

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายชัยเกษม นิติสิริ ประธานกรรมการ

Website : www.ghbank.co.th

จำนวนสาขา : 146 สาขา

จุดเด่น : เป็นธนาคารทำหน้าที่ช่วยเหลือทางการเงินให้กับประชาชน โดยการให้กู้ยืมเงิน และ จัดสรรที่ดินเพื่อก่อสร้างที่เป็นหน่วยงานของรัฐบาลที่ประกอบธุรกิจในการส่งเสริมและช่วยเหลือประชาชนนำเงินไป ลงทุนเกี่ยวกับการสร้างอาคารและที่ดินโดยตรงทำหน้าที่เสมือนสื่อกลางในการนำเงินไปใช้ประโยชน์ ใน กิจการเคหะ

ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย

ชื่อย่อ :

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย (สำนักงานใหญ่)

เลขที่ 66 ชั้น M, 21, 22 อาคารคิวเฮ้าส์ ถนนสุขุมวิท 21

แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา

กรุงเทพมหานคร 10110

โทรศัพท์ : 0-2650-6999

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายธีรศักดิ์ สุวรรณยศ

Website : www.ibank.co.th

จำนวนสาขา : 28 สาขา

จุดเด่น : เป็นธนาคารที่ดำเนินธุรกรรมโดยปราศจากดอกเบี้ย แต่อยู่บนหลักการ กำไร-ขาดทุนร่วมกัน โดยมีคณะที่ปรึกษาด้านศาสนาให้คำแนะนำ ตรวจสอบ เพื่อให้ธนาคารดำเนินงานถูกต้องตามหลักศาสนาอิสลาม

ธนาคารกรุงไทย

ชื่อย่อ : KTB

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 35 ถนนสุขุมวิท เขตวัฒนา กรุงเทพฯ

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์

Website : www.ktb.co.th

จำนวนสาขา : 800 สาขา

จุดเด่น : ธนาคารแสนสะดวก สำหรับลูกค้ารายย่อย ภาคธุรกิจ ภาครัฐ และสถาบันการเงิน

ธนาคารทหารไทย

ชื่อย่อ : TMB

ธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 3000 ถ.พหลโยธิน จอมพล จตุจักร กรุงเทพฯ 10900

โทรศัพท์ : 0-2299-1111

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นางเสาวนีย์ กมลบุตร

Website : www.tmbbank.com

จำนวนสาขา : 480 สาขา

จุดเด่น : เป็นธนาคารของประเทศไทย ก่อตั้งโดย จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เมื่อวันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2499 ในระยะแรกแม้จะเป็นธนาคารพาณิชย์มีใบอนุญาตประกอบกิจการได้ทั่วไป แต่จำกัดการทำพาณิชยกรรมอยู่ในแวดวงจำกัดดังนี้

1. ผู้ถือหุ้น ต้องเป็นทหารเท่านั้น บุคคลทั่วไปถือหุ้นไม่ได้

2. ลูกค้า มุ่งรับฝากจากทหารและครอบครัวทหารเป็นส่วนใหญ่

3. วัตถุประสงค์ เพื่ออำนวยความสะดวกในการให้บริหารทางการเงินแก่หน่วยงานทหาร และเพิ่มสวัสดิการการเงินแก่ข้าราชการทหาร

ธนาคารกรุงเทพ

ชื่อย่อ : BBL

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : เลขที่ 333 ถนนสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร

กรรมการผู้จัดการใหญ่: นายชาติศิริ โสภณพณิช

Website : www.bangkokbank.com

จำนวนสาขา : 950 สาขา

จุดเด่น : นักธุรกิจ และกลุ่มบุคคลที่มีแนวคิดเดียวกัน มีสโลแกนที่ว่า "เพื่อนคู่คิด มิตรคู่บ้าน"ร่วมกันจดทะเบียนก่อตั้งขึ้น

รายงานผลการสำรวจธนาคารยอดเยี่ยมในประเทศกำลังพัฒนาประจำปี 2546 ซึ่งตีพิมพ์ใน นิตยสารโกลบอล ไฟแนนซ์ ฉบับประจำเดือนพฤษภาคม 2546 ได้กล่าวถึง ธนาคารกรุงเทพ ว่าเป็นธนาคารที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย

ธนาคารกรุงศรีอยุธยา

ชื่อย่อ : KRUNGSRI Bank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : สาขาสำนักพระรามที่ 3 (สำนักงานใหญ่) (รหัสสาขา 777)

1222 ถนนพระราม3 แขวงบางโพงพาง

เขตยานนาวา จังหวัดกรุงเทพฯ 10120

โทรศัพท์: 0 2296 2000

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายมาร์ค จอห์น อาร์โนลด์

Website : www.krungsri.com

จำนวนสาขา : ในประเทศ 577 สาขา ต่างประเทศ 4 สาขา

จุดเด่น : เป็นธนาคารของประเทศไทย ก่อตั้งเมื่อวันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2488 มีสำนักงานใหญ่แห่งแรกที่ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซึ่งเป็นอาณาจักรเก่าในประเทศไทย เปิดดำเนินการเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2488 มีทุนจดทะเบียนเริ่มแรก 1 ล้านบาท ต่อจากนั้นได้ก่อตั้งสำนักงานในกรุงเทพมหานคร ณ ถนนราชวงศ์ และย้ายสำนักงานใหญ่มาตั้งอยู่ที่ ถนนอนุวงศ์ และ ถนนลำพูนไชย ในปี พ.ศ. 2491 และ พ.ศ. 2493 ตามลำดับ

วันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2513 ธนาคารได้รับตรา ครุฑ มาประดิษฐาน ณ ธนาคาร ในปีเดียวกันได้ย้ายสำนักงานใหญ่มาอยู่ ถนนเพลินจิต ในวันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2520 ธนาคารได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ในวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2536 ธนาคารได้แปรสภาพเป็น บริษัทมหาชน

ในเดือน ธันวาคม พ.ศ. 2539 ธนาคารได้ย้ายสำนักงานใหญ่มาอยู่ที่ ถนนพระราม 3 เปิดดำเนินการอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2540และใช้สำนักงานที่ถนนพระราม 3 มาตั้งแต่นั้นจนถึงปัจจุบัน

ธนาคารกสิกรไทย

ชื่อย่อ : KBank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 27/1 ถนนราษฎร์บูรณะ แขวงราษฎร์บูรณะ เขตราษฎร์บูรณะ กรุงเทพฯ 10140

โทรศัพท์: 00 2222 0000 กด 1

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายบรรยงค์ ล่ำซำ - ประธานกรรมการ - กรรมการที่ปรึกษาแก่คณะจัดการ

Website : www.kasikornbank.com

จำนวนสาขา : 595 สาขา

จุดเด่น : ธนาคารกสิกรไทยมุ่งมั่นเป็นสถาบันการเงินที่มั่นคงที่สุด ที่ริเริ่มในสิ่งใหม่ และกระทำทุกวิถีทางเพื่อเป็นสถาบันการเงินไทยที่ให้บริการอย่างดีที่สุดแก่ลูกค้า

ธนาคารเกียรตินาคิน

ชื่อย่อ : KKBank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : ที่ตั้งสำนักงานใหญ่

500 อาคารอัมรินทร์ ทาวเวอร์ ชั้น 11 ถนนเพลินจิต

แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

โทรศัพท์ 0-2680-3333

โทรสาร 0-2256-9933

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นางสาวนวพร เรืองสกุล

Website : www.kiatnakin.co.th

จำนวนสาขา : 52 สาขา

จุดเด่น : เป็นธนาคารพาณิชย์เต็มรูปแบบ (Commercial Bank) อาทิ บริการด้านเงินฝากประจำ ออมทรัพย์ กระแสรายวัน ประกันชีวิต สินเชื่อรถยนต์ สินเชื่อพัฒนาโครงการ สินเชื่อธุรกิจอพาร์ทเม้นท์ สินเชื่อธุรกิจฟลอร์แพลน สินเชื่อเพื่อธุรกิจขนส่ง สินเชื่อธุรกิจสิ่งพิมพ์และบรรจุภัณฑ์

ธนาคารเกียรตินาคิน ได้รับการจัดอันดับความน่าเชื่อถือ ระดับ A- จากบริษัท ทริส เรทติ้ง จำกัด แนวโน้มอันดับเครดิต Stable หรือคงที่ ซึ่งสะท้อนถึงความน่าเชื่อถือของธนาคาร ในสายตาของลูกค้าและนักลงทุนรวมถึงความมั่นคงทางการเงินที่สูง

ธนาคารซิติแบงก์

ชื่อย่อ : CitiBank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : ธนาคารซิตี้แบงก์ เอ็น.เอ. สาขากรุงเทพฯ

เลขที่ 399 ถนนสุขุมวิท อาคารอินเตอร์เชนจ์ 21

แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายปีเตอร์ เอเลียต

Website : www.citibank.co.th

จำนวนสาขา : 47 สาขา

จุดเด่น : ธนาคารซิตี้แบงก์ และบริษัทในเครือซิตี้กรุ๊ปให้บริการแก่ลูกค้ารายย่อย และลูกค้าสถาบันมากกว่าสถาบันการเงินอื่นใด ปัจจุบันธนาคารมีเครือข่ายครอบคลุมทั่วโลก มากกว่า 3,000 สาขาใน 100 ประเทศ

ธนาคารทิสโก้

ชื่อย่อ : Tisco Bank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : ธนาคารทิสโก้ จำกัด (มหาชน)

อาคารทิสโก้ทาวเวอร์ 48/2 ถนนสาทรเหนือ

แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายสุทัศน์ เรืองมานะมงคล กรรมการผู้จัดการใหญ่

Website : www.tisco.co.th

จำนวนสาขา : 46 สาขา

จุดเด่น : ทิสโก้เป็นสถาบันการเงินที่ประกอบธุรกิจด้วยมาตรฐานสูงสุดของการกำกับดูแลกิจการที่ยั่งยืน เพื่อลูกค้า ผู้ถือหุ้น พนักงาน และสังคม

ธนาคารซีไอเอ็มบี ไทย

ชื่อย่อ: CIMB

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : อาคารหลังสวน (สำนักงานใหญ่)

เลขที่ 44 ถนนหลังสวน แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

โทรศัพท์: 0-2626-7000

โทรสาร: 0-26573-3333

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายสุภัค ศิวะรักษ์

Website : www.cimbthai.com

จำนวนสาขา : 147 สาขา

จุดเด่น : โดยมีกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงินเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ที่สุดของธนาคารมาโดยตลอด จากนั้นเมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 กลุ่มซีไอเอ็มบี โดย CIMB Bank Berhad ได้เข้าเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ที่สุดในไทยธนาคาร และได้ดำเนินการจดทะเบียนเปลี่ยนชื่อจากธนาคารไทยธนาคาร เป็น ธนาคาร ซีไอเอ็มบี ไทย จำกัด (มหาชน) หรือ “CIMB Thai Bank Public Company Limited” ในภาษาอังกฤษ เมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2552 ซึ่งชื่อใหม่ของธนาคารนี้ นับเป็นการสะท้อนถึงการส่งผ่านไทยธนาคารเข้าสู่การเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มซีไอเอ็มบีอย่างเป็นทางการ

ธนาคารไทยพาณิชย์

ชื่อย่อ : SCB

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : ถนนรัชดาภิเษก เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : คุณหญิงชฎา วัฒนศิริธรรม

Website : www.scb.co.th

จำนวนสาขา : 873 สาขา

จุดเด่น: ธนาคารที่ให้บริการครบวงจรชั้นนำของประเทศ มุ่งเน้นการให้บริการตลาดการเงินและมีความรับผิดชอบต่อสังคมอย่างเต็มที่

ธนาคารธนชาต

ชื่อย่อ : TNC Bank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ เลขที่ 900 อาคารต้นสนทาวเวอร์ ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายบันเทิง ตันติวิท ประธานกรรมการ

Website : www.thanachartbank.co.th

จำนวนสาขา : 50 สาขา

จุดเด่น : ก่อนมาเป็น ธนาคารธนชาต ในปี 2541 กระทรวงการคลังประกาศออกใบอนุญาตประกอบการธนาคารพาณิชย์แบบจำกัดขอบเขตธุรกิจ แทน ใบอนุญาตประกอบการ Super Finance ตามนโยบายสนับสนุนการรวมกิจการระหว่างสถาบันการเงิน โดยธนาคารพาณิชย์ที่จะยื่นขอจะต้องเกิดจากการรวมกิจการอย่างน้อย 5 แห่ง และมีเงินกองทุนไม่ต่ำกว่า 10,000 ล้านบาท (หลังหักสำรองค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญแล้ว) ต่อเมื่อวันที่ 3 ก.พ.2552 และเมื่อวันที่ 11 มี.ค.53 ธนาคารธนชาตได้รับเลือกจากกองทุนฟื้นฟูฯ ให้เข้าซื้อหุ้นธนาคารนครหลวงไทย จำนวน 1,005,330,950 หุ้น (47.58%) ในราคาหุ้นละ 32.50 บาท ซึ่งจะทำให้ธนาคารธนชาตเป็นธนาคารพาณิชย์อันดับ 5 ของไทย มีสินทรัพย์ 8.57 แสนล้านบาท มีสาขารวม 687 แห่งทั่วประเทศ มีเครื่องเอทีเอ็มจำนวน 2,101 เครื่อง

ธนาคารนครหลวงไทย

ชื่อย่อ : SCIB

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 1101 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400

โทร. (662) 208-5000 อีเมล์ [email protected]

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายชัยวัฒน์ อุทัยวรรณ์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่

Website : www.scib.co.th

จำนวนสาขา : 400 สาขา

จุดเด่น : เป็นธนาคารของประเทศไทย ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2484 ในชื่อ "ธนาคารนครหลวงแห่งประเทศไทย"[1] โดยคณะบุคคลของรัฐบาลร่วมกับสมาชิกในราชวงศ์ ด้วยทุนจดทะเบียนเริ่มแรก 1,000,000 บาท ต่อมาในปี พ.ศ. 2487 ได้เปลี่ยนชื่อมาเป็นชื่อที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน

ภายหลังการควบรวมกับธนาคารศรีนครในเดือนเมษายน พ.ศ. 2545 ธนาคารได้นำหุ้นกลับเข้าซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์เมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2546 ปัจจุบันธนาคารมีขนาดของสินทรัพย์ใหญ่เป็นอันดับ 7 ของธนาคารพาณิชย์ไทย

ธนาคารยูโอบี

ชื่อย่อ : UOB

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : สำนักงานใหญ่ธนาคารยูโอบี จำกัด (มหาชน)

191 ถนนสาทรใต้ กรุงเทพฯ 10120

โทรศัพท์ : 0-2343-3000

โทรสาร : 0-2287-2973-4

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายหว่อง คิม ชุง

Website : www.uob.co.th

จำนวนสาขา : 154 สาขา

จุดเด่น : ธนาคารยูโอบี จำกัด (มหาชน) เกิดจากการรวมกิจการของธนาคารเอเชีย จำกัด (มหาชน) และธนาคารยูโอบีรัตนสิน จำกัด (มหาชน) เมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2548 เป็นธนาคารพาณิชย์ที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 9 ของประเทศไทย มีสินทรัพย์มูลค่ารวม 206,000 ล้านบาท ณ วันที่ 30 กันยายนพ.ศ. 2548 ปัจจุบันมีสาขาทั่วประเทศ 154 สาขา

ธนาคารสแตนดาร์ดชาร์เตอร์ดไทย

ชื่อย่อ : SCNB

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : สำนักงานใหญ่ของธนาคารฯ ตั้งอยู่ที่เลขที่ 90 ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพ 10500

กรรมการผู้จัดการใหญ่ :ยุทธเดช ปัทมานนท์

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ฝ่ายธุรกรรมการเงิน ธนาคารสแตนดาร์ดชาร์เตอร์ด (ไทย

Website : www.standardchartered.co.th

จำนวนสาขา : ในประเทศ 41 สาขา และอีกกว่า 1400 สาขาทั่วโลก

จุดเด่น :ธนาคารฯ มีธุรกิจหลักคือ บุคคลธนกิจและสถาบันธนกิจ ธุรกิจด้านบุคคลธนกิจให้บริการด้านบัตรเครดิต สินเชื่อบุคคล สินเชื่ออสังหาริมทรัพย์ บริการรับฝากเงิน บริการด้านการบริหารสินทรัพย์ให้แก่ลูกค้ารายบุคคล ลูกค้าเจ้าของธุรกิจรายย่อย จนถึงลูกค้าเจ้าของธุรกิจขนาดกลาง ส่วนสถาบันธนกิจนั้นให้บริการแก่ลูกค้าที่เป็นสถาบันหรือบริษัทในด้านต่างๆ เช่น สินเชื่อพาณิชย์ บริการบริหารเงินสด การบริการเงินทุน บริการด้านหลักทรัพย์ บริการด้านเงินตราต่างประเทศ บริการด้านการกู้ยืมในตลาดทุน และบริการด้านเงินกู้สำหรับธุรกิจ

ธนาคารเมกะสากลพาณิชย์

ชื่อย่อ : MEGA Bank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 36/12 พี.เอส.ทาวเวอร์ ซอยสุขุมวิท 21 ถนนอโศก แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : Rong-Jou Wang

Website : www.megabank.com.tw

จำนวนสาขา :4 สาขา

จุดเด่น : ประกอบกิจการธนาคารพาณิชย์ รวมทั้งกิจการทั้งปวง ซึ่งเกี่ยวกับธนาคารพาณิชย์

ธนาคารสินเอเชีย

ชื่อย่อ : ACL Bank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : ธนาคารสินเอเซีย จำกัด (มหาชน)

สาขาสำนักงานใหญ่ ชั้น 11-13 เอ็มโพเรี่ยมทาวเวอร์ เลขที่ 622 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองตัน เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110

โทรศัพท์. 02 663 9999

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายฮุยเหมิน หยี่ ประธานกรรมการ นายธงชัย อานันโทไทย กรรมการผู้จัดการใหญ่

Website : www.aclbank.com/th

จำนวนสาขา : 17 สาขา

จุดเด่น : ธนาคารสินเอเซีย จำกัด (มหาชน) มีฐานะเป็นธนาคารพาณิชย์เต็มรูปแบบ สามารถนำเสนอบริการทางการเงินได้ทุกประเภท นับตั้งแต่การเสนอบริการด้านเงินฝาก สินเชื่อทุกประเภท บริการโอนเงินต่างประเทศ และบริการธุรกิจการค้าต่างประเทศเพื่อการนำเข้าและส่งออก

ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย

ชื่อย่อ : LH Bank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : เลขที่ 1 อาคารคิวเฮ้าส์ ลุมพินี ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120

โทร 0-2359-0000 โทรสาร 0-2677-7223

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นางศศิธร พงศธร กรรมการผู้จัดการ

Website : www.lhbank.co.th

จำนวนสาขา : 23 สาขา

จุดเด่น : ธนาคารมีการพิจาณาในด้านสินเชื่อเน้นไปที่เงินกู้เพื่อการเคหะของสินเชื่อโดยรวมทั้งหมด60% และ40%จะเป็นสินเชื่อประเภทเอสเอ็มอี เนื่องจากว่าในส่วนของสินเชื่อเคหะมีข้อดีตรงที่มีหลักประกันที่ชัดเจน และทางธนาคารแห่งประเทศไทยก็ให้ความสนใจในเรื่องนี้เป็นสำคัญ เพราะถือว่าเป็นฐานเงินทุนที่มีประสิทธิภาพสูง การปล่อยสินเชื่อรายย่อยอื่นคงมีแต่จะเป็นส่วนน้อย เป็นองค์ประกอบ เพราะเรา LH BANK จะเน้นการปล่อยสินเชื่อบ้านและที่ดินให้กับลูกค้ารายย่อย แต่ละล็อตที่ปล่อยไปถึงจุดๆหนึ่งจะนำมารวมกันขายออกไปและนำเงินที่ได้มาปล่อยสินเชื่อใหม่ ทำให้ธนาคารนั้นไม่มีลูกหนี้มาก สินทรัพย์ไม่โตมาก เพราะเป็นที่ธนาคารที่มีรายได้จาการปล่อยสินเชื่อให้ลูกค้า

.ธนาคารไทยเครดิต เพื่อรายย่อย

ชื่อย่อ : TCR Bank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : สำนักธุรกิจรัชดาภิเษก

ตั้งอยู่ที่อาคารไทยประกันชีวิต 1 ชั้น 1 ให้บริการด้านรับฝาก-ถอนเงิน ให้คำปรึกษาบริการสินเชื่อ รับชำระค่างวด บริการเครื่อง ATM เครื่องปรับยอดสมุดเงินฝากอัตโนมัติ (Auto Update Passbook) และบริการอื่นๆ

กรรมการผู้จัดการใหญ่: นายวาณิช ไชยวรรณ ประธานกรรมการ

Website : www.tcrbank.com

จำนวนสาขา : 9 สาขา

จุดเด่น : นำเสนอผลิตภัณฑ์ที่แตกต่าง และตอบสนองความต้องการที่แท้จริงของลูกค้าสร้างทีมงานที่มีจิตสำนึกที่ดีด้านการบริการ มีความรักและภาคภูมิใจในองค์กร

สร้างระบบงานที่เอื้อหนุนให้การปฏิบัติงานเกิดประสิทธิภาพสูงสุด

สร้างความน่าเชื่อถือ ด้วยการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล แสวงหาเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพในการบริหารงานและความเสี่ยง เพื่อผลลัพธ์ในกาทำงานที่ดีที่สุด

แสวงหาพันธมิตร เพื่อเพิ่มโอกาสทางธุรกิจ

การแข่งขันฟุตบอลโลกครั้งนี้ส่งผลอย่างไรต่อภาคธุกิจใดบ้าง และจะมีผลกระทบภาคสังคมอย่างไรบ้าง

ตอบ ฟุตบอลโลกจัดเป็นมหกรรมกีฬาที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของโลกในรอบ 4 ปีที่คนทั้งโลกให้ความสนใจจับจ้องอยู่หน้าจอทีวีมากที่สุด ตลอดช่วงการแข่งขันหนึ่งเดือนก็ว่าได้การใช้จ่ายเฉลี่ยต่อคนในช่วงนี้ ได้แก่ การซื้อโทรทัศน์ วิทยุ คอมพิวเตอร์ การพนันบอล การสังสรรค์จัดงานเลี้ยงเพื่อชมฟุตบอล การติดตั้งสัญญาณดาวเทียม การรับประทานอาหารนอกบ้าน ค่าไฟที่จะเพิ่มขึ้น และการซื้อสินค้าที่ระลึกของทีมฟุตบอลทีมโปรด และการซื้อตั๋วเครื่องบินไปชมการแข่งขัน และหากนับรวมถึงการใช้จ่ายของภาคธุรกิจที่ใช้ในการกระตุ้นยอดขายในช่วงฟุตบอลโลกปีนี้เพื่อกิจกรรมทางการตลาด อย่างน้อยอีกประมาณ 5 พันล้านบาท เช่น ทำโปรโมชั่นสินค้า และค่าใช้จ่ายโฆษณา ซึ่งเป็นค่าใช้จ่ายพิเศษที่ไม่รวมกับค่าใช้จ่ายโฆษณา ซึ่งเป็นค่าใช้จ่ายพิเศษที่ไม่รวมกับค่าใช้จ่ายปกติ ดังนั้น คาดว่าฟุตบอลโลกครั้งนี้จะช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจปีนี้รวมทั้งสิ้นประมาณ 2.5-3 หมื่นล้านบาท หรือช่วยกระตุ้นให้เศรษฐกิจขยายตัวเพิ่มขึ้นได้อีก 0.2-0.3% ซึ่งยิ่งเป็นหลักประกันที่สำคัญที่จะทำให้เศรษฐกิจไทยขยายตัวได้ 4.0-5.0% ซึ่งเป็นการช่วยกระตุ้นยอดขายให้แก่ภาคธุรกิจอย่างมาก และช่วยให้ความเป็นอยู่ดีขึ้นกว่าเดิมในขณะที่บ้านเมืองยังไม่สงบเท่าที่ควร

ปัทมา พิมพ์ศรี 50473010034 เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

ธนาคารแห่งประเทศไทย ( The Bank of Thailand)

ชื่อย่อ :ธปท.(แบงค์ชาติ)

ชื่อผู้ว่า ธปท.คนปัจจุบันคือ :นางธาริษา วัฒนเกส

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 273 ถนนสามเสน บางขุนพรหม เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200

จุดเด่น : ได้ออกแนวปฏิบัติของธนาคารแห่งประเทศไทย เรื่อง การจัดทำแผนรองรับการดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง (Business Continuity Plan: BCP) สำหรับกรณีการระบาดของโรคติดต่อร้ายแรง โดยบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 4 สิงหาคม 2551 ภายใต้การสนับสนุนจากสมาคมธนาคารไทย สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย และ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และธนาคารต่างๆ ได้เตรียมความพร้อมเช่นกัน เช่น ธนาคารไทยธนาคาร จำกัด (มหาชน), ธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน) เป็นต้น

ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย

ชื่อย่อ : ธพว. หรือ SME Bank

ที่ตั้งธนาคาร : ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย (SME BANK)

SME BANK Tower

เลขที่ 310 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400

โทร. 0-2265-3000 โทรสาร 0-2265-4000

Website: http://www.smebank.co.th

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายพงษ์ภาณุ เศวตรุนทร์

จำนวนสาขา : 95 สาขา

จุดเด่น : เพื่อประกอบธุรกิจอันเป็นการพัฒนา ส่งเสริม ช่วยเหลือ และสนับสนุนการจัดตั้ง การดำเนินงาน การขยาย หรือการปรับปรุงวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม โดยการให้สินเชื่อค้ำประกัน ร่วมลงทุน สนับสนุนบริการทางการเงิน ให้คำปรึกษาแนะนำหรือให้บริการที่จำเป็นแก่ผู้ประกอบการไทยที่ มีฐานะเป็นนิติบุคคลโดยมีผู้ถือหุ้นทั้งภาครัฐและเอกชนร่วมกัน

ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร

ชื่อย่อ :ธ.ก.ส. หรือ (BAAC)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : เลขที่ 469 ถนน นครสวรรค์ เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300 โทร (662) 280-0180, 281-7355 โทรสาร (662) 280-0442, 281-6164, 280-5320

ธ.ก.ส. Call Center 0-2555-0555

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายกรณ์ จาติกวณิช

จำนวนสาขา : 886 สาขา

จุดเด่น : ทำหน้าที่อำนวยสินเชื่อทางการเกษตร ทั้งโดยตรงและสู่สถาบันเกษตรกร มุ่งให้ความช่วยเหลือทางการเงิน เพื่อส่งเสริมอาชีพการเกษตรหรือการดำเนินงานของเกษตรกร กลุ่มเกษตรกร เพื่อให้สามารถประกอบอาชีพอย่างอื่นที่เกี่ยวเนื่องในการเกษตร เพื่อเพิ่มรายได้ให้แก่ครอบครัวเกษตรกร รวมทั้งให้บริการรับฝากเงิน เช่นเดียวกับธนาคารพาณิชย์ทั่วไปอีกด้วย

ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย

ชื่อย่อ : ธสน. หรือ EXIM Bank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : อาคารเอ็กซิม 1193 ถนนพหลโยธิน พญาไท กรุงเทพฯ 10400

อีเมล:[email protected]

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายณรงค์ชัย อัครเศรณี

Website : www.exim.go.th

จำนวนสาขา : 16 สาขา

จุดเด่น : ให้สินเชื่อได้ทุกรูปแบบ เช่น สินเชื่อระยะสั้นและสินเชื่อระยะยาว สินเชื่อในประเทศและสินเชื่อต่างประเทศ กล่าวโดยสรุป ธสน. สามารถทำธุรกิจทุกประเภทที่ธนาคารพาณิชย์ทำได้ ยกเว้นเพียงการรับฝากเงินจากประชาชนทั่วไปเท่านั้น

ธนาคารออมสิน

ชื่อย่อ : GSB

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : ถ.พหลโยธิน บริเวณสี่แยกสะพานควาย

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายวินัย วิทวัสการเวช

Website : www.gsb.or.th

จำนวนสาขา : 400 สาขา

จุดเด่น : เป็นธนาคารเพื่อลูกค้ารายย่อย จะเน้นให้สินเชื่อเพื่อพัฒนาชนบท อีกทั้งยังสร้างเงินทุนหมุนเวียนในกลุ่มชุมชน โครงการธนาคารเพื่อประชาชนโดยให้สิ้นเชื่อระยะสั้นแก่ผู้ประกอบการรายย่อย เป็นช่องทางการรับ-จ่ายเงินกู้จากโครงการกองทุนหมู่บ่นและชุมชนเมือง อีกทั้งยังลงทุนในการพัฒนาประเทศของหน่วยงานรัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ ให้บริการรูปแบบเงินฝากที่หลายหลายรูปแบบที่เหมาะกับแต่ละช่วงวัย และมีการให้บริการตามหลักศาสนาอิสลาม

ธนาคารอาคารสงเคราะห์

ชื่อย่อ : ธอส. หรือ GH Bank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : อยู่ที่นั63 ถ.พระรามที่ 9 ห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10320นให

โทรศัพท์ 0-2645-9000

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายชัยเกษม นิติสิริ ประธานกรรมการ

Website : www.ghbank.co.th

จำนวนสาขา : 146 สาขา

จุดเด่น : เป็นธนาคารทำหน้าที่ช่วยเหลือทางการเงินให้กับประชาชน โดยการให้กู้ยืมเงิน และ จัดสรรที่ดินเพื่อก่อสร้างที่เป็นหน่วยงานของรัฐบาลที่ประกอบธุรกิจในการส่งเสริมและช่วยเหลือประชาชนนำเงินไป ลงทุนเกี่ยวกับการสร้างอาคารและที่ดินโดยตรงทำหน้าที่เสมือนสื่อกลางในการนำเงินไปใช้ประโยชน์ ใน กิจการเคหะ

ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย

ชื่อย่อ :

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย (สำนักงานใหญ่)

เลขที่ 66 ชั้น M, 21, 22 อาคารคิวเฮ้าส์ ถนนสุขุมวิท 21

แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา

กรุงเทพมหานคร 10110

โทรศัพท์ : 0-2650-6999

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายธีรศักดิ์ สุวรรณยศ

Website : www.ibank.co.th

จำนวนสาขา : 28 สาขา

จุดเด่น : เป็นธนาคารที่ดำเนินธุรกรรมโดยปราศจากดอกเบี้ย แต่อยู่บนหลักการ กำไร-ขาดทุนร่วมกัน โดยมีคณะที่ปรึกษาด้านศาสนาให้คำแนะนำ ตรวจสอบ เพื่อให้ธนาคารดำเนินงานถูกต้องตามหลักศาสนาอิสลาม

ธนาคารกรุงไทย

ชื่อย่อ : KTB

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 35 ถนนสุขุมวิท เขตวัฒนา กรุงเทพฯ

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์

Website : www.ktb.co.th

จำนวนสาขา : 800 สาขา

จุดเด่น : ธนาคารแสนสะดวก สำหรับลูกค้ารายย่อย ภาคธุรกิจ ภาครัฐ และสถาบันการเงิน

ธนาคารทหารไทย

ชื่อย่อ : TMB

ธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 3000 ถ.พหลโยธิน จอมพล จตุจักร กรุงเทพฯ 10900

โทรศัพท์ : 0-2299-1111

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นางเสาวนีย์ กมลบุตร

Website : www.tmbbank.com

จำนวนสาขา : 480 สาขา

จุดเด่น : เป็นธนาคารของประเทศไทย ก่อตั้งโดย จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เมื่อวันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2499 ในระยะแรกแม้จะเป็นธนาคารพาณิชย์มีใบอนุญาตประกอบกิจการได้ทั่วไป แต่จำกัดการทำพาณิชยกรรมอยู่ในแวดวงจำกัดดังนี้

1. ผู้ถือหุ้น ต้องเป็นทหารเท่านั้น บุคคลทั่วไปถือหุ้นไม่ได้

2. ลูกค้า มุ่งรับฝากจากทหารและครอบครัวทหารเป็นส่วนใหญ่

3. วัตถุประสงค์ เพื่ออำนวยความสะดวกในการให้บริหารทางการเงินแก่หน่วยงานทหาร และเพิ่มสวัสดิการการเงินแก่ข้าราชการทหาร

ธนาคารกรุงเทพ

ชื่อย่อ : BBL

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : เลขที่ 333 ถนนสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร

กรรมการผู้จัดการใหญ่: นายชาติศิริ โสภณพณิช

Website : www.bangkokbank.com

จำนวนสาขา : 950 สาขา

จุดเด่น : นักธุรกิจ และกลุ่มบุคคลที่มีแนวคิดเดียวกัน มีสโลแกนที่ว่า "เพื่อนคู่คิด มิตรคู่บ้าน"ร่วมกันจดทะเบียนก่อตั้งขึ้น

รายงานผลการสำรวจธนาคารยอดเยี่ยมในประเทศกำลังพัฒนาประจำปี 2546 ซึ่งตีพิมพ์ใน นิตยสารโกลบอล ไฟแนนซ์ ฉบับประจำเดือนพฤษภาคม 2546 ได้กล่าวถึง ธนาคารกรุงเทพ ว่าเป็นธนาคารที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย

ธนาคารกรุงศรีอยุธยา

ชื่อย่อ : KRUNGSRI Bank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : สาขาสำนักพระรามที่ 3 (สำนักงานใหญ่) (รหัสสาขา 777)

1222 ถนนพระราม3 แขวงบางโพงพาง

เขตยานนาวา จังหวัดกรุงเทพฯ 10120

โทรศัพท์: 0 2296 2000

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายมาร์ค จอห์น อาร์โนลด์

Website : www.krungsri.com

จำนวนสาขา : ในประเทศ 577 สาขา ต่างประเทศ 4 สาขา

จุดเด่น : เป็นธนาคารของประเทศไทย ก่อตั้งเมื่อวันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2488 มีสำนักงานใหญ่แห่งแรกที่ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซึ่งเป็นอาณาจักรเก่าในประเทศไทย เปิดดำเนินการเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2488 มีทุนจดทะเบียนเริ่มแรก 1 ล้านบาท ต่อจากนั้นได้ก่อตั้งสำนักงานในกรุงเทพมหานคร ณ ถนนราชวงศ์ และย้ายสำนักงานใหญ่มาตั้งอยู่ที่ ถนนอนุวงศ์ และ ถนนลำพูนไชย ในปี พ.ศ. 2491 และ พ.ศ. 2493 ตามลำดับ

วันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2513 ธนาคารได้รับตรา ครุฑ มาประดิษฐาน ณ ธนาคาร ในปีเดียวกันได้ย้ายสำนักงานใหญ่มาอยู่ ถนนเพลินจิต ในวันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2520 ธนาคารได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ในวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2536 ธนาคารได้แปรสภาพเป็น บริษัทมหาชน

ในเดือน ธันวาคม พ.ศ. 2539 ธนาคารได้ย้ายสำนักงานใหญ่มาอยู่ที่ ถนนพระราม 3 เปิดดำเนินการอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2540และใช้สำนักงานที่ถนนพระราม 3 มาตั้งแต่นั้นจนถึงปัจจุบัน

ธนาคารกสิกรไทย

ชื่อย่อ : KBank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 27/1 ถนนราษฎร์บูรณะ แขวงราษฎร์บูรณะ เขตราษฎร์บูรณะ กรุงเทพฯ 10140

โทรศัพท์: 00 2222 0000 กด 1

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายบรรยงค์ ล่ำซำ - ประธานกรรมการ - กรรมการที่ปรึกษาแก่คณะจัดการ

Website : www.kasikornbank.com

จำนวนสาขา : 595 สาขา

จุดเด่น : ธนาคารกสิกรไทยมุ่งมั่นเป็นสถาบันการเงินที่มั่นคงที่สุด ที่ริเริ่มในสิ่งใหม่ และกระทำทุกวิถีทางเพื่อเป็นสถาบันการเงินไทยที่ให้บริการอย่างดีที่สุดแก่ลูกค้า

ธนาคารเกียรตินาคิน

ชื่อย่อ : KKBank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : ที่ตั้งสำนักงานใหญ่

500 อาคารอัมรินทร์ ทาวเวอร์ ชั้น 11 ถนนเพลินจิต

แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

โทรศัพท์ 0-2680-3333

โทรสาร 0-2256-9933

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นางสาวนวพร เรืองสกุล

Website : www.kiatnakin.co.th

จำนวนสาขา : 52 สาขา

จุดเด่น : เป็นธนาคารพาณิชย์เต็มรูปแบบ (Commercial Bank) อาทิ บริการด้านเงินฝากประจำ ออมทรัพย์ กระแสรายวัน ประกันชีวิต สินเชื่อรถยนต์ สินเชื่อพัฒนาโครงการ สินเชื่อธุรกิจอพาร์ทเม้นท์ สินเชื่อธุรกิจฟลอร์แพลน สินเชื่อเพื่อธุรกิจขนส่ง สินเชื่อธุรกิจสิ่งพิมพ์และบรรจุภัณฑ์

ธนาคารเกียรตินาคิน ได้รับการจัดอันดับความน่าเชื่อถือ ระดับ A- จากบริษัท ทริส เรทติ้ง จำกัด แนวโน้มอันดับเครดิต Stable หรือคงที่ ซึ่งสะท้อนถึงความน่าเชื่อถือของธนาคาร ในสายตาของลูกค้าและนักลงทุนรวมถึงความมั่นคงทางการเงินที่สูง

ธนาคารซิติแบงก์

ชื่อย่อ : CitiBank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : ธนาคารซิตี้แบงก์ เอ็น.เอ. สาขากรุงเทพฯ

เลขที่ 399 ถนนสุขุมวิท อาคารอินเตอร์เชนจ์ 21

แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายปีเตอร์ เอเลียต

Website : www.citibank.co.th

จำนวนสาขา : 47 สาขา

จุดเด่น : ธนาคารซิตี้แบงก์ และบริษัทในเครือซิตี้กรุ๊ปให้บริการแก่ลูกค้ารายย่อย และลูกค้าสถาบันมากกว่าสถาบันการเงินอื่นใด ปัจจุบันธนาคารมีเครือข่ายครอบคลุมทั่วโลก มากกว่า 3,000 สาขาใน 100 ประเทศ

ธนาคารทิสโก้

ชื่อย่อ : Tisco Bank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : ธนาคารทิสโก้ จำกัด (มหาชน)

อาคารทิสโก้ทาวเวอร์ 48/2 ถนนสาทรเหนือ

แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายสุทัศน์ เรืองมานะมงคล กรรมการผู้จัดการใหญ่

Website : www.tisco.co.th

จำนวนสาขา : 46 สาขา

จุดเด่น : ทิสโก้เป็นสถาบันการเงินที่ประกอบธุรกิจด้วยมาตรฐานสูงสุดของการกำกับดูแลกิจการที่ยั่งยืน เพื่อลูกค้า ผู้ถือหุ้น พนักงาน และสังคม

ธนาคารซีไอเอ็มบี ไทย

ชื่อย่อ: CIMB

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : อาคารหลังสวน (สำนักงานใหญ่)

เลขที่ 44 ถนนหลังสวน แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

โทรศัพท์: 0-2626-7000

โทรสาร: 0-26573-3333

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายสุภัค ศิวะรักษ์

Website : www.cimbthai.com

จำนวนสาขา : 147 สาขา

จุดเด่น : โดยมีกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงินเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ที่สุดของธนาคารมาโดยตลอด จากนั้นเมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 กลุ่มซีไอเอ็มบี โดย CIMB Bank Berhad ได้เข้าเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ที่สุดในไทยธนาคาร และได้ดำเนินการจดทะเบียนเปลี่ยนชื่อจากธนาคารไทยธนาคาร เป็น ธนาคาร ซีไอเอ็มบี ไทย จำกัด (มหาชน) หรือ “CIMB Thai Bank Public Company Limited” ในภาษาอังกฤษ เมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2552 ซึ่งชื่อใหม่ของธนาคารนี้ นับเป็นการสะท้อนถึงการส่งผ่านไทยธนาคารเข้าสู่การเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มซีไอเอ็มบีอย่างเป็นทางการ

ธนาคารไทยพาณิชย์

ชื่อย่อ : SCB

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : ถนนรัชดาภิเษก เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : คุณหญิงชฎา วัฒนศิริธรรม

Website : www.scb.co.th

จำนวนสาขา : 873 สาขา

จุดเด่น: ธนาคารที่ให้บริการครบวงจรชั้นนำของประเทศ มุ่งเน้นการให้บริการตลาดการเงินและมีความรับผิดชอบต่อสังคมอย่างเต็มที่

ธนาคารธนชาต

ชื่อย่อ : TNC Bank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ เลขที่ 900 อาคารต้นสนทาวเวอร์ ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายบันเทิง ตันติวิท ประธานกรรมการ

Website : www.thanachartbank.co.th

จำนวนสาขา : 50 สาขา

จุดเด่น : ก่อนมาเป็น ธนาคารธนชาต ในปี 2541 กระทรวงการคลังประกาศออกใบอนุญาตประกอบการธนาคารพาณิชย์แบบจำกัดขอบเขตธุรกิจ แทน ใบอนุญาตประกอบการ Super Finance ตามนโยบายสนับสนุนการรวมกิจการระหว่างสถาบันการเงิน โดยธนาคารพาณิชย์ที่จะยื่นขอจะต้องเกิดจากการรวมกิจการอย่างน้อย 5 แห่ง และมีเงินกองทุนไม่ต่ำกว่า 10,000 ล้านบาท (หลังหักสำรองค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญแล้ว) ต่อเมื่อวันที่ 3 ก.พ.2552 และเมื่อวันที่ 11 มี.ค.53 ธนาคารธนชาตได้รับเลือกจากกองทุนฟื้นฟูฯ ให้เข้าซื้อหุ้นธนาคารนครหลวงไทย จำนวน 1,005,330,950 หุ้น (47.58%) ในราคาหุ้นละ 32.50 บาท ซึ่งจะทำให้ธนาคารธนชาตเป็นธนาคารพาณิชย์อันดับ 5 ของไทย มีสินทรัพย์ 8.57 แสนล้านบาท มีสาขารวม 687 แห่งทั่วประเทศ มีเครื่องเอทีเอ็มจำนวน 2,101 เครื่อง

ธนาคารนครหลวงไทย

ชื่อย่อ : SCIB

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 1101 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400

โทร. (662) 208-5000 อีเมล์ [email protected]

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายชัยวัฒน์ อุทัยวรรณ์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่

Website : www.scib.co.th

จำนวนสาขา : 400 สาขา

จุดเด่น : เป็นธนาคารของประเทศไทย ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2484 ในชื่อ "ธนาคารนครหลวงแห่งประเทศไทย"[1] โดยคณะบุคคลของรัฐบาลร่วมกับสมาชิกในราชวงศ์ ด้วยทุนจดทะเบียนเริ่มแรก 1,000,000 บาท ต่อมาในปี พ.ศ. 2487 ได้เปลี่ยนชื่อมาเป็นชื่อที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน

ภายหลังการควบรวมกับธนาคารศรีนครในเดือนเมษายน พ.ศ. 2545 ธนาคารได้นำหุ้นกลับเข้าซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์เมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2546 ปัจจุบันธนาคารมีขนาดของสินทรัพย์ใหญ่เป็นอันดับ 7 ของธนาคารพาณิชย์ไทย

ธนาคารยูโอบี

ชื่อย่อ : UOB

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : สำนักงานใหญ่ธนาคารยูโอบี จำกัด (มหาชน)

191 ถนนสาทรใต้ กรุงเทพฯ 10120

โทรศัพท์ : 0-2343-3000

โทรสาร : 0-2287-2973-4

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายหว่อง คิม ชุง

Website : www.uob.co.th

จำนวนสาขา : 154 สาขา

จุดเด่น : ธนาคารยูโอบี จำกัด (มหาชน) เกิดจากการรวมกิจการของธนาคารเอเชีย จำกัด (มหาชน) และธนาคารยูโอบีรัตนสิน จำกัด (มหาชน) เมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2548 เป็นธนาคารพาณิชย์ที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 9 ของประเทศไทย มีสินทรัพย์มูลค่ารวม 206,000 ล้านบาท ณ วันที่ 30 กันยายนพ.ศ. 2548 ปัจจุบันมีสาขาทั่วประเทศ 154 สาขา

ธนาคารสแตนดาร์ดชาร์เตอร์ดไทย

ชื่อย่อ : SCNB

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : สำนักงานใหญ่ของธนาคารฯ ตั้งอยู่ที่เลขที่ 90 ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพ 10500

กรรมการผู้จัดการใหญ่ :ยุทธเดช ปัทมานนท์

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ฝ่ายธุรกรรมการเงิน ธนาคารสแตนดาร์ดชาร์เตอร์ด (ไทย

Website : www.standardchartered.co.th

จำนวนสาขา : ในประเทศ 41 สาขา และอีกกว่า 1400 สาขาทั่วโลก

จุดเด่น :ธนาคารฯ มีธุรกิจหลักคือ บุคคลธนกิจและสถาบันธนกิจ ธุรกิจด้านบุคคลธนกิจให้บริการด้านบัตรเครดิต สินเชื่อบุคคล สินเชื่ออสังหาริมทรัพย์ บริการรับฝากเงิน บริการด้านการบริหารสินทรัพย์ให้แก่ลูกค้ารายบุคคล ลูกค้าเจ้าของธุรกิจรายย่อย จนถึงลูกค้าเจ้าของธุรกิจขนาดกลาง ส่วนสถาบันธนกิจนั้นให้บริการแก่ลูกค้าที่เป็นสถาบันหรือบริษัทในด้านต่างๆ เช่น สินเชื่อพาณิชย์ บริการบริหารเงินสด การบริการเงินทุน บริการด้านหลักทรัพย์ บริการด้านเงินตราต่างประเทศ บริการด้านการกู้ยืมในตลาดทุน และบริการด้านเงินกู้สำหรับธุรกิจ

ธนาคารเมกะสากลพาณิชย์

ชื่อย่อ : MEGA Bank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 36/12 พี.เอส.ทาวเวอร์ ซอยสุขุมวิท 21 ถนนอโศก แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : Rong-Jou Wang

Website : www.megabank.com.tw

จำนวนสาขา :4 สาขา

จุดเด่น : ประกอบกิจการธนาคารพาณิชย์ รวมทั้งกิจการทั้งปวง ซึ่งเกี่ยวกับธนาคารพาณิชย์

ธนาคารสินเอเชีย

ชื่อย่อ : ACL Bank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : ธนาคารสินเอเซีย จำกัด (มหาชน)

สาขาสำนักงานใหญ่ ชั้น 11-13 เอ็มโพเรี่ยมทาวเวอร์ เลขที่ 622 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองตัน เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110

โทรศัพท์. 02 663 9999

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายฮุยเหมิน หยี่ ประธานกรรมการ นายธงชัย อานันโทไทย กรรมการผู้จัดการใหญ่

Website : www.aclbank.com/th

จำนวนสาขา : 17 สาขา

จุดเด่น : ธนาคารสินเอเซีย จำกัด (มหาชน) มีฐานะเป็นธนาคารพาณิชย์เต็มรูปแบบ สามารถนำเสนอบริการทางการเงินได้ทุกประเภท นับตั้งแต่การเสนอบริการด้านเงินฝาก สินเชื่อทุกประเภท บริการโอนเงินต่างประเทศ และบริการธุรกิจการค้าต่างประเทศเพื่อการนำเข้าและส่งออก

ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย

ชื่อย่อ : LH Bank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : เลขที่ 1 อาคารคิวเฮ้าส์ ลุมพินี ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120

โทร 0-2359-0000 โทรสาร 0-2677-7223

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นางศศิธร พงศธร กรรมการผู้จัดการ

Website : www.lhbank.co.th

จำนวนสาขา : 23 สาขา

จุดเด่น : ธนาคารมีการพิจาณาในด้านสินเชื่อเน้นไปที่เงินกู้เพื่อการเคหะของสินเชื่อโดยรวมทั้งหมด60% และ40%จะเป็นสินเชื่อประเภทเอสเอ็มอี เนื่องจากว่าในส่วนของสินเชื่อเคหะมีข้อดีตรงที่มีหลักประกันที่ชัดเจน และทางธนาคารแห่งประเทศไทยก็ให้ความสนใจในเรื่องนี้เป็นสำคัญ เพราะถือว่าเป็นฐานเงินทุนที่มีประสิทธิภาพสูง การปล่อยสินเชื่อรายย่อยอื่นคงมีแต่จะเป็นส่วนน้อย เป็นองค์ประกอบ เพราะเรา LH BANK จะเน้นการปล่อยสินเชื่อบ้านและที่ดินให้กับลูกค้ารายย่อย แต่ละล็อตที่ปล่อยไปถึงจุดๆหนึ่งจะนำมารวมกันขายออกไปและนำเงินที่ได้มาปล่อยสินเชื่อใหม่ ทำให้ธนาคารนั้นไม่มีลูกหนี้มาก สินทรัพย์ไม่โตมาก เพราะเป็นที่ธนาคารที่มีรายได้จาการปล่อยสินเชื่อให้ลูกค้า

.ธนาคารไทยเครดิต เพื่อรายย่อย

ชื่อย่อ : TCR Bank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : สำนักธุรกิจรัชดาภิเษก

ตั้งอยู่ที่อาคารไทยประกันชีวิต 1 ชั้น 1 ให้บริการด้านรับฝาก-ถอนเงิน ให้คำปรึกษาบริการสินเชื่อ รับชำระค่างวด บริการเครื่อง ATM เครื่องปรับยอดสมุดเงินฝากอัตโนมัติ (Auto Update Passbook) และบริการอื่นๆ

กรรมการผู้จัดการใหญ่: นายวาณิช ไชยวรรณ ประธานกรรมการ

Website : www.tcrbank.com

จำนวนสาขา : 9 สาขา

จุดเด่น : นำเสนอผลิตภัณฑ์ที่แตกต่าง และตอบสนองความต้องการที่แท้จริงของลูกค้าสร้างทีมงานที่มีจิตสำนึกที่ดีด้านการบริการ มีความรักและภาคภูมิใจในองค์กร

สร้างระบบงานที่เอื้อหนุนให้การปฏิบัติงานเกิดประสิทธิภาพสูงสุด

สร้างความน่าเชื่อถือ ด้วยการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล แสวงหาเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพในการบริหารงานและความเสี่ยง เพื่อผลลัพธ์ในกาทำงานที่ดีที่สุด

แสวงหาพันธมิตร เพื่อเพิ่มโอกาสทางธุรกิจ

การแข่งขันฟุตบอลโลกครั้งนี้ส่งผลอย่างไรต่อภาคธุกิจใดบ้าง และจะมีผลกระทบภาคสังคมอย่างไรบ้าง

ตอบ ฟุตบอลโลกจัดเป็นมหกรรมกีฬาที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของโลกในรอบ 4 ปีที่คนทั้งโลกให้ความสนใจจับจ้องอยู่หน้าจอทีวีมากที่สุด ตลอดช่วงการแข่งขันหนึ่งเดือนก็ว่าได้การใช้จ่ายเฉลี่ยต่อคนในช่วงนี้ ได้แก่ การซื้อโทรทัศน์ วิทยุ คอมพิวเตอร์ การพนันบอล การสังสรรค์จัดงานเลี้ยงเพื่อชมฟุตบอล การติดตั้งสัญญาณดาวเทียม การรับประทานอาหารนอกบ้าน ค่าไฟที่จะเพิ่มขึ้น และการซื้อสินค้าที่ระลึกของทีมฟุตบอลทีมโปรด และการซื้อตั๋วเครื่องบินไปชมการแข่งขัน และหากนับรวมถึงการใช้จ่ายของภาคธุรกิจที่ใช้ในการกระตุ้นยอดขายในช่วงฟุตบอลโลกปีนี้เพื่อกิจกรรมทางการตลาด อย่างน้อยอีกประมาณ 5 พันล้านบาท เช่น ทำโปรโมชั่นสินค้า และค่าใช้จ่ายโฆษณา ซึ่งเป็นค่าใช้จ่ายพิเศษที่ไม่รวมกับค่าใช้จ่ายโฆษณา ซึ่งเป็นค่าใช้จ่ายพิเศษที่ไม่รวมกับค่าใช้จ่ายปกติ ดังนั้น คาดว่าฟุตบอลโลกครั้งนี้จะช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจปีนี้รวมทั้งสิ้นประมาณ 2.5-3 หมื่นล้านบาท หรือช่วยกระตุ้นให้เศรษฐกิจขยายตัวเพิ่มขึ้นได้อีก 0.2-0.3% ซึ่งยิ่งเป็นหลักประกันที่สำคัญที่จะทำให้เศรษฐกิจไทยขยายตัวได้ 4.0-5.0% ซึ่งเป็นการช่วยกระตุ้นยอดขายให้แก่ภาคธุรกิจอย่างมาก และช่วยให้ความเป็นอยู่ดีขึ้นกว่าเดิมในขณะที่บ้านเมืองยังไม่สงบเท่าที่ควร

กิตติวิทย์ ตั้งมงคลเลิศ 50473010025 เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

ธนาคารแห่งประเทศไทย (Bank of Thailand) ธปท.

ที่ตั้ง วัดสามพระยา
พระนคร กรุงเทพมหานคร 10200

นางธาริษา วัฒนเกส

www.bot.or.th/

ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย (Small and Medium Enterprise Development Bank of Thailand) ธพว. หรือ SME Bank

ที่ตั้ง เลขที่ 310 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายพงษ์ภาณุ เศวตรุนทร์

www.smebank.co.th/

ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (Bank for Agriculture and Agricultural Cooperatives) ธ.ก.ส.

เลขที่ 469 ถนน นครสวรรค์ เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300

ผู้จัดการ นายลักษณ์ วจนานวัช

www.baac.or.th/

ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย (Export-Import Bank of Thailand) ธสน. หรือ EXIM Bank

อาคารเอ็กซิม 1193 ถนนพหลโยธิน พญาไท กรุงเทพฯ10400

ประธานกรรมการ : นายณรงค์ชัย อัครเศรณี

www.exim.go.th/

ธนาคารออมสิน (Government Saving Bank) GSB

ธนาคารออมสิน สำนักงานใหญ่
470 ถนนพหลโยธิน สามเสนใน เขตพญาไท
กรุงเทพ 10400

ผู้อำนวยการธนาคารออมสิน : นายเลอศักดิ์ จุลเทศ

http://www.gsb.or.th

ธนาคารอาคารสงเคราะห์ (Government Housing Bank) ธอส. หรือ GH Bank

63 ถนนพระราม9 เขตห้วยขวาง กทม. 10310

กรรมการผู้จัดการ : นายขรรค์ ประจวบเหมาะ
http://www.ghbank.co.th/th/index.html

ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย (Islamic Bank of Thailand) IBANK

เลขที่ 66 ชั้น M, 21, 22 อาคารคิวเฮ้าส์ ถนนสุขุมวิท 21
แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา
กรุงเทพมหานคร 10110

http://www.ibank.co.th/th/index.php

ธนาคารกรุงไทย (Krung Thai Bank) - รัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงการคลัง  KTB

35 ถนน สุขุมวิท แขวง คอลงเตยเหนือ เขต วัฒนา กทม. 10110

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์

www.ktb.co.th/

693 สาขา

 

ธนาคารทหารไทย (TMB Bank) - กลุ่มกองทัพไทย เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ TMB

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 3000 ถ.พหลโยธิน จอมพล จตุจักร กรุงเทพฯ 10900

ประธานกรรมการ : นางเสาวนีย์ กมลบุตร

http://www.tmbbank.com

450 สาขา

 

ธนาคารกรุงเทพ (Bangkok Bank) BBL

333 ถนน สีลม กทม. 10500

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายชาติศิริ โสภณพนิช

http://www.bangkokbank.com

917 สาขา

ธนาคารกรุงศรีอยุธยา (Bank of Ayudhaya) BAY

1222 ถนนพระรามที่ 3 แขวงบางโพงพาง
เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120

ประธานกรรมการ : นายวีระพันธุ์ ทีปสุวรรณ

http://www.krungsri.com

575 สาขา

ธนาคารกสิกรไทย (KasikornBank) KBANK

   1 ซอยราษฎร์บูรณะ 27/1 ถนนราษฎร์บูรณะ แขวงราษฎร์บูรณะ เขตราษฎร์บูรณะ กรุงเทพฯ 10140 

ประธานกรรมการ : นายบรรยงค์ ล่ำซำ

http://www.kasikornbank.com/

809 สาขา

ธนาคารเกียรตินาคิน (Kiatnakin Bank) KKB

500 อาคารอัมรินทร์ทาวเวอร์ ถนน เพลินจิต ลุมพินี ปทุมวัน กทม. 10330

ประธานกรรมการบริหาร : นายสุพล วัธนเวคิน

http://www.kiatnakin.co.th

50 สาขา

ธนาคารซิติแบงก์ (Citibank) Citibank

ธนาคารซิตี้แบงก์ เอ็น.เอ. สาขากรุงเทพฯ
เลขที่ 399 ถนนสุขุมวิท อาคารอินเตอร์เชนจ์ 21
แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110

ผู้จัดการใหญ่  นายปีเตอร์   เอเลียต

http://www.citibank.co.th

ธนาคารทิสโก้ (Thai Investment and Securities Company Bank) TISCO

อาคารทิสโก้ทาวเวอร์ 48/2 ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก
กรุงเทพมหานคร 10500

ประธานบริหาร  นางอรนุช  อภิศักดิ์ศิริกุล

www.tisco.co.th

40 สาขา

ธนาคารซีไอเอ็มบี ไทย (CIMB Thai Bank) CIMB

เลขที่ 44 ถนนหลังสวน แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

นายสุภัค ศิวะรักษ์: กรรมการผู้จัดการใหญ่ และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

www.cimbthai.com/

147 สาขา

ธนาคารไทยพาณิชย์ (Siam Commercial Bank) – สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ SCB

9 ถนน รัชดาภิเษก เขต จตุจักร กทม. 10900

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นางกรรณิกา ชลิตอาภรณ์

www.scb.co.th/

999 สาขา

ธนาคารธนชาต (Thanachart Bank) TNC

เลขที่ 900 อาคารต้นสนทาวเวอร์ ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กทม. 10330

ประธานกรรมการ : นายบันเทิง ตันติวิท

www.thanachartbank.co.th/

155 สาขา

ธนาคารนครหลวงไทย (Siam City Bank) SCIB

1101 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400

นายชัยวัฒน์ อุทัยวรรณ์
ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่

www.scib.co.th/

334 สาขา

ธนาคารยูโอบี (United Overseas Bank, Thailand) UOB

เลขที่  191 ถนนสาทรใต้ แขวงยานนาวา  เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120

ประธานกรรมการ คุณวี โชว เยา

www.uob.co.th/

144 สาขา

ธนาคารสแตนดาร์ดชาร์เตอร์ดไทย (Standard Chartered Bank Thai) SCBT

เลขที่ 90 อาคารสาทรธานี ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพ 10500

ผู้จัดการใหญ่ : นาย ยุทธเดช   ปัทมานนท์

www.standardchartered.co.th/

28 สาขา

ธนาคารเมกะสากลพาณิชย์ (Mega International Commercial Bank)

เลขที่  36/12 อาคารพี.เอส.ทาวเวอร์ ถ.สุขุมวิท 21 (อโศก) แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  Rong-Jou Wang

https://overseas.megabank.com.tw/

4 สาขา

ธนาคารสินเอเชีย (Asia Credit Limited Bank) ACL

เลขที่ 622   ชั้น 11-13 อาคารเอ็มโพเรี่ยม ทาวเวอร์  ถนนสุขุมวิท กรุงเทพมหานคร    

นายฮุยเหมิน หยี่  ประธานกรรมการ  

www.aclbank.com/th

19 สาขา

 

ธนาคารพาณิชย์เพื่อรายย่อย

ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย (Land and Houses Retail Bank) LH

 1 อาคารคิวเฮ้าส์ ลุมพินี ถ.สาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120

กรรมการผู้จัดการ  นางศศิธร พงศธร

www.lhbank.co.th/

24 สาขา

ธนาคารไทยเครดิต เพื่อรายย่อย (Thai Credit Retail Bank) TCRB

เลขที่  123 ชั้น 1 อาคาร ไทยประกันชีวิต ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กทม. 10400

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นาย วานิช ไชยวรรณ

www.tcrbank.com/

7 สาขา

นางสาวนิรมล สายวงษ์คำ โปรแกรมเศรษศาสตร์ธุรกิจ รหัสนักศึกษา 50473010005

ธนาคารไทยพาณิชย์ 

ชื่อย่อ SCB

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ รัชโยธิน

เว็บไซด์ www.scb.co.th

จำนวนสาขาโดยประมาณ  793 สาขา

 นางกรรณิภา ชลิตอาภรณ์

จุดเด่น มีบริการที่ดีในมาตรฐานระดับสากล

ธนาคารออมสิน

ชื่อย่อ ธนาคารออมสิน Government Savings Bang

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ ถนน พหลโยธิน บริเวณสื่แยกสะพานควาย

เว็บไซด์ www.gsb.or.th

จำนวนสาขาโดยประมาณ 930 สาขา

ผู้อำนวยการธนาคารธนาคารออมสิน นายเลอศักดิ์ จุลเทศ

จุดเด่น มีดอกเบี้ยที่ถูก

 

ธนาคารกรุงเทพ

 

ชื่อย่อ BBL

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 333 ถนนสีลม

เว็บไซด์ www.bangkokbank.com

จำนวนสาขา 950 สาขา

ประธานกรรมการ นายชาตรี โสภณพนิช

จุดเด่น เป็นธนาคารที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย

 

ธนาคารกสิกรไทย

 

ชื่อย่อ KBANK

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ ซอยกสิกรไทย ถนนราษฎร์บูรณะ เชิงสะพานพระราม 9 ฝั่งธนบุรี

เว็บไซด์ www.kasikronbank.com

จำนวนสาขา784 สาขา

ประธานกรรมการ นายบรรยงค์ ล่ำซำ

จุดเด่น มีบริการทางการเงินที่ครอบคลุมทุกๆด้าน

ธนาคารอาคารสงเคราะห์

 

ชื่อย่อ GHB

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 63 ถนนพระรามที่ 9 ห้วยขาวงกรุงเทพ

เว็บไซด์ www.ghbank.com

จำนวนสาขา

ประธานกรรมการ นายอารีพงศ์ ภู่ชอุ่ม

จุดเด่น  ให้สมาชิกกู้เงินเพื่อสังหาริมทรัพย์

 

ธนาคารกรุงศรีอยุธยา

 

ชื่อย่อ BAY

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ ถนนพระราม 3

เว็บไซด์ www.krungsri.com

จำนวนสาขา 577 สาขา

ประธานกรรมการ นายวีระพันธุ์ ทีปสุวรรณ

จุดเด่น

 

ธนาคารธนชาต

 

ชื่อย่อ TNC ชื่อในตลาดหลักทรัพย์ TBANK

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ เลขที่ 900 อาคารต้นสนทาวเวอร์ ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร

เว็บไซด์ www.thanachartbank.co.th

จำนวนสาชา 687 สาขา

ประธานกรรมการ นายบันเทิง ตันดิวิท

จุดเด่น เป็นธนาคารที่ได้การยอมรับว่าเป็นธนาคารที่มีความมั่นคงระดับต้นๆของโลก

 

ธนาคารนครหลวงไทย

ชื่อย่อ SCIB

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ ถนนเพชรบุรีตัดใหม่

เว็บไซด์www.scib.co.th

จำนวนสาขา 422 สาขา

กรรมการผู้จัดการใหญ่ นายชัยวัฒน์ อุทัยวรรณ์

จุดเด่น

 

ธนาคารทหารไทย

ชื่อย่อ TMB

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ ถนนพหลโยธิน เขตจตุจักร

เว็บไซด์ www.tmbbank.com

จำนวนสาขา 595 สาขา

ประธานกรรมการ นางเสาวนีย์ กมลบุตร

จุดเด่น

 

 

ธนาคารพัฒนารัฐวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย

ชื่อย่อ SME BANK

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพ

กรรมการผู้จัดการใหญ่ นายพงษ์ภาณู เศวตรุนทร์

เว็บไซด์ www.smebank.co.th

จำนวนสาขา 95 สาขา

จุดเด่น เป็นธนาคารที่ให้ความช่วยเหลือผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมและยังให้คำปรึกษาที่จำเป็นแก่ผู้ประกอบการ

นางสาวนิรมล สายวงษ์คำ โปรแกรมเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

รหัสนักศึกษา 50473010005

 

ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร

ชื่อย่อ ธกส

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ ถนน นครสวรรค์ เขตดุสิต กรุงเทพ

เว็บไซด์ www.baac.or.th

จำนวน 886 สาขา

กรรมการผู้จัดการใหญ่ นายกรณ์ จาติกวณิช รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง

จุดเด่น ทำหน้าที่ให้สินเชื่อทางแก่เกษตรกร และยังให้บริการฝากเงินของครอบครัวเกษตรกรเช่นเดียวกับธนาคารพาณิชย์

 

ธนาคารเพื่อการส่งออกและการนำเข้าแห่งประเทศไทย

ชื่อย่อ EXIM BANK

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ ถนนพหลโยธิน เขต พญาไท กรุงเทพ

เว็บไซด์ www.exim.go.th

จำนวนสาขา 16 สาขา

กรรมการผู้จัดการใหญ่ นายณรงค์ชัย อัครเศรณี

จุดเด่น ให้สินเชื่อได้ทั้งที่เป็นสกุลเงินไทยและสกุลเงินต่างประเทศ ให้สินเชื่อทั้งระยะสั้นและระยะยาว

 

ธนาคารเกียรตินาคิน

 

ชื่อย่อ KKBANK

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ อาคารอัมรินทร์ ทาวเวอร์ ชั้น 11 ถนนเพลินจิต แขวงสีลม

เว็บไซด์ www.kiatnakin .co.th

จำนวน 52 สาขา

กรรมการผู้จัดการใหญ่ นางสาวนวพร เรืองสกุล

จุดเด่น ให้บริการทางงานเงินเหมือนธนาคารพาญิชย์อื่น แต่มีการให้สินเชื่อที่มากกว่า เช่น ธุรกิจอพาร์ทเม้นท์ธุรกิจสินเชื่อเพื่อธุรกิจขนส่ง ฯ

 

ธนาคารซิติแบงค์

 

ชื่อย่อ CitiBank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ อาคารอินเตอร์เซนจ์ 21 ถนนสุขุมวิท

เว็บไซด์ www.citibank.co.th

จำนวน 47 สาขา

กรรมการผู้จัดการใหญ่  นายปีเตอร์ เอเลียต

จุดเด่น  ทางธนาคารมีการป้องกันข้อมูลต่างๆของลูกค้ามิให้ถูกนำไปใช้ในทางทุจริต

 

ธนาคารทิสโก้

 

ชื่อย่อ Tisco Bank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ อาคารทิสโก้ทาวเวอร์ 48/2 ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม

เว็บไซด์ www.tisco.co.th

จำนวนสาขา 46 สาขา

กรรมการผู้จัดการใหญ่ นายสุทัศน์ เรืองมานะมงคล

จุดเด่น  ยึดถือการบริการเป็นหัวใจสำคัญของธนาคาร

 

ธนาคารซีไอเอ็มบี ไทย 

  

ชื่อย่อ CIMB

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ อาคารหลังสวน ถนนหลังสวน แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน

เว็บไซด์ www.cimbthai.com

จำนวนสาขา 147 สาขา

กรรมการผู้จัดการใหญ่ นายสุภัค ศิวะรักษ์

จุดเด่น มีการให้บริการทางการเงินอย่างครบวงจร ตลอดจนศูนย์ให้บริการทางการเงินทั่วโลก

 

ธนาคารยูโอบี


ชื่อย่อ UOB

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 191 ถนนสาทรใต้ กรุงเทพ

เว็บไซด์ www.uob.co.th

จำนวนสาขา 154 สาขา

กรรมการผู้จัดการใหญ่ นายหว่อง คิมซุง

จุดเด่น เป็นธนาคารพาณิชย์ที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 9 ของประเทศไทย

 

ธนาคารสแตนดาร์ดชาร์เตอร์ไทย

ชื่อย่อ SCNB

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ เลขที่ 90 ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพ

เว็บไซด์ www.standardchartered.co.th

จำนวน 41สาขาในประเทศ และอีกกว่า 1400 สาขาทั่วโลก

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ฝ่ายธุรกรรมทางการเงิน นายยุทธเดช ปัทมานนท์

จุดเด่น ทางธนาคารจะช่วยวางแผน ป้องกัน ส่งเสริม ผลประโยชน์ของลูกค้า

 

ธนาคารเมกะสากลพาณิชย์

 

ชื่อย่อ MEGA Bank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 36/12 พี เอส ทาวเวอร์ ซอยสุขุมวิท 21 ถนนอโศก

เว็บไซด์ www.megabank.com

จำนวนสาขา 4 สาขา

กรรมการผู้จัดการใหญ่ Rong Jou Wang

จุดเด่น

 

ธนาคารสินเอเชีย

ชื่อย่อ ACL Bank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ ชั้น11-13 เอ็มโพเรียมทาวเวอร์

เว็บไซด์ www.aclbank.com

จำนวนสาขา 17 สาขา

กรรมการผู้จัดการใหญ่ นายฮุยเหมิน หยี่

จุดเด่น ให้บริการเป็นธนาคารพาณิชย์เต็มรูปแบบ และบริการธุรกิจการค้าต่างประเทศเพื่อการนำเข้าและส่งออก

 

ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย

 

ชื่อย่อ LH BANK

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ อาคารคิวเฮ้าส์ ถนนสาทรใต้

เว็บไซด์ www.lhbank.co.th

จำนวนสาขา 23 สาขา

กรรมการผู้จัดการ นางศศิธร พงศธร

จุดเด่น เน้นการปล่อยสินเชื่อบ้านและที่ดินให้กับลูกค้ารายย่อย

 

ธนาคารไทยเครดิต

 

ชื่อย่อ TCR Bank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ สำนักธุรกิจรัชดาภิเษก

เว็บไซด์ www.trcbank.com

จำนวนสาขา 9 สาขา

ประธานกรรมการ นายวานิช ไชยวรรณ

ธนาคารแห่งประเทศไทย

ชื่อย่อ ธปท (The Bank of thailand)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ แถวศูนย์ประชุมแห่งชาติศิริกิต

เว็บไซด์ www.bot.or.th

จำนวนสาขา 5 สาขา

ผู้จัดการสำนักงานใหญ่ นางธาริษา วัฒนเกส

จุดเด่น มีหน้าที่ควบคุมสถาบันการเงิน นำออกหมุนเวียนพันธะบัตร

 

ธนาคารอิสรามแห่งประเทศไทย

ชื่อย่อ Islamic Bank of thailand

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ อาคารคิวเฮ้าส์ถนนสุขุมวิท

เว็บไซด์ www.ibank.co.th

จำนวนสาขา 28 สาขา

กรรมการผู้จัดการใหญ่ นายธีรศักดิ์ สุวรรณยศ

จุดเด่น  เป็นธนาคารที่ดำเนินธุรกรรมโดยปราศจากดอกเบี้ย แต่อยู่บนหลักการ กำไร-ขาดทุนร่วมกัน และดำเนินธุรกิจตาม พ.ร.บ.ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2545 โดยมีคณะที่ปรึกษาด้าน

ศาสนาให้คำแนะนำ ตรวจสอบ เพื่อให้ธนาคารดำเนินงานถูกต้องตามหลักศาสนาอิสลาม ปัจจุบันธนาคารมีฐานะเป็นรัฐวิสาหกิจ สังกัดกระทรวงการคลัง

 

ธนาคารอิสรามแห่งประเทศไทย 

ชื่อย่อ Islamic Bank of thailand

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ อาคารคิวเฮ้าส์ถนนสุขุมวิท

เว็บไซด์ www.ibank.co.th

จำนวนสาขา 28 สาขา

กรรมการผู้จัดการใหญ่ นายธีรศักดิ์ สุวรรณยศ

จุดเด่น  เป็นธนาคารที่ดำเนินธุรกรรมโดยปราศจากดอกเบี้ย แต่อยู่บนหลักการ กำไร-ขาดทุนร่วมกัน และดำเนินธุรกิจตาม พ.ร.บ.ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2545 โดยมีคณะที่ปรึกษาด้าน

ศาสนาให้คำแนะนำ ตรวจสอบ เพื่อให้ธนาคารดำเนินงานถูกต้องตามหลักศาสนาอิสลาม ปัจจุบันธนาคารมีฐานะเป็นรัฐวิสาหกิจ สังกัดกระทรวงการคลัง

 

นางสาวนิรมล สายวงษ์คำ โปรแกรมเศรษศาสตร์ธุรกิจ

รหัสนักศึกษา 50473010005

 

การแข่งขันฟุตบอลโลกครั้งนี้ส่งผลอย่างไรต่อภาคธุรกิจใดบ้าง และมีผลกระทบต่อภาคสังคมอย่างไรบ้าง 

การแข่งขันฟุตบอลโลกที่มีผู้ติดตามอยู่ครึ่งค่อนโลกอยู่ในขณะนี้ได้ส่งผลให้มีการกระตุ้นการบริโภคทางเศรษฐกิจมากขึ้น โดยเฉพาะประเทศเจ้าภาพจะดีขึ้นจาการกระตุ้นการใช้จ่ายการได้รับรายได้จากการท่องเที่ยวแม้กระทั่งประเทศไทยเองอย่างน้อยที่สุดก็เป็นการบริโภคที่เพิ่มขึ้นในธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับประเภทอาหารและเครื่องดื่มขนมขบเคี้ยวซึ่งนอกจากนี้ยังทำให้มียอกการส่งออกที่เพิ่มขึ้นจากผลิตภัณฑ์อาการทะเลของไทยซึ่งเป็นที่ชื่นชอบของนักท่องเที่ยวชาวแอฟริกาใต้อีกทั้งยังมีการผลักดันยอดการส่งออกผลไม้แปรรูปของไทยไปยังแอฟริกาใต้เพิ่มขึ้นด้วยภัตตาคารและร้านอาหาร สถานบันเทิง เครื่องใช้ไฟฟ้า ซึ่งจะเห็นได้ว่ามีประชาชนในหลายกลุ่มได้อาศัยช่วงฟุตบอลโลกนี้ซื้อทีวีใหม่ที่เป็นแบบจอ LCD โดยให้เหตุผลที่ว่าเพื่อความคมชัดในการดูมากยิ่งขึ้นจึงทำให้มีบริษัทต่างๆนั้นออกมาแข่งขันลดราคากันอย่างท่วมท้น เสื้อผ้าและอุปกรณ์กีฬา ของที่ระลึก หนังสือพิมพ์ไปรษณียบัตร และการใช้บริการติดต่อสื่อสารผ่านโทรศัพท์มือถือ อุปกรณ์รับสัญญาณ นั้นได้มียอดขายเพิ่มขึ้นอย่างมากซึ่งในระหว่างการแข่งขันฟุตบอลโลกในรอบแลกนั้นทางบริษัท อาร์เอสอ้าง

ว่าทางฟีฟ้าเข้มงวดการส่งสัญญาณทำให้มีผละกระทบถึงประชาชนที่ติดจานดาวเทียมแบบจานดำไม่สามารถดูฟุตบอลโลกได้จึงต้องหาเสาแบบหนวดกุ้งหรือก้างปลามาแทนจึงทำให้มียอดขายเสาอากาศแบบหนวดกุ้งมียอดขายเพิ่มสูงขึ้นมาก ตลอดจนสินค้าตรายี่ห้อหรือแบรนด์เนมต่างๆที่ต่างจัดกิจกรรมแบบทุ่มสุดตัวทั้งในห้างสรรพสินค้าและไฮเปอร์ มาร์เก็ต เพื่อสร้างความแตกต่างให้โดดเด่น และดึงดูดผู้บริโภค ซึ่งวาระของฟุตบอลโลกจะเป็นโอกาสสำคัญให้ผู้ประกอบการใช้ทำกิจกรรมเพื่อผลักดันยอดขายในปีนี้ให้เข้าเป้า
อย่างไรก็ตาม เกมฟุตบอลโลกอาจเป็นเพียงแรงกระตุ้นการบริโภคได้เพียงชั่วคราวเท่านั้น เพราะมีระยะเวลาการแข่งขันเพียง 1 เดือนเท่านั้น

การแข่งขันฟุตบอลโลกครั้งนี้ส่งผลอย่างไรต่อภาคธุรกิจใดบ้าง และมีผลกระทบต่อภาคสังคมอย่างไรบ้าง

การแข่งขันฟุตบอลโลกที่มีผู้ติดตามอยู่ครึ่งค่อนโลกอยู่ในขณะนี้ได้ส่งผลให้มีการกระตุ้นการบริโภคทางเศรษฐกิจมากขึ้น โดยเฉพาะประเทศเจ้าภาพจะดีขึ้นจาการกระตุ้นการใช้จ่ายการได้รับรายได้จากการท่องเที่ยวแม้กระทั่งประเทศไทยเองอย่างน้อยที่สุดก็เป็นการบริโภคที่เพิ่มขึ้นในธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับประเภทอาหารและเครื่องดื่มขนมขบเคี้ยวซึ่งนอกจากนี้ยังทำให้มียอกการส่งออกที่เพิ่มขึ้นจากผลิตภัณฑ์อาการทะเลของไทยซึ่งเป็นที่ชื่นชอบของนักท่องเที่ยวชาวแอฟริกาใต้อีกทั้งยังมีการผลักดันยอดการส่งออกผลไม้แปรรูปของไทยไปยังแอฟริกาใต้เพิ่มขึ้นด้วยภัตตาคารและร้านอาหาร สถานบันเทิง เครื่องใช้ไฟฟ้า ซึ่งจะเห็นได้ว่ามีประชาชนในหลายกลุ่มได้อาศัยช่วงฟุตบอลโลกนี้ซื้อทีวีใหม่ที่เป็นแบบจอ LCD โดยให้เหตุผลที่ว่าเพื่อความคมชัดในการดูมากยิ่งขึ้นจึงทำให้มีบริษัทต่างๆนั้นออกมาแข่งขันลดราคากันอย่างท่วมท้น เสื้อผ้าและอุปกรณ์กีฬา ของที่ระลึก หนังสือพิมพ์ไปรษณียบัตร และการใช้บริการติดต่อสื่อสารผ่านโทรศัพท์มือถือ อุปกรณ์รับสัญญาณ นั้นได้มียอดขายเพิ่มขึ้นอย่างมากซึ่งในระหว่างการแข่งขันฟุตบอลโลกในรอบแลกนั้นทางบริษัท อาร์เอสอ้างว่าทางฟีฟ้าเข้มงวดการส่งสัญญาณทำให้มีผละกระทบถึงประชาชนที่ติดจานดาวเทียมแบบจานดำไม่สามารถดูฟุตบอลโลกได้จึงต้องหาเสาแบบหนวดกุ้งหรือก้างปลามาแทนจึงทำให้มียอดขายเสาอากาศแบบหนวดกุ้งมียอดขายเพิ่มสูงขึ้นมาก ตลอดจนสินค้าตรายี่ห้อหรือแบรนด์เนมต่างๆที่ต่างจัดกิจกรรมแบบทุ่มสุดตัวทั้งในห้างสรรพสินค้าและไฮเปอร์ มาร์เก็ต เพื่อสร้างความแตกต่างให้โดดเด่น และดึงดูดผู้บริโภค ซึ่งวาระของฟุตบอลโลกจะเป็นโอกาสสำคัญให้ผู้ประกอบการใช้ทำกิจกรรมเพื่อผลักดันยอดขายในปีนี้ให้เข้าเป้า
อย่างไรก็ตาม เกมฟุตบอลโลกอาจเป็นเพียงแรงกระตุ้นการบริโภคได้เพียงชั่วคราวเท่านั้น เพราะมีระยะเวลาการแข่งขันเพียง 1 เดือนเท่านั้น

ผลกระทบทางด้านสังคม 

ฟุตบอลโลกนอกจากจะมีเรื่องดีแล้วนั้นซึ่งจะเป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจแล้วนอกจากนี้ยังมีผลกระทบที่ตามมาคือ 

การพนันบอล ซึ่งโดยการพนันบอลปกติก็มีอยู่แล้ว แต่ในช่วงฟุตบอลโลกก็จะมีเพิ่มเป็นพิเศษ ก็ขอให้ดูบอลด้วยความสุขความสนุกสนาน แต่อย่าให้มีการพนันจนมีปัญหาเดือดร้อนเป็นหนี้ จนต้องก่ออาชญากรรมปล้นจี้ ลักขโมยทรัพย์  และอีกประการที่พึงละเว้น ก็คือ การที่ชมดูบอลประเภทอดตาหลับขับตานอนจนตื่นไปเรียนหรือตื่นไปทำงานไม่ไหว ก็ควรจะแบ่งเวลาการดูการแข่งขันกับความรับผิดชอบของตนเองที่มีอยู่ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องเรียน หรือเรื่องงาน

 

น.ส. ธีราภรณ์ บุญปัญญา

50473010058  โปรแกรมวิชาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

ธนาคารภายในประเทศไทย ได้แก่

1. ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน)

ชื่อย่อ : KTB

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 35 ถนนสุขุมวิท เขตวัฒนา กรุงเทพฯ

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์

Websitewww.ktb.co.th

จำนวนสาขา : 800 สาขา

จุดเด่นธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) (: Krung Thai Bank Public Company Limited) เป็นธนาคารของรัฐ อยู่ภายใต้การกำกับดูแลของกระทรวงการคลัง ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2509โดยการควบกิจการของธนาคารมณฑลและธนาคารเกษตร ซึ่งเป็นธนาคารที่รัฐบาลถือหุ้นใหญ่ทั้งคู่ และใช้ชื่อธนาคารใหม่ที่เกิดจากการควบรวมว่า "ธนาคารกรุงไทย จำกัด" มีตราสัญลักษณ์เป็นรูป นกวายุภักษ์ ซึ่งเป็นตราสัญลักษณ์ของกระทรวงการคลังเป็นสัญลักษณ์ของธนาคาร 

ในระยะแรกของการก่อตั้ง มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่ถนนเยาวราช วัตถุประสงค์ของการรวมธนาคารทั้งสองให้เป็นของรัฐ เพื่อให้มีฐานะการเงินมั่นคง บริการกว้างขวาง ผลการดำเนินงาน ดีขึ้นตามลำดับ จนสำนักงานใหญ่เดิมที่ถนนเยาวราช คับแคบ จึงย้ายสำนักงานมาที่ 35 ถนนสุขุมวิท เขตวัฒนา กรุงเทพฯ เมื่อปี พ.ศ. 2525 ซึ่งใช้สำนักงานนี้มาจนถึงปัจจุบันธนาคารกรุงไทยได้เริ่มดำเนินกิจการมา มีการเจริญเติบโตที่มั่นคง รวดเร็ว มีการปรับปรุง และขยายองค์กรงานใหม่ ซึ่งตอบสนองลูกค้าได้มากขึ้น จนกระทั่งเมื่อปี พ.ศ.2531 ธนาคารกรุงไทย เป็นธนาคารเพียงแห่งเดียวในสมัยนั้น ที่มีสาขาและเอทีเอ็ม (ATM) ครบทุกจังหวัดทั่วประเทศ

               ธนาคารกรุงไทยเป็นรัฐวิสาหกิจ แห่งแรกในประเทศไทยที่เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2532 ปัจจุบันผู้ถือหุ้นใหญ่คือกระทรวงการคลัง โดยถือหุ้นผ่านกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน จำนวน 6.184 พันล้านหุ้น คิดเป็น 55.31% ของหุ้นทั้งหมด

        นอกจากพาณิชยกรรมเช่นธนาคารพาณิชย์ทั่วไปแล้ว ธนาคารกรุงไทยยังเป็นช่องทางของรัฐบาลในการให้บริการทางการเงินสนองตามนโยบายของรัฐ โดยปล่อยสินเชื่อให้ธุรกิจบางประเภท เช่น สินเชื่อเพื่อโอท็อป (OTOP : หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์) สินเชื่อคอมพิวเตอร์ไอซีที สินเชื่อเพื่อการศึกษา ฯลฯ ธนาคารกรุงไทยยังเป็นธนาคารที่หน่วยงานราชการส่วนใหญ่เลือกใช้ อาทิเช่น กรมสรรพากร จ่ายเช็คคืนภาษีเป็นเช็คของธนาคารกรุงไทย และการเบิกจ่ายงบประมาณราชการ รวมถึงบำเหน็จบำนาญต่างๆ ของรัฐก็มีความเกี่ยวข้องกับธนาคารกรุงไทย

พร้อมกันนี้ในช่วงเวลาที่ประเทศไทยประสบปัญหาวิกฤติเศรษฐกิจ ธนาคารกรุงไทยได้ร่วมสนับสนุนนโยบายรัฐบาล ซึ่งเป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจของประเทศด้วยการอำนวย 'สินเชื่อก่อสร้างไทยเข้มแข็ง 2555' เพื่อเสริมสภาพคล่องให้กับผู้ประกอบการ

       เวลาทำการของธนาคารกรุงไทยนั้นแตกต่างจากธนาคารพาณิชย์ทั่วไปที่ปรับตามสภาวะเศรษฐกิจและความเหมาะสมในการดำเนินพาณิชยกรรม แต่เวลาทำการของธนาคารกรุงไทยสอดคล้องกับเวลาทำการของรัฐวิสาหกิจและราชการมากกว่า เช่นในปัจจุบันที่เปิดทำการถึงเวลา 16.30 น. ขณะที่ธนาคารพาณิชย์อื่นๆ ปิดทำการก่อนหน้านั้น 

2. ธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน)

 

 ชื่อย่อ : TMB

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 3000 ถ.พหลโยธิน จอมพล จตุจักร กรุงเทพฯ 10900

โทรศัพท์ : 0-2299-1111

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นางเสาวนีย์ กมลบุตร

Website www.tmbbank.com

จำนวนสาขา : 480 สาขา

จุดเด่น : เป็นธนาคารของประเทศไทย ก่อตั้งโดย จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เมื่อวันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2499 มีทุนจดทะเบียนเริ่มแรก 10 ล้านบาท สำนักงานใหญ่แห่งแรกตั้งอยู่ที่ อาคาร 2 ถนนราชดำเนิน จังหวัดพระนคร(กรุงเทพมหานครในปัจจุบัน) มีพนักงานเริ่มแรก 26 คน

ในระยะแรกแม้จะเป็นธนาคารพาณิชย์มีใบอนุญาตประกอบกิจการได้ทั่วไป แต่จำกัดการทำพาณิชยกรรมอยู่ในแวดวงจำกัดดังนี้

1.  ผู้ถือหุ้น ต้องเป็นทหารเท่านั้น บุคคลทั่วไปถือหุ้นไม่ได้

2.  ลูกค้า มุ่งรับฝากจากทหารและครอบครัวทหารเป็นส่วนใหญ่

3.  วัตถุประสงค์ เพื่ออำนวยความสะดวกในการให้บริหารทางการเงินแก่หน่วยงานทหาร และเพิ่มสวัสดิการการเงินแก่ข้าราชการทหาร

3. ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน)

 

ชื่อย่อ : BBL

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : เลขที่ 333 ถนนสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร

กรรมการผู้จัดการใหญ่

Website : www.bangkokbank.com

จำนวนสาขา : 950 สาขา

จุดเด่น : จดทะเบียนก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2487 โดยข้าราชการ นักธุรกิจ และกลุ่มบุคคลที่มีแนวคิดเดียวกัน มีสโลแกนที่ว่า "เพื่อนคู่คิด มิตรคู่บ้าน"

รายงานผลการสำรวจธนาคารยอดเยี่ยมในประเทศกำลังพัฒนาประจำปี 2546 ซึ่งตีพิมพ์ใน นิตยสารโกลบอล ไฟแนนซ์ ฉบับประจำเดือนพฤษภาคม 2546 ได้กล่าวถึง ธนาคารกรุงเทพ ว่าเป็นธนาคารที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย

4. ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน)

 

ชื่อย่อ : KRUNGSRI Bank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : สาขาสำนักพระรามที่ 3 (สำนักงานใหญ่) (รหัสสาขา 777)1222  ถนนพระราม3 แขวงบางโพงพาง  เขตยานนาวา จังหวัดกรุงเทพฯ 10120 

โทรศัพท์: 0 2296 2000 

เวลาทำการ: จันทร์ - ศุกร์  เวลา 8.00-16.30 น

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายมาร์ค จอห์น อาร์โนลด์ 

Website : www.krungsri.com 

จำนวนสาขา : ในประเทศ 577 สาขา ต่างประเทศ 4 สาขา

จุดเด่น :     เป็นธนาคารของประเทศไทย ก่อตั้งเมื่อวันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2488 มีสำนักงานใหญ่แห่งแรกที่ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซึ่งเป็นอาณาจักรเก่าในประเทศไทย เปิดดำเนินการเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2488 มีทุนจดทะเบียนเริ่มแรก 1 ล้านบาท ต่อจากนั้นได้ก่อตั้งสำนักงานในกรุงเทพมหานคร ณ ถนนราชวงศ์ และย้ายสำนักงานใหญ่มาตั้งอยู่ที่ ถนนอนุวงศ์ และ ถนนลำพูนไชย ในปี พ.ศ. 2491 และ พ.ศ. 2493 ตามลำดับ

        วันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2513 ธนาคารได้รับตรา ครุฑ มาประดิษฐาน ณ ธนาคาร ในปีเดียวกันได้ย้ายสำนักงานใหญ่มาอยู่ ถนนเพลินจิต ในวันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2520 ธนาคารได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ในวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2536 ธนาคารได้แปรสภาพเป็น บริษัทมหาชน

       ในเดือน ธันวาคม พ.ศ. 2539 ธนาคารได้ย้ายสำนักงานใหญ่มาอยู่ที่ ถนนพระราม 3 เปิดดำเนินการอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2540และใช้สำนักงานที่ถนนพระราม 3 มาตั้งแต่นั้นจนถึงปัจจุบัน

5. ธนาคารกสิกรไทย 

 

ชื่อย่อ : KBank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : อาคารราษฎร์บูรณะ1 ซอยราษฎร์บูรณะ 27/1 ถนนราษฎร์บูรณะ แขวงราษฎร์บูรณะ เขตราษฎร์บูรณะ กรุงเทพฯ 10140 

โทรศัพท์ : 0 2222 0000 กด 1  โทรสาร : 0 470 1144-5 

e-mail : [email protected]

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายบรรยงค์ ล่ำซำ  - ประธานกรรมการ  - กรรมการที่ปรึกษาแก่     คณะจัดการ

Website : www.kasikornbank.com

จำนวนสาขา : 595 สาขา

จุดเด่น : ธนาคารกสิกรไทยมุ่งมั่นเป็นสถาบันการเงินที่มั่นคงที่สุด ที่ริเริ่มในสิ่งใหม่ และกระทำทุกวิถีทางเพื่อเป็นสถาบันการเงินไทยที่ให้บริการอย่างดีที่สุดแก่ลูกค้า

6.  ธนาคารเกียรตินาคิน

 

ชื่อย่อ : KKBank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 500 อาคารอัมรินทร์ ทาวเวอร์ ชั้น 11 ถนนเพลินจิต 
แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

โทรศัพท์0-2680-3333
โทรสาร0-2256-9933  

กรรมการผู้จัดการใหญ่ :   นางสาวนวพร เรืองสกุล 

Websitewww.kiatnakin.co.th

จำนวนสาขา : 52 สาขา

จุดเด่น :  เป็นธนาคารพาณิชย์เต็มรูปแบบ (Commercial Bank) ซึ่งเปิดดำเนินการอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม 2548 เพื่อให้บริการทางการเงินที่หลากหลาย อาทิ บริการด้านเงินฝากประจำ ออมทรัพย์ กระแสรายวัน ประกันชีวิต สินเชื่อรถยนต์ สินเชื่อพัฒนาโครงการ สินเชื่อธุรกิจอพาร์ทเมนท์ สินเชื่อธุรกิจฟลอร์แพลน สินเชื่อเพื่อธุรกิจขนส่ง สินเชื่อธุรกิจสิ่งพิมพ์และบรรจุภัณฑ์

ธนาคารเกียรตินาคิน ได้รับการจัดอันดับความน่าเชื่อถือ ระดับ A- จากบริษัท ทริส เรทติ้ง จำกัด แนวโน้มอันดับเครดิต Stable หรือคงที่ ซึ่งสะท้อนถึงความน่าเชื่อถือของธนาคาร ในสายตาของลูกค้าและนักลงทุนรวมถึงความมั่นคงทางการเงินที่สูง

7. ธนาคารซิตี้แบงก์

 

ชื่อย่อ : CitiBank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : ธนาคารซิตี้แบงก์ เอ็น.เอ. สาขากรุงเทพฯ

เลขที่ 399 ถนนสุขุมวิท อาคารอินเตอร์เชนจ์ 21 
แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : 

Websitewww.citibank.co.th

จำนวนสาขา : 47 สาขา

จุดเด่น :   ธนาคารซิตี้แบงก์ และบริษัทในเครือซิตี้กรุ๊ปให้บริการแก่ลูกค้ารายย่อย และลูกค้าสถาบันมากกว่าสถาบันการเงินอื่นใด ธนาคารซิตี้แบงก์เริ่มเปิดดำเนินกิจการ ในมหานครนิวยอร์คในปี พ.ศ. 2355 ปัจจุบันธนาคารมีเครือข่ายครอบคลุมทั่วโลก มากกว่า 3,000 สาขาใน 100 ประเทศ กิจการบุคคลธนกิจของธนาคารให้บริการบัตรเครดิตกว่า 60 ล้านใบทั่วโลก จาก เครือข่ายที่กว้างไกลของธนาคารทำให้สามารถให้บริการด้านเงินทุน และธุรกรรมการเงินเพื่อตอบสนองลูกค้าสถาบันทั้งในและต่างประเทศ รวมทั้งประเทศในตลาดเกิดใหม่

  ซิตี้จ้าหน้าที่มากกว่า 255,000 คนทั่วโลก ซึ่งได้รับความไว้วางใจจากลูกค้า และนักลงทุน   เจ้าหน้าที่ของเราเป็นผู้มีความสามารถ มีประสบการณ์ มีประสิทธิภาพสูงซึ่งทำให้เรามีความโดดเด่นมากกว่าสถาบันการเงินอื่นใด ทำให้
ซิตี้กรุ๊ปสามารถให้บริการการเงินตอบสนองลูกค้าได้ดียิ่งขึ้น

8. ธนาคารทิสโก้ จำกัด (มหาชน)

 

ชื่อย่อ : Tisco Bank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : ธนาคารทิสโก้ จำกัด (มหาชน)

       ธนาคารทิสโก้ทาวเวอร์ 48/2 ถนนสาทรเหนือ
    แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 

โทรศัพท์0-2680-3333

กรรมการผู้จัดการใหญ่ :   นายสุทัศน์ เรืองมานะมงคล  กรรมการผู้จัดการใหญ่

Websitewww.tisco.co.th

จำนวนสาขา : 46 สาขา

จุดเด่น : 

9. ธนาคารซีไอเอ็มบี ไทย 

ชื่อย่อ : CIMB

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : อาคารหลังสวน (สำนักงานใหญ่)

เลขที่ 44 ถนนหลังสวน แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
โทรศัพท์: 0-2626-7000 
โทรสาร: 0-26573-3333

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายสุภัค ศิวะรักษ์

 

 

Website www.cimbthai.com                     

จำนวนสาขา : 147 สาขา

จุดเด่น :   ธนาคาร ซีไอเอ็มบี ไทย จำกัด (มหาชน) เดิมชื่อ ธนาคาร ไทยธนาคาร จำกัด (มหาชน) ก่อตั้งขึ้นตั้งแต่ปีพ.ศ. 2541 โดยมีกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงินเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ที่สุดของธนาคารมาโดยตลอด จากนั้นเมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 กลุ่มซีไอเอ็มบี โดย CIMB Bank Berhad ได้เข้าเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ที่สุดในไทยธนาคาร และได้ดำเนินการจดทะเบียนเปลี่ยนชื่อจากธนาคารไทยธนาคาร เป็น ธนาคาร ซีไอเอ็มบี ไทย จำกัด (มหาชน) หรือ “CIMB Thai Bank Public Company Limited” ในภาษาอังกฤษ เมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2552 ซึ่งชื่อใหม่ของธนาคารนี้ นับเป็นการสะท้อนถึงการส่งผ่านไทยธนาคารเข้าสู่การเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มซีไอเอ็มบีอย่างเป็นทางการ

กลุ่มซีไอเอ็มบี ดำเนินธุรกิจในฐานะของธนาคารผู้ให้บริการทางการเงินอย่างครบวงจร (Universal Bank) โดยเป็นผู้ให้บริการทางการเงินที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศมาเลเซีย และอันดับ 5 ของภูมิภาคตะวันออกเฉียงใต้ เมื่อจัดอันดับตามขนาดสินทรัพย์ และมีเงินทุนหมุนเวียนในตลาดประมาณ 6 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ 
 
ปัจจุบัน กลุ่มซีไอเอ็มบีมีฐานการตลาดหลักด้านการเงินธนาคารแบบครบวงจรในประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซีย สิงคโปร์ และไทย นอกจากนี้ ยังมีเครือข่ายทั่วภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตลอดจนศูนย์ให้บริการทางการเงินทั่วโลก รวมถึงในประเทศต่างๆ ที่ลูกค้ามีธุรกิจและการลงทุนอยู่

ทั้งนี้ กลุ่มซีไอเอ็มบี ดำเนินธุรกิจผ่าน 3 หน่วยงานหลักที่มีแบรนด์ดังนี้ CIMB Bank, CIMB Investment Bank และ CIMB Islamic โดย CIMB Bank เป็นส่วนสำคัญในการดำเนินธุรกิจด้านธนาคารพาณิชย์ของกลุ่ม ขณะที่ CIMB Islamic ดำเนินธุรกิจด้านการเงินและการธนาคารอิสลามในระดับโลก ซึ่งทั้ง CIMB Bank และ CIMB Islamic ให้บริการธุรกิจรายย่อย (Retail Banking) บนระบบธนาคาร 2 ระบบควบคู่กัน โดยมีลูกค้ารายย่อยมากกว่า 4.7 ล้านคนใน 367 สาขาทั่วประเทศมาเลเซีย
 
กลุ่มซีไอเอ็มบี ถือหุ้นโดย Bumiputra – Commerce Holdings Bhd ซึ่งเป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศมาเลเซีย ด้วยมูลค่าตลาด (Market Capitalization) เกือบ 49.7 พันล้านริงกิต หรือเกือบ 5 แสนล้านบาท และมีพนักงานรวมกว่า 36,000 คน ประจำอยู่ใน 11 ประเทศ

 10. ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)

 

ชื่อย่อ : SCB

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : สำนักงานใหญ่ 9 ถนนรัชดาภิเษก เขตจตุจักร กรุงเทพ 10900

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : คุณหญิงชฎา วัฒนศิริธรรม

Websitewww.scb.co.th

จำนวนสาขา : 873 สาขา

จุดเด่น: โดยมุ่งเน้นการให้บริการในตลาดการเงิน กลุ่มผู้ค้าหลักด้วยการใช้ประโยชน์อย่างสูงสุดจากเครือข่ายของกลุ่มไทยพาณิชย์และมีความรับผิดชอบต่อสังคมอย่างเต็มที่

11. ธนาคารธนชาต

ชื่อย่อ : TNC Bank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ เลขที่ 900 อาคารต้นสนทาวเวอร์ ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายบันเทิง ตันติวิท ประธานกรรมการ

Websitewww.thanachartbank.co.th

จำนวนสาขา : 50 สาขา

จุดเด่น : ก่อนมาเป็น ธนาคารธนชาต ในปี 2541 กระทรวงการคลังประกาศออกใบอนุญาตประกอบการธนาคารพาณิชย์แบบจำกัดขอบเขตธุรกิจ แทน ใบอนุญาตประกอบการ Super Finance ตามนโยบายสนับสนุนการรวมกิจการระหว่างสถาบันการเงิน โดยธนาคารพาณิชย์ที่จะยื่นขอจะต้องเกิดจากการรวมกิจการอย่างน้อย 5 แห่ง และมีเงินกองทุนไม่ต่ำกว่า 10,000 ล้านบาท (หลังหักสำรองค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญแล้ว) ต่อมาในปี 2542 บริษัท ทุนธนชาต จำกัด (มหาชน) ได้ยื่นต่อธนาคารแห่งประเทศไทยเพื่อขออนุมัติใบอนุญาตประกอบการธนาคารพาณิชย์แบบจำกัดขอบเขตธุรกิจ จากนั้นธนาคาร ธนชาตก็ได้เริ่มเปิดให้บริการเป็นวันแรกในวันที่ 22 เมษายน และในวันที่ 1 มีนาคม 2547 ธนาคารธนชาต จำกัด (มหาชน) ก็ได้รับใบอนุญาตประกอบการธนาคารพาณิชย์เต็มรูปแบบ หลังจากนั้น ธนาคารแห่งโนวาสโกเทีย (สโกเทียแบงค์) ธนาคารที่ได้รับการยอมรับโดยทั่วไปว่าเป็นธนาคารที่มีความมั่นคงอันดับต้นๆ ของโลก ได้เข้ามาร่วมถือหุ้นธนาคารธนชาตอยู่ร้อยละ 49 เมื่อวันที่ 3 ก.พ.2552 และเมื่อวันที่ 11 มี.ค.53 ธนาคารธนชาตได้รับเลือกจากกองทุนฟื้นฟูฯ ให้เข้าซื้อหุ้นธนาคารนครหลวงไทย จำนวน 1,005,330,950 หุ้น (47.58%) ในราคาหุ้นละ 32.50 บาท ซึ่งจะทำให้ธนาคารธนชาตเป็นธนาคารพาณิชย์อันดับ 5 ของไทย มีสินทรัพย์ 8.57 แสนล้านบาท มีสาขารวม 687 แห่งทั่วประเทศ มีเครื่องเอทีเอ็มจำนวน 2,101 เครื่อง

12. ธนาคารนครหลวงไทย

 

 

 

ชื่อย่อ : SCIB

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 1101 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400

โทรศัพท์ : (662) 208-5000 อีเมล์ [email protected]

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายชัยวัฒน์ อุทัยวรรณ์  ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่

Website www.scib.co.th

จำนวนสาขา : 400 สาขา

จุดเด่น : เป็นธนาคารของประเทศไทย ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2484 ในชื่อ "ธนาคารนครหลวงแห่งประเทศไทย"

น.ส.ประภัสสร จันทะวงศา

1.ธนาคารแห่งประเทศไทย

(Bank of Thailand)

 

ผู้ว่าการ ธนาคารแห่งประเทศไทย                  ดร. ธาริษา วัฒนเกส

ชื่อเว็บไซต์                                                            http://www.bot.or.th

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่                                            273 ถนนสามเสน บางขุนพรหม เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200

เบอร์กลาง โทร.                                                  0-2283-5353

โทรสาร :                                                              0-2280-0449, 0-2280-0626

จำนวนสาขา                                                         -สำนักงานใหญ่ กรุงเทพมหานคร

-สาขาสุรวงศ์

-สาขาเชียงใหม่ และสาขาย่อยลำปาง สำนักงานภาคเหนือ

-สาขาขอนแก่น สำนักงานภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

-สาขาหาดใหญ่ สำนักงานภาคใต้

ตัวย่อหุ้น

2.ธนาคารกสิกรไทย

(KasikornBank)

http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/004.gif

นาย บรรยงค์  ล่ำซำ                            ประธานกรรมการ

                                 เว็บไซด์                                                 http://www.kasikornbank.com

สำนักงานใหญ่                                    1 ซอยกสิกรไทย ถ.ราษฎร์บูรณะ แขวงราษฎร์บูรณะ เขตราษฎร์บูรณะ กรุงเทพมหานคร 10140

โทรศัพท์                                               0-2888-8888

โทรสาร                                                 0-2888-8882

จำนวนสาขา                                         595

ตัวย่อหุ้น                                               K BANK

3.ธนาคารไทยพาณิชย์

(Siam Commercial Bank)

สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ 

http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/014.gif

ดร.วิชิต สุรพงษ์ชัย                             ประธานกรรมการบริหาร

เว็บไซด์                                                http://www.scb.co.th

สำนักงานใหญ่                                    9 ถ.รัชดาภิเษก แขวงจตุจักร

เขตจตุจักร   กรุงเทพมหานคร 10900

โทรศัพท์                                               0-2544-1000
โทรสาร                                                 0-2544-4948

ตัวย่อหุ้น                                               SCB

จำนวนสาขา                                         987

 

4.ธนาคารธนชาต

(Thanachart Bank)

http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/065.gif

นายศุภเดช พูนพิพัฒน์                                      ประธานกรรมการบริหาร

เว็บไซด์                                                                  http://www.thanachartbank.co.th

สำนักงานใหญ่                                                    900 อาคารต้นสนทาวเวอร์ ถ.เพลินจิต

แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

โทรศัพท์                                                               0-2655-9000

โทรสาร                                                                 0-2655-9001

ตัวย่อหุ้น                                                               TBANK

จำนวนสาขา                                                         256

 

5.ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร

(Bank for Agriculture and Agricultural Cooperatives)

  http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/034.gif

นาย กรณ์ จาติกวณิช                          ประธานกรรมการ

ชื่อเว็บไซต์                                     www.baac.or.th

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่                            เลขที่ 469 ถนน นครสวรรค์ เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300

โทร                                                        (662) 280-0180, 281-7355

โทรสาร                                                 (662) 280-0442, 281-6164, 280-5320

จำนวนสาขา                                         112

ตัวย่อ                                                  BAC = Bank for Agriculture and Agricultural Cooperatives (ธกส หรือ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร - ไม่อยู่ในตลาดหลักทรัพย์   ชื่อย่ออย่างเป็นทางการคือ BAAC)

6.ธนาคารออมสิน

(Government Saving Bank)

http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/030.gif

นายวินัย  วิทวัสการเวช                     ประธานกรรมการ

นาย เลอศักดิ์  จุลเทศ                          ผู้อำนวยการธนาคารออมสิน 

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่                            470 ถนนพหลโยธิน สามเสนใน เขตพญาไท
กรุงเทพ 10400

ติดต่อสอบถาม โทร                            1115 หรือ 0-2299-8000

เว็บไซด์                                                 http://www.gsb.or.th

จำนวนสาขา                                         636

ตัวย่อ                                                      GSB = Government Savings Bank

(ธ ออมสิน - ไม่อยู่ในตลาดหลักทรัพย์)

7.ธนาคารกรุงไทย (Krung Thai Bank)

รัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงการคลัง

 http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/006.gif

นายศุภรัตน์ ควัฒน์กุล                       ดำรงตำแหน่งประธานกรรมการ

เว็บไซด์                                                http://www.ktb.co.th

สำนักงานใหญ่                                    35 ถ.สุขุมวิท แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110

โทรศัพท์                                               0-2255-2222

โทรสาร                                                 0-2255-9391-3

จำนวนสาขา                                         615

ตัวย่อหุ้น                                               KTB

8.ธนาคารอาคารสงเคราะห์

(Government Housing Bank)

 http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/033.gif

นายอารีพงศ์ ภู่ชอุ่ม                            ประธานกรรมการ

เว็บไซด์                                                 http://www.ghbank.co.th

จำนวนสาขา                                         63 ถนนพระราม 9 เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310

โทร                                                        02-6459000

จำนวนสาขา                                         886

ตัวย่อ

9.ธนาคารทหารไทย (TMB Bank)

กลุ่มกองทัพไทย เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ 

 http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/011.gif

นาง เสาวนีย์  กลมบุตร                      ประธานกรรมการ

เว็บไซด์                                                http://www.tmbbank.com

สำนักงานใหญ่                                    000 ถ.พหลโยธิน แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900

โทรศัพท์                                               0-2299-1111

โทรสาร                                                 0-2990-6010

จำนวนสาขา                                         344

ตัวย่อหุ้น                                               TMB

10.ธนาคารกรุงศรีอยุธยา

 (Bank of Ayudhaya)

http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/025.gif

นาย วีระพันธุ์  ทีปสุวรรณ                ประธานกรรมการ

เว็บไซด์                                                http://www.krungsri.com

สำนักงานใหญ่                                    1222 ถ.พระรามที่ 3 แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร 10120

โทรศัพท์                                               0-2296-2000

โทรสาร                                                 0-2683-1304

ตัวย่อหุ้น                                               BAY

จำนวนสาขา                                         577

11.ธนาคารกรุงเทพ

(Bangkok Bank)

http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/002.gif

ชาติศิริ โสภณพนิช                                             ประธานกรรมการ

เว็บไซด์                                                                  http://www.bangkokbank.com

สำนักงานใหญ่                                                     333 ถ.สีลม แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

โทรศัพท์                                                                0-2231-4333

โทรสาร                                                                  0-2236-8281-2

ตัวย่อหุ้น                                                              BBL

จำนวนสาขา                                                        955

12.ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย

(Small and Medium Enterprise Development Bank of Thailand)

ประธานกรรมการธนาคาร                                นาย พงษ์ภาณุ  เศวตรุนทร์

ชื่อเว็บไซต์                                                            www.smebank.co.th

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่                                            310 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพ

โทร.                                                                 0-2265-3000

โทรสาร                                                          0-2265-4000

จำนวนสาขา                                                         94 สาขา

ตัวย่อหุ้น

13.ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย

 (Export-Import Bank of Thailand)

 http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/035.gif

ประธานกรรมการ                               นายจีรศักดิ์  พงษ์พิษณุพิจิตร์           

ชื่อเว็บไซต์                                            http://www.exim.go.th

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่                            อาคารเอ็กซิม 1193 ถนนพหลโยธิน พญาไท กรุงเทพฯ 10400

โทร                                                        02-2713700 , 02-2780047 ,  02-6172111

โทรสาร                                                 02-2713204

จำนวนสาขา                                         588

ตัวย่อ

14.ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย

 (Islamic Bank of Thailand)

http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/066.gif

นายธีรศักดิ์ สุวรรณยศ                       ประธานอนุกรรมการบริหาร

สำนักงานใหญ่                                     เลขที่ 66 ชั้น M, 21, 22 อาคารคิวเฮ้าส์ ถนนสุขุมวิท 21  แขวงคลองเตยเหนือ

                                                                เขตวัฒนากรุงเทพมหานคร 10110
โทรศัพท์                                                0-2650-6999
แฟกซ์                                                    0-2664-3345
อีเมล์                                                       [email protected]

SWIFT                                                                  TIBTTHBK

จำนวนสาขา                                         26

ตัวย่อ

15.ธนาคารเกียรตินาคิน

 (Kiatnakin Bank)

http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/069.gif

นางสาว นวพร  เรืองสกุล                ประธานกรรมการธนาคาร กรรมการอิสระ

เว็บไซด์                                                  http://www.kiatnakin.co.th

สำนักงานใหญ่                                    500 อาคารอัมรินทร์ทาวเวอร์ ถ.เพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10331

โทรศัพท์                                               0-2680-3333

โทรสาร                                                 0-2256-9933

จำนวนสาขา                                         37

ตัวย่อหุ้น                                               KK

16.ธนาคารซิติแบงก์

(Citibank)

http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/017.gif

ประธานกรรมการ

เว็บไซด์                                                http://www.citibank.co.th

สำนักงานใหญ่                                    82 อาคารแสงทองธานี ถ.สาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

โทรศัพท์                                               0-2232-2000, 0-2639-2000

โทรสาร                                                 0-2232-3500

จำนวนสาขา

ตัวย่อหุ้น

17.ธนาคารทิสโก้

(Thai Investment and Securities Company Bank)

http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/067.gif

นายปลิว มังกรกนก                            ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร 

เว็บไซด์                                                 http://www.tisco.co.th

สำนักงานใหญ่                                    48/2 ทิสโก้ทาวเวอร์ ชั้น 1 ถ.สาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

โทรศัพท์                                               0-2633-6000

โทรสาร                                                 0-2633-6800

จำนวนสาขา                                         41

ตัวย่อหุ้น                                               TISCO

18.ธนาคารซีไอเอ็มบี ไทย

 (CIMB Thai Bank)

http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/022.gif

ดาโต๊ะ ศรี นาเซียร์ ราซัค                  ประธานบริหารกลุ่ม CIMB GROUP

สำนักงานใหญ่                                    44 ถ.หลังสวน แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
โทรศัพท์                                               0-2626-7000, 0-2638-8000
โทรสาร                                                 0-2633-9026

จำนวนสาขา                                         147

ตัวย่อหุ้น                                               CIMBT

(ชื่อเดิม ธ.ไทยธนาคาร จำกัด(มหาชน)

19.ธนาคารนครหลวงไทย

(Siam City Bank)

http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/015.gif

นายสมเจตน์ หมู่ศิริเลิศ                                     ประธานกรรมการบริหาร 

เว็บไซด์                                                                http://www.scib.co.th

สำนักงานใหญ่                                                    1101 ถ.เพชรบุรีตัดใหม่ แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400

โทรศัพท์                                                               0-2208-5000

โทรสาร                                                                 0-2253-1240, 0-2226-3798

จำนวนสาขา                                                         411

ตัวย่อหุ้น                                                               SCIB

20.ธนาคารยูโอบี

(United Overseas Bank, Thailand)

http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/FILogos/024.gif

คุณ วี โชว เยา                                                      ประธานกรรมการ

เว็บไซด์                                                                  http://www.uob.co.th

สำนักงานใหญ่                                                    191 ถ.สาทรใต้ แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120

โทรศัพท์                                                               0-2343-3000

โทรสาร                                                                 0-2287-2973-4

จำนวนสาขา                                                         148

ตัวย่อหุ้น        

นางสาวธีราภรณ์ บุญปัญญา

50473010058 โปรแกรมวิชาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

ถาม : การแข่งขันฟุตบอลโลกครั้งนี้ส่งผลอย่างไรบ้างต่อภาคธุรกิจใดบ้าง และจะมีผลกระทบต่อภาคสังคมอย่างไรบ้าง

ตอบ : มหกรรมการแข่งขัน "ฟุตบอลโลก 2010" หรือ FIFA World Cup 2010 ที่ประเทศแอฟริกาใต้ ภาคธุรกิจที่ได้รับผลประโยชน์โดยตรงจากการที่ประเทศแอฟริกาใต้เป็นเจ้าภาพในมหกรรมการแข่งขันฟุตบอลโลกคือ ภาคธุรกิจการส่งออกอาหารทะเล เนื่องจากทางเจ้าภาพต้องจัดเตรียมอาหารให้เพียงพอต่อความต้องการของจำนวนคนที่จะหลั่งไหลเข้ามาภายในประเทศ ซึ่งแอฟริกาเป็นประเทศที่มีการนำเข้าอาหารทะเลจากประเทศไทศเป็นอันดับ 1 และถือเป็นช่วงเวลาที่ผู้ประกอบการภาคธุรกิจต่างๆ พยายามโหมกระแส ช่วงชิงโอกาสสร้างรายได้ ด้วยการจัดอีเวนท์และโปรโมชั่นส่งเสริมการขายเก็บเกี่ยวส่วนแบ่งตลาดและ สร้างอารมณ์ซื้อ รับสัญญาณการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจที่เริ่มเห็นอย่างชัดเจน โดยเฉพาะสินค้าที่เชื่อมกับกีฬาหรือสปอร์ต มาร์เก็ตติ้งอื่นๆ ข้อมูลจากนายกสมาคมโฆษณาธุรกิจแห่งประเทศไทย กล่าวว่า ตอนนี้สินค้าทุกตัวต่างคาดหวังว่าอีเวนต์ฟุตบอลโลกจะเป็นตัวช่วยดันให้ยอด ขายโดยรวมในปีนี้เติบโตเพิ่มขึ้นได้ โดยเฉพาะกลุ่มสินค้าที่ร่วมเป็นผู้สนับสนุนการถ่ายทอดสดและสนับสนุนการจัด งานอีเวนต์อย่างเป็นทางการ ขณะที่สินค้าที่ไม่มีงบฯมากพอต่างก็พยายามหาช่องทางเพื่อทำกิจกรรมร่วมอีก จำนวนมาก สินค้าแห่จัดแคมเปญ เครื่องใช้ไฟฟ้ากลุ่มจอภาพคึกคักเป็นอย่างมากซึ่งทั้งนี้ การส่งออกสินค้าเครื่องใช้ไฟฟ้า ในเดือน ม.ค.-เม.ย. 2553 มีมูลค่า 5,889 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ขยายตัวร้อยละ 36.3 จากช่วงเวลาเดียวกันของปีที่แล้ว ผลสำรวจพฤติ กรรมการใช้จ่ายของผู้บริโภคในช่วงเทศกาลฟุตบอลโลก 2010 จำนวน 1,112 ตัวอย่าง วันที่ 26-31 พ.ค. 53 พบว่าการใช้จ่ายช่วงเทศกาลฟุตบอลโลกจะมีเม็ดเงินสะพัดกว่า 59,672 ล้านบาทเพิ่มขึ้น 50.48% เมื่อเทียบกับฟุตบอลโลกปี ค.ศ. 2006 ที่มีเงินสะพัด 39,655 ล้านบาท โดยแยกเม็ดเงินจากการพนันบอล 37,200 ล้านบาทเพิ่มขึ้น 90.48% จาก 4 ปีก่อนที่ 19,534 ล้านบาท และการซื้อสินค้าอุปโภคบริโภคกับอื่น ๆ 22,464 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 11.64% จาก 20,121 ล้านบาท ทั้งนี้ผลสำรวจระบุว่ามีจำนวนผู้ตอบถึง 50.1% ที่ใช้จ่ายเพิ่มขึ้นจากฟุตบอลโลกหนที่แล้ว อีก 31.5% ไม่เปลี่ยนแปลง และ 18.4% ที่ใช้จ่ายลดลง โดยแยกค่าใช้จ่ายรายบุคคลเป็นค่าตั๋วเครื่องบินชมการแข่งขัน 56,870 บาท โทรทัศน์ วิทยุ คอมพิวเตอร์ 7,413 บาท พนันบอล 6,070 บาท สังสรรค์จัดงานเลี้ยง 2,507 บาท ติดตั้งสัญญาณดาวเทียม 2,269 บาท ทานอาหารนอกบ้าน 2,152 บาท ค่าไฟ 1,106 บาท และซื้อสินค้า ทีมฟุตบอล 1,349 บาท ซึ่งยอดการใช้จ่ายรายบุคคล ในฟุตบอลโลกหนนี้ เทียบกับบอลโลกปี ค.ศ. 2006 เพิ่มขึ้น 31.8% เทียบกับบอลยูโร 2008 เพิ่มขึ้น 13.4% และเทียบกับการใช้จ่ายในกรณีไม่มีบอลโลกเพิ่มขึ้น 28.2% “การใช้จ่ายในเทศกาลฟุตบอลโลก ปีนี้ จะช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจไทยได้ในระดับหนึ่ง เพราะเป็นกิจกรรมที่มีการจับจ่ายใช้สอย และผ่อนคลายความเครียดให้คนไทย โดย ค่าใช้จ่ายส่วนหนึ่งประมาณ 5,000-10,000 ล้านบาท จะเป็นการใช้จ่ายจากภาคธุรกิจ ในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการขาย เช่น งานอีเวนต์ การทำโปรโมชั่นของสินค้า รวมถึงค่าใช้จ่ายด้านโฆษณา ซึ่งถือเป็นค่าใช้จ่ายพิเศษที่เพิ่มขึ้นมาไม่ได้รวมกับการใช้จ่ายปกติ ส่วนการใช้จ่ายภาคประชาชนมาจากการซื้อสินค้าอุปโภคบริโภคและสังสรรค์ 19,000 ล้านบาท การซื้อเครื่องใช้ไฟฟ้าอุปกรณ์รับสัญ ญาณ 2,205 ล้านบาท และอื่น ๆ อีก 1,234 ล้านบาท จึงคาดว่าฟุตบอลโลกหนนี้ช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจให้กลับขึ้นมาได้ 0.2-0.3%” นอกจากนี้พฤติกรรมที่น่าสนใจพบว่า มีสถิติการเล่นพนันเพิ่มขึ้นจาก 4 ปีก่อนถึง 78.3% และเพิ่มขึ้นจากฟุตบอลลีกฤดูกาล ปกติ 53.7% อีกทั้งผู้ติดตามถึง 48% ตอบว่าจะเล่นพนันที่เหลือ 52% ไม่เล่น ขณะที่จำนวนเงินใช้เล่นพนันรวมตลอดการแข่งขันเฉลี่ยคนละ 6,070 บาท เฉลี่ยนัดละ 1,090 บาท และคาดว่าได้รับเงินต่อนัด 4,352 บาท โดยอาชีพที่ตอบเล่นพนันมากสุดคือ นักเรียนนักศึกษา รองลงมาเป็นข้าราชการ ลูกจ้างรายวัน เจ้าของกิจการและพนักงานบริษัทเอกชน สำหรับสาเหตุที่ทำให้คนหันมาเล่นพนันบอลกันมาก เพราะต้องการรางวัลจากการพนันบอล 50.8% ความสนุก 25.1% การชักชวนจากเพื่อน 11.9% และเล่นเป็นแฟชั่น 10.7% นอกจากนี้ผลสำรวจ 57.9% ยังเห็นด้วยต่อการออกกฎหมายการพนันฟุต บอล โดยหนุนให้รัฐบาลเป็นเจ้ามือ 38.8% และเปิดโดยเอกชน 19.1% ส่วนที่เหลือ 42.1% ไม่เห็นด้วยให้มีการเปิดพนัน ธุรกิจที่ได้รับอานิสงส์ ได้แก่ สื่อโทร ทัศน์ เพราะประชาชนส่วนใหญ่ติดตามฟุตบอลโลกจากสื่อโทรทัศน์มากที่สุด ซึ่งจะเป็นผลให้งบโฆษณาเทเข้ามาที่สื่อนี้เพิ่มขึ้นกว่า 10% รวมทั้งธุรกิจเครื่องดื่ม อาหารจะคึกคักตามไปด้วย ส่วนพฤติกรรมการใช้จ่ายเพิ่มขึ้นได้แก่ ทานข้าวนอกบ้าน รองลงมาเป็นส่งไปรษณียบัตร หนังสือพิมพ์ สลากกินแบ่งรัฐบาล ซื้อสินค้าของที่ระลึก ติดตั้งสัญญาณดาวเทียม สังสรรค์จัดเลี้ยง ซื้อโทรทัศน์ใหม่. และจากกระแสบอลโลกนี้ความจริงจะส่งผลกระทบต่อภาคสังคมคือ ทางด้านจิตใจจะได้รับความสนใจจากประชาชนทุกเพศทุกวัย เพราะที่จริงแล้วนั้นกระแสน่าจะบูมมาก่อนหน้านี้แล้ว แต่เนื่องจากเกิดเหตุการณ์ไม่สงบภายใจบ้านเมืองแต่หลังจากนี้ คนจะเปลี่ยนความสนใจจากเรื่องเหตุการณ์เครียด ๆ มาร่วมกันเชียร์ฟุตบอลอย่างสนุกสนานและทำให้สังคมมีความสุขมากขึ้น และจะช่วยให้บรรยากาศกลับมาสู่ภาวะ ปกติ ทำให้ลด และลืมลดความขัดแย้งต่าง ๆ ไปได้ในเวลาเดียวกัน ส่วนในภาคสังคมในด้านกายภาพด้านอื่น ๆ อาจมีปัญหาอาชญากรรมต่าง ๆ เพิ่มมากขึ้น เพราะจากสถิติการเล่นพนันข้างต้น อาจคาดการณ์ได้ว่า มีได้ก็ต้องมีเสีย ผู้ที่เสียพนันก็ต้องหาวิธีหาเงินเพื่อจ่ายพนันบอล และใช้วิธีผิด ๆ ในการหาเงิน เช่น ปัจจุบันมีข่าวปล้นร้านสะดวกซื้อ ออกมารายเป็นรายวันเห็นได้ชัดว่าเพียงแค่เริ่มต้นการแข่งขัน ก็มีปัญหาต่าง ๆ ออกมาให้เราเห็นแล้ว ดังนั้นภาครัฐต้องทำให้สังคมปราศจากการพนัน หากทำได้อย่างน้อยก็สามารถลดการก่ออาชญากรรมต่าง ๆ ได้ คนในสังคมจะรู้สึกมีความปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สิน

นางสาวจันทกานต์ ศรีมาวรรณ์

โจทย์....ให้ทุกคนหาสัญญลักษณ์ธนาคารในประเทศไทยทุกแห่ง  ชื่อย่อ  ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่  website  จำนวนสาขาโดยประมาณ จุดเด่นของแต่ละธนาคาร และการแข่งขันฟุตบอลโลกครั้งนี้ส่งผลอย่างไรต่อภาคธุกิจใดบ้าง และจะมีผลกระทบภาคสังคมอย่างไรบ้าง

ธนาคารกลางแห่งชาติ 

ธนาคารแห่งประเทศไทย   The Bank of Thailand

ชื่อย่อ :  (ธปท.)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  :  กรุงเทพมหานคร ( แถวศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิต)

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่  :  นางธาริษา วัฒนเกส  (8 ตุลาคม 2549 – ปัจจุบัน)

website  :  www.bot.or.th

จำนวนสาขาโดยประมาณ  :  สำนักงานใหญ่ กรุงเทพมหานคร

                                         สาขาสุรวงศ์

                                         สาขาเชียงใหม่ และสาขาย่อยลำปาง  สำนักงานภาคเหนือ

                                          สาขาขอนแก่น  สำนักงานภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

                                          สาขาหาดใหญ่  สำนักงานภาคใต้

จุดเด่น  :  มีหน้าที่หลักในการดูและกำกับเรื่องการเงินของชาติ ทั้งออกกฎเกณฑ์และควบคุมสถาบันการเงิน นำออกหมุนเวียนซึ่งธนบัตรไทยรวมถึงการควบคุมการถ่ายโอนเงินตราระหว่างประเทศ และเฝ้าระวังอัตราแลกเปลี่ยนเงินบาทเทียบกับสกุลเงินตราอื่น

ธนาคารของรัฐบาล 

2. ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย (Small and Medium Enterprise Development Bank of Thailand)

ชื่อย่อ :  (ธพว.หรือเอสเอ็มอีแบงก์)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  :  อาคาร  SME BANK TOWER   เลขที่  310  ถนนพหลโยธิน  แขวงสามเสนใน  เขตพญาไท  กทม. 10400  ใกล้บริเวณรถไฟฟ้าสถานีอารีย์

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่  :  นายโสฬส  สาครวิศว

website  :  www.smebank.co.th

จำนวนสาขาโดยประมาณ  :  สำนักงานใหญ่  กรุงเทพมหานคร  /  สำนักพหลโยธิน

ภาคนครหลวง : สาขากระทรวงอุตสาหกรรม / สาขาจตุจักร / สาขาพระประแดง / สาขานนทบุรี / สาขารังสิต /สาขาอ้อมน้อย / สาขาสมุทรปราการ / สาขาปทุมธานี / สาขาสมุทรสาคร / สาขาสมุทรสงคราม /สาขาลาดกระบัง / สาขาบางบัวทอง / สาขาปิ่นเกล้า

ภาคเหนือ  :  สาขาเชียงใหม่ / สาขาเชียงราย / สาขาพิษณุโลก / สาขาพิจิตร / สาขาลำปาง / สาขาอุตรดิตถ์ /สาขาแพร่ / สาขาพะเยา / สาขาตาก / สาขาเพชรบูรณ์ / สาขาลำพูน / สาขาสุโขทัย /สาขากำแพงเพชร / สาขาน่าน / สาขาแม่ฮ่องสอน / สาขาแม่สาย / สาขาชัยนาท / สาขาอุทัยานี /สาขานครสวรรค์

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ : สาขาขอนแก่น / สาขานครราชสีมา / สาขาอุบลราชธานี / สาขาอุดรธานี / สาขาสกลนคร /สาขาสุรินทร์ / สาขาร้อยเอ็ด / สาขามุกดาหาร / สาขาหนองคาย / สาขายโสธร / สาขากาฬสินธุ์ /สาขาบุรีรัมย์ / สาขาชัยภูมิ / สาขาศรีสะเกษ / สาขามหาสารคาม / สาขาอำนาจเจริญ / สาขาเลย /สาขานครพนม / สาขาหนองบัวลำภู / สาขาสว่างแดนดิน / สาขาชุมแพ / สาขาปากช่อง /สาขาเดชอุดม

ภาคกลางและตะวันออก :  สาขาสุพรรณบุรี / สาขาเพชรบุรี / สาขากาญจนบุรี / สาขาพระนครศรีอยุธยา / สาขานครปฐม /สาขาสระบุรี / สาขาราชบุรี / สาขาลพบุรี / สาขาสิงห์บุรี / สาขาประจวบคีรีขันธ์ / สาขาอ่างทอง / สาขาบ้านโป่ง / สาขาหัวหิน / สาขาชลบุรี / สาขาฉะเชิงเทรา / สาขาระยอง / สาขาจันทบุรี /สาขาตราด / สาขาปราจีนบุรี / สาขาสระแก้ว / สาขานครนายก / สาขาพัทยา

ภาคใต้  :  สาขาสุราษฎร์ธานี / สาขาสงขลา (หาดใหญ่) / สาขาภูเก็ต / สาขานครศรีธรรมราช /สาขาตรัง /สาขายะลา / สาขาชุมพร / สาขากระบี่ / สาขาปัตตานี / สาขาสตูล / สาขาระนอง / สาขาพังงา /สาขานราธิวาส / สาขาพัทลุง /สาขาเกาะสมุย / สาขาทุ่งสง / สาขาเมืองสงขลา

จุดเด่น  :  เป็นธนาคารที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2545 เพื่อประกอบธุรกิจอันเป็นการพัฒนา ส่งเสริม ช่วยเหลือ และสนับสนุนการจัดตั้ง การดำเนินงาน การขยาย หรือการปรับปรุงวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม โดยการให้สินเชื่อค้ำประกัน ร่วมลงทุน สนับสนุนบริการทางการเงิน ให้คำปรึกษาแนะนำหรือให้บริการที่จำเป็นแก่ผู้ประกอบการไทย มีฐานะเป็นนิติบุคคลโดยมีผู้ถือหุ้นทั้งภาครัฐและเอกชนร่วมกัน

 

3. ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (Bank for Agriculture and Agricultural Cooperatives) 

ชื่อย่อ :  (ธ.ก.ส.)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  :  ตั้งอยู่เลขที่  469  ถนนนครสวรรค์  แขวงจิตรลดา  เขตดุสิต  กรุงเทพมหานคร

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่  นายลักษณ์ วจนานวัช

website  :  www.baac.or.th/

จำนวนสาขาโดยประมาณ  :  ใน พ.ศ. 2528 ธกส. มีสาขาระดับจังหวัด 68 แห่ง ระดับอำเภอและกิ่งอำเภอ 580 แห่ง

จุดเด่น  :  ทำหน้าที่อำนวยสินเชื่อทางการเกษตรอย่างกว้างขวาง ทั้งโดยตรงและสู่สถาบันเกษตรกร มุ่งให้ความช่วยเหลือทางการเงิน เพื่อส่งเสริมอาชีพการเกษตรหรือการดำเนินงานของเกษตรกร กลุ่มเกษตรกร หรือสหกรณ์การเกษตร ตลอดจนส่งเสริมให้ เกษตรกร กลุ่มเกษตรกร หรือ สหกรณ์การเกษตร สามารถประกอบอาชีพอย่างอื่นที่เกี่ยวเนื่องในการเกษตร เพื่อเพิ่มรายได้ให้แก่ครอบครัวเกษตรกร รวมทั้งให้บริการรับฝากเงิน เช่นเดียวกับธนาคารพาณิชย์ทั่วไปอีกด้วย

 

4.  ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย (Export-Import Bank of Thailand)

ชื่อย่อ :   (ธสน.)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  :  อาคารเอ็กซิม  1193  ถนนพหลโยธิน  พญาไท  กรุงเทพฯ 10400

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่  :  นายณรงค์ชัย  อัครเศรณี

website  :  www.exim.go.th/

จำนวนสาขาโดยประมาณ  :  สำนักงานใหญ่    อาคารเอ็กซิม 1193 ถนนพหลโยธิน พญาไท กรุงเทพฯ 10400

สาขาและสาขาย่อยในกรุงเทพฯ และปริมณฑล  :  สาขาบางนา-ตราด กม. 3 / สาขาพระราม 2 / สาขารังสิต / สาขาเสรีไทย/สาขาย่อยจักรวรรดิ / สาขาย่อยติวานนท์ / สาขาย่อยบางรัก / สาขาย่อยวงเวียนใหญ่ / สาขาย่อยสาธุประดิษฐ์ / สาขาย่อยอ้อมใหญ่

สาขาและสาขาย่อยในต่างจังหวัด  : สาขาขอนแก่น / สาขาเชียงใหม่ / สาขาหาดใหญ่ / สาขาแหลมฉบัง /สาขาย่อยสุราษฎร์ธานี

จุดเด่น  :  มีขอบเขตอำนาจในการทำธุรกิจไว้อย่างกว้างขวาง ธสน. จึงสามารถให้สินเชื่อได้ทุกรูปแบบ เช่น สินเชื่อระยะสั้นและสินเชื่อระยะยาว สินเชื่อในประเทศและสินเชื่อต่างประเทศ โดยสามารถทำธุรกิจได้ทั้งที่เป็นสกุลเงินบาทและสกุลเงินตราต่างประเทศ นอกจากนี้ยังสามารถกู้ยืมเงินจากสถาบันการเงินทุกประเภททั้งในประเทศและต่างประเทศและออกตราสารการเงินระยะสั้นและระยะยาวขายแก่สถาบันการเงินและประชาชนทั่วไปทั้งในประเทศและต่างประเทศ กล่าวโดยสรุป ธสน. สามารถทำธุรกิจทุกประเภทที่ธนาคารพาณิชย์ทำได้ ยกเว้นเพียงการรับฝากเงินจากประชาชนทั่วไปเท่านั้น สำหรับนักลงทุนไทยที่ไปลงทุนในต่างประเทศ สนับสนุนการลงทุนในรูปของการให้บริการทางการเงินทั้งสินเชื่อระยะสั้นและระยะยาว และเพื่อเป็นการเพิ่มความมั่นใจให้แก่นักลงทุน ยังพร้อมที่จะร่วมลงทุนถือหุ้นในกิจการอีกด้วย การรับประกันความเสี่ยงในการเรียกเก็บเงินจากการส่งออก

 

5.  ธนาคารออมสิน   (Government Saving Bank)

ชื่อย่อ :   ไม่มีชื่อย่อ

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  :  ธนาคารออมสิน สำนักงานใหญ่  470  ถนนพหลโยธิน สามเสนใน เขตพญาไท   กรุงเทพ 10400

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่  นายวินัย วิทวัสการเวช

website  :  www.gsb.or.th/

จำนวนสาขาโดยประมาณ  :  มีสาขา 636 สาขาทั่วประเทศ

จุดเด่น  :  เป็นธนาคารเพื่อลูกค้ารายย่อย จะเน้นให้สินเชื่อเพื่อพัฒนาชนบท พัฒนาผู้ประกอบการรายย่อย โดยจะมีรูปแบบของสินเชื่อและชนิดการฝากเงินรายย่อยมากมาย อีกทั้งยังสร้างเงินทุนหมุนเวียนในกลุ่มชุมชน โครงการธนาคารเพื่อประชาชนโดยให้สิ้นเชื่อระยะสั้นแก่ผู้ประกอบการรายย่อย (ให้ประชาชนมาเป็นหนี้ในระบบ ที่สามารถตรวจสอบได้ และการเก็บดอกเบี้ยตามความเป็นจริง) เป็นช่องทางการรับ-จ่ายเงินกู้จากโครงการกองทุนหมู่บ่นและชุมชนเมือง อีกทั้งยังลงทุนในการพัฒนาประเทศของหน่วยงานรัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ ให้บริการรูปแบบเงินฝากที่หลายหลายรูปแบบที่เหมาะกับแต่ละช่วงวัย และมีการให้บริการตามหลักศาสนาอิสลาม

สลากออมสินเป็นรูปแบบหนึ่งของการออมทรัพย์ที่มีลักษณะพิเศษ ผลตอบแทนที่ผู้ฝากได้รับนอกจากดอกเบี้ยแล้วยังสามารถทวีเงินออมโดยผู้ฝากมีสิทธิถูกรางวัลตามที่ธนาคารกำหนด โดยทั้งดอกเบี้ยและเงินรางวัลที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องเสียภาษี ซึ่งธนาคารมักจะโฆษณาด้วยข้อความที่ว่า สลากออมสินไม่กินทุน อนึ่งสลากออมสินนี้เป็นสลากที่เสนอขายแก่ประชาชนทั่วไปได้อย่างถูกต้องตามกฎหมายนอกจากสลากกินแบ่งรัฐบาล และสลากที่ออกโดยธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธกส.) ซึ่งยังไม่มีธนาคารเอกชนรายใดได้รับอนุญาตให้ดำเนินการในลักษณะนี้ได้

 

6.  ธนาคารอาคารสงเคราะห์ (Government Housing Bank)

ชื่อย่อ :   (ธอส.)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  :  63  ถนนพระรามที่ 9  ห้วยขวาง  กรุงเทพฯ  10320

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่  :  นายอารีพงศ์ ภู่ชอุ่ม

website  :  www.ghb.co.th

จำนวนสาขาโดยประมาณ  :  147  สาขา

จุดเด่น  :  เป็นธนาคารทำหน้าที่ช่วยเหลือทางการเงินให้กับประชาชน ได้มีที่อยู่อาศัยตามสมควรแก่อัตภาพ โดยการให้กู้ยืมเงิน และ จัดสรรที่ดินเพื่อก่อสร้างที่เป็นหน่วยงานของรัฐบาลที่ประกอบธุรกิจในการส่งเสริมและช่วยเหลือประชาชนนำเงินไป ลงทุนเกี่ยวกับการสร้างอาคารและที่ดินโดยตรงทำหน้าที่เสมือนสื่อกลางในการนำเงินไปใช้ประโยชน์ ใน กิจการเคหะและเป็นสถาบันการเงินที่ดำเนินธุรกิจ อีกทั้งยัง ร่วมมือกับหน่วยงานของรัฐต่างๆ สนับสนุนให้ประชาชนมีที่อยู่เป็นของตนเอง อาทิ ให้สินเชื่อกับผู้ที่ซื้อบ้านกับการเคหะแห่งชาติ สินเชื่อกับผู้ประกันตนกับสำนักงานประกันสังคม ร่วมกับกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการให้สมาชิกกู้เงินเพื่ออสังหาริมทรัพทย์ ความช่วยเหลือด้านการมีบ้าน

 

7.  ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย (Islamic Bank of Thailand)

ชื่อย่อ :   ไม่มีชื่อย่อ

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  :  อาคารคิวเฮ้าส์ อโศก

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่ 

website  :  www.ibank.co.th/

จำนวนสาขาโดยประมาณ  :  หลังจากรับโอนกิจการธนาคารกรุงไทย ชาริอะฮ์ ได้มีการยุบรวมสาขาที่ใกล้เคียงกันในภาคใต้ และเพิ่มสาขาในบางพื้นที่ ปัจจุบัน ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย ปัจจุบันมี 28 สาขาดังนี้

กรุงเทพฯ  :  สาขาคลองตัน / สาขามีนบุรี / สาขาศรีนครินทร์ (ย้ายมาจากถนนพัฒนาการ) / สาขาทุ่งครุ /สาขาปทุมธานี / สาขาสาทร / สาขาอโศก / สาขาศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ (ถนนแจ้งวัฒนะ)

ภาคกลาง  :  สาขาอยุธยา

ภาคใต้  :  สาขาเพชรบุรี / สาขาชุมพร / สาขากระบี่ / สาขาสงขลา / สาขาหาดใหญ่ / สาขาจะนะ (อำเภอจะนะจังหวัดสงขลา /สาขาปัตตานี / สาขาจะบังติกอ (อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี) / สาขายะลา /สาขานราธิวาส / สาขาถ.วิจิตรไชยบูลย์ (อำเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส) / สาขาสตูล / สาขาภูเก็ต

 ภาคเหนือ :  สาขาพิษณุโลก / สาขาลำปาง / สาขาเชียงใหม่ / สาขาเชียงราย

ภาคตะวันออก : สาขาพัทยา

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ  :  สาขาข่อนแก่น

จุดเด่น  :  เป็นธนาคารที่ดำเนินธุรกรรมโดยปราศจากดอกเบี้ย แต่อยู่บนหลักการ กำไร-ขาดทุนร่วมกัน และดำเนินธุรกิจตาม พ.ร.บ.ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2545 โดยมีคณะที่ปรึกษาด้านศาสนาให้คำแนะนำ ตรวจสอบ เพื่อให้ธนาคารดำเนินงานถูกต้องตามหลักศาสนาอิสลาม   ปัจจุบันธนาคารมีฐานะเป็นรัฐวิสาหกิจ สังกัดกระทรวงการคลัง

 

ธนาคารพาณิชย์ของรัฐบาล

8.  ธนาคารกรุงไทย (Krung Thai Bank) - รัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงการคลัง

ชื่อย่อ :   KTB

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  :  อาคาร 1  เลขที่  35  ถนนสุขุมวิท  แขวงคลองเตยเหนือ  เขตวัฒนา  กรุงเทพฯ 10110

                                อาคาร 2  เลขที่  10  ถนนสุขุมวิท  แขวงคลองเตย  เขตคลองเตย  กรุงเทพฯ 10110

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่  :  นายอภิศักดิ์  ตันติวรวงศ์

website  :  www.ktb.co.th/

จำนวนสาขาโดยประมาณ  :  842  สาขา  (อัพเดตวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2552)

จุดเด่น  :  ธนาคารกรุงไทยยังเป็นช่องทางของรัฐบาลในการให้บริการทางการเงินสนองตามนโยบายของรัฐ โดยปล่อยสินเชื่อให้ธุรกิจบางประเภท เช่น สินเชื่อเพื่อโอท็อป (OTOP : หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์) สินเชื่อคอมพิวเตอร์ไอซีที สินเชื่อเพื่อการศึกษา ฯลฯ ธนาคารกรุงไทยยังเป็นธนาคารที่หน่วยงานราชการส่วนใหญ่เลือกใช้ อาทิเช่น กรมสรรพากร จ่ายเช็คคืนภาษีเป็นเช็คของธนาคารกรุงไทย และการเบิกจ่ายงบประมาณราชการ รวมถึงบำเหน็จบำนาญต่างๆ ของรัฐก็มีความเกี่ยวข้องกับธนาคารกรุงไทย 

พร้อมกันนี้ในช่วงเวลาที่ประเทศไทยประสบปัญหาวิกฤติเศรษฐกิจ ธนาคารกรุงไทยได้ร่วมสนับสนุนนโยบายรัฐบาล ซึ่งเป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจของประเทศด้วยการอำนวย 'สินเชื่อก่อสร้างไทยเข้มแข็ง 2555' เพื่อเสริมสภาพคล่องให้กับผู้ประกอบการ 

เวลาทำการของธนาคารกรุงไทยนั้นแตกต่างจากธนาคารพาณิชย์ทั่วไปที่ปรับตามสภาวะเศรษฐกิจและความเหมาะสมในการดำเนินพาณิชยกรรม แต่เวลาทำการของธนาคารกรุงไทยสอดคล้องกับเวลาทำการของรัฐวิสาหกิจและราชการมากกว่า เช่นในปัจจุบันที่เปิดทำการถึงเวลา 16.30 น. ขณะที่ธนาคารพาณิชย์อื่นๆ ปิดทำการก่อนหน้านั้น

 

9. ธนาคารทหารไทย (TMB Bank) - กลุ่มกองทัพไทย เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่

ชื่อย่อ :   TMB

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  :  3000 ถ.พหลโยธิน จอมพล จตุจักร กรุงเทพฯ 10900

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่  :  นางเสาวนีย์ กมลบุตร

website  :  www.tmbbank.com/

จำนวนสาขาโดยประมาณ  :  สาขาในประเทศมี  479  สาขา   

จุดเด่น  :  สามารถกดเงินจากตู้ธนาคารได้ทุกตู้  ทั้งต่างสาขา  สาขาเดียวกัน  ในจังหวัดที่เปิดใช้  หรือแม้แต่ต่างจังหวัดโดยไม่เสียค่าธรรมเนียมในการกด

 

ธนาคารพาณิชย์ 

10.  ธนาคารกรุงเทพ (Bangkok Bank)

ชื่อย่อ :   BBL

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  :  333 ถนนสีลม เขตบางรัก   กรุงเทพฯ  10500

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่  :  นายชาติสิริ  โสภณพนิช

website  :  www.bangkokbank.com/

จำนวนสาขาโดยประมาณ  :  สาขาในประเทศมี  950  สาขา

จุดเด่น  :  เป็นธนาคารที่มีสินทรัพย์มากที่สุดในประเทศ และ เป็นธนาคารที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย

 

 

11.  ธนาคารกรุงศรีอยุธยา (Bank of Ayudhaya)

 

ชื่อย่อ :   KRUNGSRI Bank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  :  ถนนพระราม 3

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่  :  นายวีระพันธุ์ ทีปสุวรรณ

website  :  www.krungsri.com/

จำนวนสาขาโดยประมาณ  :  สาขาในประเทศมี  577  สาขา   

จุดเด่น  :  เป็นธนาคารพาณิชย์ไทยที่มีฐานเงินฝาก สินทรัพย์ และสินเชื่อใหญ่เป็นอันดับ 5 ของประเทศ และเป็นธนาคารที่ให้บริการทางการเงินอย่างครบวงจรแก่ทั้งลูกค้าธุรกิจ และลูกค้าบุคคล

 

12.  ธนาคารกสิกรไทย (KasikornBank) 

ชื่อย่อ :   KBank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  :  ซอยกสิกรไทย  ถนนราษฎร์บูรณะ  เชิงสะพานพระราม 9  ฝั่งธนบุรี

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่  :  นายบัณฑูร ล่ำซำ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

                                          นายประสาร ไตรรัตน์วรกุล กรรมการผู้จัดการ

website  :  www.kasikornbank.com

จำนวนสาขาโดยประมาณ  :  สาขาในประเทศมี  577  สาขา   

จุดเด่น  :  ริเริ่มนำระบบรีเอ็นจิเนียริ่ง (Reengineering) มาใช้เป็นธนาคารแรก  เป็นผู้นำในการระดมทุนรูปแบบใหม่เป็นรายแรกของประเทศไทย โดยการเสนอขายหุ้นบุริมสิทธิควบหุ้นกู้ด้อยสิทธิ (SLIPs)  ให้บริการบัตรเดบิตแรกของไทยที่ออกแบบเองได้ ชื่อว่า “K-My Debit Card”  บริการวางแผนทางการเงินส่วนบุคคล โดยให้คำปรึกษากับเจ้าหน้าที่เฉพาะทาง ภายใต้เชื่อบริการ"K-Weplan" โดยเป็นสถาบันการเงินแห่งแรกที่เปิดให้บริการโยไม่มีค่าใช้จ่ายใดๆ ทั้งสิ้น

13.  ธนาคารเกียรตินาคิน  (Kiatnakin Bank)

ชื่อย่อ :   KKBank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  :    เลขที่ 500 อาคารอัมรินทร์ ทาวเวอร์ ชั้น 11 ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่  :  นางสาวนวพร  เรืองสกุล  (ประธานกรรมการธนาคาร)

                                          นายธวัชไชย สุทธิกิจพิศาล  (กรรมการผู้จัดการใหญ่)

website  :  www.kiatnakin.co.th/

จำนวนสาขาโดยประมาณ  :  สาขาในประเทศมี  52 สาขา

จุดเด่น  : ได้รับการประเมินจากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ให้เป็น 1 ใน 50 บริษัทที่มีการกำกับกิจการที่ดี  ได้รับการปรับอันดับเครดิตจาก BBB+เป็น A- โดย บริษัท ทริสเรทติ้ง จำกัดได้รับความเห็นชอบจากกระทรวงการคลังให้ ดำเนินการจัดตั้งธนาคารพาณิชย์ 

ธนาคาร เป็น 1 ใน 10 บริษัท จากจำนวนบริษัทจดทะเบียนทั้งสิ้น 460 บริษัท ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย  ที่ได้รับรางวัลบริษัทจดทะเบียนยอดเยี่ยมด้านการดูแลผู้ถือหุ้น (Best Shareholder Treatment Award) จากบริษัทศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ จำกัด สมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทย สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทยชมรมนักลงทุนสัมพันธ์แห่งประเทศไทยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 

ธนาคารเป็น 1 ใน 22 บริษัท จากจำนวนบริษัทจดทะเบียนที่รับการประเมินทั้งสิ้น 448  บริษัท ที่ได้รับคะแนนอยู่ในระดับ “ดีเลิศ” ในการสำรวจการกำกับดูแลกิจการบริษัทจดทะเบียนประจำปี 2551 ที่จัดขึ้นโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

 

14.  ธนาคารซิติแบงก์ (Citibank)

ชื่อย่อ :   CitiBank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  :    ธนาคารซิตี้แบงก์ เอ็น.เอ. สาขากรุงเทพฯ  เลขที่ 399 ถนนสุขุมวิท อาคารอินเตอร์เชนจ์ 21 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่  :  นายปีเตอร์ เอเลียต

website  :  www.citibank.co.th

จำนวนสาขาโดยประมาณ  :  สาขาในประเทศมี  47 สาขา

จุดเด่น  :  ธนาคารซิตี้แบงก์ และบริษัทในเครือซิตี้กรุ๊ปให้บริการแก่ลูกค้ารายย่อย และลูกค้าสถาบันมากกว่าสถาบันการเงินอื่นใด ธนาคารซิตี้แบงก์เริ่มเปิดดำเนินกิจการ ในมหานครนิวยอร์คในปี พ.ศ. 2355 ปัจจุบันธนาคารมีเครือข่ายครอบคลุมทั่วโลก มากกว่า 3,000 สาขาใน 100 ประเทศ กิจการบุคคลธนกิจของธนาคารให้บริการบัตรเครดิตกว่า 60 ล้านใบทั่วโลก จาก เครือข่ายที่กว้างไกลของธนาคารทำให้สามารถให้บริการด้านเงินทุน และธุรกรรมการเงินเพื่อตอบสนองลูกค้าสถาบันทั้งในและต่างประเทศ รวมทั้งประเทศในตลาดเกิดใหม่

         ซิตี้กรุ๊ปมีเจ้าหน้าที่มากกว่า 255,000 คนทั่วโลก ซึ่งได้รับความไว้วางใจจากลูกค้า และนักลงทุน   เจ้าหน้าที่ของเราเป็นผู้มีความสามารถ มีประสบการณ์ มีประสิทธิภาพสูงซึ่งทำให้เรามีความโดดเด่นมากกว่าสถาบันการเงินอื่นใด ทำให้
ซิตี้กรุ๊ปสามารถให้บริการการเงินตอบสนองลูกค้าได้ดียิ่งขึ้น

 

15. 

น.ส.ประภัสสร จันทะวงศา

ฟุตบอลโลกมีผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจอย่างไร

              ในการแข่งขันบอลโลก  การเผยแผ่ทางสื่อ  จึงเป็นที่นิยมมากขึ้น      

สามารถดึงดูดให้ผู้เล่นมาสนใจสื่อได้มากกว่าในช่วงปกติ  ความนิยมในการใช้สื่อในการชมฟุตบอลทำให้สื่อได้รับความสนใจ  ทั้งสื่อ  TV วิทยุ หนังสือพิมพ์ เป็นต้น

เมื่อมีการใช้สื่อมาก  การลงโฆษณาสนับสนุนสื่อก็มีมากขึ้น   ทำให้ระบบเศรษฐกิจในระบบสื่อสารสนเทศขยายตัวมาก

นางสาวแสงระวี ศร๊ราปราน รหัส 50473010005 โปรแกรมเศรษฐศาสตร์

 

 

ธนาคารธนชาต 

 

 

 

ชื่อย่อ   TBANK

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  เลขที่ 900 อาคารต้นสนทาวเวอร์ ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กทม. 10330 

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่  นายบันเทิง ตันติวิท ประธานกรรมการ

Websit www.thanachartbank.co.th

จำนวนสาขาโดยประมาณ  50 สาขา                                 

จุดเด่น ก่อนมาเป็น ธนาคารธนชาต ในปี 2541 กระทรวงการคลังประกาศออกใบอนุญาตประกอบการธนาคารพาณิชย์แบบจำกัดขอบเขตธุรกิจ แทน ใบอนุญาตประกอบการ Super Finance ตามนโยบายสนับสนุนการรวมกิจการระหว่างสถาบันการเงิน โดยธนาคารพาณิชย์ที่จะยื่นขอจะต้องเกิดจากการรวมกิจการอย่างน้อย 5 แห่ง และมีเงินกองทุนไม่ต่ำกว่า 10,000 ล้านบาท (หลังหักสำรองค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญแล้ว) ต่อมาในปี 2542 บริษัท ทุนธนชาต จำกัด (มหาชน) ได้ยื่นต่อธนาคารแห่งประเทศไทยเพื่อขออนุมัติใบอนุญาตประกอบการธนาคารพาณิชย์แบบจำกัดขอบเขตธุรกิจ จากนั้นธนาคาร ธนชาตก็ได้เริ่มเปิดให้บริการเป็นวันแรกในวันที่ 22 เมษายน และในวันที่ 1 มีนาคม 2547 ธนาคารธนชาต จำกัด (มหาชน) ก็ได้รับใบอนุญาตประกอบการธนาคารพาณิชย์เต็มรูปแบบ หลังจากนั้น ธนาคารแห่งโนวาสโกเทีย (สโกเทียแบงค์) ธนาคารที่ได้รับการยอมรับโดยทั่วไปว่าเป็นธนาคารที่มีความมั่นคงอันดับต้นๆ ของโลก ได้เข้ามาร่วมถือหุ้นธนาคารธนชาตอยู่ร้อยละ 49 เมื่อวันที่ 3 ก.พ.2552 และเมื่อวันที่ 11 มี.ค.53 ธนาคารธนชาตได้รับเลือกจากกองทุนฟื้นฟูฯ ให้เข้าซื้อหุ้นธนาคารนครหลวงไทย จำนวน 1,005,330,950 หุ้น (47.58%) ในราคาหุ้นละ 32.50 บาท ซึ่งจะทำให้ธนาคารธนชาตเป็นธนาคารพาณิชย์อันดับ 5 ของไทย มีสินทรัพย์ 8.57 แสนล้านบาท มีสาขารวม 687 แห่งทั่วประเทศ มีเครื่องเอทีเอ็มจำนวน 2,101 เครื่อง

 

ธนาคารนครหลวงไทย 

 

 

ชื่อย่อ  SCIB

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  1101 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่  นายชัยวัฒน์ อุทัยวรรณ์  ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่

website  www.scib.co.th

จำนวนสาขาโดยประมาณ  400 สาขา

จุดเด่น ความสามารถในการขยายตัวของสินเชื่อในอนาคต

ฐานเงินทุนที่แข็งแกร่งเพื่อสนับสนุนการเติบโตทางธุรกิจและการจ่ายเงินปันผล

มีหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ต่ำสุดในระบบธนาคารพาณิชย์ไทย

คณะผู้บริหารที่มีประสบการณ์และความสามารถ

ให้ความสำคัญกับการกับกับดูแลกิจการที่ดี

มีโอกาสในการทำกำไรที่สูงขึ้นในอนาคต

 

ธนาคารยูโอบี

 

 

ชื่อย่อ  UOB

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ ถนนสาทรใต้ แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120  

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่  นายหว่อง คิม ชุง  กรรมการผู้จัดการใหญ่

website  www.uob.co.th

จำนวนสาขาโดยประมาณ 

จุดเด่น  ธนาคารยูไนเต็ด โอเวอร์ซีส์ (ยูโอบี) แห่งสิงคโปร์ ได้รับรางวัล “ธนาคารดีเด่นแห่งสิงคโปร์” ประจำปี 2549 จากการประกาศของนิตยสารเอเชียมันนี่ ฉบับเดือนมิถุนายนที่ผ่านมา ซึ่งสำรวจความคิดเห็นของบุคคลในแวดวงการเงินการธนาคาร จุดเด่นของยูโอบี คือ ความสำเร็จในการควบรวมกิจการภายในของกลุ่มยูโอบีที่อยู่ในประเทศต่างๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และการดำเนินงานตามแผนระยะยาวที่รอบคอบ เชื่อว่าจะสร้างความมั่นคงด้านรายได้ในอนาคต ผนวกกับการบริหารทางการเงินของยูโอบีที่เพิ่มรายได้ด้านค่าธรรมเนียม สิ่งเหล่านี้ทำให้ผลกำไรของยูโอบีเติบโตเพิ่มขึ้น 17.7% หรือ 1,700 ล้านเหรียญดอลลาร์สิงคโปร์ ในปี 2548 และเติบโตอย่างต่อเนื่อง ในไตรมาสแรกปี 2549 ผลกำไรขยายตัวเพิ่มขึ้นอีก 8.3 % (439.4 ล้านเหรียญดอลลาร์สิงคโปร์) พร้อมกันนี้ ธนาคารยูโอบียังได้รางวัลในกลุ่มสถาบันการผู้กู้เงินที่มีคุณภาพชั้นดีที่สุดแห่งภูมิภาคเอเชีย “Best FIG Borrower – Asia” จากนิตยสารยูโรมันนี่ เนื่องจากยูโอบีได้ออกตราสารการเงินซึ่งมีมูลค่ามาก และเป็นธุรกรรมการเงินรายใหญ่ในภูมิภาคเอเชีย (ยกเว้นญี่ปุ่น) และดำเนินการจนสำเร็จยอดเยี่ยมเมื่อเดือนธันวาคม 2548 ซึ่งสะท้อนถึงความน่าเชื่อถือและเข้มแข็งของกลุ่มยูโอบี รวมทั้งการสนับสนุนจากลูกค้ารายใหญ่ของธนาคารและนักลงทุนประเภทสถาบันจากตลาดในประเทศและระหว่างประเทศ รางวัลนี้เป็นเครื่องยืนยันว่าธนาคารเป็นสถาบันชั้นนำในตลาดทุนนานาชาติ 

 

ธนาคารสแตนดาร์ดชาร์เตอร์ดไทย

 

 

 

ชื่อย่อ SCNB

 ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  ตั้งอยู่ที่เลขที่ 90 ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพ 10500

ชื่อกรรมการผู้จัดการ นายยุทธเดช ปัทมานนท์

 website   www.standardchartered.co.th

จำนวนสาขาโดยประมาณ 

จุดเด่น - ผู้จัดการลูกค้าสัมพันธ์ที่จะช่วยท่าน วางแผน สร้างเสริม และปกป้อง ผลประโยชน์ของท่าน

              - ทางเลือกหลากหลายเพื่อตอบสนองความต้องการทางการเงินที่แตกต่างกันไป

              - ศูนย์บริการธนาคารพิเศษและสิ่งอำนวยความสะดวก ที่มีเครือข่ายในประเทศต่างๆทั่วโลก

 

ธนาคารเมกะสากลพาณิชย์ 

 

ชื่อย่อ  MEGA Bank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  36/12 อาคารพี.เอส.ทาวเวอร์ ถ.สุขุมวิท 21 (อโศก) แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110
ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่ 
Rong-Jou Wang

website  www.megabank.com

จำนวนสาขา 4 สาขา 

จุดเด่น ประกอบกิจการธนาคารพาณิชย์ รวมทั้งกิจการทั้งปวง ซึ่งเกี่ยวกับธนาคารพาณิชย์ 

 

ธนาคารสินเอเชีย

 

ชื่อย่อ  ACL BANK

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  ชั้น 11-13 อาคารเอ็มโพเรี่ยม ทาวเวอร์  ถนนสุขุมวิท กรุงเทพมหานคร    

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่  นายธงชัย อานันโทไทย

website  www.aclbank.com

จำนวนสาขาโดยประมาณ 

จุดเด่น เป็นสถาบันการเงินครบวงจรสำหรับผู้ประกอบธุรกิจทั้งขนาดใหญ่ ขนาดกลางและขนาดย่อมมั่นคงสำหรับผู้ออมเงิน พร้อมดอกเบี้ยในอัตราที่คุณพึงพอใจโดดเด่น ด้วยบริการที่รวดเร็ว ยืดหยุ่น พร้อมทั้งเข้าใจในความแตกต่างและความต้องการของแต่ละธุรกิจอย่างแท้จริงธนาคารสินเอเซีย พร้อมเคียงข้างคุณสู่ความสำเร็จ

 

ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย 

 

ชื่อย่อ  LH Bank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ เลขที่ 1 อาคารคิวเฮ้าส์ ลุมพินี ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 

 ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่  นางศศิธร พงศธร

website  www.lhbank.co.th

จำนวนสาขาโดยประมาณ : 23 สาขา

จุดเด่น  ธนาคารมีการพิจาณาในด้านสินเชื่อเน้นไปที่เงินกู้เพื่อการเคหะของสินเชื่อโดยรวมทั้งหมด60% และ40%จะเป็นสินเชื่อประเภทเอสเอ็มอี เนื่องจากว่าในส่วนของสินเชื่อเคหะมีข้อดีตรงที่มีหลักประกันที่ชัดเจน และทางธนาคารแห่งประเทศไทยก็ให้ความสนใจในเรื่องนี้เป็นสำคัญ เพราะถือว่าเป็นฐานเงินทุนที่มีประสิทธิภาพสูง หรือว่าจะเป็นการแบบออมทรัพย์ ไม่ว่าจะฝากเงินเท่าไรก็ตาม เราก็ให้ดอกเบี้ยตามระดับของเงินฝาก ซึ่งให้ตั้งแต่ 2.5ขึ้นไป ทั้งนี้เนื่องจากว่าธนาคารจะให้บริการกระแสรายวัน ออมทรัพย์ ประจำ ในขณะเดียวกันก็ให้บริการในด้านของการรับชำระไม่ว่าจะเป็นในเรื่องของค่าบ้าน ค่าน้ำ ค่าไฟ ค่าโทรศัพท์มือถือ หรือว่าจะเป็นการชำระค่าบริการต่างๆ การปล่อยสินเชื่อรายย่อยอื่นคงมีแต่จะเป็นส่วนน้อย เป็นองค์ประกอบ เพราะเรา LH BANK จะเน้นการปล่อยสินเชื่อบ้านและที่ดินให้กับลูกค้ารายย่อย แต่ละล็อตที่ปล่อยไปถึงจุดๆหนึ่งจะนำมารวมกันขายออกไปและนำเงินที่ได้มาปล่อยสินเชื่อใหม่ ทำให้ธนาคารนั้นไม่มีลูกหนี้มาก สินทรัพย์ไม่โตมาก เพราะเป็นที่ธนาคารที่มีรายได้จาการปล่อยสินเชื่อให้ลูกค้า โดยได้ค่าฟีในการบุ๊คให้ลูกค้าและนำมาขายอีกที ดังนั้นจะมีรายได้เรื่องของค่าฟีและการติดตามเก็บหนี้ลูกค้าให้ แต่สินเชื่อในตัวงบดุลไม่สูงตามเพราะการนำหนี้ไปขาย สินเชื่อบ้านเป็นสินเชื่อที่แน่นอนตรงที่มีระยะเวลาที่ยาวนาน เป็น 10 ถึง 20 ปีดังนั้นความเสี่ยงก็ไม่มากนัก คุณศศิธร กล่าวถึงเรื่องของการลดดอกเบี้ยของผู้ประกอบการต่างๆว่าสำหรับเรื่องของบ้านนั้นทางบริษัทต่างๆ มีลูกเล่นที่จะสรรหามามัดใจลูกค้า เช่น 3 ปีแรกมีการลดสารพัดไม่ว่า จะเป็นเรื่องของดอกเบี้ย หรือมีการแถมในส่วนของต่างๆ แต่เมื่อถึงปีท้ายๆไม่มีใครลดอะไรกันเลย นั้นคือวัตถุประสงค์ที่แท้จริงของการทำธุรกรรม เพราะว่า 3 ปีแรกเป็นช่วงที่ทำให้เกิดความน่าสนใจ แต่ราคาบ้านและดอกเบี้ยที่ต้องจ่ายมันไม่ได้อยูที่ 3 ปีแรก ช่วงปีหลังๆนั้นจะเป็นราคาจริง "เพราะลูกค้าส่วนใหญ่จะเข้าใจว่าใน3 ปีแรกก็คือฟรีดอกเบี้ย ดังนั้นคนที่จะซื้อก็ควรดูว่าต้นทุนที่เขาใช้ไปสมกับราคาบ้านหรือไม่ เพราะว่าเรากำลังพูดถึง ช่วงฟรีดอกเบี้ยใน 1 ปีกับ 39 ปีที่เหลือหรือไม่ กาซื้อบ้านต้องดูระยะยาว ไม่เหมือนการซื้อสินค้าเงินผ่อนประเภทอื่นที่ไม่นานก็หมด แต่บ้านบางคนผ่อนตั้งแต่เริ่มทำงานจนถึงเกษียณไปเลยก็มี"เธอกล่าว

ธนาคารไทยเครดิต 

 

 

 

ชื่อย่อ  TCR Bank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  สำนักธุรกิจรัชดาภิเษก 

ตั้งอยู่ที่อาคารไทยประกันชีวิต 1 ชั้น 1 ให้บริการด้านรับฝาก-ถอนเงิน ให้คำปรึกษาบริการสินเชื่อ รับชำระค่างวด บริการเครื่อง ATM เครื่องปรับยอดสมุดเงินฝากอัตโนมัติ (Auto Update Passbook) และบริการอื่นๆ
ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่ นายมงคล ลีลาธรรม

website www.tcrbank.com

จำนวนสาขาโดยประมาณ 9 สาขา

จุดเด่น นำเสนอผลิตภัณฑ์ที่แตกต่าง และตอบสนองความต้องการที่แท้จริงของลูกค้า
สร้างทีมงานที่มีจิตสำนึกที่ดีด้านการบริการ มีความรักและภาคภูมิใจในองค์กร 
สร้างระบบงานที่เอื้อหนุนให้การปฏิบัติงานเกิดประสิทธิภาพสูงสุด
สร้างความน่าเชื่อถือ ด้วยการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล 
แสวงหาเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพในการบริหารงานและความเสี่ยง เพื่อผลลัพธ์ในการทำงานที่ดีที่สุด
แสวงหาพันธมิตร เพื่อเพิ่มโอกาสทางธุรกิจ
แสวงหาแนวทางในการพัฒนาธนาคารสู่ความสำเร็จตามแผนกลยุทธ์

 

ธนาคารทิสโก้ 

 

ชื่อย่อ Tisco Bank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  อาคารทิสโก้ทาวเวอร์ 48/2 ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่ นายสุทัศน์ เรืองมานะมงคล

Websit www.tisco.co.th

จำนวนสาขาโดยประมาณ 46 สาขา

จุดเด่น "ทิสโก้เป็นสถาบันการเงินที่ประกอบธุรกิจด้วยมาตรฐานสูงสุดของการกำกับดูแลกิจการที่ดี เราทุ่มเท สร้างสรรค์คุณค่าที่ยั่งยืน เพื่อลูกค้า ผู้ถือหุ้น พนักงาน และสังคม" ทิสโก้มีค่านิยมองค์กรซึ่งถือเป็นหัวใจสำคัญของการให้บริการแก่ลูกค้า และเป็นคุณค่าที่มุ่งปลูกฝังแก่พนักงานทุกคน เพื่อพัฒนาไปสู่วัฒนธรรมองค์กรและเป็นแม่บทในการสร้าง ทัศนคติของการทำงานอย่างมืออาชีพ

นางสาวแสงระวี ศรีราปราน

รหัส 50473010005  โปรแกรมเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

 

-                   การแข่งขันฟุตบอลโลกครั้งนี้ส่งผลอย่างไรต่อภาคธุกิจใดบ้าง และจะมีผลกระทบภาคสังคมอย่างไรบ้าง?

ตอบ การแข่งขันฟุตบอลโลก  ครั้งที่  19  หรือฟีฟ่า  เวิลด์คัพ  2010 ที่กระหึ่มอยู่ขณะนี้   ได้สร้างกระแสฟีเวอร์ไปทั่วโลก ตลอด 1 เดือนเต็มๆ ซึ่งเริ่มตั้งแต่วันที่ 11 มิ.ย. ถึง 11 ก.ค.นี้ ไม่ต้องแปลกใจที่คนทั้งโลกหายใจเข้าและออกเป็นฟุตบอลโลก พร้อมกับเสียงแตร   "วูวูเซลา"   ดังหึ่งๆก้องหูตลอดเวลาสำหรับที่ประเทศไทย อาการคลั่งไคล้กระแสฟุตบอลโลกก็ถือว่าอยู่ในระดับแถวหน้าของโลก   ทั้งที่ทีมฟุตบอลชาติไทยจะไม่เคยได้เข้าร่วมแข่งศึกฟุตบอลโลกสักครั้งก็ตามอย่างศึกฟุตบอลโลก 2010 ก็เช่นกัน ทันทีที่กรรมการเป่านกหวีดเริ่มการแข่งขันนัดแรก   ก็ได้ปลุกกระแสฟุตบอลโลกฟีเวอร์กระหึ่มทั่วสังคมไทยช่วยให้คนไทยกลับมากระปรี้กระเปร่า มีชีวิตชีวาอีกครั้ง หลังจากที่เกิดซึมเศร้าท้อใจจากวิกฤติการเมืองเผาบ้านเผาเมืองเมื่อกลางเดือน พ.ค.ที่ผ่านมาหลากหลายธุรกิจได้ปรับตัวรับอานิสงส์จากกระแสฟุตบอลโลก ด้วยการจัดกิจกรรมส่งเสริมการขายกันอย่างเข้มข้น เพื่อหวังโกยยอดขายที่หดหายไปในช่วงวิกฤติการเมืองตลอดช่วง 2 เดือนที่ผ่านมา ช่วยสร้างบรรยากาศทางธุรกิจกลับมาคึกคัก   หนุนส่งให้เศรษฐกิจได้ขยายตัวเพิ่มขึ้นเงินสะพัด  6  หมื่นล้านนายธนวรรธน์ พลวิชัย ผู้อำนวยการศูนย์พยากรณ์เศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย เปิดเผยถึงผลสำรวจพฤติกรรมการใช้จ่ายของผู้บริโภคในช่วงเทศกาลฟุตบอลโลก 2010 พบว่าจะมีเงินสะพัดจากการใช้จ่ายในช่วงเทศกาลฟุตบอลโลก 2010 ถึง 59,600 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 8.7% เมื่อเทียบกับเทศกาลฟุตบอลยูโรปี 2008แบ่งเป็นการพนันบอล 37,200 ล้านบาท, การซื้อสินค้าอุปโภคบริโภคและสังสรรค์   19,000   ล้านบาท   การซื้อเครื่องใช้ไฟฟ้าอุปกรณ์รับสัญญาณ 2,205 ล้านบาท และอื่นๆอีก 1,234 ล้านบาท
"การใช้จ่ายช่วงฟุตบอลโลกปีนี้จะช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจกลับขึ้นมาได้ 0.2-0.3% เพราะเป็นกิจกรรมที่จะมีการจับจ่ายใช้สอย   และช่วยผ่อนคลายความเครียดให้แก่คนไทย"ขณะที่ยอดการใช้ไฟฟ้าของคนไทยในช่วงนี้ได้เพิ่มขึ้นกว่าช่วงปกติ โดย นายอดุลย์ พิทักษ์ชาติวงศ์ ผู้อำนวยการฝ่ายควบคุมระบบกำลังไฟฟ้า การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) กล่าวว่า  ปริมาณการใช้ไฟฟ้าตั้งแต่วันที่ 11-17 มิ.ย.นี้ ซึ่งยังเป็นช่วงการแข่งขันรอบแรกของศึกฟุตบอลโลก ปริมาณการใช้ไฟฟ้าเพิ่มขึ้นจากปกติ 100-350 เมกะวัตต์ ขณะที่ในการแข่งขันคู่ชิงชนะเลิศคาดว่าจะมีการใช้ไฟฟ้าเพิ่มขึ้นประมาณ 450 เมกะวัตต์
"กฟผ.ได้เตรียมแผนสำรองไฟฟ้ารองรับในช่วงที่มีการถ่ายทอดสดการแข่งขันฟุตบอลโลก 2010 ที่ประเทศแอฟริกาใต้ ระหว่างวันที่ 11 มิ.ย.11 ก.ค. ไว้แล้ว"

หลากธุรกิจเปิดศึกเดือด
จากความคึกคักของกระแสฟุตบอลโลก 2010 ทำให้ธุรกิจต่างๆได้โหมอัดกิจกรรมส่งเสริมการขายรับเทศกาลนี้กันอย่างเข้มข้นสำหรับการแข่งขันทางธุรกิจที่ดุเดือดสุดๆ ต้องยกให้สงครามน้ำอัดลมระหว่าง "โค้ก" ซึ่งได้รับสิทธิ์ใช้โลโก้ฟุตบอลโลกกับฟีฟ่าได้ กับ "เป๊ปซี่" ที่ไม่ได้เป็นผู้สนับสนุนทางการของฟุตบอลโลกทั้ง 2 ค่ายยักษ์ใหญ่แห่งอุตสาหกรรมน้ำอัดลมได้ทุ่มงบอย่างมหาศาล จนทำให้ผู้บริโภคเกิดความสับสนว่าใครกันแน่ที่เป็นสปอนเซอร์ทางการของฟีฟ่านางสาวกรอบ-แก้ว ปันยารชุน ผู้จัดการฝ่ายสื่อสารการตลาดกลุ่มผลิตภัณฑ์ บริษัท โคคา-โคล่า (ประเทศไทย) จำกัด กล่าวว่า บริษัทได้อัดงบทำกิจกรรมฟุตบอลโลกถึง 170 ล้านบาท คาดว่าจะมียอดขายเติบโตไม่ต่ำกว่า 10% ส่งผลให้ภาพรวมยอดขายสิ้นปีนี้เติบโต   10%
ขณะที่ นายนภ วงศ์พานิช ผู้จัดการฝ่ายการตลาด บริษัท เสริมสุข จำกัด (มหาชน) กล่าวว่า บริษัทได้ทุ่มงบกว่า 100 ล้านบาท จัดกิจกรรมสารพัด ตั้งเป้าสร้างยอดขายรวมเป๊ปซี่มากกว่า 10%
ในส่วนของเบียร์ช้างได้มีการทุ่มงบทำกิจกรรมส่งเสริมการขายรับฟุตบอลโลกนี้อย่างคึกคัก โดย นายชาลี จิตจรุงพร รองกรรมการผู้จัดการ บริษัทไทยเบฟเวอเรจ มาร์เก็ตติ้ง จำกัด กล่าวว่า บริษัทได้ทุ่มงบกว่า 100 ล้านบาท ทำกิจกรรมการตลาด กระตุ้นยอดขายเบียร์ช้าง น้ำดื่มช้าง และโซดาช้าง ภายหลังจากที่ตลาดได้ซบเซาในช่วงวิกฤติการเมืองที่ผ่านมา “คาดหวังว่ากระแสฟุตบอลโลกจะช่วยกระตุ้นยอดขายเบียร์ช้างเติบโตได้”ทีวีจุดพลุ  HD  คึกคักเป็นเรื่องปกติไปแล้วที่ในทุกครั้งของฟุตบอลโลก   โทรทัศน์จะขายดีเป็นพิเศษ เพราะเป็นอุปกรณ์สำคัญในการเกาะกระแสบอลโลก   ทุกค่ายทีวีจึงโหมจัดกิจกรรมอย่างดุเดือด แต่สำหรับปีนี้   สงครามตลาดทีวีจะยิ่งเข้มข้นมากกว่าช่วงการแข่งขันฟุตบอลโลกในช่วงที่ผ่านมา เพราะเป็นครั้งแรกที่ออกอากาศด้วยระบบ HD (High-Definition) ซึ่งให้ความคมชัดสมจริง เนื่องจากเป็นระบบดิจิตอลและยังเป็นระบบจอกว้าง ช่วยเพิ่มอรรถรสในการชม   ราวกับไปดูในสนามจริงดังนั้น ทุกค่ายทีวีจึงได้ทุ่มงบจัดกิจกรรมส่งเสริมการขายทีวีทั้งแบบแอลซีดี และแอลอีดี ชูจุดขายที่คุณสมบัติ  HD  เพิ่มความเร้าใจในการดูบอล ตั้งเป้าขายเพิ่มขึ้นไม่ต่ำกว่า 20-30%
นางกอบกาญจน์ วัฒนวรางกูล ประธานกรรมการบริหาร บริษัท  โตชิบา   ไทยแลนด์   จำกัด   กล่าวว่า   ในช่วงการแข่งขันฟุตบอลโลก  2010 โตชิบาได้ใช้กลยุทธ์สปอร์ตมาร์เก็ตติ้งทำตลาด หวังกระตุ้นยอดขาย โดยเฉพาะแอลซีดีทีวีได้ตั้งเป้าขายเพิ่มขึ้นมากกว่า 50% โดยน่าจะเติบโตมากกว่าช่วงที่มีการแข่งขันฟุตบอลยูโร และฟุตบอลโลกครั้งที่ผ่านๆมาขณะที่ บริษัททรูวิชั่นส์ จำกัด ผู้ได้ลิขสิทธิ์ให้บริการถ่ายทอดสดฟุตบอลโลกระบบ  HD  เพียงรายเดียว ก็ได้รับอานิสงส์ มีลูกค้าสมัครมากกว่า 6,000 รายแล้ว นับตั้งแต่เริ่มเปิดให้บริการในวันที่ 1 มิ.ย. ที่ผ่านมา   ถือว่าเกินกว่าที่คาดหมายไว้ ด้านคอนเท้นท์บนสื่ออิเล็กทรอนิกส์   อย่างบรรดาอินเตอร์เน็ตหรือโทรศัพท์มือถือ ก็เติบโตพรวดพราด โดยบริการยอดนิยม 3 อันดับแรก ได้แก่ เอสเอ็มเอสข่าวกีฬา จำนวนลูกค้าของค่ายมือถือใหญ่อย่างเอไอเอส เติบโตเพิ่มขึ้น 2.5 เท่า จากฐานลูกค้าเดิมที่ประมาณ 200,000 เลขหมายรองลงมา ได้แก่ บริการคอนเท้นท์เสียงผ่านระบบตอบรับอัตโนมัติ อย่างเช่นการฟังวิเคราะห์เกมจากกูรูชื่อดัง  ซึ่งก็เติบโตได้ถึง  2  เท่า เช่นกัน จากฐานลูกค้าคอกีฬา 50,000-60,000 ราย ส่วนที่เติบโตก้าวกระโดด คือ บริการอินเตอร์เน็ตบนมือถือ  ตามกระแสความนิยมสมาร์ทโฟน  ที่เอไอเอสมีลูกค้าเพิ่มขึ้นถึง 3 เท่า จากฐานเดิมที่ประมาณ 300,000 คน

ฟาสต์ฟู้ด-ห้างรับส้มหล่น
จากการที่ช่วงเวลาการถ่ายทอดสดฟุตบอลโลก 2010 ได้มีตั้งแต่ช่วงเย็นไปถึงกลางดึก โดยคู่สุดท้ายจะเริ่มเตะในช่วงเวลา 01.30 น. ทำให้ธุรกิจฟาสต์ฟู้ด  โดยเฉพาะเดลิเวอรี่  พลอยได้รับส้มหล่น  มีลูกค้าสั่งอาหารฟาสต์ฟู้ดเพิ่มมากขึ้น  ทำให้ฟาสต์ฟู้ดทุกแห่งขยายเวลารับบริการเดลิเวอรี่จนถึง 24.00 น.
นายเฮสเตอร์ ชิว ประธานกรรมการและประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท  แมคไทย  จำกัด  กล่าวว่า  ในฐานะที่แมคโดนัลด์  เป็นผู้สนับสนุนหลักอย่างเป็นทางการของการแข่งขันฟุตบอลโลก 2010 ได้ทุ่มงบกว่า 60 ล้านบาท เพื่อขยายฐานกลุ่มลูกค้าเป้าหมายใหม่ๆ มั่นใจว่าจะเพิ่มยอดขายได้ 35%
ในส่วนของห้างสรรพสินค้าต่างๆก็ได้อาศัยกระแสฟุตบอลโลกฟีเวอร์ผลักดันยอดขายให้เพิ่มขึ้น   จึงได้จัดกิจกรรมต่างๆที่เกี่ยวกับฟุตบอล นายชำนาญ เมธปรีชากุล ผู้อำนวยการใหญ่อาวุโสการตลาด บริษัท เดอะมอลล์ กรุ๊ป จำกัด กล่าวว่า ในช่วงการแข่งขันฟุตบอลโลกนี้ เดอะมอลล์ กรุ๊ปได้ทุ่มงบกว่า  42  ล้านบาท โดยใช้กลุ่มสินค้า SPORTS  MALL (จำหน่ายสินค้าประเภทกีฬา) และ  POWER  MALL  (จำหน่ายเครื่องใช้ไฟฟ้า) เป็นแม่เหล็กสำคัญการทำตลาด ตั้งเป้าขายรวมทั้ง 2 กลุ่ม ช่วงบอลโลกทะลุกว่า 580 ล้านบาท

อาร์เอสลุ้นโกยลิขสิทธิ์
อีกหนึ่งในบริษัทที่ลุ้นรับส้มหล่น ก็คือ บริษัท อาร์เอส จำกัด (มหาชน) ผู้คว้าสิทธิ์ถ่ายทอดสดการแข่งขันฟุตบอลโลก 2010 ในประเทศไทย นายดามพ์ นานา ประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายการเงิน บริษัท อาร์เอส กล่าวว่า  บริษัทได้ตั้งเป้าว่าในช่วงไตรมาส 2 ปีนี้บริษัทจะมีรายได้จากการขายลิขสิทธิ์ถ่ายทอดสดฟุตบอลโลกไม่ต่ำกว่า 500 ล้านบาท รวมถึงจะมีรายได้จากกิจกรรมต่อเนื่องอีก 200 ล้านบาท โดยน่าจะเห็นกำไรประมาณ 100 ล้านบาท ขณะที่ นายสุทธิศักดิ์ ประศาสน์ครุการ กรรมการและผู้อำนวยการสายงานกฎหมายและปราบปราม บริษัท จัดเก็บลิขสิทธิ์ไทย จำกัด (ทีซีซี) ในเครือบริษัทอาร์เอส  ระบุย้ำว่าบริษัทได้จัดส่งเจ้าหน้าที่ประมาณ  200  คน ออกตรวจสอบทั่วประเทศ เพื่อป้องกันการละเมิดสิทธิ์
อย่างไรก็ดี ในระหว่างการแข่งขันฟุตบอลโลกรอบแรก อาร์เอสอ้างว่าฟีฟ่าเข้มงวดการส่งสัญญาณ ทำให้ประชาชนที่ติดจานดาวเทียมระบบย่านความถี่ซี-แบนด์ หรือ "จานดำ" ไม่สามารถรับชม ต้องหาจานรับสัญญาณเคยู-แบนด์ หรือ  "จานทึบ"  หรือไม่ก็เสารับ สัญญาณหนวดกุ้ง/เสาก้างปลามาแก้ปัญหา
ส่งผลให้ทั้งจานทึบ และเสารับสัญญาณหนวดกุ้ง   รวมทั้งเสาก้างปลา ขายดิบขายดี   ขณะที่ในส่วนของจานดำ ซึ่งเป็นเจ้าตลาดจานรับสัญญาณดาวเทียมมียอดขายลดลงในช่วงนี้
นายวรสิทธิ์ ลีลาบูรณพงศ์ กรรมการบริหารการตลาด บริษัท พีเอสไอ โฮลดิ้ง จำกัด ผู้นำตลาดจานดำ กล่าวว่า จากปัญหานี้จะส่งผลต่อยอดขายเดือน  มิ.ย. มาอยู่ที่เดือนละ  140,000-150,000  จาน ขณะที่เมื่อเดือน พ.ค. ขายได้ถึง 170,000-190,000 จาน จากกระแสบอลโลกฟีเวอร์

ไทยรัฐมอบอภิมหาโชค
ถือเป็นประเพณีไปแล้ว ที่ทุกครั้งของการแข่งขันฟุตบอลโลก (และรวมทั้งฟุตบอลยูโร) "หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ" ได้ร่วมสร้างกระแสฟีเวอร์ให้คึกคัก โดยจับมือกับบรรดาพันธมิตรจัดโครงการทายผลชิงแชมป์ มอบรางวัลเป็นเงินสดๆพร้อมรางวัลพิเศษอีกมากมาย
สำหรับการแข่งขันฟุตบอลโลก 2010 "ไทยรัฐ" ได้จับมือกับ 10 ยักษ์ใหญ่ ประกอบด้วย บริษัท จีเนท อินเตอร์เนชั่นแนล (ประเทศไทย) จำกัด, บริษัท เจมส์ แกลอรี่ อินเตอร์เนชั่นแนล แมนูแฟคเจอเร่อ จำกัด, บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด (มหาชน), บริษัท ตรีเพชรอีซูซุเซลส์ จำกัด, บริษัท ไทยยามาฮ่ามอเตอร์ จำกัด,
บริษัท  ไทยเบฟเวอเรจ มาร์เก็ตติ้ง จำกัด, ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน), บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จำกัด (มหาชน), บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) และบริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) จัดโครงการ  "ทายผลแชมป์ฟุตบอลโลก  2010"  มอบอภิมหา
โชคแก่แฟนบอลชาวไทย  ด้วยการแจกเงินสดๆ  ถึง  30  ล้านบาท พร้อมรางวัลพิเศษอีกมากมาย
นายออมสิน ชีวะพฤกษ์ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ไปรษณีย์ไทย  จำกัด (ปณท.) กล่าวว่า  บริษัทไปรษณีย์ได้ตั้งเป้าจะจำหน่ายไปรษณียบัตรช่วงฟุตบอลโลก 2010 ไม่ต่ำกว่า 160 ล้านฉบับ
"โดยได้จัดส่งไปรษณียบัตรทายผลฟุตบอลโลกกระจายไปตามที่ทำการไปรษณีย์ไทยทั่วประเทศแล้วกว่า 1,300 แห่ง ขณะเดียวกันบุรุษไปรษณีย์ยังเป็นตัวแทนจำหน่ายให้อีกด้วย แค่ฟุตบอลโลกเริ่มเตะกันไปเพียง 1 สัปดาห์ ยังจำหน่ายไปรษณียบัตรไปแล้ว 15 ล้านฉบับ

บอลโลกหนุนส่งออกไทย
นอกจากนี้ จากการที่แอฟริกาใต้เป็นเจ้าภาพ ยังได้ช่วยให้การส่งออกของไทยได้รับส้มหล่น
นายวิรัตน์ ตันเดชานุรัตน์ ผู้อำนวยการสถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ กล่าวว่า  ใน 5 เดือนแรกของปีนี้ ยอดส่งออกสิ่งทอของไทยเพิ่มขึ้น 20% เพราะรับส้มหล่นจากฟุตบอลโลก 2010 ทั่วโลกได้สั่งซื้อเสื้อผ้า เช่น ชุดกีฬา กางเกงฟุตบอล ผ้าขนหนู ฯลฯ ที่มีตราสัญลักษณ์เกี่ยวกับฟุตบอลโลก
ขณะที่บริษัท ศูนย์วิจัยกสิกรไทย รายงานว่า ผลิตภัณฑ์อาหารทะเลของไทยซึ่งเป็นที่ชื่นชอบในหมู่ผู้บริโภคที่แอฟริกาใต้และนักท่องเที่ยวชาติอื่นๆ ยังได้ขยายตลาดส่งออกสู่แอฟริกาใต้มากขึ้น ทั้งยังช่วยผลักดันให้การส่งออกผลไม้กระป๋องและแปรรูปของไทยไปยังแอฟริกาใต้เพิ่มขึ้นไม่ต่ำกว่า 55%
ดังนั้น สำหรับมหกรรมการแข่งขันที่เป็นที่นิยมของคนทั้งโลกในครั้งต่อๆไป ไม่ว่าจะเป็นฟุตบอลโลก ฟุตบอลยูโร รวมทั้งกีฬาโอลิมปิก หากทางการไทยได้มีการวางแผนและการจัดการที่ดี ก็น่าจะใช้กระแสฟีเวอร์นี้ช่วยเพิ่มยอดการส่งออกสินค้าไทยเพิ่มมากขึ้น.

 

สุรัตนา ศรีกระภา โปรแกรมเศรษฐศาสตร์ 50473010032

1. ธนาคารไทยเครดิต เพื่อรายย่อย (Thai Credit Retail Bank)

 

นายมงคล ลีลาธรรม          ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

เว็บไซด์                         http://www.tcrbank.com

สำนักงาน                        123 อาคารไทยประกันชีวิต ชั้น 1 ถ.รัชดาภิเษก

                                     แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10310 โทรศัพท์                         0-2697-5454 โทรสาร 0-2246-9782 

จำนวนสาขา                     9

ตัวย่อหุ้น

2. ธนาคารแห่งประเทศไทย (Bank of Thailand)

 

ผู้ว่าการ ธนาคารแห่งประเทศไทย            ดร. ธาริษา วัฒนเกส  

ชื่อเว็บไซต์                                         http://www.bot.or.th

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่                               273 ถนนสามเสน บางขุนพรหม

                                                       เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200

เบอร์กลาง โทร.                                   0-2283-5353

โทรสาร :                                           0-2280-0449, 0-2280-0626

จำนวนสาขา                                       -สำนักงานใหญ่ กรุงเทพมหานคร

                                                       -สาขาสุรวงศ์

                                                       -สาขาเชียงใหม่ และสาขาย่อยลำปาง

                                                        สำนักงานภาคเหนือ

                                                       -สาขาขอนแก่น สำนักงานภาค

                                                        ตะวันออกเฉียงเหนือ

                                                       -สาขาหาดใหญ่ สำนักงานภาคใต้

ตัวย่อหุ้น                                                

3. ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย

(Land and Houses Retail Bank)

 

นายรัตน์ พานิชพันธ์                                   ประธานกรรมการบริหาร

เว็บไซด์                                                  http://www.lhbank.co.th

สำนักงานใหญ่                                         1 อาคารคิวเฮ้าส์ ลุมพินี ถ.สาทรใต

                                                            แขวงทุ่งมหาเมฆเขตสาทร

                                                            กรุงเทพมหานคร 10120

โทรศัพท์                                                 0-2359-0000
โทรสาร                                                   0-2677-7223

จำนวนสาขา                                             23

ตัวย่อหุ้น                                                  LHBANK

4. ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย

(Small and Medium Enterprise Development Bank of Thailand)

 

ประธานกรรมการธนาคาร                                นาย พงษ์ภาณุ  เศวตรุนทร์ 

ชื่อเว็บไซต์                                                 www.smebank.co.th

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่                                       310 ถนนพหลโยธิน

                                                                แขวงสามเสนใน

                                                                เขตพญาไท กรุงเทพ

 โทร.                                                         0-2265-3000

โทรสาร                                                      0-2265-4000

จำนวนสาขา                                                94 สาขา

ตัวย่อหุ้น                                                              

5.ธนาคารสินเอเชีย (Asia Credit Limited Bank)

 

นายธงชัย อานันโทไทย                                     กรรมการผู้จัดการใหญ่ 

เว็บไซด์                                                         http://www.aclbank.com

สำนักงานใหญ่                                                 622 อาคารเอ็มโพเรียมทาวเวอร์

                                                                    ชั้น 11-13 ถ.สุขุมวิท

                                                                    แขวงคลองตัน เขตคลองเตย

                                                                    กรุงเทพมหานคร 1011

โทรศัพท์                                                         0-2663-9999

โทรสาร                                                           0-2663-9888

ตัวย่อหุ้น                                                          ACL      

จำนวนสาขา                                                      17

6.ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร

(Bank for Agriculture and Agricultural Cooperatives)

  

 

นาย กรณ์ จาติกวณิช                      รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง

                                                 ตำแหน่งประธานกรรมการ

ชื่อเว็บไซต์                                   www.baac.or.th

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่                         เลขที่ 469 ถนน นครสวรรค์ เขตดุสิต

                                                 กรุงเทพมหานคร 10300

โทร                                            (662) 280-0180, 281-7355                    

 โทรสาร                                      (662) 280-0442, 281-6164, 280-5320

จำนวนสาขา                                  112

ตัวย่อ                                           BAC

7. ธนาคารเมกะสากลพาณิชย์ (Mega International Commercial Bank)

 

เว็บไซด์                                       https://overseas.megabank.com.tw

สำนักงานใหญ่                               36/12 อาคารพี.เอส.ทาวเวอร์ ถ.สุขุมวิท 21

                                                  (อโศก) แขวงคลองเตยเหนือ

                                                  เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร

โทรศัพท์                                       0-2259-2000-9

โทรสาร                                         0-2259-1330, 0-2261-3660

จำนวนสาขา

ตัวย่อหุ้น

8. ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย

(Export-Import Bank of Thailand)

ประธานกรรมการ                               นายจีรศักดิ์  พงษ์พิษณุพิจิตร์           

  ชื่อเว็บไซต์                                    http://www.exim.go.th

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่                            อาคารเอ็กซิม 1193 ถนนพหลโยธิน

                                                     พญาไท กรุงเทพฯ 10400

โทร                                                02-2713700 , 02-2780047,02-6172111

โทรสาร                                           02-2713204

จำนวนสาขา                                     588

ตัวย่อ     

9. ธนาคารสแตนดาร์ดชาร์เตอร์ดไทย (Standard Chartered Bank Thai)

 

มาร์ค เดวาเดสัน                      กรรมการผู้จัดการใหญ่ และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

เว็บไซด์                                 http://www.standardchartered.co.th

สำนักงานใหญ่                         90 อาคารสาทรธานี ถ.สาทรเหนือ แขวงสีลม

                                            เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

โทรศัพท์                                 0-2724-4000

โทรสาร                                   0-2724-4444

จำนวนสาขา                             41

ตัวย่อหุ้น                                  SCBT

10. ธนาคารออมสิน (Government Saving Bank)

 

นายวินัย  วิทวัสการเวช                      ประธานกรรมการ

นาย เลอศักดิ์  จุลเทศ                     ผู้อำนวยการธนาคารออมสิน 

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่                            470 ถนนพหลโยธิน สามเสนใน

                                                    เขตพญาไท กรุงเทพ 10400

ติดต่อสอบถาม โทร                           1115 หรือ 0-2299-8000

เว็บไซด์                                          http://www.gsb.or.th

จำนวนสาขา                                     636

ตัวย่อ                                              GSB

11. ธนาคารยูโอบี (United Overseas Bank, Thailand)

คุณ วี โชว เยา                              ประธานกรรมการ

เว็บไซด์                                      http://www.uob.co.th

สำนักงานใหญ่                              191 ถ.สาทรใต้ แขวงยานนาวา

                                                เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120

โทรศัพท์                                    0-2343-3000

โทรสาร                                      0-2287-2973-4

จำนวนสาขา                                148

ตัวย่อหุ้น                                     UOB

12. ธนาคารอาคารสงเคราะห์ (Government Housing Bank)

 

นายอารีพงศ์ ภู่ชอุ่ม                             ประธานกรรมการ

เว็บไซด์                                           http://www.ghbank.co.th

จำนวนสาขา                                     63 ถนนพระราม 9 เขตห้วยขวาง

                                                     กรุงเทพมหานคร 10310

โทร                                                02-6459000

จำนวนสาขา                                      886

ตัวย่อ

นางสาวแสงระวี ศรีราปราน รหัส 50473010002

โปรแกรมเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

 

ธนาคารแห่งประเทศไทย

 

 

ชื่อย่อ (ธปท.)( The Bank of Thailand)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ :  กรุงเทพมหานคร ( แถวศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิต)

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่ นางธาริษา วัฒนเกส 8 ตุลาคม 2549 - ปัจจุบัน

Websit www.bot.or.th 

จำนวนสาขาโดยประมาณ

- สำนักงานใหญ่ กรุงเทพมหานคร

- สาขาสุรวงศ์

- สาขาเชียงใหม่ และสาขาย่อยลำปาง สำนักงานภาคเหนือ

- สาขาขอนแก่น สำนักงานภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

- สาขาหาดใหญ่ สำนักงานภาคใต้

จุดเด่น   มีหน้าที่หลักในการดูและกำกับเรื่องการเงินของชาติ ทั้งออกกฎเกณฑ์และควบคุมสถาบันการเงิน นำออกหมุนเวียนซึ่งธนบัตรไทยรวมถึงการควบคุมการถ่ายโอนเงินตราระหว่างประเทศ และเฝ้าระวังอัตราแลกเปลี่ยนเงินบาทเทียบกับสกุลเงินตราอื่น

 

 

ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย

 

 

 

ชื่อย่อ (ธพว.หรือเอสเอ็มอีแบงก์)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ เลขที่ 310 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 
ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่ นายพงษ์ภาณุ เศวตรุนทร์

 Websit www.smebank.co.th

จำนวนสาขาโดยประมาณ 95 สาขา 

จุดเด่น : เพื่อประกอบธุรกิจอันเป็นการพัฒนา ส่งเสริม ช่วยเหลือ และสนับสนุนการจัดตั้ง การดำเนินงาน การขยาย หรือการปรับปรุงวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม โดยการให้สินเชื่อค้ำประกัน ร่วมลงทุน สนับสนุนบริการทางการเงิน ให้คำปรึกษาแนะนำหรือให้บริการที่จำเป็นแก่ผู้ประกอบการไทย มีฐานะเป็นนิติบุคคลโดยมีผู้ถือหุ้นทั้งภาครัฐและเอกชนร่วมกัน (จาก พ.ร.บ. ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2545 มาตรา 8 ให้กำหนดทุนเรือนหุ้นของธนาคารไว้หนึ่งหมื่นล้านบาท แบ่งออกเป็นหนึ่งร้อยล้านหุ้น มูลค่าหุ้นละหนึ่งร้อยบาท โดยให้ธนาคารขายหุ้นให้แก่กระทรวงการคลัง สถาบันการเงิน หรือบุคคลอื่น ทั้งนี้ ตามที่กำหนดไว้ในข้อบังคับของธนาคาร

 

 

 

 

 

ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร 

 

ชื่อย่อ (ธ.ก.ส.) (: Bank for Agriculture and Agricultural Cooperatives)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ เลขที่ 469 ถนน นครสวรรค์ เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่ นายลักษณ์ วจนานวัช

Websit  www.baac.or.th

จำนวนสาขาโดยประมาณ 886 สาขา

จุดเด่น ทำหน้าที่อำนวยสินเชื่อทางการเกษตรอย่างกว้างขวาง ทั้งโดยตรงและสู่สถาบันเกษตรกร มุ่งให้ความช่วยเหลือทางการเงิน เพื่อส่งเสริมอาชีพการเกษตรหรือการดำเนินงานของเกษตรกร กลุ่มเกษตรกร       หรือสหกรณ์การเกษตร ตลอดจนส่งเสริมให้ เกษตรกร กลุ่มเกษตรกร หรือ สหกรณ์การเกษตร สามารถประกอบอาชีพอย่างอื่นที่เกี่ยวเนื่องในการเกษตร เพื่อเพิ่มรายได้ให้แก่ครอบครัวเกษตรกร รวมทั้งให้บริการรับฝากเงิน เช่นเดียวกับธนาคารพาณิชย์ทั่วไปอีกด้วย

 

ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย

 

 

 

ชื่อย่อ  (ธสน.) (Export-Import Bank of Thailand หรือ EXIM Bank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ อาคารเอ็กซิม 1193 ถนนพหลโยธิน พญาไท กรุงเทพฯ 10400

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่ นายณรงค์ชัย อัครเศรณี

 Websit www.exim.go.th

จำนวนสาขาโดยประมาณ 16 สาขา

จุดเด่น ให้สินเชื่อได้ทุกรูปแบบ เช่น สินเชื่อระยะสั้นและสินเชื่อระยะยาว สินเชื่อในประเทศและสินเชื่อต่างประเทศ โดยสามารถทำธุรกิจได้ทั้งที่เป็นสกุลเงินบาทและสกุลเงินตราต่างประเทศ นอกจากนี้ยังสามารถกู้ยืมเงินจากสถาบันการเงินทุกประเภททั้งในประเทศและต่างประเทศและออกตราสารการเงินระยะสั้นและระยะยาวขายแก่สถาบันการเงินและประชาชนทั่วไปทั้งในประเทศและต่างประเทศ กล่าวโดยสรุป ธสน. สามารถทำธุรกิจทุกประเภทที่ธนาคารพาณิชย์ทำได้ ยกเว้นเพียงการรับฝากเงินจากประชาชนทั่วไปเท่านั้น สำหรับนักลงทุนไทยที่ไปลงทุนในต่างประเทศ สนับสนุนการลงทุนในรูปของการให้บริการทางการเงินทั้งสินเชื่อระยะสั้นและระยะยาว และเพื่อเป็นการเพิ่มความมั่นใจให้แก่นักลงทุน ยังพร้อมที่จะร่วมลงทุนถือหุ้นในกิจการอีกด้วย การรับประกันความเสี่ยงในการเรียกเก็บเงินจากการส่งออก

 

ธนาคารออมสิน

 

 

ชื่อย่อ (Government Savings Bank) (GSB)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  ถ.พหลโยธิน บริเวณสี่แยกสะพานควาย 

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่ นายวินัย วิทวัสการเวช  

Websit www.gsb.or.th

จำนวนสาขาโดยประมาณ 400 สาขา

จุดเด่น เป็นธนาคารเพื่อลูกค้ารายย่อย จะเน้นให้สินเชื่อเพื่อพัฒนาชนบท พัฒนาผู้ประกอบการรายย่อย โดยจะมีรูปแบบของสินเชื่อและชนิดการฝากเงินรายย่อยมากมาย อีกทั้งยังสร้างเงินทุนหมุนเวียนในกลุ่มชุมชน โครงการธนาคารเพื่อประชาชนโดยให้สิ้นเชื่อระยะสั้นแก่ผู้ประกอบการรายย่อย (ให้ประชาชนมาเป็นหนี้ในระบบ ที่สามารถตรวจสอบได้ และการเก็บดอกเบี้ยตามความเป็นจริง) เป็นช่องทางการรับ-จ่ายเงินกู้จากโครงการกองทุนหมู่บ่นและชุมชนเมือง อีกทั้งยังลงทุนในการพัฒนาประเทศของหน่วยงานรัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ ให้บริการรูปแบบเงินฝากที่หลายหลายรูปแบบที่เหมาะกับแต่ละช่วงวัย และมีการให้บริการตามหลักศาสนาอิสลาม

 

 

 

ธนาคารอาคารสงเคราะห์

 

 

ชื่อย่อ  (ธอส.) (Government Housing Bank)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 63 ถ.พระรามที่ 9 ห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10320

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่ นายชัยเกษม นิติสิริ  

Websit www.ghb.co.th

จำนวนสาขาโดยประมาณ 146 สาขา

จุดเด่น เป็นธนาคารทำหน้าที่ช่วยเหลือทางการเงินให้กับประชาชน ได้มีที่อยู่อาศัยตามสมควรแก่อัตภาพ โดยการให้กู้ยืมเงิน และ จัดสรรที่ดินเพื่อก่อสร้างที่เป็นหน่วยงานของรัฐบาลที่ประกอบธุรกิจในการส่งเสริมและช่วยเหลือประชาชนนำเงินไป ลงทุนเกี่ยวกับการสร้างอาคารและที่ดินโดยตรงทำหน้าที่เสมือนสื่อกลางในการนำเงินไปใช้ประโยชน์ ใน กิจการเคหะและเป็นสถาบันการเงินที่ดำเนินธุรกิจ อีกทั้งยัง ร่วมมือกับหน่วยงานของรัฐต่างๆ สนับสนุนให้ประชาชนมีที่อยู่เป็นของตนเอง อาทิ ให้สินเชื่อกับผู้ที่ซื้อบ้านกับการเคหะแห่งชาติ สินเชื่อกับผู้ประกันตนกับสำนักงานประกันสังคม ร่วมกับกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการให้สมาชิกกู้เงินเพื่ออสังหาริมทรัพทย์ ความช่วยเหลือด้านการมีบ้าน

 

ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย

 

 

ชื่อย่อ (Islamic Bank of Thailand)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ เลขที่ 66 ชั้น M, 21, 22 อาคารคิวเฮ้าส์ ถนนสุขุมวิท 21แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา
กรรุงเทพมหานคร 10110
ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่ นายธีรศักดิ์ สุวรรณยศ

Websit www.ibank.co.th

จำนวนสาขาโดยประมาณ

 กรุงเทพฯ                                                                                      

สาขาคลองตัน

สาขามีนบุรี

สาขาศรีนครินทร์ (ย้ายมาจากถนนพัฒนาการ)

สาขาทุ่งครุ

สาขาปทุมธานี

สาขาสาทร

สาขาอโศก

      สาขาศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ (ถนนแจ้งวัฒนะ)

ภาคกลาง

สาขาอยุธยา

ภาคใต้

สาขาเพชรบุรี

สาขาชุมพร

สาขากระบี่

สาขาสงขลา

สาขาหาดใหญ่

สาขาจะนะ (อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา)

สาขาปัตตานี

สาขาจะบังติกอ (อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี)

สาขายะลา

สาขานราธิวาส

สาขาถ.วิจิตรไชยบูลย์ (อำเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส)

สาขาสตูล

สาขาภูเก็ต

ภาคเหนือ

สาขาพิษณุโลก

สาขาลำปาง

สาขาเชียงใหม่

สาขาเชียงราย

ภาคตะวันออก

สาขาพัทยา

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

สาขาขอนแก่น

จุดเด่น เป็นธนาคารที่ดำเนินธุรกรรมโดยปราศจากดอกเบี้ย แต่อยู่บนหลักการ กำไร-ขาดทุนร่วมกัน และดำเนินธุรกิจตาม พ.ร.บ.ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2545 โดยมีคณะที่ปรึกษาด้านศาสนาให้คำแนะนำ ตรวจสอบ เพื่อให้ธนาคารดำเนินงานถูกต้องตามหลักศาสนาอิสลาม ปัจจุบันธนาคารมีฐานะเป็นรัฐวิสาหกิจ สังกัดกระทรวงการคลัง

ธนาคารกรุงไทย

 

ชื่อย่อ  KTB  (Krung Thai Bank Public Company Limited)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  35 ถนนสุขุมวิท เขตวัฒนา กรุงเทพฯ

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่  นายอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์

Websit www.ktb.co.th

จำนวนสาขาโดยประมาณ  800 สาขา

จุดเด่น ธนาคารกรุงไทยได้เริ่มดำเนินกิจการมา มีการเจริญเติบโตที่มั่นคง รวดเร็ว มีการปรับปรุง และขยายองค์กรงานใหม่ ซึ่งตอบสนองลูกค้าได้มากขึ้น จนกระทั่งเมื่อปี พ.ศ. 2531 ธนาคารกรุงไทย เป็นธนาคารเพียงแห่งเดียวในสมัยนั้น ที่มีสาขาและเอทีเอ็ม (ATM) ครบทุกจังหวัดทั่วประเทศ

 ธนาคารกรุงไทยเป็นรัฐวิสาหกิจ แห่งแรกในประเทศไทยที่เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2532 ปัจจุบันผู้ถือหุ้นใหญ่คือกระทรวงการคลัง โดยถือหุ้นผ่านกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน จำนวน 6.184 พันล้านหุ้น คิดเป็น 55.31% ของหุ้นทั้งหมด

 นอกจากพาณิชยกรรมเช่นธนาคารพาณิชย์ทั่วไปแล้ว ธนาคารกรุงไทยยังเป็นช่องทางของรัฐบาลในการให้บริการทางการเงินสนองตามนโยบายของรัฐ โดยปล่อยสินเชื่อให้ธุรกิจบางประเภท เช่น สินเชื่อเพื่อโอท็อป (OTOP : หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์) สินเชื่อคอมพิวเตอร์ไอซีที สินเชื่อเพื่อการศึกษา ฯลฯ ธนาคารกรุงไทยยังเป็นธนาคารที่หน่วยงานราชการส่วนใหญ่เลือกใช้ อาทิเช่น กรมสรรพากร จ่ายเช็คคืนภาษีเป็นเช็คของธนาคารกรุงไทย และการเบิกจ่ายงบประมาณราชการ รวมถึงบำเหน็จบำนาญต่างๆ ของรัฐก็มีความเกี่ยวข้องกับธนาคารกรุงไทย

ธนาคารทหารไทย

 

 

ชื่อย่อ  TMB                                                                             

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  เลขที่ 3000 ถ.พหลโยธิน แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่ นางเสาวนีย์ กมลบุตร

Websit www.tmbbank.com

จำนวนสาขาโดยประมาณ  480 สาขา

จุดเด่น เป็นธนาคารของประเทศไทย ก่อตั้งโดย จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เมื่อวันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2499 มีทุนจดทะเบียนเริ่มแรก 10 ล้านบาท สำนักงานใหญ่แห่งแรกตั้งอยู่ที่ อาคาร 2 ถนนราชดำเนิน จังหวัดพระนคร(กรุงเทพมหานครในปัจจุบัน) มีพนักงานเริ่มแรก 26 คน

ในระยะแรกแม้จะเป็นธนาคารพาณิชย์มีใบอนุญาตประกอบกิจการได้ทั่วไป แต่จำกัดการทำพาณิชยกรรมอยู่ในแวดวงจำกัดดังนี้

  1. ผู้ถือหุ้น ต้องเป็นทหารเท่านั้น บุคคลทั่วไปถือหุ้นไม่ได้
  2. ลูกค้า มุ่งรับฝากจากทหารและครอบครัวทหารเป็นส่วนใหญ่
  3. วัตถุประสงค์ เพื่ออำนวยความสะดวกในการให้บริหารทางการเงินแก่หน่วยงานทหาร และเพิ่มสวัสดิการการเงินแก่ข้าราชการทหาร

ธนาคารกรุงเทพ

 

 

ชื่อย่อ  BBL                                                                              

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  เลขที่ 333 ถนนสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่  นายชาติศิริ โสภนพนิช

 Websit www.bangkokbank.com

จำนวนสาขาโดยประมาณ  950 สาขา

จุดเด่น จดทะเบียนก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2487 โดยข้าราชการ นักธุรกิจ และกลุ่มบุคคลที่มีแนวคิดเดียวกัน มีสโลแกนที่ว่า "เพื่อนคู่คิด มิตรคู่บ้าน"รายงานผลการสำรวจธนาคารยอดเยี่ยมในประเทศกำลังพัฒนาประจำปี 2546 ซึ่งตีพิมพ์ใน นิตยสารโกลบอล ไฟแนนซ์ ฉบับประจำเดือนพฤษภาคม 2546 ได้กล่าวถึง ธนาคารกรุงเทพ ว่าเป็นธนาคารที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย

  • จุดเด่นของบริการ ท่านสามารถกำหนดเงื่อนไขและขอบเขตของบริการที่มีความหลากหลาย ให้สอดคล้องกับความต้องการทางธุรกิจของท่าน 
  • ระบบงานสามารถจัดลำดับขั้นบัญชีได้สูงสุดถึงสามระดับขั้น คือบัญชีหลัก บัญชีรองและ บัญชีพื้นฐาน พร้อมทั้งสามารถจัดลำดับความสำคัญของบัญชีตามลำดับก่อนหลังได้ตามที่บริษัทกำหนด 
  • ระบบงานไม่มีข้อจำกัดด้านจำนวนบัญชีที่ให้บริการ 
  • ระบบงานสามารถคำนวณ และกระจายดอกเบี้ยตามภาระผูกพันที่เกินจากการจัดการเงินโดยอัตโนมัติในบัญชีต่างๆ ตามที่เกิดขึ้นจริงทุกวัน

 

 

 

ธนาคารกรุงศรีอยุธยา

 

 

ชื่อย่อ  KRUNGSRI Bank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 1222 ถนนพระรามที่ 3 แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา จังหวัดกรุงเทพฯ 10120 

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่  นายมาร์ค จอห์น อาร์โนลด์

Websit www.krungsri.com

จำนวนสาขาโดยประมาณ  ในประเทศ 577 สาขา ต่างประเทศ 4 สาขา

จุดเด่น สามารถรองรับการชำระเงินด้วยบัตรเครดิต และการหักบัญชีเงินฝากที่มีอยู่กับธนาคาร

ไม่ต้องติดตั้งโปรแกรมใดๆ ที่ฝั่งของร้านค้าสามารถสมัครใช้บริการเพย์เม้นท์เกทเวย์ที่สาขาของธนาคารได้

เจ้าของร้านค้าสามารถตรวจสอบการเคลื่อนไหวรายการทางการเงินผ่านบริการ Krungsri Online สามารถโอนเงินที่ได้รับจากการขายสินค้า หรือบริการให้แก่ร้านค้าออนไลน์ได้ทั้งแบบอัตโนมัติ(Electronic Settlement) และแบบเลือกรายการได้ด้วยตนเอง (Manual Settlement) ได้

ธนาคารกสิกรไทย

 

 

ชื่อย่อ  KBank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  ซอยกสิกรไทย ถนนราษฎร์บูรณะ เชิงสะพานพระราม 9 ฝั่งธนบุรี

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่  นายบัณฑูร ล่ำซำ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

                                นายประสาร ไตรรัตน์วรกุล กรรมการผู้จัดการ

Websit www.kasikornbank.com

จำนวนสาขาโดยประมาณ  595 สาขา

จุดเด่น ธนาคารกสิกรไทยมุ่งมั่นเป็นสถาบันการเงินที่มั่นคงที่สุด ที่ริเริ่มในสิ่งใหม่ และกระทำทุกวิถีทางเพื่อเป็นสถาบันการเงินไทยที่ให้บริการอย่างดีที่สุดแก่ลูกค้า ผลงานเด่นเข้าตานิตยสารชื่อดัง ฟอร์บส์ เอเชีย ยกให้เป็นบริษัทไทยแห่งเดียวติด 1 ใน 50 บริษัทจดทะเบียนขนาดใหญ่ที่มีผลงานโดดเด่นที่สุดในเอเชีย (Asian Fab 50) ประจำปีนี้ ผลจาก ยอดสินเชื่อ รายได้ค่าธรรมเนียม และการดำเนินธุรกิจเติบโตสวนทางกระแสเศรษฐกิจที่ผันผวน

 

ธนาคารเกียรตินาคิน

 

 

ชื่อย่อ  KKBank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  เลขที่ 500 อาคารอัมรินทร์ ทาวเวอร์ ชั้น 11 ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่  นางสาวนวพร เรืองสกุล

Websit www.kiatnakin.co.th

จำนวนสาขาโดยประมาณ  มีสาขา 52 แห่งทั่วประเทศ

จุดเด่น เป็นธนาคารพาณิชย์เต็มรูปแบบ (Commercial Bank) ซึ่งเปิดดำเนินการอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม 2548 เพื่อให้บริการทางการเงินที่หลากหลาย อาทิ บริการด้านเงินฝากประจำ ออมทรัพย์ กระแสรายวัน ประกันชีวิต สินเชื่อรถยนต์ สินเชื่อพัฒนาโครงการ สินเชื่อธุรกิจอพาร์ทเม้นท์ สินเชื่อธุรกิจฟลอร์แพลน สินเชื่อเพื่อธุรกิจขนส่ง สินเชื่อธุรกิจสิ่งพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ ธนาคารเกียรตินาคิน ได้รับการจัดอันดับความน่าเชื่อถือ ระดับ A- จากบริษัท ทริส เรทติ้ง จำกัด แนวโน้มอันดับเครดิต Stable หรือคงที่ ซึ่งสะท้อนถึงความน่าเชื่อถือของธนาคาร ในสายตาของลูกค้าและนักลงทุนรวมถึงความมั่นคงทางการเงินที่สูง

 

 

ธนาคารซิติแบงก์

 

 

ชื่อย่อ  CitiBank

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่   เลขที่ 399 ถนนสุขุมวิท อาคารอินเตอร์เชนจ์ 21 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110

ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่  นายปีเตอร์ เอเลียต

Websit www.citibank.co.th

จำนวนสาขาโดยประมาณ  47 สาขา

จุดเด่น : ธนาคารซิตี้แบงก์ และบริษัทในเครือซิตี้กรุ๊ปให้บริการแก่ลูกค้ารายย่อย และลูกค้าสถาบันมากกว่าสถาบันการเงินอื่นใด ธนาคารซิตี้แบงก์เริ่มเปิดดำเนินกิจการ ในมหานครนิวยอร์คในปี พ.ศ. 2355 ปัจจุบันธนาคารมีเครือข่ายครอบคลุมทั่วโลก มากกว่า 3,000 สาขาใน 100 ประเทศ กิจการบุคคลธนกิจของธนาคารให้บริการบัตรเครดิตกว่า 60 ล้านใบทั่วโลก จาก เครือข่ายที่กว้างไกลของธนาคารทำให้สามารถให้บริการด้านเงินทุน และธุรกรรมการเงินเพื่อตอบสนองลูกค้าสถาบันทั้งในและต่างประเทศ รวมทั้งประเทศในตลาดเกิดใหม่ ซิตี้กรุ๊ปมีเจ้าหน้าที่มากกว่า 255,000 คนทั่วโลก ซึ่งได้รับความไว้วางใจจากลูกค้า และนักลงทุน   เจ้าหน้าที่ของเราเป็นผู้มีความสามารถ มีประสบการณ์ มีประสิทธิภาพสูงซึ่งทำให้เรามีความโดดเด่นมากกว่าสถาบันการเงินอื่นใด ทำให้ซิตี้กรุ๊ปสามารถให้บริการการเงินตอบสนองลูกค้าได้ดียิ่งขึ้น

 

ธนาคารซีไอเอ็มบี ไทย

 

 

ชื่อย่อ  CIMB

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  อาคารหลังสวน (สำนักงานใหญ่)เลขที่ 44 ถนนหลังสวน แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่  นายสุภัค ศิวะรักษ์                                           

Websit   www.bankthai.co.th

จำนวนสาขาโดยประมาณ  147 สาขา

จุดเด่น กลุ่มซีไอเอ็มบี ดำเนินธุรกิจในฐานะของธนาคารผู้ให้บริการทางการเงินอย่างครบวงจร (Universal Bank) โดยเป็นผู้ให้บริการทางการเงินที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศมาเลเซีย และอันดับ 5 ของภูมิภาคตะวันออกเฉียงใต้ เมื่อจัดอันดับตามขนาดสินทรัพย์ และมีเงินทุนหมุนเวียนในตลาดประมาณ 6 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ปัจจุบัน กลุ่มซีไอเอ็มบีมีฐานการตลาดหลักด้านการเงินธนาคารแบบครบวงจรในประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซีย สิงคโปร์ และไทย นอกจากนี้ ยังมีเครือข่ายทั่วภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตลอดจนศูนย์ให้บริการทางการเงินทั่วโลก รวมถึงในประเทศต่างๆ ที่ลูกค้ามีธุรกิจและการลงทุนอยู่

ทั้งนี้ กลุ่มซีไอเอ็มบี ดำเนินธุรกิจผ่าน 3 หน่วยงานหลักที่มีแบรนด์ดังนี้ CIMB Bank, CIMB Investment Bank และ CIMB Islamic โดย CIMB Bank เป็นส่วนสำคัญในการดำเนินธุรกิจด้านธนาคารพาณิชย์ของกลุ่ม ขณะที่ CIMB Islamic ดำเนินธุรกิจด้านการเงินและการธนาคารอิสลามในระดับโลก ซึ่งทั้ง CIMB Bank และ CIMB Islamic ให้บริการธุรกิจรายย่อย (Retail Banking) บนระบบธนาคาร 2 ระบบควบคู่กัน โดยมีลูกค้ารายย่อยมากกว่า 4.7 ล้านคนใน 367 สาขาทั่วประเทศมาเลเซีย กลุ่มซีไอเอ็มบี ถือหุ้นโดย Bumiputra – Commerce Holdings Bhd ซึ่งเป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศมาเลเซีย ด้วยมูลค่าตลาด (Market Capitalization) เกือบ 49.7 พันล้านริงกิต หรือเกือบ 5 แสนล้านบาท และมีพนักงานรวมกว่า 36,000 คน ประจำอยู่ใน 11 ประเทศ

 

 

ธนาคารแห่งประเทศไทย ( The Bank of Thailand) ชื่อย่อ ธปท.)(แบงค์ชาติ)

ชื่อผู้ว่า ธปท.คนปัจจุบันคือ นางธาริษา วัฒนเกส

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 273 ถนนสามเสน บางขุนพรหม เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200

จุดเด่น : ได้ออกแนวปฏิบัติของธนาคารแห่งประเทศไทย เรื่อง การจัดทำแผนรองรับการดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง (Business Continuity Plan: BCP) สำหรับกรณีการระบาดของโรคติดต่อร้ายแรง โดยบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 4 สิงหาคม 2551 ภายใต้การสนับสนุนจากสมาคมธนาคารไทย สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย และ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และธนาคารต่างๆ ได้เตรียมความพร้อมเช่นกัน เช่น ธนาคารไทยธนาคาร จำกัด (มหาชน), ธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน) เป็นต้น

ธนาคารกสิกรไทย (KasikornBank) ชื่อย่อ KBANK

ประธานเจ้าหน้าที่บริหารคือ นายบัณฑูร ล่ำซำ

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 1 ซอยกสิกรไทย ถ.ราษฎร์บูรณะ ชั้น 12 เขตทุ่งครุกรุงเทพฯ 10140

มีสาขาทั้งหมด 595 สาขา

จุดเด่น : แฟคเตอรี แอนด์ ควิปเมนท์ กสิกรไทย มุ่งมั่นเป็นบริษัทลีสซิ่งและเช่าซื้อเครื่องจักรและอุปกรณ์ที่มั่นคงและดีที่สุดในการให้บริการแก่ลูกค้าและเพื่อเสริมภาพลักษณ์ การบริการทางการเงินที่ครอบคลุมทุกๆ ด้าน (Universal Banking) ของธนาคารกสิกรไทย

ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) ((Bangkok Bank Public Company Limited) ชื่อย่อ BBL.

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายชาติศิริ โสภณพนิช

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ เลขที่ 333 ถนนสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร

มีสาขาทั้งหมดในไทย 950 สาขา

จุดเด่น : รายงานผลการสำรวจธนาคารยอดเยี่ยมในประเทศกำลังพัฒนาประจำปี 2546 ซึ่งตีพิมพ์ใน นิตยสารโกลบอล ไฟแนนซ์ ฉบับประจำเดือนพฤษภาคม 2546 ได้กล่าวถึง ธนาคารกรุงเทพ ว่าเป็นธนาคารที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย

ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) ( Krung Thai Bank Public Company Limited) ชื่อย่อ KTB.

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ : ดร. พงศธร สิริโยธิน

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ เลขที่ 35 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ

มีสาขาทั้งหมด 800 สาขา

จุดเด่น : ธนาคารแสนสะดวก (The Convenience Bank) สำหรับลูกค้ารายย่อย ภาคธุรกิจ ภาครัฐ และสถาบัน

ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) ( Siam Commercial Bank Public Company Limited ) ชื่อย่อ SCB.

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : คุณหญิงชฎา วัฒนศิริธรรม

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 9 ถนนรัชดาภิเษก แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร

มีสาขาทั้งหมดในไทย 998 สาขาทั่วประเทศ

จุดเด่น - นำเสนอผลิตภัณฑ์ และบริการที่ดีในระดับมาตรฐานสากล

- สร้างผลตอบแทนระยะยาวที่ดีอย่างสม่ำเสมอ

- รักษา ดึงดูด และสร้างความผูกพันของพนักงาน

ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) ( Bank of Ayudthaya Public Company Limited) ชื่อย่อ BAY

กรรมการผู้จัดกี่ใหญ่คือ นายประไพสิทธิ์ ตัณฑ์เกยูร

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ: 1222 ถนนพระรามที่ 3 แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร 10120

มีสาขาภายในประเทศ จำนวน 577 แห่ง และสาขาต่างประเทศ จำนวน 4 แห่ง

ธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน) ((TMB Bank Public Company Limited) ชื่อย่อ TMB

โดย TMB ย่อมาจาก Thai Military Bank

ประธานเจ้าหน้าที่บริหารคือ นางเสาวนีย์ กมลบุตร

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ เลขที่ 3000 ถ.พหลโยธิน แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900

มีสาขาทั้งหมด 480 สาขา

จุดเด่น: ธนาคารไทยชั้นนำ มาตรฐานระดับโลก

ธนาคารออมสิน (Government Savings Bank ) ชื่อย่อ GSB

ประธานกรรมการคือ นายวินัย วิทวัสการเวช

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ เลขที่ 470 ถ.พหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400

มีสาขาทั้งหมด 400 สาขาทั่วประเทศ

จุดเด่น : เป็นสถาบันการเงินที่มั่นคงเพื่อการออม การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศโดยเฉพาะเศรษฐกิจฐานราก

ธนาคารนครหลวงไทย จำกัด (มหาชน) ( Siam City Bank Public Company Limited) ชื่อย่อ SCIB

ประธานเจ้าหน้าที่บริหารคือ นายชัยวัฒน์ อุทัยวรรณ์

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ เลขที่ 1101, ถ.เพชรบุรีตัดใหม่, มักกะสัน, เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร, 10400

มีสาขาทั้งหมด 382 สาขาทั่วประเทศ

จุดเด่น : ธนาคารกำหนดนโยบายการกำกับดูแลกิจการที่ดี โดยมีหลักการพื้นฐานที่สำคัญ เพื่อให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทุกระดับของธนาคารยึดถือปฏิบัติเป็นมาตรฐานเดียวกัน

ธนาคารอาคารสงเคราะห์ (Government Housing Bank) ชื่อย่อ ธอส. หรือ GH BANK

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายขรรค์ ประจวบเหมาะ

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ เลขที่ 63 ถ.พระรามที่ 9 ห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10320

มีสาขาทั้งหมด 146 สาขา

จุดเด่น : เป็นธนาคารมั่นคงทันสมัย เพื่อที่อยู่อาศัยครบวงจร : Secured Modern Housing Bank

ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย (Islamic Bank of Thailand) ชื่อย่อ( ธอท.) IBT.

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายธีรศักดิ์ สุวรรณยศ

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ เลขที่ 66 ชั้น M, 21, 22 อาคารคิวเฮ้าส์ ถนนสุขุมวิท 21แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา

กรุงเทพมหานคร 10110

มีสาขาทั้งหมด 28 สาขา

จุดเด่น : เป็นธนาคารที่ดำเนินธุรกรรมโดยปราศจากดอกเบี้ย แต่อยู่บนหลักการ กำไร-ขาดทุนร่วมกัน และดำเนินธุรกิจตาม พ.ร.บ.ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2545 โดยมีคณะที่ปรึกษาด้านศาสนาให้คำแนะนำ ตรวจสอบ เพื่อให้ธนาคารดำเนินงานถูกต้องตามหลักศาสนาอิสลาม ปัจจุบันธนาคารมีฐานะเป็นรัฐวิสาหกิจ สังกัดกระทรวงการคลัง

ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย (Small and Medium Enterprise Development Bank of Thailand) ชื่อย่อ ธพว. (SME BANK)

ประธานกรรมการ นายพงษ์ภาณุ เศวตรุนทร์

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ อาคาร SME BANK TOWER ตั้งอยู่เลขที่ 310 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กทม. 10400

มีสาขาทั้งหมด 99 สาขาทั่วประเทศ

จุดเด่น : เพื่อประกอบธุรกิจอันเป็นการพัฒนา ส่งเสริม ช่วยเหลือ และสนับสนุนการจัดตั้ง การดำเนินงาน การขยาย หรือการปรับปรุงวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม โดยการให้สินเชื่อค้ำประกัน ร่วมลงทุน สนับสนุนบริการทางการเงิน ให้คำปรึกษาแนะนำหรือให้บริการที่จำเป็นแก่ผู้ประกอบการไทย มีฐานะเป็นนิติบุคคลโดยมีผู้ถือหุ้นทั้งภาครัฐและเอกชนร่วมกัน (จาก พ.ร.บ. ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2545 มาตรา 8 ให้กำหนดทุนเรือนหุ้นของธนาคารไว้หนึ่งหมื่นล้านบาท แบ่งออกเป็นหนึ่งร้อยล้านหุ้น มูลค่าหุ้นละหนึ่งร้อยบาท โดยให้ธนาคารขายหุ้นให้แก่กระทรวงการคลัง สถาบันการเงิน หรือบุคคลอื่น ทั้งนี้ ตามที่กำหนดไว้ในข้อบังคับของธนาคาร

ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (BANK FOR AGRICULTURE AND AGRICULTURAL CO - OPERATIVES) ชื่อย่อ ธ.ก.ส. หรือ (BAAC)

ผู้จัดการใหญ่คือ นายลักษณ์ วจนานวัช

มีสำนักงานใหญ่ ตั้งอยู่เลขที่ ๔๖๙ ถนนนครสวรรค์ แขวงจิตรลดา เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร

มีสาขาทั้งหมด 886 สาขา

จุดเด่น "เป็นธนาคารพัฒนาชนบทที่มั่นคง มีการจัดการที่ทันสมัย เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของเกษตรกรรายย่อย"

ธนาคารธนชาต จำกัด (มหาชน) ( Thanachart Bank Public Company Limited ) ชื่อย่อ TBANK

ประธานกรรมการ คือ นายบันเทิง ตันติวิท

สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่ เลขที่ 900 อาคารต้นสนทาวเวอร์ ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กทม. 10330

มีสาขาทั้งหมด 50 สาขา

จุดเด่น: การเป็นกลุ่มธุรกิจที่ให้บริการทางการเงินครบวงจร มุ่งเน้นการสร้างสรรค์ความเป็นเลิศให้แก่ผลิตภัณฑ์และบริการจากความร่วมมือของทุกบริษัทภายในกลุ่ม และสามารถตอบสนองทุกความต้องการทางการเงิน

ธนาคารสินเอเชีย จำกัด (มหาชน) ( Asia Credit Public Company Limited) ชื่อย่อ ACLBANK

ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร นายโชติ โภควนิช

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ ตั้งอยู่ เลขที่ 622 ชั้น 11-13 อาคารเอ็มโพเรี่ยม ทาวเวอร์ ถนนสุขุมวิท กรุงเทพมหานคร

มีสาขาทั้งหมด 17 สาขา

จุดเด่น: ธนาคารสินเอเซีย จำกัด (มหาชน) หรือในชื่อเดิมคือ บริษัท เงินทุนสินเอเซีย จำกัด (มหาชน) ซึ่งได้รับใบอนุญาตประกอบการธนาคารพาณิชย์จากกระทรวงการคลังและ ธนาคารแห่งประเทศไทย ให้เริ่มเปิดให้บริการประชาชน เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2548 นับตั้งแต่ขวบปีแรกที่ก้าวสู่ธุรกิจการเงินการธนาคารเมื่อปี พ.ศ. 2512 หลังจากนั้น ก็ได้รับอนุญาตจากกระทรวง การคลังให้ประกอบ ธุรกิจหลักทรัพย์และธุรกิจเงินทุนในปี พ.ศ. 2516 จดทะเบียนเข้าสู่ตลาดหลักทรัพย์ในปี พ.ศ. 2521 จนกระทั่งแปรสภาพ เป็นบริษัทมหาชนในปี พ.ศ. 2536 มาจนวันนี้ ธนาคารสินเอเซีย จำกัด (มหาชน) ได้นำประสบการณ์ในแวดวงการเงินที่สั่งสมมากว่า 35 ปี พร้อมที่จะรับใช้ประชาชน อย่างเต็มที่

ธนาคารซีไอเอ็มบี ไทย จำกัด (มหาชน) (CIMB Thai Bank Public Company Limited) ชื่อย่อ CIMB

กรรมการผู้จัดการใหญ่ นายสุภัค ศิวะรักษ์

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ อาคารหลังสวนเลขที่ 44 ถนนหลังสวน แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

มีสาขาทั้งหมด 147 สาขา

จุดเด่น : ธนาคารตระหนักถึงสิทธิความเป็นส่วนบุคคลในข้อมูลของผู้ใช้บริการ และพยายามอย่างยิ่งที่จะให้ผู้ใช้บริการได้รับความปลอดภัยสูงสุดจากการใช้ช่องทางนี้สำหรับการดำเนินธุรกรรมต่างๆ ของผู้ใช้กับธนาคาร ดังนั้นข้อมูลต่างๆ ที่ได้รับธนาคารจะเก็บรักษา และดำเนินการอย่างเข้มงวดเพื่อรักษาความปลอดภัย และป้องกันการนำข้อมูลต่างๆ ไปใช้โดยมีเจตนาที่ไม่สุจริต ตามเกณฑ์มาตรฐานสำหรับการรักษาข้อมูลที่เป็นความลับ

ธนาคารยูโอบี จำกัด (มหาชน)( United Overseas Bank , Thailand) ชื่อย่อ UOB

ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ นายชัยวัฒน์ อุทัยวรรณ์

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ เลขที่ 191 ถนนสาทรใต้ แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120

มีสาขาทั้งหมด 400 สาขา

จุดเด่น : ธนาคารยูโอบี มีพันธกิจใน การเป็นธนาคารชั้นนำในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก และมุ่งมั่นที่จะนำ เสนอผลิตภัณฑ์คุณภาพ และบริการชั้นเลิศ

ธนาคารทิสโก้ จำกัด (มหาชน) (Thai Investment and Securities Public Company Bank) ชื่อย่อ TISCO

ประธานบริหาร นางอรนุช อภิศักดิ์ศิริกุล

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ เลขที่ 48/2 อาคารทิสโก้ทาวเวอร์ ชั้น 1 ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

มีสาขาทั้งหมด 46 สาขา

จุดเด่น: "ทิสโก้เป็นสถาบันการเงินที่ประกอบธุรกิจด้วยมาตรฐานสูงสุดของการกำกับดูแลกิจการที่ดี เราทุ่มเท สร้างสรรค์คุณค่าที่ยั่งยืน เพื่อลูกค้า ผู้ถือหุ้น พนักงาน และสังคม"

ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย (Export-Import Bank of Thailand ) ชื่อย่อ ธสน. หรือ EXIM BANK

ประธานกรรมการ ดร.ณรงค์ชัย อัครเศรณี

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ เลขที่ 1193 อาคารเอ็กซิม ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400

มีสาขาทั้งหมด 16 สาขา

จุดเด่น : เป็นสถาบันการเงินชั้นนำด้านการค้าและการลงทุนในระดับอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจ

ธนาคารเกียรตินาคิน จำกัด (มหาชน) (Kiatnakin Bank) ชื่อย่อ KK

นางสาวนวพร เรืองสกุล

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ เลขที่ 500 อาคารอัมรินทร์ ทาวเวอร์ ชั้น 11 ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

มีสาขาทั้งหมด 49 แห่งทั่วประเทศ

“โครงการพัฒนาคน พัฒนาชาติกับเกียรตินาคิน”

ธนาคารสแตนดาร์ชาร์เตอร์ดไทย จำกัด (มหาชน) (Standard Chartered Bank Thai) ชื่อย่อ SCNB

ผู้จัดการใหญ่คือ นาย ยุทธเดช ปัทมานนท์

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ เลขที่ 90 อาคารสาทรธานี ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพ 10500

มีสาขาทั้งหมด ในประเทศ 41 สาขา และอีกกว่า 1400 สาขาทั่วโลก

จุดเด่น : ธนาคารฯ มีธุรกิจหลักคือ บุคคลธนกิจและสถาบันธนกิจ ธุรกิจด้านบุคคลธนกิจให้บริการด้านบัตรเครดิต สินเชื่อบุคคล สินเชื่ออสังหาริมทรัพย์ บริการรับฝากเงิน บริการด้านการบริหารสินทรัพย์ให้แก่ลูกค้ารายบุคคล ลูกค้าเจ้าของธุรกิจรายย่อย จนถึงลูกค้าเจ้าของธุรกิจขนาดกลาง ส่วนสถาบันธนกิจนั้นให้บริการแก่ลูกค้าที่เป็นสถาบันหรือบริษัทในด้านต่างๆ เช่น สินเชื่อพาณิชย์ บริการบริหารเงินสด การบริการเงินทุน บริการด้านหลักทรัพย์ บริการด้านเงินตราต่างประเทศ บริการด้านการกู้ยืมในตลาดทุน และบริการด้านเงินกู้สำหรับธุรกิจ

ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย (Land and Houses Retail Bank) ชื่อย่อ LH

กรรมการผู้จัดการ นางศศิธร พงศธร

สำนักงานใหญ่ 1 อาคารคิวเฮ้าส์ ลุมพินี ถ.สาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120

มีสาขาทั้งหมด 23 สาขา

จุดเด่น : ธนาคารมีการพิจาณาในด้านสินเชื่อเน้นไปที่เงินกู้เพื่อการเคหะของสินเชื่อโดยรวมทั้งหมด60% และ40%จะเป็นสินเชื่อประเภทเอสเอ็มอี เนื่องจากว่าในส่วนของสินเชื่อเคหะมีข้อดีตรงที่มีหลักประกันที่ชัดเจน และทางธนาคารแห่งประเทศไทยก็ให้ความสนใจในเรื่องนี้เป็นสำคัญ เพราะถือว่าเป็นฐานเงินทุนที่มีประสิทธิภาพสูง

ธนาคารซิตี้แบงก์ จำกัด (มหาชน) (Citibank)

ผู้จัดการใหญ่ นายปีเตอร์ เอเลียต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ ตั้งอยู่เลขที่ 82 อาคารแสงทองธานี ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500

มีสาขาทั้งหมด 47 สาขา

จุดเด่น : มุ่งมั่นเป็นธนาคารระดับโลก เอกลักษณ์ในการมีเครือข่ายสาขาทั่วโลก ทุ่มเทให้ลูกค้าของเรา มีความแงแกร่งทางการเงินเสมอต้นเสมอปลาย สนับสนุน และช่วยพัฒนาศักยภาพของพนักงานอย่างต่อเนื่อง นำเสนอบริการที่เหนือกว่าแก่นักลงทุนตลอดเวลา

ธนาคารไทยเครดิตเพื่อรายย่อย จำกัด (มหาชน) (The Thai Credit Retail Bank Public Company Limited ) ชื่อย่อ TCR

ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ คือ นายมงคล ลีลาธรรม

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ เลขที่ 123 ชั้น 1 อาคาร ไทยประกันชีวิต ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กทม. 10400

มีสาขาทั้งหมด 9 สาขา

จุดเด่น : นำเสนอผลิตภัณฑ์ที่แตกต่าง และตอบสนองความต้องการที่แท้จริงของลูกค้า

สร้างทีมงานที่มีจิตสำนึกที่ดีด้านการบริการ มีความรักและภาคภูมิใจในองค์กร

สร้างระบบงานที่เอื้อหนุนให้การปฏิบัติงานเกิดประสิทธิภาพสูงสุด

สร้างความน่าเชื่อถือ ด้วยการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล

แสวงหาเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพในการบริหารงานและความเสี่ยง เพื่อผลลัพธ์ในการทำงานที่ดีที่สุด

แสวงหาพันธมิตร เพื่อเพิ่มโอกาสทางธุรกิจ

แสวงหาแนวทางในการพัฒนาธนาคารสู่ความสำเร็จตามแผนกลยุทธ์

ธนาคารเมกะ สากลพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) (Mega International Commercial Bank) ชื่อย่อ MEGA BANK

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ Rong-Jou Wang

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ เลขที่ 36/12 อาคารพี.เอส.ทาวเวอร์ ถ.สุขุมวิท 21 (อโศก) แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110 มีสาขาทั้งหมด 4 สาขา

จุดเด่น : ประกอบกิจการธนาคารพาณิชย์ รวมทั้งกิจการทั้งปวง ซึ่งเกี่ยวกับธนาคารพาณิชย์

การแข่งขันฟุตบอลโลกครั้งนี้ส่งผล อย่างไรต่อภาคธุรกิจใดบ้าง และจะมีผลกระทบภาคสังคมอย่างไรบ้าง

ตอบ

กระแสการแข่งขันฟุตบอลโลกปีนี้ ได้ทำให้ยอดขายเบียร์ทั่วโลกพุ่งกระฉูดหลังจากที่ประสบภาวะซบเซาไปในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมานี้จากผลกระทบวิกฤตเศรษฐกิจโลก ชินยา อิซูมิ โฆษกบริษัทผู้ผลิตเบียร์คิริน ของญี่ปุ่น เชื่อว่า ยอดขายเบียร์ของบริษัทจะพุ่งขึ้นมากกว่า 4% ตลอดการแข่งขันฟุตบอลโลก และยิ่งทีมญี่ปุ่นสามารถเอาชนะทีมแคเมอรูนได้ยิ่งทำให้ยอดสั่งซื้อจากร้านค้าพุ่งขึ้นตามไปด้วย รายงานระบุว่า บริษัทผู้ผลิตเบียร์ในญี่ปุ่นหลายแห่งหวังว่ากระแสฟุตบอลโลกจะช่วยฟื้นชีวิตธุรกิจเบียร์ขึ้นอีกครั้งหนึ่งหลังจากที่ยอดตกลงไปฮวบฮาบนับตั้งแต่การแข่งขันฟุตบอลโลกครั้งก่อนหน้าเมื่อปี 2006 ด้านจีนนั้นบริษัทผู้ผลิตเบียร์ยี่ห้อ “ชิงเต่า” ในเองจู้โจว เผยว่ายอดขายพุ่งขึ้นถึง 2 เท่าตัว จาก 2.4 หมื่นขวดต่อวัน เป็น 4.2 หมื่นขวดต่อวันแล้ว เช่นเดียวกับเกาหลีใต้ ในช่วงแมตช์การแข่งขันระหว่างทีมโสมขาวและอาร์เจนตินานั้นมียอดขายเบียร์ “จีเอส25” ถึง 345,000 ขวด/กระป๋อง เพิ่มจากสัปดาห์ก่อนหน้าถึง 123% ทางด้านสถานการณ์ในยุโรปอย่างที่อังกฤษนั้น ผับและร้านอาหารต่างมีลูกค้าเบียร์แน่นขนัด โดยในช่วงแมตช์ระหว่างอังกฤษและสหรัฐเมื่อวันที่ 12 มิ.ย.ที่ผ่านมา มีการขายเบียร์ถึง 12 ล้านเหยือก คิดเป็นมูลค่า 42 ล้านยูโร สำหรับเยอรมนี ซึ่งขึ้นชื่อเรื่องการผลิตเบียร์ของโลกนั้นระบุว่า ยอดขายจะเพิ่มหรือลดนั้นอยู่ที่ว่าทีมเยอรมนีจะสามารถเอาชนะได้หรือไม่ ซึ่งการดื่มเบียร์ของชาวเยอรมันนั้นอยู่ที่ 100 ลิตรต่อคนต่อปี ลดจากเดิมที่ 150 ลิตรเมื่อราว 30 ปีก่อน แอฟริกาใต้ประเทศเจ้าภาพฟุตบอลโลกนั้น “ซาบมิลเลอร์” บริษัทผู้ผลิตเบียร์ยี่ห้อมิลเลอร์ไลท์, เปโรนี และกรอช นั้นได้ทำการตุนสินค้าล่วงหน้ากันทีเดียว โดยคาดว่าตลอดการแข่งขัน 5 สัปดาห์นั้นจะขายเบียร์ได้ถึง 10 ล้านลิตรทีเดียว

( ส่งสุดท้ายคะแนนสวย)

นางสาวน้ำฝน  เพาะจะโปะ รหัสนักศึกษา 50473010009

โปรแกรม วิชาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ 

 ให้นักศึกษาทุกคนแสดงความเห็นว่าการคงประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน  ราคาไข่ไก่  ราคาน้ำตาลทราย  การท่องเที่ยว  การลงทุน  มีความเชื่อมโยงกันอย่างไร 


การประกาศภาวะฉุกเฉิน

ขณะที่ได้มีเหตุการณ์สืบเนื่องจากที่รัฐบาลได้ประกาศภาวะฉุกเฉินที่มีความร้ายแรง เพื่อบังคับใช้พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 ในเขตท้องที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล เมื่อวันที่ 7 เมษายน 2553 และเมื่อวันที่ 13 และ 16 พฤษภาคม 2553 ได้มีการประกาศภาวะฉุกเฉินเพิ่มเติมในพื้นที่ภาคกลาง ภาคเหนือ และภาคอีสาน รวมพื้นที่ภายใต้ประกาศภาวะฉุกเฉินที่มีความร้ายแรง ทั้งสิ้น 24 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดกรุงเทพมหานคร จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดปทุมธานี จังหวัดนครปฐม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จังหวัดชลบุรี จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดเชียงราย จังหวัดลำปาง จังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดน่าน จังหวัดขอนแก่น จังหวัดอุดรธานี จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดศรีษะเกษ จังหวัดอุบลราชธานี จังหวัดมหาสารคาม จังหวัดร้อยเอ็ด จังหวัดหนองบัวลำภู จังหวัดสกลนคร จังหวัดกาฬสินธิ์ จังหวัดมุกดาหาร ซึ่งการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินที่มีความร้ายแรง ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 7 เมษายน 2553 นั้น จะครบกำหนดเวลาสิ้นสุดในวันที่ 6 กรกฎาคม 2553 นี้ หากรัฐบาลประสงค์จะขยายระยะเวลา รัฐบาลจะต้องประกาศให้มีการขายระยะเวลาเมื่อสิ้นระยะเวลา 3 เดือน ตามพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 โดยต้องผ่านความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี
            องค์กร บุคคล และกลุ่มบุคคล ที่มีรายชื่อข้างท้าย ขอคัดค้านการขยายระยะเวลาการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน ด้วยเหตุผลดังต่อไปนี้
 1.เนื่องจากการประกาศภาวะฉุกเฉินที่มีความร้ายแรงต้องเป็นมาตรการพิเศษและชั่วคราวและมีผลบังคับอยู่เพียงในช่วงระยะเวลาที่ภัยคุกคามความอยู่รอดของชาติยังคงอยู่เท่านั้น รวมทั้งต้องเป็นสถานการณ์ที่ผิดปกติและการใช้มาตรการธรรมดาไม่เพียงพอที่จะดำเนินการควบคุมสถานการณ์ได้ แต่สถานการณ์ปัจจุบันได้คลี่คลายลงแล้ว ซึ่งรัฐบาลสามารถควบคุมสถานการณ์บ้านเมืองให้อยู่สภาวะปกติได้ จึงไม่มีเหตุความจำเป็นใด ๆ ให้ต้องคงประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินที่มีความร้ายแรงไว้อีกต่อไป

2.นับแต่มีการประกาศใช้พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 รัฐบาลได้ใช้อำนาจพิเศษตามพระราชกำหนดดังกล่าวอันเป็นการลิดรอนสิทธิเสรีภาพของประชาชนในการแสดงความคิดเห็นและความเชื่อทางการเมือง ไม่ว่าจะเป็นการห้ามมิให้ประชาชนเข้าร่วมชุมนุม การจัดกิจกรรมต่าง ๆ ที่เห็นว่า เป็นการแสดงความเห็นที่แตกต่างจากรัฐบาล อีกทั้งการประกาศห้าม ระงับ ยับยั้ง การติดต่อสื่อสาร โดยการปิดสื่อโทรทัศน์ วิทยุ สื่อสิ่งพิมพ์ และสื่อออนไลน์จำนวนมากที่เป็นการปิดกั้นการรับรู้ข่าวสารของประชาชน และไม่มีแนวโน้มว่าจะลดลงแต่อย่างใด

3.จากข้อเท็จจริงปรากฏว่าประชาชนจำนวนหลายร้อยคนที่ถูกควบคุมตัว ด้วยเหตุเพียงเพราะฝ่าฝืนประกาศหรือคำสั่งตามพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน ที่ห้ามชุมนุม ให้ออกจากพื้นที่ชุมนุม และห้ามออกจากเคหะสถาน โดยที่มิได้กระทำความผิดอาญาอื่น และมีการควบคุมตัวประชาชนที่แสดงความเห็นต่างทางการเมืองโดยไม่แจ้งข้อกล่าวหาและสามารถควบคุมตัวได้นานถึง 30 วัน โดยอ้างเหตุสงสัยว่ามีส่วนเกี่ยวข้องหรือสนับสนุนให้เกิดสถานการณ์ฉุกเฉินโดยที่มิได้มีหลักฐานและข้อเท็จจริงที่เพียงพอ

4.การใช้อำนาจตามพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉินดังที่กล่าวมา ย่อมเป็นที่ประจักษ์ได้ว่า นอกจากจะเป็นการละเมิดสิทธิเสรีภาพในการแสดงออกของบุคคลอันเป็นการละเมิดหลักการประชาธิปไตยแล้ว ยังเป็นการลิดรอนสิทธิในกระบวนการยุติธรรมอีกด้วย ซึ่งถือได้ว่าเป็นการใช้อำนาจที่ไม่สอดคล้องกับหลักสิทธิเสรีภาพที่ได้รับการรับรองไว้ในรัฐธรรมนูญ ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา และกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองซึ่งประเทศไทยต้องมีพันธกรณีต้องปฏิบัติ

5. นอกจากนี้ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ มาตรา 16 ยังได้ยกเว้นอำนาจศาลปกครองไว้ด้วย ซึ่งทำให้การกระทำของพนักงานเจ้าหน้าที่ตามกฎหมายไม่สามารถถูกตรวจสอบถ่วงดุลโดยอำนาจศาลปกครองได้ แม้จะสามารถดำเนินการในศาลยุติธรรม แต่ก็เป็นเฉพาะกรณีไป ประชาชนไม่สามารถใช้สิทธิทางศาลปกครองเพื่อตรวจสอบกฎหมายลำดับรองที่ออกตาม พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ได้แต่อย่างใด จึงขัดต่อหลักการตรวจสอบถ่วงดุลและหลักการแบ่งแยกอำนาจ  
 แสดงความคิดเห็นคือ     การประกาศภาวะฉุกเฉินในบ้านเมืองอย่างนี้ ส่งผลต่อผลดี คือ ทำให้บ้านเมืองมีคนเฝ้าดูแลและอยู่กันอย่างปลอดภัย เพราะมีกฎต่างๆที่รัฐบาลได้นำมาใช้ และเป็นการแสดงให้เห็นถึงประชาธิปไตยอย่างแท้จริงด้วยและทุกอย่างที่ทางรัฐบาล หรือ ศอฉ. ได้ทำและประกาศก็เป็นกฎที่สากลทั่วโลกใช้เช่นเดียวกัน และคนในเมืองหลวงก็คงชอบที่ได้อยู่อย่างสงบสักทีและ อาจจะส่งผลกระทบ ทางตรงและทางอ้อมต่อประชาชน แต่ก็คงไม่ขนาดที่ทำให้ประชาชนต้องลำบากเพียงใด
          สิ่งที่เราช่วยกันได้เราคนไทยที่พอรู้ว่าอะไรเป็นอะไรและมีจิตสำนึกในการมีส่วนร่วมในการช่วยกันคลี่คลายปัญหาสิ่งที่ควรทำเราควรช่วยให้ความรู้ให้ข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้องในทุกช่องทางที่เราสามารถทำได้

สิ่งที่รัฐบาลควรทำ คือ ดำเนินการยุติความขัดแย้งด้วยการให้ข่าวสารข้อมูลที่ถูกต้องไปถึงพี่น้องประชาชน และบังคับใช้กฏหมายในกรณีที่ผู้ชุมนุมทำผิดกฏหมายและละเมิดสิทธิของผู้อื่นยุติการกระทำของแกนนำ"เสื้อแดง"ด้วยวิธีการที่เหมาะสมตามสถานการณ์ โดยไม่ขัดต่อหลักศีลธรรมและกฏหมาย(รัฐบาลพยายามทำมาตลอด)

---------------------------------------------------------------------------------------------

ราคาขาไก่

ราคาขาไก่ ในปัจจุบัน....

เบอร ์ 0

น้ำหนักมากกว่าหรือเท่ากับ 70 กรัม

2.40

เบอร์  1

น้ำหนักต่ำกว่า 70-65 กรัม

2.30

เบอร์  2

น้ำหนักต่ำกว่า 65-60 กรัม

2.20

เบอร์  3

น้ำหนักต่ำกว่า60-55 กรัม

2.10

เบอร์  4

น้ำหนักต่ำกว่า 55-50 กรัม 

2.00

เบอร์  5

น้ำหนักต่ำกว่า 50-45 กรัม

1.90

เบอร์  6

น้ำหนักต่ำกว่า 45 กรัม

1.70

 

แม่ค้าขายขนมไทย แต่ละชนิดได้รับผลกระทบจากราคาขาไก่ พุ่งขึ้นสูงเกินกว่าปกติ

คณะกรรมการนโยบายพัฒนาไก่ไข่ และผลิตภัณฑ์ ออกมาตรการแก้ปัญหาราคาไข่ไก่ที่ปรับตัวสูงขึ้น โดยระยะสั้นให้ยึดอายุไก่สาว และไก่ยืนกรง จากปกติ 72 สัปดาห์ เป็น 82 สัปดาห์ ซึ่งจะทำให้มีไข่ไก่เพิ่มขึ้นวันละ 1.2 ล้านฟอง ให้ชะลอการส่งออกไข่ไก่ชั่วคราว ในกรณีที่ไม่มีสัญญาผูกพัน จนกว่าสถานการณ์จะดีขึ้น ให้กรมปศุสัตว์ผลิตลูกไก่ไข่ 50,000 ตัวต่อเดือน เพื่อช่วยเกษตรกรรายเล็กที่ขาดช่วงการเลี้ยง รวมทั้งให้เอกชนปรับลดราคาลูกไก่ และไก่สาว โดยเอกชนทั้ง 9 แห่ง ปรับลดราคาลูกไก่ลงตัวละ 2 บาท และไก่สาวตัวละ 5 บาท มีผลทันที อย่างไรก็ตาม จะให้กรมปศุสัตว์ติดตามผลของมาตรการนี้ว่าจะทำให้ราคาไข่ไก่ลดลงหรือไม่ และให้รายงานต่อคณะกรรมการภายใน 30 วัน ส่วนระยะกลาง ให้มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศึกษาปรับปรุงโครงสร้าง คณะกรรมการนโยบายพัฒนาไก่ไข่และผลิตภัณฑ์ และให้ศึกษาโควตานำเข้าแม่พันธุ์อย่างเหมาะสม

พูดถึงเรื่องการลดราคาไข่ไก่ จาก ใบละ 4-5 บาท ให้เหลือ ฟองละ 1 บาท มึนขะหมองตึ๊บ... นอนคิด นั่งคิด ยืนคิด หกกะเมนตีลังกาคิด มันก็เป็นเรื่องสุดวิสัยครับพี่น้อง เพราะ เจ้าของฟาร์มบอกว่า ต้นทุนไข่ เบอร์0-4 ราคาเฉลี่ย ฟองละ 2.70 บาท  ในท้องตลาดขาย เบอร์ 1-4 เฉลี่ย ใบละ 3.30-5.00 บาท ที่สำคัญ ราคาไข่ในประเทศไทยแพงกว่าราคาไข่ไก่ที่ สหรัฐอเมริกา ซึ่งในอเมริกาวันนี้ ไข่ไก่ราคาเฉลี่ยใบละ 3 บาทไทย  มันเป็นไปได้อย่างไร อัตตราแลกเปลี่ยนเงินไทย 33 บาทแลกเงิน อเมริกาได้  1 บาท หรือ 1 ดอลล่าร์ยูเอส  ค่าเงิน 3 บาท สำหรับพวกเขา มันกะจี๊ด กะจิ๊บๆๆๆ แต่ค่าเงินเงิน 3 บาท มันมาก

ทีนี้เพื่อความยุติธรรมต่อ ผู้ซื้อ และ ผู้ขาย โดยเฉพาะ นายทุนฟาร์มไก่ยักษ์ใหญ่ 9 แห่ง ก็ต้องหาข้อมูลว่า ราคาไข่ไก่ในประเทศไทย เกินจริง ไปหรือเปล่า พ่อค้าฮั้วกันหรือเปล่า แจ้งยอดต้นทุนหลอกชาวบ้านหลอกรัฐบาลหรือเปล่า ก็มีวิธีหรือหลักคิดคร่าวๆคือ ไปดูราคาไข่ไก่ที่ประเทศไกล้เคียงซิ ประเทศมาเลเซีย เขมร เวียตนามหลำเดื๊อก  สาธารณะประซาซนลาว (ปะซาซนหลาว) สิงคโปร์ พม่า ประเทศจีน...ถ้าราคาไกล้เคียงกัน เอาละผมยอมแพ้ ไม่ต้องมาเขียนมาแก้มาคิดให้เมื่อยข้อเมี่อยมือ เมื่อยตุ้ม(ตุ้มหน้าตาเป็นไงหว่านึกไม่ออก)..เพราะนั้นมันคือราคา มาตรฐาน.....

ราคาไข่ไก่ ในประเทศไทย ราคา มันขึ้นสวรรค์ชั้นฟ้าชั้นดาวดึงส์ เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศที่กล่าวมาแล้ว ( แหมเสียดายปีใหม่ที่ผ่านมาไปมา 3ประเทศลืมสนิทไม่ได้ถามเรื่อง ราคาไข่ไก่) ในประเทศปะซาซนหลาว น่าจะสัก 2 บาท เขมรขะหมัยตรึย น่าจะ 2 บาท มาเลเซีย 1.50 บาทสิงคโปร์สิงกะโป ก นั่นน่าจะ 2 บาท พม่า 1.50 บาท  ประเทศจีน   น่าจะ 1. บาท  ผมว่า ประเทศไทยไทยน่าจะลดลงมาได้ไข่ไก่ฟองละ 1 บาท ขาดตัว

วังวนสินค้าแพง น้ำตาล-ไข่ไก่จุดชนวนสินค้าอื่นพาเหรดขยับขึ้นราคา

นายยรรยง พวงราช ปลัดกระทรวงพาณิชย์ เปิดเผยว่า นางพรทิวา นาคาศัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ มีนโยบายให้กรมการค้าภายใน ไปศึกษาผลกระทบจากการที่ไข่ไก่ น้ำตาลทราย ที่มีราคาสูง ขึ้น และอาจกระทบต่อต้นทุนการผลิตสินค้าชนิดอื่น เพื่อให้หาแนวทางดูแลไม่ให้สินค้าในกลุ่มเหล่านี้ปรับราคาสูงขึ้น โดยอาจมีการเรียกผู้ผลิตสินค้าที่ประสบปัญหาต้นทุนสูงขึ้นมาหารือ และขอความร่วมมือไม่ให้ปรับขึ้นราคาขาย เพราะจะทำให้ผู้บริโภคเดือดร้อน

       “ตอนนี้มีสินค้าหลายชนิดที่ใช้ น้ำตาลทราย ไข่ไก่ เป็นวัตถุดิบสำคัญสำหรับผลิตอาหาร เช่น น้ำอัดลม นมข้นหวาน น้ำผลไม้ เครื่องดื่มทางเลือก ขนมขบเคี้ยว ขนมปัง อาหารสำเร็จรูป ซึ่งกลุ่มเหล่านี้กระทรวงฯ ต้องเข้าไปช่วยดูว่าผู้ผลิตได้รับผลกระทบแค่ไหน เพื่อหามาตรการช่วยเหลือ และขอความร่วมมือไม่ให้ขึ้นราคาสินค้าในช่วงนี้ เพราะจะเป็นภาระต่อผู้บริโภค อย่างกรณีน้ำตาลทรายแพง กระทรวงฯพยายามหาทางลดต้นทุน ด้วยการขอให้รัฐบาลทบทวนลดราคาขายปลีก หลังจากมีการใช้ใช้หนี้กองทุนอ้อยและน้ำตาลหมด”

       ทั้งนี้ แม้การปรับขึ้นของราคาน้ำตาลทราย และไข่ไก่ จะไม่มีผลต่ออัตราเงินเฟ้อโดยตรง แต่จำเป็นต้องดูแลติดตามอย่างใกล้ชิด เพราะอาจส่งผลต่อสินค้าตัวอื่นให้ราคาปรับเพิ่มขึ้นได้ เช่น ไข่ไก่ ที่มีสัดส่วนกระทบต่ออัตราเงินเฟ้อ 0.56% แต่ส่งผลโดยตรงต่ออาหารสำเร็จรูปที่มีผลต่ออัตราเงินเฟ้อถึง 4.35% น้ำตาลทราย ที่มีผลต่อผู้บริโภคโดยตรงและสินค้าหลายชนิด ทั้งน้ำอัดลม น้ำผลไม้ นมข้นหวาน ซึ่งสินค้าหมวดอาหาร กระทรวงพาณิชย์จำเป็นต้องเข้าไปดูแลเป็นพิเศษในครึ่งปีหลัง เพราะมีแนวโน้มปรับตัวสูงขึ้น และส่งผลกระทบต่ออัตราเงินเฟ้อได้

        นายยรรยงกล่าวว่า จากการลงพื้นที่สำรวจราคาสินค้าไข่ไก่ ตามตลาดสด หรือร้านค้าปลีกสมัยใหม่ ยังมีราคาอยู่ในกรอบที่กระทรวงพาณิชย์กำหนด เช่น ไข่หน้าฟาร์มขายฟองละ 2.80 บาท ขณะที่ร้านในตลาดบางแคขายไข่เบอร์ 2 ราคาฟองละ 3.20-3.30 บาท ไม่ได้สูงถึง 4-5 บาทแต่อย่างใด แต่บางทีที่ราคาแพงอาจเป็นร้านเล็กๆ ที่มีการซื้อต่อกันมาหลายช่วงจนต้องบวกกำไรสูงขึ้น ตรงจุดนี้กระทรวงฯ เพิ่มความเข้มงวด ส่งเจ้าหน้าที่ไปสำรวจช่วงการรับซื้อระหว่างยี่ปั้ว ซาปั้ว และร้านค้าปลีกไม่ให้ขายกำไรเกินจริง

ความคิดเห็น คือ

นอกจากนี้ ยังได้เข้าไปดูการจำหน่ายอาหารสำเร็จรูป หลังจากมีประชาชนร้องเรียนว่ามีราคาสูงถึงจานละ 30-35 บาท โดยแนวทางอาจมีการผลักดันร้านอาหารธงฟ้า เข้าไปกระจายในพื้นที่ที่มีการร้องเรียน เพื่อให้เป็นทางเลือกแก่ประชาชนในการประหยัดค่าใช้จ่าย ขณะเดียวกันจะเป็นตัวกลางช่วยประสานให้ร้านอาหารธงฟ้า สามารถซื้อวัตถุดิบทำอาหาร เช่น ข้าวสาร ซอส น้ำปลา ไข่ไก่ น้ำตาลราคาถูกจากผู้ผลิตโดยตรงเพื่อช่วยประหยัดต้นทุน และทำให้ขายราคาถูกได้

---------------------------------------------------------------------------------------------

ราคาน้ำตาล

เรื่องหวาน ๆ ที่ไม่หวานของน้ำตาล   By Tiraphap Fakthong Freelance Educator and Quantitative Analyst   สถานการณ์ปัจจุบันของราคาน้ำตาลที่มีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างรวดเร็วและรุนแรงในปี 2552  กำลังกลายเป็นประเด็นร้อนที่หลาย ๆ ประเทศกำลังจับตามอง รวมไปถึงกลุ่มนักลงทุนเก็งกำไรในตลาดค้าสินค้าเกษตรล่วงหน้า ซึ่งราคาน้ำตาลนั้นตอนนี้แตะที่ระดับประมาณ 17 บาท ต่อ กิโลกรัม ซึ่งเป็นระดับสูงสุดในรอบ เกือบ ๆ 30 ปี หากมองในมุมมองของนักลงทุนพื้นหรือนักเศรษฐศาตร์ เรื่องนี้เป็นเรื่องทำธรรมดาที่จะมีการผันผวนอย่างรุนแรงของราคาสินค้าเกษตร อันเนื่องมาจากการมีอุปทานน้ำตาลไม่เพียงพอกับอุปสงค์ ดังที่องค์การน้ำตาลระหว่างประเทศได้มีการคาดการณ์ว่า ในปี 2552 ปริมาณน้ำตาลจะอยู่ในสถาวะขาดดุล หรือ ไม่เพียงพอต่อความต้องการประมาณ 9.35 ล้านตัน อันเนื่องมาจากการการผลิตที่หดตัวของประเทศผลิตน้ำตาลยักษ์ใหญ่ของโลก อาทิ อินเดีย บราซิล และจีน เป็นต้น   สาเหตุของการเพิ่มขึ้นของราคาน้ำตาล   เหตุผลหลักที่ผลักดันราคาน้ำตาลโลกให้สูงขึ้น คือ การที่ประเทศผลิตน้ำตาลรายใหญ่ประสบปัญหาการผลิตน้ำตาลโดยไม่สามารถผลิตให้เพียงพอกับความต้องการน้ำตาลที่เพิ่มขึ้น

รมว.กระทรวงพาณิชย์เผยจับตาอียูอุดหนุนส่งออกน้ำตาลเกินโควตา ประกาศจับมือร่วมกับบราซิล ออสเตรเลียขอคำชี้แจง หลังได้รับผลกระทบ  นายอลงกรณ์ พลบุตร รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ เปิดเผยว่า ผลการประชุมหารืออย่างไม่เป็นทางการระดับรัฐมนตรีเกี่ยวกับการเจรจารอบโดฮาขององค์การการค้าโลก (ดับเบิลยูทีโอ) ที่เมืองดาวอส ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ในช่วงสัปดาห์ที่ผ่านมา ประเทศสมาชิกคาดหวังให้เกิดการเจรจาภายใต้กรอบโดฮาให้ได้ภายในปีนี้ ซึ่งทุกฝ่ายมีความพยายามอย่างมาก นอกจากนี้ สิ่งที่ไทยต้องติดตามเป็นกรณีพิเศษ คือ ช่วงปีที่ผ่านมาทางสหภาพยุโรป (อียู) ได้เพิ่มปริมาณการส่งออกน้ำตาลที่ได้รับการอุดหนุนส่งออกเกินปริมาณที่ผูกพันไว้กับดับเบิลยูทีโอกว่า 600,000 ตัน จากปริมาณที่ต้องส่งออกเพียง 1.2 ล้านตัน เป็น 1.8 ล้านตัน ทำให้ทั้ง 3 ประเทศ ได้แก่ ไทย บราซิล และออสเตรเลียอยู่ระหว่างการรอคำชี้แจงสาเหตุต่างๆ จากกลุ่มอียู ซึ่งการกระทำดังกล่าวของอียูเป็นสิ่งที่ทำให้ราคาน้ำตาลตลาดโลกปรับตัวลดลงมาก และทั้ง 3 ประเทศอยู่ระหว่างจับตาการดำเนินการของอียู หากไม่ชี้แจงอะไรออกมา ทั้ง 3 ประเทศจะนัดประชุมร่วมกันเพื่อให้อียูชดเชยความเสียหายที่เกิดขึ้นตามกรอบดับเบิลยูทีโอ

ความคิดเห็น

อันเนื่องมาจากการการผลิตที่หดตัวของประเทศผลิตน้ำตาลยักษ์ใหญ่ของโลก อาทิ อินเดีย บราซิล และจีน เป็นต้น   สาเหตุของการเพิ่มขึ้นของราคาน้ำตาล   เหตุผลหลักที่ผลักดันราคาน้ำตาลโลกให้สูงขึ้น คือ การที่ประเทศผลิตน้ำตาลรายใหญ่ประสบปัญหาการผลิตน้ำตาลโดยไม่สามารถผลิตให้เพียงพอกับความต้องการน้ำตาลที่เพิ่มขึ้น

---------------------------------------------------------------------------------------------

การท่องเที่ยว

การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) เตรียมฟื้นการท่องเที่ยว โดยกำหนดจัดโครงการ amazing thailand grand sale 2010 ระหว่างวันที่ 15 มิถุนายน – 15 สิงหาคม 2553 ในพื้นที่หลัก 8 แห่ง ได้แก่ กรุงเทพมหานคร เชียงใหม่ หาดใหญ่ ภูเก็ต หัวหิน พัทยา สมุยและอุดรธานี เชิญชวนผู้ประกอบการร่วมจัดกิจรรมลดราคาสินค้าสูงสุดถึง 70% เพื่อส่งเสริมให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการซื้อสินค้าของนักท่องเที่ยว (shopping paradise) และสร้างแรงจูงใจให้นักท่องเที่ยวซื้อสินค้าในช่วงนอกฤดูกาลท่องเที่ยวของประเทศไทยเพิ่มมากขึ้น รวมทั้งกระตุ้นให้เกิดเงินหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจและกระจายรายได้สู่ภูมิภาคต่างๆ

ความคิดเห็น

ต้องกระตุ้นให้เกิดเงินหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจและกระจายรายได้สู่ภูมิภาคต่างๆซึ่งทำให้คนออกมาเที่ยวกันมาก ขึ้น และลดราคาที่พัก ต่างๆ รวมถึงมีของจำหน่ายที่ราคาถูกและดี หาจุดเด่นของแต่ละสถานที่มาเป็นจุดดึงดูดนักท่องเที่ยวให้น่าสนใจ และนักท่องเที่ยวจะได้ มากพักผ่อน ที่สำคัญต้องทำให้ชาวโลกรู้ว่าประเทศไทย คือประเทศที่หน้าเที่ยว มีวัฒนธรรมประเพณีไทย อย่างไรและทำให้รู้ว่าประเทศไทยน่าอยู่ขนาดไหน

---------------------------------------------------------------------------------------------

การลงทุน

ดร. สมจินต์ ศรไพศาล กรรมการผู้จัดการ บลจ. วรรณ กล่าวผ่านรายการ Smart Money ว่า แม้ว่าดัชนีตลาดหลักทรัพย์ในช่วงปลายปีได้ปรับลดลงมาก แต่ผลการดำเนินงานของกองทุนบลจ. วรรณโดยภาพรวมก็ยังสูงกว่าดัชนี โดยในช่วงที่ผ่านมาก็ได้เพิ่มจำนวนกองทุนเพื่อเป็นทางเลือกให้กับนักลงทุนมากขึ้น ทั้งกองทุนประเภทระยะสั้น กองทุนระยะยาว กองทุนหุ้นทุน และกองทุนผสม เป็นต้น ซึ่งนักลงทุนสามารถเลือกลงทุนได้ตามความต้องการ
ปัจจุบันบลจ. วรรณยังเป็นผู้บริหารกองทุนหุ้นและกองทุนตราสารหนี้ของ กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (กบข.) กองทุนของบรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม (บสย.) กองทุนของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และเร็ว ๆ นี้ ก็ได้รับบริหารกองทุนสำรองเลี้ยงชีพของพนักงานการไฟฟ้านครหลวง (กฟน.) มูลค่า 4 พันล้านบาทอีกด้วย
สำหรับกองทุนที่ลงทุนในต่างประเทศ (FIF) ก็เป็นอีกทางเลือกหนึ่งในการลงทุนท่ามกลางปัจจัยลบที่เกิดขึ้นในประเทศ และเป็นการเพิ่มโอกาสในการสร้างผลตอบแทนให้กับนักลงทุนได้ เพราะลงทุนได้ทั่วโลกโดยไม่ต้องตรวจสอบข้อมูลด้วยตนเอง แต่กองทุนประเภทนี้ก็ยังมีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน และในช่วงที่ผ่านมาค่าเงินบาทเมื่อเทียบกับสกุลเงินดอลลาร์สหรัฐได้แข็งค่าขึ้นอย่างต่อเนื่อง ผลตอบแทนของกองทุนอาจจะติดลบไปบ้าง แต่หลังจากมีมาตรการสกัดกั้นการเก็งกำไรค่าเงินบาทของธนาคารแห่งประเทศไทยมาควบคุม ก็เชื่อว่าได้ทำให้ค่าเงินบาทกลับมาอยู่ในสถานะที่เหมาะสมแล้ว
สำหรับกองทุน FIF ของบลจ. วรรณ คือ กองทุนเปิดวรรณเอเอ็มโกลบอลอีเมอร์จิ้งมาร์เก็ตเอควิตี้ (1AM-GEM) เป็นกองทุนที่ลงทุนในตลาดเกิดใหม่ในภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก เช่น เอเชีย และ ยุโรป และได้ร่วมงานกับบริษัทจัดการกองทุน คือ IXIS Asset Management และ Russell Investment Group ที่ผ่านมาสร้างผลตอบแทนได้ประมาณ 13.42% และจ่ายปันผลไปแล้วที่ 0.75 บาท
การลงทุนผ่านกองทุนรวมยังมีข้อดีคือ อาจสร้างผลตอบแทนได้สูงกว่าการฝากเงินในธนาคาร เลือกลงทุนได้ตามการยอมรับความเสี่ยง สามารถเก็บออมเงินไว้ใช้ได้ในยามเกษียณ โดยบางกองทุนก็สามารถใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษีได้ด้วย จึงเป็นสาเหตุให้ธุรกิจกองทุนรวมมีอัตราการขยายตัวได้ดี
สำหรับตลาดตราสารหนี้ ปกติแล้วการลงทุนในพันธบัตรระยะยาวจะมีผลตอบแทนสูงกว่าพันธบัตรระยะสั้น แต่มีความเสี่ยงมากกว่า นักลงทุนจึงควรเลือกลงทุนตามความสามารถในการยอมรับความเสี่ยงสมจินต์มองว่า ภาวะตลาดทุนในระยะนี้มีความผันผวน ซึ่งไม่เคยเห็นในลักษณะนี้มาก่อน หากนักลงทุนต้องการลงทุนควรแบ่งสัดส่วนการลงทุนให้เหมาะสม ไม่ทุ่มลงทุนไปในอย่างใดอย่างหนึ่งมากเกินไป และควรติดตามภาวะตลาดด้วย ซึ่งก็เป็นกลยุทธ์ที่สำคัญในการลงทุน และอาจเป็นการพลิกวิกฤติให้เป็นโอกาสได้ในที่สุด นอกจากนี้ นักลงทุนควรทราบเป้าหมายในการลงทุน เพื่อวางแผนการลงทุนให้สอดคล้องกับความต้องการ และอาจสร้างผลตอบแทนให้ได้เป็นจำนวนที่สูงขึ้นอีกด้วย

นายมาริษ ท่าราบ กรรมการผู้จัดการ บลจ. ไอเอ็นจี (ประเทศไทย) ให้สัมภาษณ์ผ่านรายการ Smart Money ทาง Money Channel ว่า กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ คือการระดมทุนจากประชาชน เพื่อไปลงทุนในทรัพย์สินถาวร เช่น อาคารสำนักงาน โรงแรม และโรงงานอุตสาหกรรม ที่สามารถสร้างรายได้อย่างสม่ำเสมอให้กับกองทุน นอกจากนี้กองทุนยังมีกรรมสิทธิ์ในที่ดิน อาคาร และสามารถทำสัญญาเช่าระยะยาวได้ สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) กำหนดให้กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์เป็นกองทุนปิด คือมีการเสนอขายเพียงหนึ่งครั้ง และต้องจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ถือหน่วยลงทุนสามารถซื้อขายได้ นอกจากนี้ยังกำหนดให้จ่ายเงินปันผลปีละไม่ต่ำกว่า 90% ของกำไรสุทธิ ปัจจุบันกองทุนรวมอสังหาฯ ให้ผลตอบแทนเฉลี่ย 7% ในช่วง 3 ปีที่ผ่านมา กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ได้รับความนิยมมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง เพราะเป็นทางเลือกหนึ่งในการระดมทุน ทำให้บริษัทไม่ต้องกู้เงินจากธนาคาร หรือออกหุ้นกู้ ซึ่งอาจกระทบต่อเงินทุนและหนี้สินของบริษัท สำหรับมาตรการสกัดการเก็งกำไรค่าเงินบาทของธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ส่งผลกระทบโดยตรงต่อกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ เนื่องจากถ้ามีการขายหน่วยลงทุนให้นักลงทุนต่างชาติ จะต้องถูกหักเป็นเงินสำรอง 30% ทั้งนี้ ในปี 2549 กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์มีมูลค่ารวม 4.48 หมื่นล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนของนักลงทุนต่างชาติ 35 – 40% และคาดว่าในไตรมาสที่ 1/2550 จะมีการเพิ่มทุนและตั้งกองทุนใหม่รวม 3 หมื่นล้านบาท และตลอดปี 2550 จะมีมูลค่ารวม 7 หมื่นล้านบาท ซึ่งทั้งหมดชะลอออกไปเนื่องจากมาตรการกันสำรอง 30%

 ความคิดเห็น

ทำให้นักลงทุนมั่นใจว่าลงทุนแล้ว จะได้กำไรในการลงทุนในประเทศ

---------------------------------------------------------------------------------------------

 

 

นางสาวน้ำฝน  เพาะจะโปะ รหัสนักศึกษา 50473010009

โปรแกรม วิชาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ 

 

ให้นักศึกษาทุกคนแสดงความเห็นว่าการคงประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน  ราคาไข่ไก่  ราคาน้ำตาลทราย  การท่องเที่ยว  การลงทุน  มีความเชื่อมโยงกันอย่างไร 

การประกาศภาวะฉุกเฉิน

สืบเนื่องจากที่รัฐบาลได้ประกาศภาวะฉุกเฉินที่มีความร้ายแรง เพื่อบังคับใช้พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 ในเขตท้องที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล เมื่อวันที่ 7 เมษายน 2553 และเมื่อวันที่ 13 และ 16 พฤษภาคม 2553 ได้มีการประกาศภาวะฉุกเฉินเพิ่มเติมในพื้นที่ภาคกลาง ภาคเหนือ และภาคอีสาน รวมพื้นที่ภายใต้ประกาศภาวะฉุกเฉินที่มีความร้ายแรง ทั้งสิ้น 24 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดกรุงเทพมหานคร จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดปทุมธานี จังหวัดนครปฐม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จังหวัดชลบุรี จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดเชียงราย จังหวัดลำปาง จังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดน่าน จังหวัดขอนแก่น จังหวัดอุดรธานี จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดศรีษะเกษ จังหวัดอุบลราชธานี จังหวัดมหาสารคาม จังหวัดร้อยเอ็ด จังหวัดหนองบัวลำภู จังหวัดสกลนคร จังหวัดกาฬสินธิ์ จังหวัดมุกดาหาร ซึ่งการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินที่มีความร้ายแรง ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 7 เมษายน 2553 นั้น จะครบกำหนดเวลาสิ้นสุดในวันที่ 6 กรกฎาคม 2553 นี้ หากรัฐบาลประสงค์จะขยายระยะเวลา รัฐบาลจะต้องประกาศให้มีการขายระยะเวลาเมื่อสิ้นระยะเวลา 3 เดือน ตามพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 โดยต้องผ่านความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี
            องค์กร บุคคล และกลุ่มบุคคล ที่มีรายชื่อข้างท้าย ขอคัดค้านการขยายระยะเวลาการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน ด้วยเหตุผลดังต่อไปนี้
 1.เนื่องจากการประกาศภาวะฉุกเฉินที่มีความร้ายแรงต้องเป็นมาตรการพิเศษและชั่วคราวและมีผลบังคับอยู่เพียงในช่วงระยะเวลาที่ภัยคุกคามความอยู่รอดของชาติยังคงอยู่เท่านั้น รวมทั้งต้องเป็นสถานการณ์ที่ผิดปกติและการใช้มาตรการธรรมดาไม่เพียงพอที่จะดำเนินการควบคุมสถานการณ์ได้ แต่สถานการณ์ปัจจุบันได้คลี่คลายลงแล้ว ซึ่งรัฐบาลสามารถควบคุมสถานการณ์บ้านเมืองให้อยู่สภาวะปกติได้ จึงไม่มีเหตุความจำเป็นใด ๆ ให้ต้องคงประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินที่มีความร้ายแรงไว้อีกต่อไป

2.นับแต่มีการประกาศใช้พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 รัฐบาลได้ใช้อำนาจพิเศษตามพระราชกำหนดดังกล่าวอันเป็นการลิดรอนสิทธิเสรีภาพของประชาชนในการแสดงความคิดเห็นและความเชื่อทางการเมือง ไม่ว่าจะเป็นการห้ามมิให้ประชาชนเข้าร่วมชุมนุม การจัดกิจกรรมต่าง ๆ ที่เห็นว่า เป็นการแสดงความเห็นที่แตกต่างจากรัฐบาล อีกทั้งการประกาศห้าม ระงับ ยับยั้ง การติดต่อสื่อสาร โดยการปิดสื่อโทรทัศน์ วิทยุ สื่อสิ่งพิมพ์ และสื่อออนไลน์จำนวนมากที่เป็นการปิดกั้นการรับรู้ข่าวสารของประชาชน และไม่มีแนวโน้มว่าจะลดลงแต่อย่างใด

3.จากข้อเท็จจริงปรากฏว่าประชาชนจำนวนหลายร้อยคนที่ถูกควบคุมตัว ด้วยเหตุเพียงเพราะฝ่าฝืนประกาศหรือคำสั่งตามพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน ที่ห้ามชุมนุม ให้ออกจากพื้นที่ชุมนุม และห้ามออกจากเคหะสถาน โดยที่มิได้กระทำความผิดอาญาอื่น และมีการควบคุมตัวประชาชนที่แสดงความเห็นต่างทางการเมืองโดยไม่แจ้งข้อกล่าวหาและสามารถควบคุมตัวได้นานถึง 30 วัน โดยอ้างเหตุสงสัยว่ามีส่วนเกี่ยวข้องหรือสนับสนุนให้เกิดสถานการณ์ฉุกเฉินโดยที่มิได้มีหลักฐานและข้อเท็จจริงที่เพียงพอ

4.การใช้อำนาจตามพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉินดังที่กล่าวมา ย่อมเป็นที่ประจักษ์ได้ว่า นอกจากจะเป็นการละเมิดสิทธิเสรีภาพในการแสดงออกของบุคคลอันเป็นการละเมิดหลักการประชาธิปไตยแล้ว ยังเป็นการลิดรอนสิทธิในกระบวนการยุติธรรมอีกด้วย ซึ่งถือได้ว่าเป็นการใช้อำนาจที่ไม่สอดคล้องกับหลักสิทธิเสรีภาพที่ได้รับการรับรองไว้ในรัฐธรรมนูญ ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา และกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองซึ่งประเทศไทยต้องมีพันธกรณีต้องปฏิบัติ

5. นอกจากนี้ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ มาตรา 16 ยังได้ยกเว้นอำนาจศาลปกครองไว้ด้วย ซึ่งทำให้การกระทำของพนักงานเจ้าหน้าที่ตามกฎหมายไม่สามารถถูกตรวจสอบถ่วงดุลโดยอำนาจศาลปกครองได้ แม้จะสามารถดำเนินการในศาลยุติธรรม แต่ก็เป็นเฉพาะกรณีไป ประชาชนไม่สามารถใช้สิทธิทางศาลปกครองเพื่อตรวจสอบกฎหมายลำดับรองที่ออกตาม พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ได้แต่อย่างใด จึงขัดต่อหลักการตรวจสอบถ่วงดุลและหลักการแบ่งแยกอำนาจ  
 แสดงความคิดเห็นคือ     การประกาศภาวะฉุกเฉินในบ้านเมืองอย่างนี้ ส่งผลต่อผลดี คือ ทำให้บ้านเมืองมีคนเฝ้าดูแลและอยู่กันอย่างปลอดภัย เพราะมีกฎต่างๆที่รัฐบาลได้นำมาใช้ และเป็นการแสดงให้เห็นถึงประชาธิปไตยอย่างแท้จริงด้วยและทุกอย่างที่ทางรัฐบาล หรือ ศอฉ. ได้ทำและประกาศก็เป็นกฎที่สากลทั่วโลกใช้เช่นเดียวกัน และคนในเมืองหลวงก็คงชอบที่ได้อยู่อย่างสงบสักทีและ อาจจะส่งผลกระทบ ทางตรงและทางอ้อมต่อประชาชน แต่ก็คงไม่ขนาดที่ทำให้ประชาชนต้องลำบากเพียงใด
          สิ่งที่เราช่วยกันได้เราคนไทยที่พอรู้ว่าอะไรเป็นอะไรและมีจิตสำนึกในการมีส่วนร่วมในการช่วยกันคลี่คลายปัญหาสิ่งที่ควรทำเราควรช่วยให้ความรู้ให้ข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้องในทุกช่องทางที่เราสามารถทำได้

สิ่งที่รัฐบาลควรทำ คือ ดำเนินการยุติความขัดแย้งด้วยการให้ข่าวสารข้อมูลที่ถูกต้องไปถึงพี่น้องประชาชน และบังคับใช้กฏหมายในกรณีที่ผู้ชุมนุมทำผิดกฏหมายและละเมิดสิทธิของผู้อื่นยุติการกระทำของแกนนำ"เสื้อแดง"ด้วยวิธีการที่เหมาะสมตามสถานการณ์ โดยไม่ขัดต่อหลักศีลธรรมและกฏหมาย(รัฐบาลพยายามทำมาตลอด)

---------------------------------------------------------------------------------------------

ราคาขาไก่

ราคาขาไก่ ในปัจจุบัน....

เบอร ์ 0

น้ำหนักมากกว่าหรือเท่ากับ 70 กรัม

2.40

เบอร์  1

น้ำหนักต่ำกว่า 70-65 กรัม

2.30

เบอร์  2

น้ำหนักต่ำกว่า 65-60 กรัม

2.20

เบอร์  3

น้ำหนักต่ำกว่า60-55 กรัม

2.10

เบอร์  4

น้ำหนักต่ำกว่า 55-50 กรัม 

2.00

เบอร์  5

น้ำหนักต่ำกว่า 50-45 กรัม

1.90

เบอร์  6

น้ำหนักต่ำกว่า 45 กรัม

1.70

 

แม่ค้าขายขนมไทย แต่ละชนิดได้รับผลกระทบจากราคาขาไก่ พุ่งขึ้นสูงเกินกว่าปกติ

คณะกรรมการนโยบายพัฒนาไก่ไข่ และผลิตภัณฑ์ ออกมาตรการแก้ปัญหาราคาไข่ไก่ที่ปรับตัวสูงขึ้น โดยระยะสั้นให้ยึดอายุไก่สาว และไก่ยืนกรง จากปกติ 72 สัปดาห์ เป็น 82 สัปดาห์ ซึ่งจะทำให้มีไข่ไก่เพิ่มขึ้นวันละ 1.2 ล้านฟอง ให้ชะลอการส่งออกไข่ไก่ชั่วคราว ในกรณีที่ไม่มีสัญญาผูกพัน จนกว่าสถานการณ์จะดีขึ้น ให้กรมปศุสัตว์ผลิตลูกไก่ไข่ 50,000 ตัวต่อเดือน เพื่อช่วยเกษตรกรรายเล็กที่ขาดช่วงการเลี้ยง รวมทั้งให้เอกชนปรับลดราคาลูกไก่ และไก่สาว โดยเอกชนทั้ง 9 แห่ง ปรับลดราคาลูกไก่ลงตัวละ 2 บาท และไก่สาวตัวละ 5 บาท มีผลทันที อย่างไรก็ตาม จะให้กรมปศุสัตว์ติดตามผลของมาตรการนี้ว่าจะทำให้ราคาไข่ไก่ลดลงหรือไม่ และให้รายงานต่อคณะกรรมการภายใน 30 วัน ส่วนระยะกลาง ให้มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศึกษาปรับปรุงโครงสร้าง คณะกรรมการนโยบายพัฒนาไก่ไข่และผลิตภัณฑ์ และให้ศึกษาโควตานำเข้าแม่พันธุ์อย่างเหมาะสม

พูดถึงเรื่องการลดราคาไข่ไก่ จาก ใบละ 4-5 บาท ให้เหลือ ฟองละ 1 บาท มึนขะหมองตึ๊บ... นอนคิด นั่งคิด ยืนคิด หกกะเมนตีลังกาคิด มันก็เป็นเรื่องสุดวิสัยครับพี่น้อง เพราะ เจ้าของฟาร์มบอกว่า ต้นทุนไข่ เบอร์0-4 ราคาเฉลี่ย ฟองละ 2.70 บาท  ในท้องตลาดขาย เบอร์ 1-4 เฉลี่ย ใบละ 3.30-5.00 บาท ที่สำคัญ ราคาไข่ในประเทศไทยแพงกว่าราคาไข่ไก่ที่ สหรัฐอเมริกา ซึ่งในอเมริกาวันนี้ ไข่ไก่ราคาเฉลี่ยใบละ 3 บาทไทย  มันเป็นไปได้อย่างไร อัตตราแลกเปลี่ยนเงินไทย 33 บาทแลกเงิน อเมริกาได้  1 บาท หรือ 1 ดอลล่าร์ยูเอส  ค่าเงิน 3 บาท สำหรับพวกเขา มันกะจี๊ด กะจิ๊บๆๆๆ แต่ค่าเงินเงิน 3 บาท มันมาก

ทีนี้เพื่อความยุติธรรมต่อ ผู้ซื้อ และ ผู้ขาย โดยเฉพาะ นายทุนฟาร์มไก่ยักษ์ใหญ่ 9 แห่ง ก็ต้องหาข้อมูลว่า ราคาไข่ไก่ในประเทศไทย เกินจริง ไปหรือเปล่า พ่อค้าฮั้วกันหรือเปล่า แจ้งยอดต้นทุนหลอกชาวบ้านหลอกรัฐบาลหรือเปล่า ก็มีวิธีหรือหลักคิดคร่าวๆคือ ไปดูราคาไข่ไก่ที่ประเทศไกล้เคียงซิ ประเทศมาเลเซีย เขมร เวียตนามหลำเดื๊อก  สาธารณะประซาซนลาว (ปะซาซนหลาว) สิงคโปร์ พม่า ประเทศจีน...ถ้าราคาไกล้เคียงกัน เอาละผมยอมแพ้ ไม่ต้องมาเขียนมาแก้มาคิดให้เมื่อยข้อเมี่อยมือ เมื่อยตุ้ม(ตุ้มหน้าตาเป็นไงหว่านึกไม่ออก)..เพราะนั้นมันคือราคา มาตรฐาน.....

ราคาไข่ไก่ ในประเทศไทย ราคา มันขึ้นสวรรค์ชั้นฟ้าชั้นดาวดึงส์ เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศที่กล่าวมาแล้ว ( แหมเสียดายปีใหม่ที่ผ่านมาไปมา 3ประเทศลืมสนิทไม่ได้ถามเรื่อง ราคาไข่ไก่) ในประเทศปะซาซนหลาว น่าจะสัก 2 บาท เขมรขะหมัยตรึย น่าจะ 2 บาท มาเลเซีย 1.50 บาทสิงคโปร์สิงกะโป ก นั่นน่าจะ 2 บาท พม่า 1.50 บาท  ประเทศจีน   น่าจะ 1. บาท  ผมว่า ประเทศไทยไทยน่าจะลดลงมาได้ไข่ไก่ฟองละ 1 บาท ขาดตัว

วังวนสินค้าแพง น้ำตาล-ไข่ไก่จุดชนวนสินค้าอื่นพาเหรดขยับขึ้นราคา

นายยรรยง พวงราช ปลัดกระทรวงพาณิชย์ เปิดเผยว่า นางพรทิวา นาคาศัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ มีนโยบายให้กรมการค้าภายใน ไปศึกษาผลกระทบจากการที่ไข่ไก่ น้ำตาลทราย ที่มีราคาสูง ขึ้น และอาจกระทบต่อต้นทุนการผลิตสินค้าชนิดอื่น เพื่อให้หาแนวทางดูแลไม่ให้สินค้าในกลุ่มเหล่านี้ปรับราคาสูงขึ้น โดยอาจมีการเรียกผู้ผลิตสินค้าที่ประสบปัญหาต้นทุนสูงขึ้นมาหารือ และขอความร่วมมือไม่ให้ปรับขึ้นราคาขาย เพราะจะทำให้ผู้บริโภคเดือดร้อน

       “ตอนนี้มีสินค้าหลายชนิดที่ใช้ น้ำตาลทราย ไข่ไก่ เป็นวัตถุดิบสำคัญสำหรับผลิตอาหาร เช่น น้ำอัดลม นมข้นหวาน น้ำผลไม้ เครื่องดื่มทางเลือก ขนมขบเคี้ยว ขนมปัง อาหารสำเร็จรูป ซึ่งกลุ่มเหล่านี้กระทรวงฯ ต้องเข้าไปช่วยดูว่าผู้ผลิตได้รับผลกระทบแค่ไหน เพื่อหามาตรการช่วยเหลือ และขอความร่วมมือไม่ให้ขึ้นราคาสินค้าในช่วงนี้ เพราะจะเป็นภาระต่อผู้บริโภค อย่างกรณีน้ำตาลทรายแพง กระทรวงฯพยายามหาทางลดต้นทุน ด้วยการขอให้รัฐบาลทบทวนลดราคาขายปลีก หลังจากมีการใช้ใช้หนี้กองทุนอ้อยและน้ำตาลหมด”

       ทั้งนี้ แม้การปรับขึ้นของราคาน้ำตาลทราย และไข่ไก่ จะไม่มีผลต่ออัตราเงินเฟ้อโดยตรง แต่จำเป็นต้องดูแลติดตามอย่างใกล้ชิด เพราะอาจส่งผลต่อสินค้าตัวอื่นให้ราคาปรับเพิ่มขึ้นได้ เช่น ไข่ไก่ ที่มีสัดส่วนกระทบต่ออัตราเงินเฟ้อ 0.56% แต่ส่งผลโดยตรงต่ออาหารสำเร็จรูปที่มีผลต่ออัตราเงินเฟ้อถึง 4.35% น้ำตาลทราย ที่มีผลต่อผู้บริโภคโดยตรงและสินค้าหลายชนิด ทั้งน้ำอัดลม น้ำผลไม้ นมข้นหวาน ซึ่งสินค้าหมวดอาหาร กระทรวงพาณิชย์จำเป็นต้องเข้าไปดูแลเป็นพิเศษในครึ่งปีหลัง เพราะมีแนวโน้มปรับตัวสูงขึ้น และส่งผลกระทบต่ออัตราเงินเฟ้อได้

        นายยรรยงกล่าวว่า จากการลงพื้นที่สำรวจราคาสินค้าไข่ไก่ ตามตลาดสด หรือร้านค้าปลีกสมัยใหม่ ยังมีราคาอยู่ในกรอบที่กระทรวงพาณิชย์กำหนด เช่น ไข่หน้าฟาร์มขายฟองละ 2.80 บาท ขณะที่ร้านในตลาดบางแคขายไข่เบอร์ 2 ราคาฟองละ 3.20-3.30 บาท ไม่ได้สูงถึง 4-5 บาทแต่อย่างใด แต่บางทีที่ราคาแพงอาจเป็นร้านเล็กๆ ที่มีการซื้อต่อกันมาหลายช่วงจนต้องบวกกำไรสูงขึ้น ตรงจุดนี้กระทรวงฯ เพิ่มความเข้มงวด ส่งเจ้าหน้าที่ไปสำรวจช่วงการรับซื้อระหว่างยี่ปั้ว ซาปั้ว และร้านค้าปลีกไม่ให้ขายกำไรเกินจริง

ความคิดเห็น

   ควรเข้าไปดูการจำหน่ายอาหารสำเร็จรูป หลังจากมีประชาชนร้องเรียนว่ามีราคาสูงถึงจานละ 30-35 บาท โดยแนวทางอาจมีการผลักดันร้านอาหารธงฟ้า เข้าไปกระจายในพื้นที่ที่มีการร้องเรียน เพื่อให้เป็นทางเลือกแก่ประชาชนในการประหยัดค่าใช้จ่าย ขณะเดียวกันจะเป็นตัวกลางช่วยประสานให้ร้านอาหารธงฟ้า สามารถซื้อวัตถุดิบทำอาหาร เช่น ข้าวสาร ซอส น้ำปลา ไข่ไก่ น้ำตาลราคาถูกจากผู้ผลิตโดยตรงเพื่อช่วยประหยัดต้นทุน และทำให้ขายราคาถูกได้

---------------------------------------------------------------------------------------------

ราคาน้ำตาล

เรื่องหวาน ๆ ที่ไม่หวานของน้ำตาล   By Tiraphap Fakthong Freelance Educator and Quantitative Analyst   สถานการณ์ปัจจุบันของราคาน้ำตาลที่มีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างรวดเร็วและรุนแรงในปี 2552  กำลังกลายเป็นประเด็นร้อนที่หลาย ๆ ประเทศกำลังจับตามอง รวมไปถึงกลุ่มนักลงทุนเก็งกำไรในตลาดค้าสินค้าเกษตรล่วงหน้า ซึ่งราคาน้ำตาลนั้นตอนนี้แตะที่ระดับประมาณ 17 บาท ต่อ กิโลกรัม ซึ่งเป็นระดับสูงสุดในรอบ เกือบ ๆ 30 ปี หากมองในมุมมองของนักลงทุนพื้นหรือนักเศรษฐศาตร์ เรื่องนี้เป็นเรื่องทำธรรมดาที่จะมีการผันผวนอย่างรุนแรงของราคาสินค้าเกษตร อันเนื่องมาจากการมีอุปทานน้ำตาลไม่เพียงพอกับอุปสงค์ ดังที่องค์การน้ำตาลระหว่างประเทศได้มีการคาดการณ์ว่า ในปี 2552 ปริมาณน้ำตาลจะอยู่ในสถาวะขาดดุล หรือ ไม่เพียงพอต่อความต้องการประมาณ 9.35 ล้านตัน อันเนื่องมาจากการการผลิตที่หดตัวของประเทศผลิตน้ำตาลยักษ์ใหญ่ของโลก อาทิ อินเดีย บราซิล และจีน เป็นต้น   สาเหตุของการเพิ่มขึ้นของราคาน้ำตาล   เหตุผลหลักที่ผลักดันราคาน้ำตาลโลกให้สูงขึ้น คือ การที่ประเทศผลิตน้ำตาลรายใหญ่ประสบปัญหาการผลิตน้ำตาลโดยไม่สามารถผลิตให้เพียงพอกับความต้องการน้ำตาลที่เพิ่มขึ้น

รมว.กระทรวงพาณิชย์เผยจับตาอียูอุดหนุนส่งออกน้ำตาลเกินโควตา ประกาศจับมือร่วมกับบราซิล ออสเตรเลียขอคำชี้แจง หลังได้รับผลกระทบ  นายอลงกรณ์ พลบุตร รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ เปิดเผยว่า ผลการประชุมหารืออย่างไม่เป็นทางการระดับรัฐมนตรีเกี่ยวกับการเจรจารอบโดฮาขององค์การการค้าโลก (ดับเบิลยูทีโอ) ที่เมืองดาวอส ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ในช่วงสัปดาห์ที่ผ่านมา ประเทศสมาชิกคาดหวังให้เกิดการเจรจาภายใต้กรอบโดฮาให้ได้ภายในปีนี้ ซึ่งทุกฝ่ายมีความพยายามอย่างมาก นอกจากนี้ สิ่งที่ไทยต้องติดตามเป็นกรณีพิเศษ คือ ช่วงปีที่ผ่านมาทางสหภาพยุโรป (อียู) ได้เพิ่มปริมาณการส่งออกน้ำตาลที่ได้รับการอุดหนุนส่งออกเกินปริมาณที่ผูกพันไว้กับดับเบิลยูทีโอกว่า 600,000 ตัน จากปริมาณที่ต้องส่งออกเพียง 1.2 ล้านตัน เป็น 1.8 ล้านตัน ทำให้ทั้ง 3 ประเทศ ได้แก่ ไทย บราซิล และออสเตรเลียอยู่ระหว่างการรอคำชี้แจงสาเหตุต่างๆ จากกลุ่มอียู ซึ่งการกระทำดังกล่าวของอียูเป็นสิ่งที่ทำให้ราคาน้ำตาลตลาดโลกปรับตัวลดลงมาก และทั้ง 3 ประเทศอยู่ระหว่างจับตาการดำเนินการของอียู หากไม่ชี้แจงอะไรออกมา ทั้ง 3 ประเทศจะนัดประชุมร่วมกันเพื่อให้อียูชดเชยความเสียหายที่เกิดขึ้นตามกรอบดับเบิลยูทีโอ

ความคิดเห็น

อันเนื่องมาจากการการผลิตที่หดตัวของประเทศผลิตน้ำตาลยักษ์ใหญ่ของโลก อาทิ อินเดีย บราซิล และจีน เป็นต้น   สาเหตุของการเพิ่มขึ้นของราคาน้ำตาล   เหตุผลหลักที่ผลักดันราคาน้ำตาลโลกให้สูงขึ้น คือ การที่ประเทศผลิตน้ำตาลรายใหญ่ประสบปัญหาการผลิตน้ำตาลโดยไม่สามารถผลิตให้เพียงพอกับความต้องการน้ำตาลที่เพิ่มขึ้น

---------------------------------------------------------------------------------------------

การท่องเที่ยว

การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) เตรียมฟื้นการท่องเที่ยว โดยกำหนดจัดโครงการ amazing thailand grand sale 2010 ระหว่างวันที่ 15 มิถุนายน – 15 สิงหาคม 2553 ในพื้นที่หลัก 8 แห่ง ได้แก่ กรุงเทพมหานคร เชียงใหม่ หาดใหญ่ ภูเก็ต หัวหิน พัทยา สมุยและอุดรธานี เชิญชวนผู้ประกอบการร่วมจัดกิจรรมลดราคาสินค้าสูงสุดถึง 70% เพื่อส่งเสริมให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการซื้อสินค้าของนักท่องเที่ยว (shopping paradise) และสร้างแรงจูงใจให้นักท่องเที่ยวซื้อสินค้าในช่วงนอกฤดูกาลท่องเที่ยวของประเทศไทยเพิ่มมากขึ้น รวมทั้งกระตุ้นให้เกิดเงินหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจและกระจายรายได้สู่ภูมิภาคต่างๆ

ความคิดเห็น

จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมด้านการท่องเที่ยว และจัดหาส่วนลดราคา ที่พัก อาหาร และอื่นๆ เพื่อให้สะดวกต่อการมาเข้าพัก และส่งเสริมให้แต่ละจังหวัด หาสถานที่เป็นจุดดึงดูดความสนใจออกมาให้ นักท่องเที่ยวได้ดู และทำให้เป็นที่น่าสนใจ ทำให้คนทั่วไปได้รู้ว่า มีสถานที่น่าท่องเที่ยว และสวยงาม มากเพียงใด ทำให้รู้ว่าน่าเที่ยวแค่มากไหน 

---------------------------------------------------------------------------------------------

การลงทุน

ดร. สมจินต์ ศรไพศาล กรรมการผู้จัดการ บลจ. วรรณ กล่าวผ่านรายการ Smart Money ว่า แม้ว่าดัชนีตลาดหลักทรัพย์ในช่วงปลายปีได้ปรับลดลงมาก แต่ผลการดำเนินงานของกองทุนบลจ. วรรณโดยภาพรวมก็ยังสูงกว่าดัชนี โดยในช่วงที่ผ่านมาก็ได้เพิ่มจำนวนกองทุนเพื่อเป็นทางเลือกให้กับนักลงทุนมากขึ้น ทั้งกองทุนประเภทระยะสั้น กองทุนระยะยาว กองทุนหุ้นทุน และกองทุนผสม เป็นต้น ซึ่งนักลงทุนสามารถเลือกลงทุนได้ตามความต้องการ
ปัจจุบันบลจ. วรรณยังเป็นผู้บริหารกองทุนหุ้นและกองทุนตราสารหนี้ของ กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (กบข.) กองทุนของบรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม (บสย.) กองทุนของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และเร็ว ๆ นี้ ก็ได้รับบริหารกองทุนสำรองเลี้ยงชีพของพนักงานการไฟฟ้านครหลวง (กฟน.) มูลค่า 4 พันล้านบาทอีกด้วย
สำหรับกองทุนที่ลงทุนในต่างประเทศ (FIF) ก็เป็นอีกทางเลือกหนึ่งในการลงทุนท่ามกลางปัจจัยลบที่เกิดขึ้นในประเทศ และเป็นการเพิ่มโอกาสในการสร้างผลตอบแทนให้กับนักลงทุนได้ เพราะลงทุนได้ทั่วโลกโดยไม่ต้องตรวจสอบข้อมูลด้วยตนเอง แต่กองทุนประเภทนี้ก็ยังมีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน และในช่วงที่ผ่านมาค่าเงินบาทเมื่อเทียบกับสกุลเงินดอลลาร์สหรัฐได้แข็งค่าขึ้นอย่างต่อเนื่อง ผลตอบแทนของกองทุนอาจจะติดลบไปบ้าง แต่หลังจากมีมาตรการสกัดกั้นการเก็งกำไรค่าเงินบาทของธนาคารแห่งประเทศไทยมาควบคุม ก็เชื่อว่าได้ทำให้ค่าเงินบาทกลับมาอยู่ในสถานะที่เหมาะสมแล้ว
สำหรับกองทุน FIF ของบลจ. วรรณ คือ กองทุนเปิดวรรณเอเอ็มโกลบอลอีเมอร์จิ้งมาร์เก็ตเอควิตี้ (1AM-GEM) เป็นกองทุนที่ลงทุนในตลาดเกิดใหม่ในภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก เช่น เอเชีย และ ยุโรป และได้ร่วมงานกับบริษัทจัดการกองทุน คือ IXIS Asset Management และ Russell Investment Group ที่ผ่านมาสร้างผลตอบแทนได้ประมาณ 13.42% และจ่ายปันผลไปแล้วที่ 0.75 บาท
การลงทุนผ่านกองทุนรวมยังมีข้อดีคือ อาจสร้างผลตอบแทนได้สูงกว่าการฝากเงินในธนาคาร เลือกลงทุนได้ตามการยอมรับความเสี่ยง สามารถเก็บออมเงินไว้ใช้ได้ในยามเกษียณ โดยบางกองทุนก็สามารถใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษีได้ด้วย จึงเป็นสาเหตุให้ธุรกิจกองทุนรวมมีอัตราการขยายตัวได้ดี
สำหรับตลาดตราสารหนี้ ปกติแล้วการลงทุนในพันธบัตรระยะยาวจะมีผลตอบแทนสูงกว่าพันธบัตรระยะสั้น แต่มีความเสี่ยงมากกว่า นักลงทุนจึงควรเลือกลงทุนตามความสามารถในการยอมรับความเสี่ยงสมจินต์มองว่า ภาวะตลาดทุนในระยะนี้มีความผันผวน ซึ่งไม่เคยเห็นในลักษณะนี้มาก่อน หากนักลงทุนต้องการลงทุนควรแบ่งสัดส่วนการลงทุนให้เหมาะสม ไม่ทุ่มลงทุนไปในอย่างใดอย่างหนึ่งมากเกินไป และควรติดตามภาวะตลาดด้วย ซึ่งก็เป็นกลยุทธ์ที่สำคัญในการลงทุน และอาจเป็นการพลิกวิกฤติให้เป็นโอกาสได้ในที่สุด นอกจากนี้ นักลงทุนควรทราบเป้าหมายในการลงทุน เพื่อวางแผนการลงทุนให้สอดคล้องกับความต้องการ และอาจสร้างผลตอบแทนให้ได้เป็นจำนวนที่สูงขึ้นอีกด้วย

นายมาริษ ท่าราบ กรรมการผู้จัดการ บลจ. ไอเอ็นจี (ประเทศไทย) ให้สัมภาษณ์ผ่านรายการ Smart Money ทาง Money Channel ว่า กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ คือการระดมทุนจากประชาชน เพื่อไปลงทุนในทรัพย์สินถาวร เช่น อาคารสำนักงาน โรงแรม และโรงงานอุตสาหกรรม ที่สามารถสร้างรายได้อย่างสม่ำเสมอให้กับกองทุน นอกจากนี้กองทุนยังมีกรรมสิทธิ์ในที่ดิน อาคาร และสามารถทำสัญญาเช่าระยะยาวได้ สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) กำหนดให้กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์เป็นกองทุนปิด คือมีการเสนอขายเพียงหนึ่งครั้ง และต้องจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ถือหน่วยลงทุนสามารถซื้อขายได้ นอกจากนี้ยังกำหนดให้จ่ายเงินปันผลปีละไม่ต่ำกว่า 90% ของกำไรสุทธิ ปัจจุบันกองทุนรวมอสังหาฯ ให้ผลตอบแทนเฉลี่ย 7% ในช่วง 3 ปีที่ผ่านมา กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ได้รับความนิยมมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง เพราะเป็นทางเลือกหนึ่งในการระดมทุน ทำให้บริษัทไม่ต้องกู้เงินจากธนาคาร หรือออกหุ้นกู้ ซึ่งอาจกระทบต่อเงินทุนและหนี้สินของบริษัท สำหรับมาตรการสกัดการเก็งกำไรค่าเงินบาทของธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ส่งผลกระทบโดยตรงต่อกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ เนื่องจากถ้ามีการขายหน่วยลงทุนให้นักลงทุนต่างชาติ จะต้องถูกหักเป็นเงินสำรอง 30% ทั้งนี้ ในปี 2549 กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์มีมูลค่ารวม 4.48 หมื่นล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนของนักลงทุนต่างชาติ 35 – 40% และคาดว่าในไตรมาสที่ 1/2550 จะมีการเพิ่มทุนและตั้งกองทุนใหม่รวม 3 หมื่นล้านบาท และตลอดปี 2550 จะมีมูลค่ารวม 7 หมื่นล้านบาท ซึ่งทั้งหมดชะลอออกไปเนื่องจากมาตรการกันสำรอง 30%

ความคิดเห็น

ทำให้รู้ว่าการลงทุนมีข้อดีคือ อาจสร้างผลตอบแทนได้สูงกว่าการฝากเงินในธนาคาร เลือกลงทุนได้ตามการยอมรับความเสี่ยง สามารถเก็บออมเงินไว้ใช้ได้ในยามเกษียณ โดยบางกองทุนก็สามารถใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษีได้ด้วย จึงเป็นสาเหตุให้ธุรกิจกองทุนรวมมีอัตราการขยายตัวได้ดี

 ---------------------------------------------------------------------------------

นางสาวสุภาณี ขันสุข

นางสาวสุภาณี  ขันสุข

รหัส 5047301042  โปรแกรมวิชา เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ 

 

สถานการณ์ฉุกเฉินราคาไข่ไก่

มาตรการพยุงราคาไข่ไก่ กับความต้องการแท้จริงของเกษตรกร  จากปัญหาไข่ไก่ราคาสูงขึ้น ซึ่งก่อนหน้านี้รัฐบาลมีการชี้แจงว่าเกิดจากสภาวะอากาศที่ร้อนแห้งแล้งทำให้แม่ไก่ไม่ออกไข่... กลายเป็นประเด็นถกเถียงอย่างกว้างขวางขึ้น เมื่อมีเกษตรกรผู้เลี้ยงไก่ไข่ออกมาร้องเรียนว่า ปัญหาที่แท้จริงไม่ได้มาจากปัญหาสภาวะอากาศเพียงอย่างเดียว แต่เกิดจากปัญหาการขาดตลาดของแม่พันธุ์ไก่ไข่ กระทั่งเมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม ที่ผ่านมา ที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์มีการประชุมคณะกรรมการนโยบายพัฒนาไก่ไข่ และผลิตภัณฑ์ โดยนายธีระ วงศ์สมุทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กล่าวว่า ที่ประชุมได้สรุปมาตรการแก้ไขปัญหาราคาไข่ไก่เป็น 3 ระยะ คือ มาตรการระยะสั้น มาตรการระยะกลาง และมาตรการระยะยาว

มาตรการระยะสั้น ประกอบด้วย

1. การยืดอายุไก่ไข่สาว โดยแจ้งขอความร่วมมือผู้ประกอบการและเกษตรกรขยายเวลาไก่ยืนกรงจำนวน 2 ล้านตัวต่อไปอีกประมาณ 4 สัปดาห์ หรือจนกว่าสถานการณ์ตลาดจะเข้าสู่ภาวะปกติ เพื่อทำให้ปริมาณไข่ไก่เข้าสู่ตลาดเพิ่มมากขึ้นเฉลี่ย 1.2 ล้านฟอง/วัน

2. เพิ่มปริมาณไข่ไก่ภายในประเทศ โดยขอความร่วมมือผู้ส่งออกไข่ไก่ให้ชะลอการส่งออกไข่ไก่ชั่วคราว กรณีที่ยังไม่ทำสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ซึ่งจากข้อมูลสถานการณ์การส่งออกไข่ไก่ในปัจจุบันตั้งแต่ต้นปีที่ผ่านมาถึงเดือนพฤษภาคมมีการส่งออกไข่ไก่แล้ว 86 ล้านฟอง

3. จัดลูกไข่ไก่กองกลาง 50,000 ตัว/เดือน โดยมอบหมายให้กรมปศุสัตว์เป็นผู้บริหารจัดการเพื่อแก้ไขปัญหาเกษตรกรรายเล็ก รายย่อยที่ขาดแคลนลูกไก่ไข่

4. ให้กรมปศุสัตว์ติดตามภาวะราคาลูกไก่ไข่และไก่สาวโดยต่อเนื่อง และปรับลดราคาให้สอดคล้องกับต้นทุนการผลิตและข้อตกลงเดิมที่ได้เคยกำหนดส่วนต่างราคาต้นทุนลูกไก่ไข่และไก่สาว ไม่ให้เกินร้อยละ 20 ซึ่งผู้ประกอบการแจ้งว่าได้ปรับลดราคาจำหน่ายลูกไข่ไก่และไก่สาวลงแล้ว โดยขณะนี้ราคาลูกไข่ไก่อยู่ที่ตัวละ 30 บาท ปรับลงจากเดิม 2 บาท และราคาไก่สาวปรับเหลือตัวละ 149 บาทจากเดิม 154 บาท

5. ให้กรมปศุสัตว์สรุปข้อมูลความคืบหน้าผลการดำเนินงานทั้งหมดมารายงานต่อที่ประชุมอีกครั้งเพื่อประเมินสถานการณ์การแก้ไขปัญหาดังกล่าวภายใน 30 วัน

มาตรการระยะกลาง

ซึ่งเป็นข้อกังวลของหลายฝ่ายที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ ภารกิจ โครงสร้างและผลการดำเนินงานของคณะกรรมการนโยบายพัฒนาไก่ไข่และผลิตภัณฑ์ในการแก้ไขปัญหาการผลิตไข่ไก่ทั้งระบบ ที่ประชุมได้มอบหมายให้กรมปศุสัตว์ประสานร่วมกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศึกษาปรับปรุงโครงสร้าง Egg Board ให้แล้วเสร็จใน 60 วัน

มาตรการระยะยาว

ที่ประชุมได้พิจารณากำหนดปริมาณไก่ไข่พันธุ์เป็นโควตากลางในปี 2554 เพื่อให้กรมปศุสัตว์บริหารจัดการแก้ไขปัญหาไก่ไข่ให้เกษตรกรที่รวมตัวเป็นสหกรณ์หรือสมาคม โดยเกษตรกรต้องเสนอความพร้อมทั้งแผนการผลิตและตลาดประกอบการพิจารณาด้วยเช่นกัน ซึ่งในส่วนของโควตากลางที่ประชุมยังไม่มีกำหนดปริมาณที่ชัดเจนว่ารัฐจะเข้าไปดำเนินการนำเข้าเองเท่าไหร่อย่างไรทั้งนี้ต้องขึ้นอยู่กับการพิจารณาและตรวจสอบข้อมูลการนำเข้าของบริษัทเอกชนที่ได้รับการจัดสรรโควตาการนำเข้าทั้งสิ้น 9 ราย จำนวนไก่ไข่พันธุ์ 400,921 ตัว ว่าเป็นไปตามจำนวนที่ได้รับการจัดสรร และกระจายแม่พันธุ์ไปยังเกษตรกรตามข้อกำหนดหรือไม่ โดยหากไม่เป็นไปตามข้อกำหนด กรมปศุสัตว์ก็มีอำนาจที่จะตัดลดจำนวนการนำเข้าที่ไม่ถึงโควตามาจัดสรรเป็นโควตากลางได้ ซึ่งที่ประชุมได้กำหนดให้กรมปศุสัตว์รวบรวมข้อมูลดังกล่าวเพื่อให้คณะกรรมการฯ พิจารณารายละเอียดของเรื่องดังกล่าวอีกครั้งภายใน 30 วัน

แนวทางที่ต้องการจากรัฐบาล จากมาตรการข้างต้นนั้น หากย้อนมองถึงความต้องการของเกษตรกรจะพบข้อร้องเรียนสำคัญๆ 2 ประการ ที่มองว่ารัฐบาลยังไม่มีการนำไปใช้อย่างชัดเจนในแนวทางข้างต้น กล่าวคือ

1) รัฐบาลควรเปิดเสรีการนำเข้าพันธุ์ไก่ไข่ ไม่ให้กระจุกตัวอยู่แค่เอกชนไม่กี่ราย ส่งผลทำให้เกิดการผูกขาด นายปัญญา โชติเทวัญ ประธานกรรมการบริษัทสหฟาร์ม จำกัด กล่าวว่า ปัจจุบันมีปัญหาการผูกขาดเกิดขึ้นเพราะแม่พันธุ์ไก่ไข่ที่นำเข้ามา 400,000 ตัว และมีเกษตรกรที่ได้รับจัดสรรจริงเพียงร้อยละ 5 หรือ 20,000 ตัว เท่านั้น ที่เหลือเป็นของผู้เลี้ยงที่ไม่ใช่เกษตรกรรายย่อย ซึ่งการแก้ไขปัญหาควรสอดคล้องกับเกณฑ์องค์การการค้าโลก (ดับเบิลยูทีโอ) ที่ระบุว่า การค้าต้องไม่เกิดระบบผูกขาด

2) การปรับลดราคาลูกไก่ และแม่ไก่ลง มีการมองว่าไม่ช่วยอะไรมาก เพราะราคาขายปัจจุบันยังอยู่ที่ตัวละ 28 กว่าบาท ที่ถือว่าสูงมาก ทำให้เกษตรกรผู้เลี้ยงมีค่าใช้จ่ายเพิ่มมากขึ้น และต้องผลักภาระไปให้ผู้บริโภคเมื่อผลผลิตออกก็ยังส่งผลให้มีราคาสูงอยู่ดี เนื่องจากราคาต้นทุนสูง

ข้อวิพากษ์  อย่างไรก็ตามจากมาตรการทั้งหมดนี้ มีการมองว่าเป็นการแก้ไขปัญหาในระยะสั้น ซึ่งไม่สามารถแก้ปัญหาได้อย่างแท้จริง อย่างการใช้โครงการธงฟ้าในการแทรกแซงนั้น ถือเป็นการดูแลประชาชนผู้มีรายได้น้อย ซึ่งในการแก้ปัญหาอย่างยั่งยืนไม่ใช่การคุมราคาสินค้าทั้งหมด เช่น หากสินค้าเกษตรราคาแพง รัฐบาลก็ไม่ควรเข้าไปคุมราคามากจนเกินไป เพราะสินค้าเกษตรราคามักมีการเปลี่ยนแปลงไปตามวัฏจักร เช่น ราคาแพงเพราะผลผลิตน้อย แต่หากราคาที่สูงขึ้นก็จะจูงใจให้เกษตรกรผลิตเพิ่ม ทำให้ปริมาณสินค้าในตลาดเพิ่ม ผู้ประกอบการกับผู้บริโภคที่กินน้อยลง ก็จะเป็นกลไกที่ทำให้ราคาถูกลงมาเอง  ทั้งนี้ ต้องพิจารณาปัญหาที่ทางเกษตรกรร้องเรียนว่าเหตุที่ผลผลิตน้อยเนื่องจากการถูกจำกัดแม่พันธุ์หรือไม่ ซึ่งการที่รัฐบาลมีการลดปริมาณการส่งออกลงเพื่อเพิ่มผลผลิตการขายในประเทศ ก็เป็นทางออกในระยะสั้นเช่นกัน เพราะผู้ส่งออกมีตลาดอยู่แล้วหากระงับไม่ให้ส่งออกจะส่งผลกระทบในอนาคตที่ลูกค้าไม่กล้าซื้อไข่ไก่จากไทยอีก อีกทั้งแนวโน้มประชากรที่เพิ่มขึ้นในอนาคตความต้องการอาหารและผลผลิตทางการเกษตรย่อมสูงขึ้น การหามาตรการรองรับด้านผลผลิตจึงเป็นแนวทางที่สำคัญกว่าในระยะยาว ดังนั้นหากรัฐบาลไม่มีการพัฒนาระบบการค้า และเป็นวงจรที่ต้องแก้ไขปัญหาอย่างนี้ทุกปี ก็จะไม่สามารถแก้ไขปัญหากลไกทางการตลาดได้

 

 

 



ข้อมูลจาก "สมาคมผู้เลี้ยงไก่ไข่" ระบุว่าประเทศไทยมีกำลังผลิตไข่ไก่ราว 9,500-10,000 ล้านฟองต่อปี และมีกำลังการผลิตไข่ไก่ ออกสู่ตลาดประมาณ 25-26 ล้านฟองต่อวัน ซึ่งสอดคล้องกับอัตราการบริโภคไข่ไก่ ของคนไทย คือประมาณ 160 ฟอง /คน/ปี ซึ่งถือว่าเป็นอัตราการบริโภค ไข่ที่น้อย เมื่อเทียบกับประเทศมาเลเซีย ที่บริโภค 230 ฟอง/คน/ปี ขณะที่ประเทศญี่ปุ่น ,ไต้หวัน และ สหภาพยุโรป บริโภคกัน 300 ฟอง/คน/ปี
ประเด็นเรื่อง "ไข่แพง" หากมองอีกมุมหนึ่ง ไม่น่าจะเป็นเรื่องราวใหญ่โตอะไร และน่าจะเป็นเรื่องที่น่ายินดีด้วยซ้ำที่เกษตรกรสามารถขายผลผลิตได้ราคาดี มีรายได้เพิ่ม โดยเฉพาะเกษตรกรผู้เลี้ยงไก่ไข่ ที่แบกภาระขาดทุนต่อเนื่องมาร่วม 3 ปี ที่พอจะมีกำไรมาให้เห็นเป็นเนื้อเป็นหนังก็ในช่วงไม่กี่เดือนมานี้เอง
และที่เห็นว่าไม่น่าจะเป็นเรื่องแปลกอะไรก็เพราะเป็นแค่เรื่องเศรษฐศาสตร์ขั้นพื้นฐาน ที่ ว่าด้วยเรื่อง "อุปสงค์-อุปทาน" หรือ "ดีมานด์-ซัพพลาย" หรือจะเรียก "กำลังซื้อ-กำลังผลิต" ก็สุดแท้แต่ใครจะถนัดใช้คำไหน
แต่หลักใหญ่ใจความก็คือ เมื่อมีความต้องการซื้อเท่าเดิมหรือเพิ่มขึ้น แต่กำลังผลิตเท่าเดิมหรือลดลง ย่อมส่งผลทำให้ราคาปรับตัวสูงขึ้นเป็นธรรมดา และเป็นเรื่องรับรู้ได้ในระบบเศรษฐกิจการค้าเสรี ที่มีการแข่งขันกันระหว่างผู้ผลิตแต่ละราย
ย้อนกลับไปเมื่อ 3 ปีที่ผ่านมา วงการไก่ไข่ ต้องประสบปัญหาเมื่อราคาวัตถุดิบอาหารสัตว์ในตลาดโลกปรับตัวสูงขึ้นเป็นประวัติการณ์ โดยมีสาเหตุหลักมาจากเรื่องความแปรปรวนของสภาพอากาศ เมื่อผสมกับราคาน้ำมันในตลาดโลกที่ปรับตัวสูงขึ้น จึงเป็นสองแรงบวก ทำให้ราคาวัตถุดิบอาหารสัตว์ปรับขึ้นถ้วนหน้า
นี่คือเรื่องของ "ดีมานด์-ซัพพลาย" ในระดับโลก ที่เราไม่สามารถแก้ไขอะไรได้ในเมื่อเราเองก็อยู่ในระบบการค้าเสรี ที่ราคาสินค้าเกษตรหลายชนิดต้องอ้างอิงกับตลาดโลก
สิ่งเหล่านี้ได้สร้างความเดือดร้อนให้กับเกษตรกรที่อยู่ในวงการปศุสัตว์ โดยเฉพาะผู้เลี้ยงไก่ไข่ ที่โดนเต็มๆ ทำให้ต้องแบกรับสภาพขาดทุนมาอย่างต่อเนื่อง จากต้นทุนวัตถุดิบราคาสูง และปริมาณแม่ไก่ยืนกรง ที่มีอยู่มาก ทำให้ผลผลิตไข่ไก่ออกสู่ท้องตลาดจำนวนมากเกินความต้องการ ราคาขายไข่ไก่ จึงประคองตัวอยู่ในระดับบาทแก่ๆ จนถึงสองบาทต้นๆ เท่านั้น ซึ่งเป็นราคาที่ขายแล้วขาดทุนแน่นอน นี่ก็ชัดเจนว่าเป็นเรื่องของ "ดีมานด์-ซัพพลาย"
กำนันมาโนช ชูทับทิม นายกสมาคมผู้เลี้ยงไก่ไข่ ผู้คร่ำหวอดในวงการไข่ไก่มาร่วม 30 ปี เล่าให้ฟังว่าเมื่อ 3 ปีที่ผ่านมาเป็นช่วงที่เกษตรกรผู้เลี้ยงไก่ไข่เจอวิกฤติอย่างหนัก และประสบกับการขาดทุนมาโดยตลอด เพราะผลผลิตที่มีออกมามากเกินความต้องการของตลาดเกษตร กรผู้เลี้ยงไก่ไข่ กับบรรดาบริษัทในภาคเอกชน จึงได้ร่วมกันหารือกับคณะ กรรมการนโยบายพัฒนาไก่ไข่ และผลิตภัณฑ์หรือ EGG Broad เพื่อช่วยกันหาทางออกในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น ก่อนจะได้ข้อสรุปว่า
ถ้าจะทำให้ไข่ไก่ในประเทศราคาดีขึ้น จะต้องใช้การณรงค์ส่งเสริมการบริโภคไข่ไก่ มีการจัดทำโครงการไข่โรงเรียน รวมทั้งการส่งออกเพื่อระบายไข่ไก่ส่วนเกิน นั่นคือการจัดการเพื่อช่วยให้กำลังซื้อในประเทศเพิ่มขึ้น
ส่วนเรื่องกำลังผลิตได้มีข้อสรุปร่วมกันว่าควรใช้วิธีการควบคุมปริมาณการนำเข้าพ่อแม่พันธุ์ ทำให้ในช่วงที่ผ่านมามีปริมาณแม่ไก่ ยืนกรงลดลงประมาณ 20 เปอร์เซ็นต์เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันกับปีก่อน หรือมีอยู่ประมาณ 35-36 ล้านตัว ซึ่งส่งผลให้มีผลผลิตไข่ไก่ออกสู่ท้องตลาดวันละ 25-26 ล้านฟอง จากที่ผลิตกันออกมาได้วันละ 28-30 ล้านฟอง
เขาเล่าว่า ปริมาณแม่ไก่ยืนกรงที่น้อยลง เมื่อมาเจอกับสภาวะอากาศแปรปรวนในระยะ 3-4 เดือนที่ผ่านมา ทำให้สภาพอากาศมีอุณหภูมิสูงระหว่าง 43-44 องศาเซลเซียส แม้ว่าจะมีการเลี้ยงไก่ในโรงเรือนปิดแล้วก็ตาม แต่ก็ส่งผลทำให้อุณหภูมิในโรงเรือนสูงกว่าระดับที่เหมาะสมกับการเลี้ยง(อุณหภูมิภายในโรงเรือนที่เหมาะสมต้องอยู่ระหว่าง 28-30 องศาเซลเซียส)เมื่ออุณหภูมิ ภายนอกสูงมาก ทำให้การปรับสภาพอากาศในโรงเรือน ทำได้ลำบาก แม่ไก่จึงเกิดอาการเครียด กินอาหารได้น้อย ทำให้เปอร์เซ็นต์การให้ไข่ลดลง
"การขาดแคลนน้ำสะอาดเพื่อให้ไก่กินในบางพื้นที่ ก็เป็นเหตุให้เกิดไก่ป่วยตามมา ผลผลิตจึงลดลงมาก และยิ่งมีปัญหาโรคระบาดในไก่ไข่ ที่เข้ามาซ้ำเติมวงการเลี้ยงไก่ให้ปัญหาปริมาณไข่ไก่ลด ต้องลุกลามเข้าไปอีกคือโรค IB หรือโรคหลอดลมอักเสบ ซึ่งเกิดในลูกไก่ไข่ที่มีอายุ 1-3 สัปดาห์ ที่ระบาดในช่วงที่ผ่านมา ทำให้เมื่อลูกไก่ชุดนี้โตขึ้นเป็นแม่ไก่ในปัจจุบันมีลักษณะของรังไข่ที่ฝ่อ ผลผลิตไข่ไก่จึงเสียหาย" กำนันคนเดิมอธิบาย
จากเหตุผลที่กล่าวมาทำให้มีผลผลิตไข่ไก่ออกสู่ท้องตลาดน้อยลง ประกอบกับเป็นช่วงโรงเรียนเปิดภาคเรียน ความต้องการบริโภคไข่ไก่ในช่วงนี้จึงสูงกว่าในช่วง 1-2 เดือนก่อนหน้านี้ ทำให้ราคาไข่ไก่ในท้องตลาดมีการปรับตัวสูงขึ้น จนปัจจุบันมีราคาขายเฉลี่ยฟองละ 2.80 บาท เป็นไปตามดีมานด์-ซัพพลายและกลไกของตลาด
ในฐานะผู้มีประสบการณ์ในวงการไก่ไข่ มาร่วม 30 ปี กำนันมาโนช "ฟันธง" ว่า ราคาไข่ จะปรับตัวขึ้นในช่วงสั้นๆ เท่านั้น หลังจากผ่านช่วงนี้ไปแล้ว สภาพอากาศเริ่มมีอุณหภูมิลดลงหลัง จากมีฝนลงมาพอให้คลายร้อนกันได้บ้าง เชื่อว่าจะทำให้ในช่วง 1-2 เดือนข้างหน้าจะมีปริมาณไข่ไก่ออกสู่ตลาดมากกว่าช่วงที่ผ่านมา และทำให้ราคาขายปรับเข้าสู่ภาวะปกติได้
ในประเด็นที่มีผู้ตั้งข้อสังเกตว่าเมื่อไข่ไก่ราคาสูงขึ้น น่าจะนำไข่ที่เก็บไว้ในห้องเย็นออกมากระจายสู่ตลาด กำนันมาโนช บอกว่า ตอนนี้ไม่มีไข่ไก่เหลือในห้องเย็นอีกแล้ว เพราะเมื่อไข่ราคาขยับสูงขึ้นมาที่ฟองละ 2.60 บาท ทางห้องเย็นต่างๆ ได้มีการระบายไข่ไก่ ที่มีอยู่ออกสู่ท้องตลาดหมดแล้ว เพราะถือว่าขายได้ราคาดี และไม่มีใครต้องการแบกภาระเรื่องต้นทุนการเก็บรักษาไข่ แต่ถึงระบายออกมาหมดแล้วก็ไม่ได้ทำให้ราคาไข่ลดลง เพราะปริมาณไข่ไก่หายไปจากท้องตลาด จำ นวนมาก ดังที่กล่าวมาแล้ว พูดง่ายๆ ก็คือเมื่อไข่ราคาถูก เราจึงจะเก็บไข่เข้าห้องเย็น เพื่อลดปริมาณ ไข่ในท้องตลาดและทำให้ราคาในตลาดดีขึ้น แต่ถ้าไข่ราคาดี ไม่มีใครอยากเก็บไข่ไว้แน่นอนเพราะ มีแต่จะทำให้มีต้นทุนที่เพิ่มขึ้น
อีกประเด็นที่ดูจะเป็นข้อถกเถียงกันมากในเรื่องของต้นทุน "ลูกไก่" และ "ไก่สาว"ที่มีราคาสูงขึ้น นายกสมาคมผู้เลี้ยงไก่ไข่ บอกว่า เป็นเรื่องของดีมานด์-ซัพพลาย อย่างที่กล่าวไว้ตอน ต้นว่าแต่ละฝ่าย ทั้งเกษตรกร และ ภาคเอกชนผู้นำเข้าพ่อแม่พันธุ์ ได้ตกลงร่วมกันว่าจะให้มีการลดปริมาณพันธุ์สัตว์ลง 20 เปอร์เซ็นต์ แน่นอนว่าปริมาณของลดลงย่อมทำให้ราคาเพิ่มขึ้นเป็นธรรม ดา และได้มีการคุยกันในที่ประชุมแล้ว ซึ่งเกษตรกรเอง ก็ยอมรับในเรื่องราคาพันธุ์สัตว์ที่อาจจะแพงขึ้นในอนาคต
ส่วนเรื่องของการ "ฮั้ว" ราคากันระหว่างผู้ผลิตพันธุ์สัตว์ กำนันคนเดิม แสดงทัศนะว่า ในความเป็นจริงแล้วการตั้งราคาได้ตามใจชอบนั้น เกิดจากการเป็นตลาดผูกขาด แต่การที่มีผู้ผลิตในตลาดอยู่ถึง 9 รายคงเป็นเรื่องที่ทำได้ยาก เนื่องจากความสามารถหรือศักยภาพในการผลิตและการทำตลาดของแต่ละบริษัทย่อมแตกต่างกัน ช่องว่างของการทำกำไร แต่ละบริษัทย่อมแตกต่างกัน การฮั้วราคากันจะทำให้บางบริษัทได้กำไรมาก บางบริษัทได้กำไรน้อย และทำให้แข่งขันในตลาดไม่ได้ ฉะนั้นจึงเป็นเรื่องที่แต่ละบริษัทจะต้องวางยุทธศาสตร์หรือกลยุทธ์ที่เหมาะสมกับศักยภาพของตัวเอง เพื่อให้สามารถทำกำไรและยังแข่งขันในตลาดได้ "นอกจากนี้ ในการนำเข้าพันธุ์สัตว์ก็ไม่ได้จำกัดอยู่แค่ 9 บริษัทที่มีอยู่เท่านั้น ทาง EGG Board ได้เปิดโอกาสให้เอกชนหรือเกษตรกรแต่ละรายที่สนใจนำเข้าพันธุ์สัตว์ ก็สามารถยื่นเรื่องเสนอไปทาง EGG Board ได้ และไม่ใช่เรื่องยาก เพียงแต่ต้องดูว่าเอกชนหรือเกษตรกรแต่ละรายมีความพร้อมมากขนาดไหน เพราะที่ผ่านมาก็เคยมีผู้นำเข้าพันธุ์สัตว์เป็นจำนวนมากกว่าในปัจจุบัน แต่สุดท้ายก็ไม่สามารถแข่งขันได้ จนต้องยกเลิกไปและเหลืออยู่เพียง 9 รายอย่างในปัจจุบัน" เขา กล่าวส่วนที่มีการตั้งคำถามว่าเมื่อไข่ราคาดี เกษตรกรต้องซื้อพันธุ์สัตว์ในราคาสูงขึ้นตามราคาไข่หรือไม่ กำนันมาโนช บอกว่า คงไม่ได้เป็นสูตรตายตัว แต่สุดท้ายก็หนีไม่พ้นเรื่องของดีมานด์-ซัพพลาย เช่นเคย เมื่อไข่ราคาดี มีหรือเกษตรกรจะไม่อยากเลี้ยง นี่เป็น "วัฏจักร" ที่มักเกิดขึ้นกับเกษตรกรไทย หรือวงจรการเกษตรของไทยมาตลอด ผลผลิตขายได้ราคาดีก็อยากเลี้ยงให้มากขึ้น คิดว่าทำเกษตรต้องเป็นหนึ่งบวกหนึ่งเท่ากับสองเสมอ ซึ่งในความเป็นจริงอาจจะไม่ใช่เสมอไป เพราะเมื่อปริมาณเพิ่ม 1 เปอร์เซ็นต์อาจจะมีผลให้ราคาลดลงถึง 10 เปอร์เซ็นต์ก็เป็นไปได้ ในทางตรงกันข้ามถ้าลดปริมาณเลี้ยงลง 1 เปอร์เซ็นต์ก็อาจจะทำให้ราคาปรับสูงขึ้นได้ 10 เปอร์เซ็นต์ก็อาจเป็นไปได้เช่นเดียวกัน
ใช่หรือไม่ว่า ทางออกปัญหา "ไข่ไก่แพง" คือการปล่อยให้ราคามีการปรับเปลี่ยนไป ตามกลไกตลาด ตามแต่ ดีมานด์- ซัพพลาย ที่เกิดขึ้นจริง ?

น้ำตาลทราย 

           เลขาธิการ สอน. - ประธานบริหาร ไทยชูการ์ มิลเลอร์ ประสานเสียง ปีนี้เป็นปีทองอุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลทราย ถือเป็นสินค้าที่สร้างประโยชน์อย่างยิ่งต่อเศรษฐกิจของประเทศในภาวะที่เศรษฐกิจตกต่ำทั่วโลก สร้างรายได้เข้าประเทศต่อปีกว่า 8 หมื่นล้านบาท หมุน 5 รอบ 4 แสนล้านบาท ลุ้นราคาอ้อยฤดูกาล 2551/2552 มีสิทธิ์แตะระดับ 1 พันบาทต่อตันอ้อย คาดเกษตรกรจะหันมาปลูกอ้อยมากขึ้น 

           ดร.ประเสริฐ ตปนียางกูร เลขาธิการคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทราย กระทรวงอุตสาหกรรม เปิดเผยว่า จากแนวโน้มอุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลทรายในปี 2552 ที่ถือว่า ดีที่สุดในรอบหลายๆ ปี ส่งผลให้ราคาอ้อยปรับตัวสูงขึ้นเป็นประวัติการณ์ ทำให้คาดว่า ราคาอ้อยขั้นสุดท้ายปี 2551/2552 น่าจะอยู่ที่ระดับ 920 บาทต่อตันอ้อย จากราคาขั้นต้นที่ 830 บาทต่อตันอ้อย และหากรวมค่าความหวานเข้าไปอีกก็น่าจะทำให้ราคาอ้อยปีนี้ยืนอยู่ที่ระดับ 1,000 บาทต่อตันอ้อยได้ ขณะเดียวกันทิศทางราคาน้ำตาลในตลาดโลกที่อยู่ในระดับสูง ก็น่าจะทำให้ราคาอ้อยปี 2552/2553 ไม่ต่ำกว่าราคาในปีนี้ ซึ่งจะมีผลให้ปริมาณอ้อยไม่ลดลงจากปีก่อน

          

 

 

   “ปีนี้ถือเป็นปีทองของอุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลทราย โดยฤดูการผลิตอ้อยและน้ำตาลปี 2551/2552 ซึ่งปิดหีบไปแล้วมีผลผลิตอ้อยรวมทั้งสิ้น 66.5 ล้านตัน สามารถผลิตน้ำตาลทรายได้ 7.1 ล้านตัน ถึงแม้ผลผลิตอ้อยที่ได้จะต่ำกว่าที่คาดไว้ 5 ล้านตัน แต่ด้วยราคาที่ปรับตัวสูงขึ้นเป็นประวัติการณ์จากการขาดดุลน้ำตาลในตลาดโลกเนื่องจากหลายประเทศมีผลผลิตน้ำตาลลดลงจึงต้องมีการนำเข้ามากขึ้น เช่น อินเดีย ยุโรป ปากีสถาน และจีน ทำให้ราคาน้ำตาลอยู่ในระดับที่ดีมากและชาวไร่อ้อยเองก็ได้ค่าอ้อยที่สูง” ดร.ประเสริฐกล่าว

 

 

            สำหรับทิศทางการส่งออกน้ำตาลทรายในปีนี้ประมาณกว่า 5 ล้านตัน นั้น เลขาธิการคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทราย มองว่า เป็นโอกาสที่ดีต่อการส่งออกน้ำตาลของไทยแม้ว่า สภาวะเศรษฐกิจโลกจะชะลอตัว แต่อัตราการบริโภคจะยังคงมีการขยายตัวเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะตลาดในภูมิภาคเอเชีย ซึ่งถือเป็นตลาดส่งออกน้ำตาลที่สำคัญของไทยกว่า 98% เนื่องจากมีข้อได้เปรียบในด้านการขนส่ง โดยคาดว่า ราคาน้ำตาลทรายดิบในตลาดโลกปีนี้น่าจะอยู่ที่ระดับประมาณ 14-15 เซนต์ต่อปอนด์

 

 

            ดังนั้น อุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลทรายถือเป็นอุตสาหกรรมที่มีความสำคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ สร้างรายได้จากการจำหน่ายน้ำตาลในประเทศและส่งออกประมาณกว่า 8 หมื่นล้านบาทต่อปี สร้างงานและสร1 ล้านคน

 

 

             “อุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลทรายถือเป็นอุตสาหกรรมที่มีความสำคัญมากต่อระบบเศรษฐกิจประเทศ โดยสร้างรายได้ต่อปีกว่า 8 หมื่นล้านบาท ซึ่งหากมีการหมุนเวียนเงินจำนวนดังกล่าวในระบบเศรษฐกิจ 5 รอบ จะเพิ่มมูลค่าอีกกว่า 4 แสนล้านบาท และก่อให้เกิดการลงทุนในอุตสาหกรรมต่อเนื่องอื่นๆ อีกมากมาย เช่น ผลิตกระแสไฟฟ้า เอทานอล อาหารแปรรูปและเครื่องดื่ม และหากเปรียบเทียบการส่งออกสินค้าเกษตรในปีที่ผ่านมา น้ำตาลมีมูลค่าส่งออกถึง 4.7 หมื่นล้านบาท ซึ่งสูงกว่ามันสำปะหลังที่มีมูลค่า 4.5 หมื่นล้านบาท” เลขาธิการคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทรายกล่าว

 

 

             ทั้งนี้ เพื่อให้อุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลทรายของไทยมีการปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงในตลาดการค้าโลก และสามารถคงความได้เปรียบในการแข่งขันกับประเทศคู่แข่งได้อย่างยั่งยืนในระยะยาว ภาครัฐจึงได้ดำเนินการส่งเสริมและพัฒนาประสิทธิภาพการผลิตอ้อยและน้ำตาลทรายอย่างต่อเนื่อง ทั้งการร่วมกับสมาคมชาวไร่อ้อย และโรงงานน้ำตาลทั้ง 47 โรง ผลิตอ้อยพันธุ์ดีที่ให้ผลผลิตและค่าความหวานสูง ทนทานต่อโรคและแมลงศัตรูอ้อย รวมถึงสนับสนุนโดยการให้สินเชื่อเพื่อส่งเสริมการปลูกอ้อยกว่า 1 หมื่นล้านบาท สินเชื่อเพื่อแก้ไขปัญหาภัยแล้งจำนวน 2 พันล้านบาท ให้แก่ชาวไร่อ้อยเพื่อนำไปใช้ในการปลูกและบำรุงรักษาอ้อย พัฒนาแหล่งน้ำและระบบการจัดการในไร่อ้อย นอกจากนี้ยังอยู่ระหว่างการเสนอโครงการสินเชื่อเพื่อซื้อรถตัดอ้อยปีละกว่า 1 พันล้านบาท

 

 

             นายวิบูลย์ ผาณิตวงศ์ ประธานคณะกรรมการบริหาร บริษัท ไทยชูการ์ มิลเลอร์ จำกัด เปิดเผยว่า แนวโน้มราคาน้ำตาลทรายในตลาดโลกจะยังทรงตัวอยู่ในระดับสูง สาเหตุจากการที่หลายประเทศ เช่น อินเดีย จีน และยุโรป ได้ประสบกับปัญหาภัยธรรมชาติทำให้ผลผลิตอ้อยลดลงจนต้องมีการนำเข้าน้ำตาลทรายเพิ่มขึ้น

 

 

              “ราคาน้ำตาลทรายในตลาดโลกปรับตัวสวนภาวะเศรษฐกิจที่ซบเซา ซึ่งประเมินว่า ราคาน้ำตาลทรายดิบในตลาดโลกน่าจะทรงตัวในระดับสูงประมาณ 14-15 เซนต์ต่อปอนด์ ดังนั้นคาดว่าราคาอ้อยขั้นต้นฤดูกาลผลิตปี 2552/2553 จะสูงในระดับไม่ต่ำกว่า 800 บาทต่อตัน” นายวิบูลย์กล่าว

          

 

             ทั้งนี้ ผลพวงจากราคาอ้อยที่ปรับตัวสูงขึ้นทำให้คาดว่า ในฤดูกาล 2552/2553 เกษตรกรจะหันมาปลูกอ้อยเพิ่มมากขึ้นกว่าปีก่อน ซึ่งมีปริมาณอ้อยต่ำกว่าที่คาดการณ์ไว้ค่อนข้างมากโดยมีผลผลิตรวม 66.5 ล้านตัน จากที่คาดว่า จะมีผลผลิต 71.80 ล้านตันจากการสำรวจพบว่า น้ำตาลทรายขายปลีกสูงกว่าราคาควบคุมซึ่งกำหนดไว้ไม่เกินกิโลกรัมละ 23.50 บาท โดยพ่อค้าแบ่งเป็นถุงๆ ขายเฉลี่ยแล้วกิโลกรัมละ 25 ถึง 30 บาท เนื่องจากยี่ปั๊วส่งน้ำตาลมาให้น้อยลง และราคาสูงขึ้นจากเดือนก่อนถึงกระสอบละ 115 บาท
...(เสียง ศักดิ์ชัย เมืองน้อย พ่อค้าตลาดห้วยขวาง)

สำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทราย เปิดเผย ปริมาณน้ำตาลทรายในประเทศที่ลดลง เกิดจากผู้ผลิตอาหารเพื่อการส่งออก หันมาใช้น้ำตาลโควต้าในประเทศ ส่งผลให้น้ำตาลทรายในประเทศ ลดลงไปประมาณ 10,000 ตัน

ที่ด่านสระแก้ว ผู้ค้าส่งรายใหญ่จำกัดปริมาณการจำหน่ายน้ำตาลในประเทศเหลือเพียงคนละ 1 กระสอบ ป้องกันการกักตุนสินค้าและลักลอบนำออกไปนอกประเทศ ซึ่งราคาสูงถึงกิโลกรัมละ 30-35 บาท ขณะที่ในประเทศขายกิโลกรัมละ 25-27 บาท

ด้านชายแดนไทย-กัมพูชา เพิ่งจับกุมผู้ลักลอบนำน้ำตาลทรายออกไปในรูปแบบกองทัพมด ทยอยนำออกเฉลี่ยคนละ 1-10 กิโลกรัม โดยจับกุมได้แล้ว 50 กระสอบๆ ละ 50 กิโลกรัม

ราคาน้ำตาลในตลาดโลกขณะนี้ยังอยู่ในช่วงขาขึ้น โดยตั้งแต่ปลายปีที่แล้ว ราคาน้ำตาลทรายดิบเพิ่มขึ้นแล้วกว่า 20 เปอร์เซ็นต์ เพราะประเทศผู้ผลิตรายใหญ่ลดการส่งออก

กรมการค้าภายใน ยืนยัน ราคาน้ำตาลในประเทศยังไม่ขาดแคลนและเตรียมสำรองน้ำตาลทรายในประเทศเพิ่มอีก 40,000 ตัน และส่งเจ้าหน้าที่ออกตรวจสอบไม่ให้มีการฉวยโอกาสปรับขึ้นราคา และหากพบโรงงานที่ใช้น้ำตาลโควต้าบริโภคในประเทศ ไปใช้ผลิตเพื่อการส่งออก จะถูกตัดโควต้าเป็นเวลา 5 ปี

 

 

 

 

 

 

 

การท่องเที่ยว"ชุมพล"ตั้งกก.เยียวยาท่องเที่ยว รอไฟเขียวงบฯ1.6พันล.ททท.เรียกผู้ประกอบการประเมินสถานการณ์

"ชุมพล"ตั้ง กก.เฉพาะกิจเยียวยา-ฟื้นฟูท่องเที่ยวเชิงรุก รอครม.ไฟเขียวงบฯ1.6 พันล.ลุยการตลาด "สุรพล"เรียกผู้ประกอบการประเมินสถานการณ์ ภายใต้สมมุติฐานความวุ่นวายจบ

นายชุมพล ศิลปอาชา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา และหัวหน้าพรรคชาติไทยพัฒนา (ชทพ.) เปิดเผยเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคมว่า ได้หารือร่วมกับนายบรรหาร ศิลปอาชา ประธานที่ปรึกษาหัวหน้าพรรค ชพท. เกี่ยวกับแผนการดำเนินงานเพื่อเยียวยาการท่องเที่ยวของไทย โดยเบื้องต้นได้ตั้งคณะกรรมการเฉพาะกิจเพื่อช่วยเหลือเยียวยาฟื้นฟูภาพลักษณ์ และสร้างความเชื่อมั่นด้านการท่องเที่ยว โดยมีนายสุรพล เศวตเศรนี ผู้ว่าการการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) เป็นประธาน เพื่อจัดทำข้อมูลผลกระทบที่เกิดขึ้นจากความวุ่นวายทางการเมือง และแผนการดำเนินงานต่างๆ ให้แล้วเสร็จโดยเร็วที่สุด


นายชุมพล กล่าวว่า หน้าที่ของคณะกรรมการชุดดังกล่าวที่จะต้องดำเนินการ คือ 1.ประมวลรายงานข้อเท็จจริง รวมถึงปัญหาต่างๆ ของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว 2.แผนการดำเนินงานช่วยเหลือผู้ประกอบการ 3.การโฆษณาและประชาสัมพันธ์ เน้นสื่อต่างประเทศ เพื่อให้ชาวต่างชาติเข้าใจในสถานการณ์ที่เกิดขึ้นโดยเร็ว และ4.เรื่องทั้งหมดที่กล่าวมาจะต้องดำเนินการให้แล้วเสร็จโดยเร็ว เพื่อให้สามารถแก้ไขสถานการณ์ได้อย่างทันท่วงที


นายชุมพล กล่าวว่า หลังจากคณะกรรมการฯ ดำเนินการแล้วเสร็จ ต้องเสนอให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวฯ พิจารณา เพื่อเชิญผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวมาหารือถึงแนวทางในการดำเนินงานร่วมกันอีกครั้ง


"ตอนนี้ยังไม่ได้ประเมินผลกระทบที่เกิดขึ้นอย่างชัดเจน รวมถึงการกำหนดมาตรการดึงนักท่องเที่ยวต่างชาติเข้ามา เพราะต้องรอให้คณะกรรมการที่จัดตั้งขึ้นมารวบรวมข้อมูลนำเสนอก่อน" นายชุมพลกล่าว


นายชุมพล กล่าวด้วยว่า ส่วนมาตรการช่วยเหลือผู้ประกอบการด้านการท่องเที่ยว ขณะนี้เรื่องอยู่ที่คณะรัฐมนตรี (ครม.) ส่วนจะนำมาพิจารณาในการประชุมครั้งต่อไปหรือไม่นั้น ตนยังไม่ทราบ โดยมีอยู่ 2 มาตรการ คือ 1.การเสนอให้ธนาคารเพื่อการพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย(ธพว.) หรือเอสเอ็มอี แบงก์ สนับสนุนเงินกู้ช่วยผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวที่ได้รับผลกระทบจำนวน 5,000 ล้านบาท 2.ของบประมาณจาก ครม. 1,600 ล้านบาท ให้ ททท.ใช้ดำเนินงานด้านการตลาดในเชิงรุก


นายชุมพล กล่าวว่า กระทรวงการท่องเที่ยวฯ ยังย้ายศูนย์อำนวยการช่วยเหลือนักท่องเที่ยว จากอาคาร ททท. ถนนเพชรบุรี ไปอยู่ที่โรงแรมรามาการเด้นส์ ในช่วงที่เกิดความรุนแรง เพื่อให้การดำเนินงานสะดวกมากยิ่งขึ้น ที่ผ่านมาพบว่านักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศมาสอบถามข้อมูลไม่มาก


ด้านนายสุรพล ศวตเศรนี ผู้ว่าฯ ททท. กล่าวว่า หน้าที่หลักของ ททท.ในคณะกรรมการชุดดังกล่าว คงจะเป็นเรื่องมาตรการด้านการตลาดเป็นหลัก การดำเนินการดังกล่าวจะเป็นการฟื้นฟูภาพลักษณ์เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวทั้งในและต่างประเทศ โดยในวันที่ 25 พฤษภาคมนี้ ททท.ได้เรียกผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวเข้าหารือเพื่อหามาตรการการส่งเสริมการท่องเที่ยว การติดตามสถานการณ์ และการวิเคราะห์การตลาด ภายใต้ข้อสมมุติที่ว่าเหตุการณ์ได้จบลงแล้ว จะดำเนินการอย่างไรต่อไป ทั้งนี้ ยังจะพิจารณาตลาดท่องเที่ยวแต่ละแห่ง ว่าตลาดไหนฟื้นตัวได้เร็ว และตลาดไหนต้องใช้ระยะเวลาในการฟื้นตัว เพื่อกำหนดมาตรการดำเนินงานต่อไป


"ททท.มีประสบการณ์แก้ไขวิกฤตที่เกิดขึ้นจาการท่องเที่ยวมาหลายครั้ง เช่น ปี 2534 ปี 2549 ปี 2551 และปี 2552 โดยทุกครั้งที่ผ่านมา จะได้รับผลกระทบในเชิงจิตวิทยา ดังนั้นจะต้องดำเนินการฟื้นฟู ส่งเสริมภาพลักษณ์ให้กลับคืนมา แต่ครั้งนี้คงจะต้องมีการฟื้นฟูในด้านกายภาพเพิ่มเติมเข้ามาด้วย เพราะได้รับความเสียหายหนัก" นายสุรพลกล่าว


นายสุรพล กล่าวว่า หากความวุ่นวายยุติอย่างแท้จริง คาดว่าจะใช้เวลาในการฟื้นฟูไม่นาน และจะสามารถดึงนักท่องเที่ยวต่างชาติให้เดินทางเข้ามาท่องเที่ยวในไทยได้ในช่วงไตรมาส 4 ซึ่งเป็นฤดูกาลท่องเที่ยว(ไฮซีซั่น) ของปีนี้ได้อย่างแน่นอน


"ในช่วงวิกฤตหลายครั้งที่ผ่านมา ททท.จะใช้เวลาในการฟื้นฟูการท่องเที่ยวให้กลับเข้าสู่ภาวะปกติได้ภายใน 3 เดือน ยกเว้นช่วงเมษายนปีที่แล้ว ที่ได้รับผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจตกต่ำทั่วโลก จึงต้องใช้เวลาในการฟื้นฟูประมาณ 4 เดือนกว่า ครั้งนี้ก็คาดว่าจะใช้เวลาในการฟื้นฟูได้ไม่นานนัก" นายสุรพลกล่าว

 

 

 

 

 

 

การลงทุน

หน้าที่ที่ยิ่งใหญ่ ย่อมมากับความรับผิดชอบที่ยิ่งใหญ่” ไม่ต่างอะไรกับพอร์ตการลงทุนและสินเชื่อของธนาคารออมสิน..

นายณัฐพงศ์ พงศ์กิดาการ

ให้นักศึกษาทุกคนแสดงความเห็นว่าการคงประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน  ราคาไข่ไก่  ราคาน้ำตาลทราย  การท่องเที่ยว  การลงทุน  มีความเชื่อมโยงกันอย่างไร 
จากการที่รัฐบาลได้ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน เรื่อง ราคาไข่ไก่ ราคาน้ำตาลทราย การท่องเที่ยว และการลงทุนนั้น เกิดมาจากสาเหตุที่ว่า นักลงทุนยังไม่มีความมั่นใจต่อประเทศทั้งในด้านของ ภาคเศรษฐกิจและภาคเอกชน รวมถึงชาวต่างชาติที่ยังไม่มีความมั่นใจที่จะมาลงทุนหรือท่องเที่ยวในประเทศมากอันเกิดมาจากที่ว่านักลงทุนยังม่มีความเชื่อมั่นในการลงทุนมากนักและยังไม่มีแนวโน้มว่าเศรษฐกิจประเทศไทยจะดีขึ้นรัฐบาลจึงต้องทำทุกวิธีทางเพื่อกระตุ้นภาคเศรษฐกิจให้ดีขึ้น

ถ้าใครจะ COPY ขอให้อ่านก่อนน่ะคับ ขอบคุณผู้ที่อ่านทุกท่านครับ ขอบคุณคร้าบๆๆๆๆๆ

นายณัฐพงศ์ พงศ์กิดาการ

จากการที่รัฐบาลได้ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน เรื่อง ราคาไข่ไก่ ราคาน้ำตาลทราย การท่องเที่ยว และการลงทุนนั้น เกิดมาจากสาเหตุที่ว่า
       ราคาไข่ไก่ที่ลดลงนั้นมาจากการที่ประชาชนกักตุนไข่ไก่ไว้ตั้งแต่ช่วงเกิดสถานการณ์ทางบ้านเมืองต่อมาเมื่อประชาชนกักตุนไข่ไก่ไว้จึงทำให้ไข่ไก่ล้นตลาดจึงทำให้ผู้ประกอบการนั้นต้องทำการลักลอบไปขายยังต่างประเทศหรือประเทศเพื่อนบ้านเป็นต้น
       ส่วนด้านน้ำตาลทรายก็เกิดการกักตุนเช่นเดียวกัน เช่น เมื่อน้ำตาลในห้างสรรพสินค้าลดราคาเป็นต้น ประชาชนก็แห่กันมาซื้อน้ำตาลเพื่อกักตุนไว้ใช้หลายๆวันเป็นต้น รวมไปถึงผู้ประกอบการที่ก็มีการกักตุนน้ำตาลเช่นเดียวกันและยังมีการไปขายยังประเทศเพื่อนบ้านด้วยในราคาที่แพงกว่าบ้านเราหลายเท่าเลนทีเดียว
       ด้านการท่องเที่ยวในช่วงที่สถานการณ์ทางบ้านเมืองนั้นทำให้การท่องเที่ยงซบเซาลงไปมากทำให้นักท่องเที่ยวไม่กล้าที่จะเดินทางมาประเทศไทยมากนักรัฐบาลจึงต้องออกกสื่อหรือโฆษณาเพื่อให้ทุกคนในประเทศไทยและทั่วโลกรับรู้ว่าประเทศไทยนั้นสถ่นการณ์อยู่ในสภาวะปกติแล้วโดยใช้แผนปรองดองแห่งชาติและมีการช่วยระบบต่างๆ เช่น ด้าน SME ด้านการส่งเสริมการท่องเที่ยว และลดการเก็บค่าธรรมเนียมเพื่อให้นักท่องเทียวมาเที่ยวที่ประเทศไทยเยอะๆ
        ด้านการลงทุนอันเนื่องมาจากสาเหตุที่ประเทศไทยมีความเชื่อมั่นต่อการลงทุนในประเทศน้อยและยิ่งประเทศไทยนั้นประการฉุกเฉินอีกทำให้นักลงทุนหมดความเชื่อมั่นในไทยและทำให้นักลงทุนไม่ว่าจะเป็นชาวต่างชาติก็ดีหรือประเทศเพื่อนบ้านก็ดีอาจจะลงทุนประเทศเพื่อนบ้านหรือประเทศอื่นๆแทนที่จะลงทุนในไทยและอาจจะเสียดุลในการค้ามากขึ้นไปด้วย
       ดังนั้น ความเชื่อมโยงของทุกเรื่อง คือ นักลงทุนยังไม่มีความมั่นใจต่อประเทศทั้งในด้านของ ภาคเศรษฐกิจและภาคเอกชน รวมถึงชาวต่างชาติที่ยังไม่มีความมั่นใจที่จะมาลงทุนหรือท่องเที่ยวในประเทศมากอันเกิดมาจากที่ว่านักลงทุนยังม่มีความเชื่อมั่นในการลงทุนมากนักและยังไม่มีแนวโน้มว่าเศรษฐกิจประเทศไทยจะดีขึ้นรัฐบาลจึงต้องทำทุกวิธีทางเพื่อกระตุ้นภาคเศรษฐกิจให้ดีขึ้นและต้องทำให้ได้ว่าประเทศไทยนั้นมีศักยภาพมากในด้านเศรษฐกิจ การท่องเที่ยว การลงทุน คงามเชื่อมั่น และกระตุ้นให้ประเทศกลับสู่สภาวะปกติให้เร็วที่สุดจึงจะทำให้ประเทศกลับมาเป็นประเทศที่น่าลงทุนอีกครั้ง

นางสาวอำพร ธนเสฎธากุล.

นางสาวอำพร  ธนเสฎธากุล.รหัสนักศึกษา  50473010008 

โปรแกรมวิชาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ  คณะวิทยาการจัดการ 

 มหาวิทยาราชภัฏสวนสุนันทา

..............................................................................................................

  1.  ให้นักศึกษาทุกคนแสดงความเห็นว่าการคงประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน  ราคาไข่ไก่  ราคาน้ำตาลทราย  การท่องเที่ยว  การลงทุน  มีความเชื่อมโยงกันอย่างไร 

-  การแก้ไขปัญหา  เพื่อช่วยเหลือผู้เลี้ยงไข่ไก่ เพราะราคาไข่ไก่ในตลาดเฉลี่ยฟองละกว่า  2  บาท  ซึ่งถือว่าต่ำกว่าราคาต้นทุนที่เฉลี่ย  2.30  บาทต่อฟอง  ขณะเดียวกันปริมาณไข่ไก่ที่มีมากกว่าการบริโภคประมาณ 1-2  ล้านฟอง  ทำให้ไข่ไก่ในปัจจุบันล้นตลาดและราคาตกต่ำ  จึงอยากขอความร่วมมือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องรับไข่ไก่จากผู้เลี้ยงไปบริโภค ส่วนกระทรวงพาณิชย์จะเชื่อมโยงตลาด  เพื่อระบายไข่ที่ล้นตลาดให้น้อยลง เพื่อแก้ไขปัญหาให้กับผู้เลี้ยง  และเชื่อว่าจะได้รับความสนับสนุนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอย่างดี   พาณิชย์จับมือ 3 ห้างฯ ตลาดสด จัดไข่ธงฟ้า 2 สัปดาห์ ระหว่างรอให้สถานการณ์ราคากลับเข้าสู่ภาวะปกติ  โดยห้างสรรพสินค้าจะจำกัดปริมาณการซื้อที่เหมาะสมเพื่อให้เพียงพอต่อความ ต้องการ และไม่น่าจะเกิดปัญหาการกักตุน

-  ราคาสินค้าอุปโภคและบริโภค 6 เดือนแรกของปีนี้ แม้จะมีบางรายการปรับขึ้นไปบ้าง แต่หากเทียบผลกระทบต่อต้นทุน ถือว่าเพิ่มในสัดส่วนที่น้อยมาก แต่ก็ยังมีราคาสินค้า เช่น ไข่ไก่ น้ำตาลทราย หากดูผลกระทบต่อต้นทุนถือว่าไม่มาก"แต่ยอมรับว่า ราคาน้ำตาลทรายและไข่ไก่ ตึงตัว โดยกระทรวงพาณิชย์ ได้เร่งแก้ไขปัญหาราคาไข่ไก่เชื่อว่า จะกลับเข้าสู่ภาวะปกติได้เร็วๆ นี้ "ส่วนปัญหาน้ำตาลทรายที่ตึงตัว กระทรวงพาณิชย์และกระทรวงอุตสาหกรรม ทำความเข้าใจเพื่อให้ไปในทิศทางเดียวกันแล้ว ซึ่งขณะนี้น้ำตาลทรายในตลาดโลกเริ่มปรับตัวสูงขึ้น จึงเกรงว่าอาจจะมีการนำน้ำตาลทรายในประเทศไปส่งออก เนื่องจากได้ราคาดีกว่าอย่างไรก็ตาม จะต้องมีการติดตามพฤติกรรมอย่างใกล้ชิด ทั้งนี้เชื่อว่า ขณะนี้กระทรวงอุตสาหกรรม ได้นำน้ำตาลทราย ไม่น้อยกว่า 1 แสนกระสอบ ออกมาเร่งระบายในตลาดในประเทศ และคาดว่า น้ำตาลทรายจะกลับเข้าสู่ภาวะปกติได้  ขณะนี้กระทรวงพาณิชย์ยังไม่ได้รับรายงานว่า ทางกลุ่มผู้ประกอบการน้ำอัดลม จะขอปรับขึ้นราคาน้ำอัดลมเพิ่ม เพราะจากปัญหาราคาน้ำตาลทราย ซึ่งอยู่ระหว่างการติดตามดูภาวะต้นทุน รวมถึง กลุ่มน้ำอัดลมไม่ใช่สินค้าควบคุม แต่อยากแนะนำให้ผู้บริโภคหันมาดื่มน้ำชนิดอื่นแทน 

 -  ธุรกิจการท่องเที่ยว หลังประกาศใช้ พ.ร.ก.ฉุกเฉิน เผยไม่มั่นใจในสถานการณ์ หอการค้าเตรียมฟื้นเศรษฐกิจ หลังพ้นวิกฤตการเมือง/ของสมาน ธุรกิจการท่องเที่ยวได้รับผลกระทบจากการประกาศใช้ พ.ร.ก.ฉุกเฉิน นักท่องเที่ยวยกเลิกห้องพักแล้วกว่า 50 % เนื่องจากไม่มั่นใจในสถานการณ์ ส่งผลให้บรรยากาศการท่องเที่ยวซบเซาหนัก   ธุรกิจการท่องเที่ยว ได้รับผลกระทบด้านเศรษฐกิจและการท่องเที่ยว หลังจากที่ศูนย์อำนวยการบริหารสถานการณ์ฉุกเฉิน หรือ ศอฉ. ประกาศใช้ พ.ร.ก.บริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน (พ.ร.ก.ฉุกเฉิน) ที่ผ่านมา ส่งผลกระทบต่อภาพลักษณ์ ด้านเศรษฐกิจและการท่องเที่ยว โดยเฉพาะธุรกิจโรงแรม ที่พัก กรุ๊ปทัวร์ กรุ๊ปสัมมนา และสถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ ซึ่งแต่ละแห่งมีนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ ได้ยกเลิกการเดินทาง และแจ้งคืนห้องพัก ห้องประชุมสัมมนาที่จองไว้ล่วงหน้า ซึ่งเป็นโรงแรมอันดับต้นๆของจังหวัด นักท่องเที่ยวได้แจ้งยกเลิกห้องพัก กว่า 50% นอกจากนี้ในส่วนการติดต่อจองห้องประชุมสัมมนาและงานจัดเลี้ยง ก็ได้ถูกยกเลิกด้วยเช่นกัน ส่งผลกระทบต่อรายได้ของโรงแรมเป็นอย่างมาก สาเหตุเกิดจากสถานการณ์ความวุ่นวายทางการเมือง ประกาศใช้ พ.ร.ก.ฉุกเฉิน ประกอบกับต่างประเทศ มีการประกาศเตือนห้ามนักท่องเที่ยวเดินทางเข้ามาในประเทศไทย เนื่องจากมีความไม่ปลอดภัย ยิ่งส่งผลให้นักท่องเที่ยวลดน้อยลงอย่างมาก และบรรยากาศการท่องเที่ยวซบเซา เงียบเหงาอย่างเห็นได้ชัด ต้องยอมรับว่าธุรกิจบางประเภทได้รับผลกระทบจากการประกาศใช้ พ.ร.ก.ฉุกเฉินและเคอร์ฟิว ในพื้นที่จังหวัด เช่น ร้านค้า ร้านอาหาร บริษัททัวร์ โรงแรม ที่พักต่างๆ แต่เป็นเรื่องจำเป็น เนื่องจากเป็นมาตรการเพื่อความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินในช่วงสถานการณ์ที่มีความรุนแรงวุ่นวาย ขณะนี้ได้มีการหารือพูดคุยให้กำลังใจและให้คำแนะนำแก่ผู้ประกอบการหลายๆรายที่ได้รับผลกระทบ ว่าต้องอดทน และประคองธุรกิจให้ผ่านพ้นช่วงวิกฤตนี้ไปก่อน และหลังจากนั้นหากสถานการณ์กลับเข้าสู่สภาวะปกติแล้ว จะต้องมีการหารือร่วมกันหลายฝ่ายทั้งนักการเมืองทุกระดับ ผู้นำมวลชนแขนงต่างๆ องค์กรภาคเอกชน และหน่วยงานภาครัฐ เพื่อกำหนดแนวทางที่ประชาชนส่วนใหญ่ต้องการ รวมทั้งการสร้างความมั่นใจให้นักท่องเที่ยวที่จะต้องรู้สึกได้รับความปลอดภัยทุกด้าน

-  กระทบต่อความน่าลงทุนของไทยในระยะสั้นแล้ว การลงทุนจากต่างประเทศในไทยยังอาจได้รับปัจจัยลบจากปัญหาวิกฤติการเงินระลอกใหม่ของสหรัฐฯ ที่ส่งผลต่อสภาพคล่องทางการเงินทั่วโลก อีกทั้งการชะลอตัวของเศรษฐกิจภูมิภาคหลักของโลกอาจส่งผลต่อสถานะผลประกอบการของบริษัทข้ามชาติ ซึ่งอาจเป็นปัจจัยที่มีผลต่อการชะลอตัวของการลงทุนจากต่างประเทศทั่วโลก อย่างไรก็ตาม หากสถานการณ์การเมืองของไทยมีความชัดเจนมากขึ้น โดยสามารถมีรัฐบาลที่มีเสถียรภาพในการบริหารประเทศ ก็คาดว่าเศรษฐกิจไทยน่าจะมีแรงขับเคลื่อนจากภายในประเทศที่จะช่วยผลักดันให้เศรษฐกิจกลับมาขยายตัวดีขึ้น เนื่องจากปัจจัยพื้นฐานของประเทศยังเอื้ออำนวยต่อการขยายตัวของการบริโภคและการลงทุน ประกอบกับนโยบายของรัฐบาลในระยะต่อๆไปน่าจะยังคงมุ่งเน้นการกระตุ้นการเติบโตทางเศรษฐกิจ เร่งรัดโครงการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานขนาดใหญ่เพื่อฟื้นฟูความเชื่อมั่นและผลักดันให้เศรษฐกิจเติบโตได้ตามเป้าหมาย ทั้งนี้เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ ในภูมิภาค ไทยยังคงมีความได้เปรียบในเรื่องของปัจจัยพื้นฐานของประเทศ อาทิ โครงสร้างพื้นฐานและระบบสาธารณูปโภค การมีคลัสเตอร์อุตสาหกรรม การคุ้มครองการลงทุน ฯลฯ เมื่อเทียบกับหลายๆ ประเทศในภูมิภาค นอกจากนี้ในแง่ของความสะดวกในการทำธุรกิจ ไทยก็ได้มีการปรับปรุงดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยจากการจัดอันดับความง่ายในการทำธุรกิจของธนาคารโลกประจำปี 2552 ไทยมีอันดับเลื่อนขึ้นจากลำดับที่ 15 เป็นลำดับที่13 ซึ่งเป็นลำดับที่สูงกว่ามาเลเซีย (20) จีน (83) เวียดนาม (92) อินเดีย (122) อินโดนีเซีย (129) แสดงให้เห็นว่าในด้านปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการแข่งขัน ไทยยังเป็นที่สนใจของนักลงทุนต่างชาติในการเข้ามาลงทุนระยะยาว สำหรับปัจจัยที่จะมีผลต่อการลงทุนในระยะปานกลางและระยะยาว ได้แก่ ความมีเสถียรภาพทางการเมือง นโยบายของรัฐบาล ทิศทางของนโยบายอุตสาหกรรม เช่น การพัฒนาพลังงานทางเลือก ซึ่งมีความเกี่ยวเนื่องกับอุตสาหกรรมหลายสาขา ไม่ว่าจะเป็นการเกษตร พลังงาน ปิโตรเคมี และยานยนต์ จึงควรมีการวางเป้าหมายนโยบายของอุตสาหกรรมเหล่านี้ให้มีความเชื่อมโยงและสอดคล้องกับแผนการพัฒนาประเทศและแผนการส่งเสริมการลงทุนในระยะยาว นอกจากนี้รัฐควรให้ความสำคัญกับการเร่งการลงทุนในโครงการโครงสร้างพื้นฐานที่สำคัญซึ่งในช่วงที่ผ่านมาได้มีการชะลอตัวลง ส่วนหนึ่งสืบเนื่องจากปัญหาในภาคการเมือง อย่างไรก็ดี ด้วยข้อจำกัดทางด้านงบประมาณและสภาพเศรษฐกิจในปัจจุบัน รัฐควรพิจารณาการลงทุนในโครงการที่มีความสำคัญในลำดับต้นๆ ก่อน อาทิ รถไฟรางคู่และการลงทุนในโครงการอื่นๆ เพื่อพัฒนาระบบขนส่งและโลจิสติกส์ของประเทศ การลงทุนด้านการเกษตรและการปรับปรุงระบบชลประทาน เป็นต้น ซึ่งการลงทุนของรัฐเหล่านี้จะมีผลช่วยกระตุ้นการลงทุนของภาคเอกชนทั้งจากในและต่างประเทศในระยะต่อไปให้กลับมาฟื้นตัวได้
..............................................................................................................

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

นางสาวญาณิศา แสงเพชร

นางสาว ญาณิศา แสงเพชร ผลกระทบจากการคง พ.ร.ก.ฉุกเฉินไว้นั้นในด้านการท่องเที่ยวก็จะส่งผลให้บริษัททัวร์ไม่กล้าที่จะส่งลูกค้ามายังประเทศไทยเพราะไม่มีความมั่นใจในสถานการณ์ซึ่งก็จะส่งผลกระทบเป็นลูกโซ่ต่อธุรกิจที่เกี่ยวข้องไม่ว่าจะเป็นโรงแรม ร้านอาหาร รถทัวร์นำเที่ยว และพนักงานรวมถึงครอบครัวของผู้ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจการท่องเที่ยวด้วยการที่รัฐบาลยังไม่ยกเลิก พ.ร.ก.ฉุกเฉิน ถือเป็นสัญลักษณ์ที่แสดงให้นักท่องเที่ยวเห็นว่าประเทศไทยยังไม่มีความปลอดภัย ซึ่งทำให้บริษัทประกันไม่กล้าทำประกันให้กับนักท่องเที่ยวที่ประสงค์จะเดินทางเข้าประเทศไทย โดยเฉพาะนักท่องเที่ยวกลุ่มประเทศเอเชีย เช่น จีนหรือญี่ปุ่นมีจำนวนลดลงอย่างเห็นได้ชัด

ในด้านเศรษฐกิจปัญหาราคาไข่ไก่สูงขึ้นเกิดจากปัญหาอากาศร้อนจัด แม่ไก่ออกไข่น้อยลง ไข่ในตลาดไม่เพียงพอต่อการบริโภค ประกอบกับต้นทุนวัตถุดิบ โดยเฉพาะอาหารสัตว์ ราคาแพงเมื่อไข่ไก่มีราคาสูงขึ้นน้ำตาลซึ่งเป็นวัตถุดิบที่ใช้ในการทำขนมจึงมีราคาสูงขึ้นตามไปด้วยเพราะโรงงานผลิตหรือผู้ผลิตกักตุนสินค้าไว้เพื่อให้ราคาสูงขึ้นซึ่งปัญหานี้เกิดมานานมากก่อนที่จะมีการชุมนุมทางการเมืองซึ่งรัฐบาลก็ยังไม่มีการแก้ไขราคาน้ำตาลและควบคุมจำนวนวัตถุดิบในการผลิตน้ำตาลได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ภาวะเศรษฐกิจไทยที่บอบช้ำจากวิกฤติเศรษฐกิจโลก และบัญหาทางการเมืองที่เรื้อรัง ทำให้หลาย ๆ ฝ่ายเร่งกอบกู้เศรษฐกิจไทยด้วยมาตรการต่าง ๆ ซึ่งเป็นโจทย์สำคัญของรัฐบาล นายก อภิสิทธิ์ ที่จะต้องสอบให้ผ่าน เพราะนั้นหมายถึง โอกาส ในการแสดงฝีมือ เพื่อกำหนดอนคตการเป็นนายกอีกสมัยดังนั้นคณะกรรมการนโยบายการเงิน จึงมีมติปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายลงร้อยละ 0.75 มาที่ร้อยละ 2 เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจบรรเทาความเสี่ยงช่วงขาลงเศรษฐกิจ

นางสาว ชมพูนุช เอี่ยมจันทร์

รหัส 50473010038 เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

1. ให้นักศึกษาทุกคนแสดงความเห็นว่าการคงประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน ราคาไข่ไก่ ราคาน้ำตาลทราย การท่องเที่ยว การลงทุน มีความเชื่อมโยงกันอย่างไร

- การแก้ไขปัญหา เพื่อช่วยเหลือผู้เลี้ยงไข่ไก่ เพราะราคาไข่ไก่ในตลาดเฉลี่ยฟองละกว่า 2 บาท ซึ่งถือว่าต่ำกว่าราคาต้นทุนที่เฉลี่ย 2.30 บาทต่อฟอง ขณะเดียวกันปริมาณไข่ไก่ที่มีมากกว่าการบริโภคประมาณ 1-2 ล้านฟอง ทำให้ไข่ไก่ในปัจจุบันล้นตลาดและราคาตกต่ำ จึงอยากขอความร่วมมือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องรับไข่ไก่จากผู้เลี้ยงไปบริโภค ส่วนกระทรวงพาณิชย์จะเชื่อมโยงตลาด เพื่อระบายไข่ที่ล้นตลาดให้น้อยลง เพื่อแก้ไขปัญหาให้กับผู้เลี้ยง

- ราคาสินค้าอุปโภคและบริโภค 6 เดือนแรกของปีนี้ แม้จะมีบางรายการปรับขึ้นไปบ้าง แต่หากเทียบผลกระทบต่อต้นทุน ถือว่าเพิ่มในสัดส่วนที่น้อยมาก แต่ก็ยังมีราคาสินค้า เช่น ไข่ไก่ น้ำตาลทราย ส่วนปัญหาน้ำตาลทรายที่ตึงตัว กระทรวงพาณิชย์และกระทรวงอุตสาหกรรม ทำความเข้าใจเพื่อให้ไปในทิศทางเดียวกันแล้ว ซึ่งขณะนี้น้ำตาลทรายในตลาดโลกเริ่มปรับตัวสูงขึ้น จึงเกรงว่าอาจจะมีการนำน้ำตาลทรายในประเทศไปส่งออก เนื่องจากได้ราคาดีกว่าอย่างไรก็ตาม จะต้องมีการติดตามพฤติกรรมอย่างใกล้ชิด ทั้งนี้เชื่อว่า ขณะนี้กระทรวงอุตสาหกรรม ได้นำน้ำตาลทราย ไม่น้อยกว่า 1 แสนกระสอบ ออกมาเร่งระบายในตลาดในประเทศ และคาดว่า น้ำตาลทรายจะกลับเข้าสู่ภาวะปกติได้

- ธุรกิจการท่องเที่ยว หลังประกาศใช้ พ.ร.ก.ฉุกเฉิน เผยไม่มั่นใจในสถานการณ์ หอการค้าเตรียมฟื้นเศรษฐกิจ หลังพ้นวิกฤตการเมือง/ของสมาน ธุรกิจการท่องเที่ยวได้รับผลกระทบจากการประกาศใช้ พ.ร.ก.ฉุกเฉิน นักท่องเที่ยวยกเลิกห้องพักแล้วกว่า 50 % เนื่องจากไม่มั่นใจในสถานการณ์ ส่งผลให้บรรยากาศการท่องเที่ยวซบเซาหนัก ธุรกิจการท่องเที่ยว ได้รับผลกระทบด้านเศรษฐกิจและการท่องเที่ยว หลังจากที่ศูนย์อำนวยการบริหารสถานการณ์ฉุกเฉิน หรือ ศอฉ. ประกาศใช้ พ.ร.ก.บริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน (พ.ร.ก.ฉุกเฉิน) ที่ผ่านมา ส่งผลกระทบต่อภาพลักษณ์ ด้านเศรษฐกิจและการท่องเที่ยว โดยเฉพาะธุรกิจโรงแรม ที่พัก กรุ๊ปทัวร์ กรุ๊ปสัมมนา และสถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ ซึ่งแต่ละแห่งมีนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ ได้ยกเลิกการเดินทาง และแจ้งคืนห้องพัก ห้องประชุมสัมมนาที่จองไว้ล่วงหน้า ซึ่งเป็นโรงแรมอันดับต้นๆของจังหวัด นักท่องเที่ยวได้แจ้งยกเลิกห้องพัก กว่า 50% นอกจากนี้ในส่วนการติดต่อจองห้องประชุมสัมมนาและงานจัดเลี้ยง ก็ได้ถูกยกเลิกด้วยเช่นกัน ส่งผลกระทบต่อรายได้ของโรงแรมเป็นอย่างมาก สาเหตุเกิดจากสถานการณ์ความวุ่นวายทางการเมือง ประกาศใช้ พ.ร.ก.ฉุกเฉิน ประกอบกับต่างประเทศ มีการประกาศเตือนห้ามนักท่องเที่ยวเดินทางเข้ามาในประเทศไทย เนื่องจากมีความไม่ปลอดภัย ยิ่งส่งผลให้นักท่องเที่ยวลดน้อยลงอย่างมาก และบรรยากาศการท่องเที่ยวซบเซา เงียบเหงาอย่างเห็นได้ชัด ต้องยอมรับว่าธุรกิจบางประเภทได้รับผลกระทบจากการประกาศใช้ พ.ร.ก.ฉุกเฉินและเคอร์ฟิว ในพื้นที่จังหวัด เช่น ร้านค้า ร้านอาหาร บริษัททัวร์ โรงแรม ที่พักต่างๆ แต่เป็นเรื่องจำเป็น เนื่องจากเป็นมาตรการเพื่อความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินในช่วงสถานการณ์ที่มีความรุนแรงวุ่นวาย ขณะนี้ได้มีการหารือพูดคุยให้กำลังใจและให้คำแนะนำแก่ผู้ประกอบการหลายๆรายที่ได้รับผลกระทบ

พานุมาศ อุตตะรถ รหัส 50473010050 เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

อธิบดีกรมการค้าภายใน กล่าวว่า ต้นเหตุสำคัญที่ราคาไข่ไก่ปรับสูงขึ้น เกิดจากความต้องการที่เพิ่มขึ้นกว่า 20% ในช่วงสถานการณ์การชุมนุมและสภาพอากาศร้อน ส่งผลให้ไก่ออกไข่น้อย ปัจจุบันราคาไข่ไก่ขายส่งเฉลี่ยอยู่ที่ฟองละ 3.30 บาท และราคาขายปลีกเฉลี่ยอยู่ที่ฟองละ 3.50 บาท ขณะที่ต้นทุนอยู่ที่ฟองละ 2.45 บาท

“ตอนนี้เราได้ขอความร่วมมือให้ตรึงราคาไข่ไก่ไปอย่างน้อย 3 เดือนตามนโยบายของ รมว.พาณิชย์ เพื่อบรรเทาภาระค่าใช้จ่ายให้แก่ผู้บริโภค โดยจะตรึงราคาหน้าฟาร์มไข่ไก่คละไว้ที่ฟองละ 2.80 บาท ส่งผลให้ราคาแนะนำเฉลี่ยอยู่ที่ฟองละ 3.00 บาท และราคาขายปลีกแนะนำอยู่ที่ 3.30 บาท”

ทั้งนี้ ราคาดังกล่าวจะประกาศใช้ในพื้นที่กรุงเทพฯ และปริมณฑล ส่วนราคาในภูมิภาคอื่นๆ เชื่อว่าจะมีราคาที่ไม่แตกต่างกันมากนัก โดยจากการตรวจสอบของเจ้าหน้าที่หลังมีการตรึงราคายังไม่พบว่ามีการจำหน่าย เกินราคาแนะนำ อย่างไรก็ตามกรมฯจะติดตามสถานการณ์ด้านการผลิตและการตลาดอย่างใกล้ชิดหาก มีการเปลี่ยนแปลงจะพิจารณาราคาไข่ไก่ที่เหมาะสมกับตลาดอีกครั้ง

อธิบดีกรมการค้าภายในยังกล่าวถึงภาวะการจำหน่ายเนื้อหมูในขณะนี้ โดยระบุว่า กระทรวงพาณิชย์มี

ด้านสถานการณ์ราคาน้ำตาลทราย คาดว่าในเดือนพฤศจิกายน 2553 นี้ ราคาน้ำตาลทรายน่าจะมีแนวโน้มปรับตัวลดลงจากสาเหตุคณะกรรมการร่วมภาครัฐและเอกชน (กรอ.) ได้มีการเสนอให้มีการยกเลิกการชดเชยหนี้ในกองทุนอ้อยและน้ำตาลทรายที่ปัจจุบันชดเชยอยู่ที่ 5 บาทต่อกิโลกรัม หรือประมาณ 1 หมื่นล้านบาทต่อปี โดยสัดส่วนการลดราคาลงควรจะเป็นเท่าใดและควรดำเนินการอย่างไรขึ้นอยู่กับข้อเสนอของคณะกรรมการร่วมรัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมน้ำตาลทรายที่กระทรวงอุตสาหกรรมเป็นผู้จัดตั้งขึ้น

นายกรณ์ จาติกวณิช รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง กล่าวว่า การพิจารณาว่าจะต่ออายุมาตรการลดภาระค่าครองชีพให้แก่ประชาชน ขณะนี้กระทรวงการคลังยังอยู่ระหว่างการศึกษาข้อดี-ข้อเสีย ซึ่งยังมีเวลาอีก

นางสาวนิสา พจนาท

รหัสนักศึกษา 50473010007                                                                                                                    โปรแกรมวิชา เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

ให้นักศึกษาทุกคนแสดงความเห็นว่าการคงประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน  ราคาไข่ไก่  ราคาน้ำตาลทราย  การท่องเที่ยว  การลงทุน  มีความเชื่อมโยงกันอย่างไร 

จากการที่รัฐบาลคงประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน  มีความเชื่อมโยงกับการท่องเที่ยว คือโดยมุมมองส่วนตัวแล้วทั้งเห็นด้วยและไม่เห็นด้วย เนื่องจากเป็นการต่ออายุเพื่อความมั่นคงของประเทศ เป็นการป้องปรามกลุ่มผู้ไม่หวังดีที่จะก่อความไม่สงบขึ้นในประเทศ และเพื่อให้เจ้าหน้าที่บ้านเมืองดำเนินการได้อย่างสะดวกและรวดเร็วแต่การคงประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน  ก็จะส่งผลกระทบด้านการท่องเที่ยวอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ โดยเฉพาะความเชื่อมั่นของต่างประเทศด้านความปลอดภัย  ดังนั้น รัฐบาลไม่ควรแต่จะมุ่งต่ออายุโดยอ้างเหตุผลด้านความมั่นคงเพียงอย่างเดียว อาจจะต้องมีการดำเนินมาตรการในเชิงรุกเพื่อกระตุ้นและสร้างความเชื่อมั่นให้กลับคืนมาด้วยการออกสื่อประชาสัมพันธ์สร้างความมั่นใจให้กับนักท่องเที่ยวและประเทศต่างๆ ทั่วโลกได้รับทราบแม้ว่าจะมีการออกพ.ร.ก.ฉุกเฉิน  แต่ประเทศไทยก็ยังมีความปลอดภัยอยู่ พร้อมกันนี้ ยังต้องมีการออกมาตรการเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากการออกพ.ร.ก.ฉุกเฉิน ดังกล่าว โดยเฉพาะผู้ประกอบการธุรกิจด้านการท่องเที่ยว

ส่วนราคาไข่ไก่ที่เพิ่มสูงขึ้นเกิดจากภาวะภัยแล้ง ขาดน้ำ และสภาพอากาศที่ร้อนจัด โดยมีอุณหภูมิสูงขึ้น ส่งผลให้แม่ไก่เกิดอาการเครียด กินอาหารได้น้อย และทำให้เปอร์เซ็นต์การให้ไข่ของแม่ไก่ลดลง รวมถึงผลผลิตไข่ไก่มีขนาดเล็กลงและเกิดโรคระบาด ดั้งนั้น รัฐบาลจำเป็นต้องแก้ไขทั้งระบบ เริ่มตั้งแต่ราคาขายหน้าฟาร์มที่ต้องไม่สูงจนเกินไป ซึ่งขณะนี้ ไข่ไก่หน้าฟาร์มมีราคาขายอยู่ที่ 2.80 บาทต่อฟอง เพิ่มสูงขึ้นจากราคาปกติ ที่ซื้อขายอยู่ในราคา 2.60 บาทต่อฟอง โดยมีพ่อค้าคนกลาง เป็นผู้กำหนดราคากลาง ไม่ใช่เกษตรกรผู้เลี้ยง

                ส่วนราคาน้ำตาลทราย มีปัจจัยหลักมาจาก ราคา น้ำตาลทรายตลาดโลกที่ปรับตัวสูงขึ้น จนอยู่ในระดับที่สูงกว่าราคาในประเทศ ส่งผลให้มีน้ำตาลทรายบางส่วนที่ กำหนดให้ใช้ในประเทศถูกส่งออกไปต่างประเทศที่ได้ราคาสูงกว่า ประกอบกับการที่ภาคอุตสาหกรรมที่ผลิต สินค้าส่งออกบางส่วน ได้หันมาใช้น้ำตาลทรายในประเทศที่มีราคาต่ำ แทนการใช้น้ำตาลทรายจากโควตาส่งออก ที่มีราคาสูงกว่า ทำให้เกิดการแย่งใช้น้ำตาลทรายในประเทศกันอย่างกว้างขวาง

ส่วนทางด้านการลงทุน กระทบต่อความน่าลงทุนของไทยในระยะสั้นแล้ว การลงทุนจากต่างประเทศในไทยยังอาจได้รับปัจจัยลบจากปัญหาวิกฤติการเงินระลอกใหม่ของสหรัฐฯ ที่ส่งผลต่อสภาพคล่องทางการเงินทั่วโลก อีกทั้งการชะลอตัวของเศรษฐกิจภูมิภาคหลักของโลกอาจส่งผลต่อสถานะผลประกอบการของบริษัทข้ามชาติ ซึ่งอาจเป็นปัจจัยที่มีผลต่อการชะลอตัวของการลงทุนจากต่างประเทศทั่วโลกอย่างไรก็ตาม หากสถานการณ์การเมืองของไทยมีความชัดเจนมากขึ้น โดยสามารถมีรัฐบาลที่มีเสถียรภาพในการบริหารประเทศ ก็คาดว่าเศรษฐกิจไทยน่าจะมีแรงขับเคลื่อนจากภายในประเทศที่จะช่วยผลักดันให้เศรษฐกิจกลับมาขยายตัวดีขึ้น เนื่องจากปัจจัยพื้นฐานของประเทศยังเอื้ออำนวยต่อการขยายตัวของการบริโภคสำหรับปัจจัยที่จะมีผลต่อการลงทุนในระยะปานกลางและระยะยาว ได้แก่ ความมีเสถียรภาพทางการเมือง นโยบายของรัฐบาล ทิศทางของนโยบายอุตสาหกรรม เช่น การพัฒนาพลังงานทางเลือก ซึ่งมีความเกี่ยวเนื่องกับอุตสาหกรรมหลายสาขา ไม่ว่าจะเป็นการเกษตร พลังงาน ปิโตรเคมี และยานยนต์ จึงควรมีการวางเป้าหมายนโยบายของอุตสาหกรรมเหล่านี้ให้มีความเชื่อมโยงและสอดคล้องกับแผนการพัฒนาประเทศและแผนการส่งเสริมการลงทุนในระยะยาว รัฐควรพิจารณาการลงทุนในโครงการที่มีความสำคัญในลำดับต้นๆ ก่อน อาทิ รถไฟรางคู่และการลงทุนในโครงการอื่นๆ เพื่อพัฒนาระบบขนส่งและโลจิสติกส์ของประเทศ การลงทุนด้านการเกษตรและการปรับปรุงระบบชลประทาน เป็นต้น ซึ่งการลงทุนของรัฐเหล่านี้จะมีผลช่วยกระตุ้นการลงทุนของภาคเอกชนทั้งจากในและต่างประเทศในระยะต่อไปให้กลับมาฟื้นตัวได้

       

 

รัชนีกร นิยมทัศน์

นางสาวรัชนีกร  นิยมทัศน์

 รหัสนักศึกษา 50473010006

โปรแกรมวิชาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

ให้นักศึกษาทุกคนแสดงความเห็นว่าการคงประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน  ราคาไข่ไก่  ราคาน้ำตาลทราย  การท่องเที่ยว  การลงทุน  มีความเชื่อมโยงกันอย่างไร

  นางวัชรี วิมุกตายน อธิบดีกรมการค้าภายใน กล่าวถึงสถานการณ์ราคาสินค้าอุปโภคที่เพิ่มสูงขึ้นจนน่าเป็นห่วง โดยเฉพาะราคาไข่ไก่และเนื้อหมูที่พุ่งสูงขึ้นตามต้นทุน และผลผลิตที่น้อยลง เรื่องดังกล่าว ตนเองได้เรียกสมาคมผู้เลี้ยงไก่ไข่ สมาคมผู้ผลิต กลุ่มผู้ค้า และผู้ส่งออก และผู้ที่เกี่ยวข้องทั้งระบบเข้ามาหารือถึงสถานการณ์ของราคาไข่ไก่ที่ในช่วงเดือนพฤษภาคม 2553 ที่ผ่านมา ซึ่งมีการปรับขึ้นราคาต่อเนื่องและมีแนวโน้มจะปรับราคาขึ้นอีก
    อธิบดีกรมการค้าภายใน กล่าวว่า ต้นเหตุสำคัญที่ราคาไข่ไก่ปรับสูงขึ้น เกิดจากความต้องการที่เพิ่มขึ้นกว่า 20% ในช่วงสถานการณ์การชุมนุมและสภาพอากาศร้อน ส่งผลให้ไก่ออกไข่น้อย ปัจจุบันราคาไข่ไก่ขายส่งเฉลี่ยอยู่ที่ฟองละ 3.30 บาท และราคาขายปลีกเฉลี่ยอยู่ที่ฟองละ 3.50 บาท ขณะที่ต้นทุนอยู่ที่ฟองละ 2.45 บาท  
    ทั้งนี้ ราคาดังกล่าวจะประกาศใช้ในพื้นที่กรุงเทพ และปริมณฑล ส่วนราคาในภูมิภาคอื่นๆ เชื่อว่าจะมีราคาที่ไม่แตกต่างกันมากนัก โดยจากการตรวจสอบของเจ้าหน้าที่หลังมีการตรึงราคายังไม่พบว่ามีการจำหน่าย เกินราคาแนะนำ อย่างไรก็ตามกรมฯจะติดตามสถานการณ์ด้านการผลิตและการตลาดอย่างใกล้ชิดหาก มีการเปลี่ยนแปลงจะพิจารณาราคาไข่ไก่ที่เหมาะสมกับตลาดอีกครั้ง

   นายยรรยง พวงราช ปลัดกระทรวงพาณิชย์ เปิดเผยว่า จากภาพรวมของราคาสินค้าอุปโภคและบริโภค 6 เดือนแรกของปีนี้ แม้จะมีบางรายการปรับขึ้นไปบ้าง แต่หากเทียบผลกระทบต่อต้นทุน ถือว่าเพิ่มในสัดส่วนที่น้อยมาก แต่ก็ยังมีราคาสินค้า เช่น ไข่ไก่น้ำตาลทราย หากดูผลกระทบต่อต้นทุนถือว่าไม่มาก

"แต่ยอมรับว่า ราคาน้ำตาลทรายและไข่ไก่ ตึงตัว โดยกระทรวงพาณิชย์ ได้เร่งแก้ไขปัญหาราคาไข่ไก่ เชื่อว่า จะกลับเข้าสู่ภาวะปกติได้เร็วๆ นี้ "

ส่วนปัญหาน้ำตาลทรายที่ตึงตัว กระทรวงพาณิชย์และกระทรวงอุตสาหกรรม ทำความเข้าใจเพื่อให้ไปในทิศทางเดียวกันแล้ว ซึ่งขณะนี้น้ำตาลทรายในตลาดโลกเริ่มปรับตัวสูงขึ้น จึงเกรงว่าอาจจะมีการนำน้ำตาลทรายในประเทศไปส่งออก เนื่องจากได้ราคาดีกว่า   อย่างไรก็ตาม จะต้องมีการติดตามพฤติกรรมอย่างใกล้ชิด ทั้งนี้เชื่อว่า ขณะนี้กระทรวงอุตสาหกรรม ได้นำน้ำตาลทรายไม่น้อยกว่า 1 แสนกระสอบ ออกมาเร่งระบายตลาดในประเทศ และคาดว่า น้ำตาลทรายจะกลับเข้าสู่ภาวะปกติได้   นายยรรยง กล่าวด้วยว่า ขณะนี้กระทรวงพาณิชย์ยังไม่ได้รับรายงานว่า ทางกลุ่มผู้ประกอบการน้ำอัดลม จะขอปรับขึ้นราคาน้ำอัดลมเพิ่ม เพราะจากปัญหาราคาน้ำตาลทราย ซึ่งอยู่ระหว่างการติดตามดูภาวะต้นทุน รวมถึง กลุ่มน้ำอัดลมไม่ใช่สินค้าควบคุม แต่อยากแนะนำให้ผู้บริโภคหันมาน้ำชนิดอื่นแทน 

     ธุรกิจการท่องเที่ยว หลังประกาศใช้ พ.ร.ก.ฉุกเฉิน เผยไม่มั่นใจในสถานการณ์  หลังพ้นวิกฤตการเมือง ธุรกิจการท่องเที่ยวได้รับผลกระทบจากการประกาศใช้ พ.ร.ก.ฉุกเฉิน นักท่องเที่ยวยกเลิกห้องพักกว่า 50 % เนื่องจากไม่มั่นใจในสถานการณ์ ส่งผลให้บรรยากาศการท่องเที่ยวซบเซาหนัก   ธุรกิจการท่องเที่ยว ได้รับผลกระทบด้านเศรษฐกิจและการท่องเที่ยว หลังจากที่ศูนย์อำนวยการบริหารสถานการณ์ฉุกเฉิน หรือ ศอฉ. ประกาศใช้ พ.ร.ก.บริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน (พ.ร.ก.ฉุกเฉิน) ที่ผ่านมา ส่งผลกระทบต่อภาพลักษณ์ ด้านเศรษฐกิจและการท่องเที่ยว โดยเฉพาะธุรกิจโรงแรม สถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ ซึ่งแต่ละแห่งมีนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ ได้ยกเลิกการเดินทาง และแจ้งคืนห้องพัก ที่จองไว้ล่วงหน้า ส่งผลกระทบต่อรายได้ของโรงแรมเป็นอย่างมาก สาเหตุเกิดจากสถานการณ์ความวุ่นวายทางการเมือง  ประกอบกับต่างประเทศ มีการประกาศเตือนห้ามนักท่องเที่ยวเดินทางเข้ามาในประเทศไทย เนื่องจากไม่ปลอดภัย ยิ่งส่งผลให้นักท่องเที่ยวลดน้อยลงอย่างมาก

นอกจากนี้ การลงทุนจากต่างประเทศในไทยยังอาจได้รับปัจจัยลบจากปัญหาวิกฤติการเงินระลอกใหม่ของสหรัฐฯ ที่ส่งผลต่อสภาพคล่องทางการเงินทั่วโลก อีกทั้งการชะลอตัวของเศรษฐกิจภูมิภาคหลักของโลกอาจส่งผลต่อสถานะผลประกอบการของบริษัทข้ามชาติ ซึ่งอาจเป็นปัจจัยที่มีผลต่อการชะลอตัวของการลงทุนจากต่างประเทศทั่วโลก อย่างไรก็ตาม หากสถานการณ์การเมืองของไทยมีความชัดเจนมากขึ้น โดยสามารถมีรัฐบาลที่มีเสถียรภาพในการบริหารประเทศ คาดว่าเศรษฐกิจไทยน่าจะมีแรงขับเคลื่อนจากภายในประเทศที่จะช่วยผลักดันให้เศรษฐกิจกลับมาขยายตัวดีขึ้น เนื่องจากปัจจัยพื้นฐานของประเทศยังเอื้ออำนวยต่อการขยายตัวของการบริโภคและการลงทุน ประกอบกับนโยบายของรัฐบาลในระยะต่อๆไปน่าจะยังคงมุ่งเน้นการกระตุ้นการเติบโตทางเศรษฐกิจ เร่งรัดโครงการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานขนาดใหญ่เพื่อฟื้นฟูความเชื่อมั่นและผลักดันให้เศรษฐกิจเติบโตได้ตามเป้าหมาย แสดงให้เห็นว่าในด้านปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการแข่งขัน ไทยยังเป็นที่สนใจของนักลงทุนต่างชาติในการเข้ามาลงทุนระยะยาว สำหรับปัจจัยที่จะมีผลต่อการลงทุนในระยะปานกลางและระยะยาว ได้แก่ ความมีเสถียรภาพทางการเมือง นโยบายของรัฐบาล ทิศทางของนโยบายอุตสาหกรรม เช่น การพัฒนาพลังงานทางเลือก ซึ่งมีความเกี่ยวเนื่องกับอุตสาหกรรมหลายสาขา ไม่ว่าจะเป็นการเกษตร พลังงาน ปิโตรเคมี และยานยนต์ จึงควรมีการวางเป้าหมายนโยบายของอุตสาหกรรมเหล่านี้ให้มีความเชื่อมโยงและสอดคล้องกับแผนการพัฒนาประเทศและแผนการส่งเสริมการลงทุนในระยะยาว อย่างไรก็ดี ด้วยข้อจำกัดทางด้านงบประมาณและสภาพเศรษฐกิจในปัจจุบัน รัฐควรพิจารณาการลงทุนในโครงการที่มีความสำคัญในลำดับต้นๆ ก่อน อาทิ รถไฟรางคู่และการลงทุนในโครงการอื่นๆ เพื่อพัฒนาระบบขนส่งและโลจิสติกส์ของประเทศ การลงทุนด้านการเกษตรและการปรับปรุงระบบชลประทาน เป็นต้น ซึ่งการลงทุนของรัฐเหล่านี้จะมีผลช่วยกระตุ้นการลงทุนของภาคเอกชนทั้งจากในและต่างประเทศในระยะต่อไปให้กลับมาฟื้นตัวได้


 

 

นายชัยนุกูล เสือเจริญ.

นายชัยนุกูล  เสือเจริญ.รหัสนักศึกษา  50473010017

โปรแกรมวิชาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

---------------------------------------------------------------------------------------------

 ให้นักศึกษาทุกคนแสดงความเห็นว่าการคงประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน  ราคาไข่ไก่  ราคาน้ำตาลทราย  การท่องเที่ยว  การลงทุน  มีความเชื่อมโยงกันอย่างไร 

 

-           ราคาไข่ไก่  ขณะนี้เกษตรกรผู้เลี้ยงไก่ไข่ กำลังประสบปัญหาอย่างหนัก เนื่องจากในช่วงต้นปีที่ผ่านมา ประเทศไทย ต้องประสบภาวะภัยแล้ง ขาดน้ำ และสภาพอากาศที่ร้อนจัด โดยมีอุณหภูมิสูงขึ้นผิดปกติถึง 43-44 องศาเซลเซียส เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีที่ผ่านมา (2552) ขณะที่อุณหภูมิที่เหมาะสมในการเลี้ยงไก่ไข่อยู่ที่ 28-30 องศาเซลเซียสเท่านั้น ส่งผลให้แม่ไก่เกิดอาการเครียด กินอาหารได้น้อย และทำให้เปอร์เซ็นต์การให้ไข่ของแม่ไก่ลดลง รวมถึงผลผลิตไข่ไก่มีขนาดเล็กลง นอกจากนี้ บางพื้นที่ขาดน้ำสะอาดเพื่อให้ไก่ กิน ก่อให้เกิดไก่ป่วยตามมา ผลผลิตจึงลดลงมาก และในวงการเลี้ยงไก่กำลังประสบปัญหาโรคระบาดในไก่ไข่ คือ โรค IB หรือโรคหลอดลมอักเสบ โดยเกิดการระบาดช่วงฤดูหนาวที่ผ่านมา ซึ่งเกิดในลูกไก่ไข่ที่มีอายุ 1-3 สัปดาห์ ซึ่งทำให้เมื่อลูกไก่ชุดนี้โตขึ้นเป็น แม่ไก่ในปัจจุบัน จะทำให้รังไข่ฝ่อ ผลผลิตไข่ไก่ที่ได้เกิดความเสียหาย จึงอยากแจ้งข่าวให้เกษตรกรผู้เลี้ยงไก่ไข่เข้มงวดในเรื่องการ ป้องกันโรค  ปัจจุบันปริมาณแม่ไก่ไข่ยืนก รงทั่วประเทศเหลืออยู่ประมาณ 35-36 ล้านตัว ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีที่แล้วกว่า 20% มีผลให้ปริมาณไข่ไก่ทั่วประเทศในขณะนี้อยู่ที่ 25-26 ล้านฟองต่อวัน  จาก 28-30 ล้านฟองต่อวัน ซึ่งอาจส่งกระทบโดยตรงต่อราคาไข่ไก่ ตามหลักอุปสงค์อุปทานและกลไกตลาด แต่จะเป็นเพียงช่วงระยะเวลาสั้นๆ เท่านั้น เนื่องจากขณะนี้กำลังเข้าสู่ช่วงฤดูฝน ที่จะมีอาหารธรรมชาติเพิ่มมากขึ้น และด้วยไข่ไก่เป็นสินค้าเกษตรที่มี ช่วงวงจรเวลาสั้น ความเสียหายของผลผลิตไข่ไก่จึงจะลดลงและเข้าสู่ภาวะ ปกติในที่สุด

 

-           ราคาน้ำตาล  สถานการณ์การจำหน่ายน้ำตาลทรายขณะนี้ ราคาขายปลีกน้ำตาลเพิ่มสูงกว่าเพดานที่กำหนด กก.ละ 23.50 บาท โดยราคาสูงตั้งแต่ต้นทางจากโรงงานจนถึงร้านค้าส่งรายใหญ่ ซึ่งกระทรวงเพิ่มความเข้มงวดในการตรวจเส้นทางการจำหน่ายมากขึ้น  การตัดสิทธิการใช้น้ำตาลโควตา ค. 5 ปี ถือเป็นการลงโทษที่รุนแรง ที่ผ่านมาผู้ส่งออกอาหารถูกกล่าวหาว่าเป็นต้นเหตุ แต่เราใช้ตามสิทธิและขนน้ำตาลตามใบอนุญาตเท่านั้น ยืนยันว่าไม่มีการกักตุน  โรงงานน้ำตาลทราย เปิดเผยว่า จากการประชุมร่วม 3 สมาคมโรงงานน้ำตาลทรายมีความเห็นร่วมกันว่า น้ำตาลทรายเพื่อการบริโภคภายในประเทศจะไม่ขาดแคลนอย่างแน่นอน เนื่องจากโรงงานน้ำตาลสำรองน้ำตาลไว้ให้ผู้บริโภคอย่างเพียงพอ และขณะนี้อยู่ระหว่างการหีบอ้อยผลิตน้ำตาลทราย จึงไม่อยากให้ทุกคนวิตกกังวลในเรื่องนี้  ส่วนกรณีที่มีรายงานข่าวอ้างว่า สาเหตุที่น้ำตาลทรายเริ่มขาดตลาดเพราะโรงงานส่งสินค้าลดลงนั้น น่าจะเป็นข้อมูลที่คลาดเคลื่อน เพราะมีการนำน้ำตาลออกจำหน่ายสัปดาห์ละ 4.03 แสนกระสอบ ทุกวันจันทร์ แต่ผู้บริโภคและร้านค้ามีความต้องการซื้อเพิ่มขึ้น เนื่องจากกลัวสินค้าขาดแคลน

-          การท่องเที่ยว   ผลลบต่อจิตวิทยาการเดินทางท่องเที่ยวและการใช้จ่ายของประชาชนภายในประเทศ  รองลงมา  ได้แก่  ราคาน้ำมันขายปลีกในประเทศที่เริ่มแพงขึ้น  รวมถึงปัญหาค่าครองชีพและราคาสินค้าที่ทรงตัวระดับสูง   ส่งผลกระทบต่อภาคอุตสาหกรรมและเศรษฐกิจโดยรวมค่อนข้างมาก  โดยเฉพาะอุตสาหกรรมท่องเที่ยว  ส่วนภาคส่งออกยังพอขับเคลื่อนไปได้  หากไม่มีการปิดเส้นทางหรือสนามบิน  แต่การลงทุนระยะสั้นในไตรมาส  2  คงหายไปประมาณ  0.5%  ซึ่งทางออกต้องมีการเจรจากัน  และไม่เห็นด้วยหากรัฐบาลจะใช้ความรุนแรง
    นายกรัฐมนตรีได้กำชับให้รัฐมนตรีที่เกี่ยวข้องกับการค้าการลงทุนได้ประชุมเร่งชี้แจงทำความเข้าใจกับเอกชน  นักลงทุน  และการประกาศ   พ.ร.ก.ฉุกเฉินน่าจะสร้างความเชื่อมั่นให้นักลงทุนมากขึ้น  เนื่องจากมีขั้นตอนดำเนินการและมีการเปิดโอกาสให้สื่อเข้าร่วมสังเกตการณ์มากขึ้น  นักลงทุนเอกชนถึงสภาวะเศรษฐกิจของไทยระหว่างที่กลุ่มคนเสื้อแดงชุมนุมบริเวณแยกราชประสงค์กระทบต่อการท่องเที่ยว  ธุรกิจโรงแรม  ซึ่งการท่องเที่ยวและธุรกิจโรงแรมได้รับผลกระทบจากการประเมินเบื้องต้น   3-4   หมื่นล้านต่อเดือน  คิดว่าผู้ประกอบการมีสิทธิฟ้องร้องได้  โดยทางสภาหอการค้าไทยจะเปิดสายด่วนชี้แจงให้แก่นักลงทุนด้วย

-          การลงทุน  ความต้องการบริโภคภายในประเทศมีสัญญาณดีขึ้น แต่ภัยแล้ง และการทยอยถอนมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจที่ส่งเสริมการบริโภค และความไม่แน่นอนทางการเมืองอาจเป็นปัจจัยฉุดรั้งการเติบโตของเศรษฐกิจหุ้นไทยถูกเงินนอกทะลัก  ปัญหาความวุ่นวายทางการเมืองที่เกิดขึ้นนั้นอาจจะส่งผลให้การปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายในช่วงกลางเดือนเมษายนนี้อาจจะต้องเลื่อนออกไป รวมทั้งยังเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลให้ GDP ต่ำกว่าที่หลายหลายคาดการณ์ไว้ ส่วนแนวโน้มตลาดหุ้นกลับมองว่าจะยังไม่ได้รับผลกระทบจากปัญหาทางการเมือง เพราะราคาหุ้นค่อนข้างถูกโดยการเข้าลงทุนส่วนใหญ่จะสลับเข้าลงทุนอยู่ 2 กลุ่ม คือกลุ่มพลังงาน เช่น  PTT TOP และ PTTEP กลุ่มธนาคารพาณิชย์ เช่น BBL SCB และ KBANK เนื่องจากเป็นหุ้นขนาดใหญ่พื้นฐานดีและยังพอมีอัพไซด์ ทั้งนี้แม้ปัจจุบันราคาหุ้นกลุ่มอสังหาริมทรัพย์จะปรับตัวลดลงต่อเนื่อง แต่ฝ่ายวิจัยกลับมองว่าเป็นหุ้นที่น่าลงทุนเป็นอย่างมากเพราะเป็นหุ้นที่พื้นฐานดีและแม้ว่ามาตรากระตุ้นภาษีอสังหาริมทรัพย์จะหมดอายุภายในเร็วๆนี้เชื่อว่าจะไม่กระทบต่อปัจจัยฟื้นตัวของหุ้น

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

นางสาวน้ำฝน เพาะจะโปะ

นางสาวน้ำฝน  เพาะจะโปะ รหัสนักศึกษา 50473010009

โปรแกรม วิชาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

ให้นักศึกษาทุกคนแสดงความเห็นว่าการคงประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน  ราคาไข่ไก่  ราคาน้ำตาลทราย  การท่องเที่ยว  การลงทุน  มีความเชื่อมโยงกันอย่างไร 

การประกาศภาวะฉุกเฉิน

สืบเนื่องจากที่รัฐบาลได้ประกาศภาวะฉุกเฉินที่มีความร้ายแรง เพื่อบังคับใช้พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 ในเขตท้องที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล เมื่อวันที่ 7 เมษายน 2553 และเมื่อวันที่ 13 และ 16 พฤษภาคม 2553 ได้มีการประกาศภาวะฉุกเฉินเพิ่มเติมในพื้นที่ภาคกลาง ภาคเหนือ และภาคอีสาน รวมพื้นที่ภายใต้ประกาศภาวะฉุกเฉินที่มีความร้ายแรง ทั้งสิ้น 24 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดกรุงเทพมหานคร จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดปทุมธานี จังหวัดนครปฐม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จังหวัดชลบุรี จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดเชียงราย จังหวัดลำปาง จังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดน่าน จังหวัดขอนแก่น จังหวัดอุดรธานี จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดศรีษะเกษ จังหวัดอุบลราชธานี จังหวัดมหาสารคาม จังหวัดร้อยเอ็ด จังหวัดหนองบัวลำภู จังหวัดสกลนคร จังหวัดกาฬสินธิ์ จังหวัดมุกดาหาร ซึ่งการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินที่มีความร้ายแรง ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 7 เมษายน 2553 นั้น จะครบกำหนดเวลาสิ้นสุดในวันที่ 6 กรกฎาคม 2553 นี้ หากรัฐบาลประสงค์จะขยายระยะเวลา รัฐบาลจะต้องประกาศให้มีการขายระยะเวลาเมื่อสิ้นระยะเวลา 3 เดือน ตามพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 โดยต้องผ่านความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี
            องค์กร บุคคล และกลุ่มบุคคล ที่มีรายชื่อข้างท้าย ขอคัดค้านการขยายระยะเวลาการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน ด้วยเหตุผลดังต่อไปนี้
 1.เนื่องจากการประกาศภาวะฉุกเฉินที่มีความร้ายแรงต้องเป็นมาตรการพิเศษและชั่วคราวและมีผลบังคับอยู่เพียงในช่วงระยะเวลาที่ภัยคุกคามความอยู่รอดของชาติยังคงอยู่เท่านั้น รวมทั้งต้องเป็นสถานการณ์ที่ผิดปกติและการใช้มาตรการธรรมดาไม่เพียงพอที่จะดำเนินการควบคุมสถานการณ์ได้

แต่สถานการณ์ปัจจุบันได้คลี่คลายลงแล้ว ซึ่งรัฐบาลสามารถควบคุมสถานการณ์บ้านเมืองให้อยู่สภาวะปกติได้ จึงไม่มีเหตุความจำเป็นใด ๆ ให้ต้องคงประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินที่มีความร้ายแรงไว้อีกต่อไป

2.นับแต่มีการประกาศใช้พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 รัฐบาลได้ใช้อำนาจพิเศษตามพระราชกำหนดดังกล่าวอันเป็นการลิดรอนสิทธิเสรีภาพของประชาชนในการแสดงความคิดเห็นและความเชื่อทางการเมือง ไม่ว่าจะเป็นการห้ามมิให้ประชาชนเข้าร่วมชุมนุม การจัดกิจกรรมต่าง ๆ ที่เห็นว่า เป็นการแสดงความเห็นที่แตกต่างจากรัฐบาล อีกทั้งการประกาศห้าม ระงับ ยับยั้ง การติดต่อสื่อสาร โดยการปิดสื่อโทรทัศน์ วิทยุ สื่อสิ่งพิมพ์ และสื่อออนไลน์จำนวนมากที่เป็นการปิดกั้นการรับรู้ข่าวสารของประชาชน และไม่มีแนวโน้มว่าจะลดลงแต่อย่างใด

3.จากข้อเท็จจริงปรากฏว่าประชาชนจำนวนหลายร้อยคนที่ถูกควบคุมตัว ด้วยเหตุเพียงเพราะฝ่าฝืนประกาศหรือคำสั่งตามพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน ที่ห้ามชุมนุม ให้ออกจากพื้นที่ชุมนุม และห้ามออกจากเคหะสถาน โดยที่มิได้กระทำความผิดอาญาอื่น และมีการควบคุมตัวประชาชนที่แสดงความเห็นต่างทางการเมืองโดยไม่แจ้งข้อกล่าวหาและสามารถควบคุมตัวได้นานถึง 30 วัน โดยอ้างเหตุสงสัยว่ามีส่วนเกี่ยวข้องหรือสนับสนุนให้เกิดสถานการณ์ฉุกเฉินโดยที่มิได้มีหลักฐานและข้อเท็จจริงที่เพียงพอ

4.การใช้อำนาจตามพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉินดังที่กล่าวมา ย่อมเป็นที่ประจักษ์ได้ว่า นอกจากจะเป็นการละเมิดสิทธิเสรีภาพในการแสดงออกของบุคคลอันเป็นการละเมิดหลักการประชาธิปไตยแล้ว ยังเป็นการลิดรอนสิทธิในกระบวนการยุติธรรมอีกด้วย ซึ่งถือได้ว่าเป็นการใช้อำนาจที่ไม่สอดคล้องกับหลักสิทธิเสรีภาพที่ได้รับการรับรองไว้ในรัฐธรรมนูญ ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา และกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองซึ่งประเทศไทยต้องมีพันธกรณีต้องปฏิบัติ

5. นอกจากนี้ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ มาตรา 16 ยังได้ยกเว้นอำนาจศาลปกครองไว้ด้วย ซึ่งทำให้การกระทำของพนักงานเจ้าหน้าที่ตามกฎหมายไม่สามารถถูกตรวจสอบถ่วงดุลโดยอำนาจศาลปกครองได้ แม้จะสามารถดำเนินการในศาลยุติธรรม แต่ก็เป็นเฉพาะกรณีไป ประชาชนไม่สามารถใช้สิทธิทางศาลปกครองเพื่อตรวจสอบกฎหมายลำดับรองที่ออกตาม พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ได้แต่อย่างใด จึงขัดต่อหลักการตรวจสอบถ่วงดุลและหลักการแบ่งแยกอำนาจ  
 แสดงความคิดเห็นคือ     การประกาศภาวะฉุกเฉินในบ้านเมืองอย่างนี้ ส่งผลต่อผลดี คือ ทำให้บ้านเมืองมีคนเฝ้าดูแลและอยู่กันอย่างปลอดภัย เพราะมีกฎต่างๆที่รัฐบาลได้นำมาใช้ และเป็นการแสดงให้เห็นถึงประชาธิปไตยอย่างแท้จริงด้วยและทุกอย่างที่ทางรัฐบาล หรือ ศอฉ. ได้ทำและประกาศก็เป็นกฎที่สากลทั่วโลกใช้เช่นเดียวกัน และคนในเมืองหลวงก็คงชอบที่ได้อยู่อย่างสงบสักทีและ อาจจะส่งผลกระทบ ทางตรงและทางอ้อมต่อประชาชน แต่ก็คงไม่ขนาดที่ทำให้ประชาชนต้องลำบากเพียงใด
          สิ่งที่เราช่วยกันได้เราคนไทยที่พอรู้ว่าอะไรเป็นอะไรและมีจิตสำนึกในการมีส่วนร่วมในการช่วยกันคลี่คลายปัญหาสิ่งที่ควรทำเราควรช่วยให้ความรู้ให้ข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้องในทุกช่องทางที่เราสามารถทำได้

สิ่งที่รัฐบาลควรทำ คือ ดำเนินการยุติความขัดแย้งด้วยการให้ข่าวสารข้อมูลที่ถูกต้องไปถึงพี่น้องประชาชน และบังคับใช้กฏหมายในกรณีที่ผู้ชุมนุมทำผิดกฏหมายและละเมิดสิทธิของผู้อื่นยุติการกระทำของแกนนำ"เสื้อแดง"ด้วยวิธีการที่เหมาะสมตามสถานการณ์ โดยไม่ขัดต่อหลักศีลธรรมและกฏหมาย(รัฐบาลพยายามทำมาตลอด)

----------------------------------------------------------------------------------------

ราคาไข่ไก่

ราคาไข่ไก่ ในปัจจุบัน....

 

เบอร ์ 0

น้ำหนักมากกว่าหรือเท่ากับ 70 กรัม

2.40

เบอร์  1

น้ำหนักต่ำกว่า 70-65 กรัม

2.30

เบอร์  2

น้ำหนักต่ำกว่า 65-60 กรัม

2.20

เบอร์  3

น้ำหนักต่ำกว่า60-55 กรัม

2.10

เบอร์  4

น้ำหนักต่ำกว่า 55-50 กรัม 

2.00

เบอร์  5

น้ำหนักต่ำกว่า 50-45 กรัม

1.90

เบอร์  6

น้ำหนักต่ำกว่า 45 กรัม

1.70

 

แม่ค้าขายขนมไทย แต่ละชนิดได้รับผลกระทบจากราคาขาไก่ พุ่งขึ้นสูงเกินกว่าปกติ 

คณะกรรมการนโยบายพัฒนาไก่ไข่ และผลิตภัณฑ์ ออกมาตรการแก้ปัญหาราคาไข่ไก่ที่ปรับตัวสูงขึ้น โดยระยะสั้นให้ยึดอายุไก่สาว และไก่ยืนกรง จากปกติ 72 สัปดาห์ เป็น 82 สัปดาห์ ซึ่งจะทำให้มีไข่ไก่เพิ่มขึ้นวันละ 1.2 ล้านฟอง ให้ชะลอการส่งออกไข่ไก่ชั่วคราว ในกรณีที่ไม่มีสัญญาผูกพัน จนกว่าสถานการณ์จะดีขึ้น ให้กรมปศุสัตว์ผลิตลูกไก่ไข่ 50,000 ตัวต่อเดือน เพื่อช่วยเกษตรกรรายเล็กที่ขาดช่วงการเลี้ยง รวมทั้งให้เอกชนปรับลดราคาลูกไก่ และไก่สาว โดยเอกชนทั้ง 9 แห่ง ปรับลดราคาลูกไก่ลงตัวละ 2 บาท และไก่สาวตัวละ 5 บาท มีผลทันที อย่างไรก็ตาม จะให้กรมปศุสัตว์ติดตามผลของมาตรการนี้ว่าจะทำให้ราคาไข่ไก่ลดลงหรือไม่ และให้รายงานต่อคณะกรรมการภายใน 30 วัน ส่วนระยะกลาง ให้มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศึกษาปรับปรุงโครงสร้าง คณะกรรมการนโยบายพัฒนาไก่ไข่และผลิตภัณฑ์ และให้ศึกษาโควตานำเข้าแม่พันธุ์อย่างเหมาะสมพูดถึงเรื่องการลดราคาไข่ไก่ จาก ใบละ 4-5 บาท ให้เหลือ ฟองละ 1 บาท มึนขะหมองตึ๊บ... นอนคิด นั่งคิด ยืนคิด หกกะเมนตีลังกาคิด มันก็เป็นเรื่องสุดวิสัยครับพี่น้อง เพราะ เจ้าของฟาร์มบอกว่า ต้นทุนไข่ เบอร์0-4 ราคาเฉลี่ย ฟองละ 2.70 บาท  ในท้องตลาดขาย เบอร์ 1-4 เฉลี่ย ใบละ 3.30-5.00 บาท ที่สำคัญ ราคาไข่ในประเทศไทยแพงกว่าราคาไข่ไก่ที่ สหรัฐอเมริกา ซึ่งในอเมริกาวันนี้ ไข่ไก่ราคาเฉลี่ยใบละ 3 บาทไทย  มันเป็นไปได้อย่างไร อัตตราแลกเปลี่ยนเงินไทย 33 บาทแลกเงิน อเมริกาได้  1 บาท หรือ 1 ดอลล่าร์ยูเอส  ค่าเงิน 3 บาท สำหรับพวกเขา มันกะจี๊ด กะจิ๊บๆๆๆ แต่ค่าเงินเงิน 3 บาท มันมาก  ทีนี้เพื่อความยุติธรรมต่อ ผู้ซื้อ และ ผู้ขาย โดยเฉพาะ นายทุนฟาร์มไก่ยักษ์ใหญ่ 9 แห่ง ก็ต้องหาข้อมูลว่า ราคาไข่ไก่ในประเทศไทย เกินจริง ไปหรือเปล่า พ่อค้าฮั้วกันหรือเปล่า แจ้งยอดต้นทุนหลอกชาวบ้านหลอกรัฐบาลหรือเปล่า ก็มีวิธีหรือหลักคิดคร่าวๆคือ ไปดูราคาไข่ไก่ที่ประเทศไกล้เคียงซิ ประเทศมาเลเซีย เขมร เวียตนามหลำเดื๊อก  สาธารณะประซาซนลาว (ปะซาซนหลาว) สิงคโปร์ พม่า ประเทศจีน...ถ้าราคาไกล้เคียงกัน เอาละผมยอมแพ้ ไม่ต้องมาเขียนมาแก้มาคิดให้เมื่อยข้อเมี่อยมือ เมื่อยตุ้ม(ตุ้มหน้าตาเป็นไงหว่านึกไม่ออก)..เพราะนั้นมันคือราคา มาตรฐาน.....

ราคาไข่ไก่ ในประเทศไทย ราคา มันขึ้นสวรรค์ชั้นฟ้าชั้นดาวดึงส์ เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศที่กล่าวมาแล้ว ( แหมเสียดายปีใหม่ที่ผ่านมาไปมา 3ประเทศลืมสนิทไม่ได้ถามเรื่อง ราคาไข่ไก่) ในประเทศปะซาซนหลาว น่าจะสัก 2 บาท เขมรขะหมัยตรึย น่าจะ 2 บาท มาเลเซีย 1.50 บาทสิงคโปร์สิงกะโป ก นั่นน่าจะ 2 บาท พม่า 1.50 บาท  ประเทศจีน   น่าจะ 1. บาท  ผมว่า ประเทศไทยไทยน่าจะลดลงมาได้ไข่ไก่ฟองละ 1 บาท ขาดตัว

วังวนสินค้าแพง น้ำตาล-ไข่ไก่จุดชนวนสินค้าอื่นพาเหรดขยับขึ้นราคา

นายยรรยง พวงราช ปลัดกระทรวงพาณิชย์ เปิดเผยว่า นางพรทิวา นาคาศัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ มีนโยบายให้กรมการค้าภายใน ไปศึกษาผลกระทบจากการที่ไข่ไก่ น้ำตาลทราย ที่มีราคาสูง ขึ้น และอาจกระทบต่อต้นทุนการผลิตสินค้าชนิดอื่น เพื่อให้หาแนวทางดูแลไม่ให้สินค้าในกลุ่มเหล่านี้ปรับราคาสูงขึ้น โดยอาจมีการเรียกผู้ผลิตสินค้าที่ประสบปัญหาต้นทุนสูงขึ้นมาหารือ และขอความร่วมมือไม่ให้ปรับขึ้นราคาขาย เพราะจะทำให้ผู้บริโภคเดือดร้อน

       “ตอนนี้มีสินค้าหลายชนิดที่ใช้ น้ำตาลทราย ไข่ไก่ เป็นวัตถุดิบสำคัญสำหรับผลิตอาหาร เช่น น้ำอัดลม นมข้นหวาน น้ำผลไม้ เครื่องดื่มทางเลือก ขนมขบเคี้ยว ขนมปัง อาหารสำเร็จรูป ซึ่งกลุ่มเหล่านี้กระทรวงฯ ต้องเข้าไปช่วยดูว่าผู้ผลิตได้รับผลกระทบแค่ไหน เพื่อหามาตรการช่วยเหลือ และขอความร่วมมือไม่ให้ขึ้นราคาสินค้าในช่วงนี้ เพราะจะเป็นภาระต่อผู้บริโภค อย่างกรณีน้ำตาลทรายแพง กระทรวงฯพยายามหาทางลดต้นทุน ด้วยการขอให้รัฐบาลทบทวนลดราคาขายปลีก หลังจากมีการใช้ใช้หนี้กองทุนอ้อยและน้ำตาลหมด”

       ทั้งนี้ แม้การปรับขึ้นของราคาน้ำตาลทราย และไข่ไก่ จะไม่มีผลต่ออัตราเงินเฟ้อโดยตรง แต่จำเป็นต้องดูแลติดตามอย่างใกล้ชิด เพราะอาจส่งผลต่อสินค้าตัวอื่นให้ราคาปรับเพิ่มขึ้นได้ เช่น ไข่ไก่ ที่มีสัดส่วนกระทบต่ออัตราเงินเฟ้อ 0.56% แต่ส่งผลโดยตรงต่ออาหารสำเร็จรูปที่มีผลต่ออัตราเงินเฟ้อถึง 4.35% น้ำตาลทราย ที่มีผลต่อผู้บริโภคโดยตรงและสินค้าหลายชนิด ทั้งน้ำอัดลม น้ำผลไม้ นมข้นหวาน ซึ่งสินค้าหมวดอาหาร กระทรวงพาณิชย์จำเป็นต้องเข้าไปดูแลเป็นพิเศษในครึ่งปีหลัง เพราะมีแนวโน้มปรับตัวสูงขึ้น และส่งผลกระทบต่ออัตราเงินเฟ้อได้

        นายยรรยงกล่าวว่า จากการลงพื้นที่สำรวจราคาสินค้าไข่ไก่ ตามตลาดสด หรือร้านค้าปลีกสมัยใหม่ ยังมีราคาอยู่ในกรอบที่กระทรวงพาณิชย์กำหนด เช่น ไข่หน้าฟาร์มขายฟองละ 2.80 บาท ขณะที่ร้านในตลาดบางแคขายไข่เบอร์ 2 ราคาฟองละ 3.20-3.30 บาท ไม่ได้สูงถึง 4-5 บาทแต่อย่างใด แต่บางทีที่ราคาแพงอาจเป็นร้านเล็กๆ ที่มีการซื้อต่อกันมาหลายช่วงจนต้องบวกกำไรสูงขึ้น ตรงจุดนี้กระทรวงฯ เพิ่มความเข้มงวด ส่งเจ้าหน้าที่ไปสำรวจช่วงการรับซื้อระหว่างยี่ปั้ว ซาปั้ว และร้านค้าปลีกไม่ให้ขายกำไรเกินจริง

ความคิดเห็น

   ควรเข้าไปดูการจำหน่ายอาหารสำเร็จรูป หลังจากมีประชาชนร้องเรียนว่ามีราคาสูงถึงจานละ 30-35 บาท โดยแนวทางอาจมีการผลักดันร้านอาหารธงฟ้า เข้าไปกระจายในพื้นที่ที่มีการร้องเรียน เพื่อให้เป็นทางเลือกแก่ประชาชนในการประหยัดค่าใช้จ่าย ขณะเดียวกันจะเป็นตัวกลางช่วยประสานให้ร้านอาหารธงฟ้า สามารถซื้อวัตถุดิบทำอาหาร เช่น ข้าวสาร ซอส น้ำปลา ไข่ไก่ น้ำตาลราคาถูกจากผู้ผลิตโดยตรงเพื่อช่วยประหยัดต้นทุน และทำให้ขายราคาถูกได้

 ------------------------------------------------------------------------------------------

 

ราคาน้ำตาล

เรื่องหวาน ๆ ที่ไม่หวานของน้ำตาล   By Tiraphap Fakthong Freelance Educator and Quantitative Analyst   สถานการณ์ปัจจุบันของราคาน้ำตาลที่มีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างรวดเร็วและรุนแรงในปี 2552  กำลังกลายเป็นประเด็นร้อนที่หลาย ๆ ประเทศกำลังจับตามอง รวมไปถึงกลุ่มนักลงทุนเก็งกำไรในตลาดค้าสินค้าเกษตรล่วงหน้า ซึ่งราคาน้ำตาลนั้นตอนนี้แตะที่ระดับประมาณ 17 บาท ต่อ กิโลกรัม ซึ่งเป็นระดับสูงสุดในรอบ เกือบ ๆ 30 ปี หากมองในมุมมองของนักลงทุนพื้นหรือนักเศรษฐศาตร์ เรื่องนี้เป็นเรื่องทำธรรมดาที่จะมีการผันผวนอย่างรุนแรงของราคาสินค้าเกษตร อันเนื่องมาจากการมีอุปทานน้ำตาลไม่เพียงพอกับอุปสงค์ ดังที่องค์การน้ำตาลระหว่างประเทศได้มีการคาดการณ์ว่า ในปี 2552 ปริมาณน้ำตาลจะอยู่ในสถาวะขาดดุล หรือ ไม่เพียงพอต่อความต้องการประมาณ 9.35 ล้านตัน อันเนื่องมาจากการการผลิตที่หดตัวของประเทศผลิตน้ำตาลยักษ์ใหญ่ของโลก อาทิ อินเดีย บราซิล และจีน เป็นต้น   สาเหตุของการเพิ่มขึ้นของราคาน้ำตาล   เหตุผลหลักที่ผลักดันราคาน้ำตาลโลกให้สูงขึ้น คือ การที่ประเทศผลิตน้ำตาลรายใหญ่ประสบปัญหาการผลิตน้ำตาลโดยไม่สามารถผลิตให้เพียงพอกับความต้องการน้ำตาลที่เพิ่มขึ้น

รมว.กระทรวงพาณิชย์เผยจับตาอียูอุดหนุนส่งออกน้ำตาลเกินโควตา ประกาศจับมือร่วมกับบราซิล ออสเตรเลียขอคำชี้แจง หลังได้รับผลกระทบ  นายอลงกรณ์ พลบุตร รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ เปิดเผยว่า ผลการประชุมหารืออย่างไม่เป็นทางการระดับรัฐมนตรีเกี่ยวกับการเจรจารอบโดฮาขององค์การการค้าโลก (ดับเบิลยูทีโอ) ที่เมืองดาวอส ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ในช่วงสัปดาห์ที่ผ่านมา ประเทศสมาชิกคาดหวังให้เกิดการเจรจาภายใต้กรอบโดฮาให้ได้ภายในปีนี้ ซึ่งทุกฝ่ายมีความพยายามอย่างมาก นอกจากนี้ สิ่งที่ไทยต้องติดตามเป็นกรณีพิเศษ คือ ช่วงปีที่ผ่านมาทางสหภาพยุโรป (อียู) ได้เพิ่มปริมาณการส่งออกน้ำตาลที่ได้รับการอุดหนุนส่งออกเกินปริมาณที่ผูกพันไว้กับดับเบิลยูทีโอกว่า 600,000 ตัน จากปริมาณที่ต้องส่งออกเพียง 1.2 ล้านตัน เป็น 1.8 ล้านตัน ทำให้ทั้ง 3 ประเทศ ได้แก่ ไทย บราซิล และออสเตรเลียอยู่ระหว่างการรอคำชี้แจงสาเหตุต่างๆ จากกลุ่มอียู ซึ่งการกระทำดังกล่าวของอียูเป็นสิ่งที่ทำให้ราคาน้ำตาลตลาดโลกปรับตัวลดลงมาก และทั้ง 3 ประเทศอยู่ระหว่างจับตาการดำเนินการของอียู หากไม่ชี้แจงอะไรออกมา ทั้ง 3 ประเทศจะนัดประชุมร่วมกันเพื่อให้อียูชดเชยความเสียหายที่เกิดขึ้นตามกรอบดับเบิลยูทีโอ

ความคิดเห็น

อันเนื่องมาจากการการผลิตที่หดตัวของประเทศผลิตน้ำตาลยักษ์ใหญ่ของโลก อาทิ อินเดีย บราซิล และจีน เป็นต้น   สาเหตุของการเพิ่มขึ้นของราคาน้ำตาล   เหตุผลหลักที่ผลักดันราคาน้ำตาลโลกให้สูงขึ้น คือ การที่ประเทศผลิตน้ำตาลรายใหญ่ประสบปัญหาการผลิตน้ำตาลโดยไม่สามารถผลิตให้เพียงพอกับความต้องการน้ำตาลที่เพิ่มขึ้น

----------------------------------------------------------------------------------------

การท่องเที่ยว

การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) เตรียมฟื้นการท่องเที่ยว โดยกำหนดจัดโครงการ amazing thailand grand sale 2010 ระหว่างวันที่ 15 มิถุนายน – 15 สิงหาคม 2553 ในพื้นที่หลัก 8 แห่ง ได้แก่ กรุงเทพมหานคร เชียงใหม่ หาดใหญ่ ภูเก็ต หัวหิน พัทยา สมุยและอุดรธานี เชิญชวนผู้ประกอบการร่วมจัดกิจรรมลดราคาสินค้าสูงสุดถึง 70% เพื่อส่งเสริมให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการซื้อสินค้าของนักท่องเที่ยว (shopping paradise) และสร้างแรงจูงใจให้นักท่องเที่ยวซื้อสินค้าในช่วงนอกฤดูกาลท่องเที่ยวของประเทศไทยเพิ่มมากขึ้น รวมทั้งกระตุ้นให้เกิดเงินหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจและกระจายรายได้สู่ภูมิภาคต่างๆ

ความคิดเห็น

จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมด้านการท่องเที่ยว และจัดหาส่วนลดราคา ที่พัก อาหาร และอื่นๆ เพื่อให้สะดวกต่อการมาเข้าพัก และส่งเสริมให้แต่ละจังหวัด หาสถานที่เป็นจุดดึงดูดความสนใจออกมาให้ นักท่องเที่ยวได้ดู และทำให้เป็นที่น่าสนใจ ทำให้คนทั่วไปได้รู้ว่า มีสถานที่น่าท่องเที่ยว และสวยงาม มากเพียงใด ทำให้รู้ว่าน่าเที่ยวแค่มากไหน 

 ---------------------------------------------------------------------------------------

 การลงทุน

 ดร. สมจินต์ ศรไพศาล กรรมการผู้จัดการ บลจ. วรรณ กล่าวผ่านรายการ Smart Money ว่า แม้ว่าดัชนีตลาดหลักทรัพย์ในช่วงปลายปีได้ปรับลดลงมาก แต่ผลการดำเนินงานของกองทุนบลจ. วรรณโดยภาพรวมก็ยังสูงกว่าดัชนี โดยในช่วงที่ผ่านมาก็ได้เพิ่มจำนวนกองทุนเพื่อเป็นทางเลือกให้กับนักลงทุนมากขึ้น ทั้งกองทุนประเภทระยะสั้น กองทุนระยะยาว กองทุนหุ้นทุน และกองทุนผสม เป็นต้น ซึ่งนักลงทุนสามารถเลือกลงทุนได้ตามความต้องการ  ปัจจุบันบลจ. วรรณยังเป็นผู้บริหารกองทุนหุ้นและกองทุนตราสารหนี้ของ กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (กบข.) กองทุนของบรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม (บสย.) กองทุนของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และเร็ว ๆ นี้ ก็ได้รับบริหารกองทุนสำรองเลี้ยงชีพของพนักงานการไฟฟ้านครหลวง (กฟน.) มูลค่า 4 พันล้านบาทอีกด้วย  สำหรับกองทุนที่ลงทุนในต่างประเทศ (FIF) ก็เป็นอีกทางเลือกหนึ่งในการลงทุนท่ามกลางปัจจัยลบที่เกิดขึ้นในประเทศ และเป็นการเพิ่มโอกาสในการสร้างผลตอบแทนให้กับนักลงทุนได้ เพราะลงทุนได้ทั่วโลกโดยไม่ต้องตรวจสอบข้อมูลด้วยตนเอง แต่กองทุนประเภทนี้ก็ยังมีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน และในช่วงที่ผ่านมาค่าเงินบาทเมื่อเทียบกับสกุลเงินดอลลาร์สหรัฐได้แข็งค่าขึ้นอย่างต่อเนื่อง ผลตอบแทนของกองทุนอาจจะติดลบไปบ้าง แต่หลังจากมีมาตรการสกัดกั้นการเก็งกำไรค่าเงินบาทของธนาคารแห่งประเทศไทยมาควบคุม ก็เชื่อว่าได้ทำให้ค่าเงินบาทกลับมาอยู่ในสถานะที่เหมาะสมแล้ว สำหรับกองทุน FIF ของบลจ. วรรณ คือ กองทุนเปิดวรรณเอเอ็มโกลบอลอีเมอร์จิ้งมาร์เก็ตเอควิตี้ (1AM-GEM) เป็นกองทุนที่ลงทุนในตลาดเกิดใหม่ในภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก เช่น เอเชีย และ ยุโรป และได้ร่วมงานกับบริษัทจัดการกองทุน คือ IXIS Asset Management และ Russell Investment Group ที่ผ่านมาสร้างผลตอบแทนได้ประมาณ 13.42% และจ่ายปันผลไปแล้วที่ 0.75 บาท การลงทุนผ่านกองทุนรวมยังมีข้อดีคือ อาจสร้างผลตอบแทนได้สูงกว่าการฝากเงินในธนาคาร เลือกลงทุนได้ตามการยอมรับความเสี่ยง สามารถเก็บออมเงินไว้ใช้ได้ในยามเกษียณ โดยบางกองทุนก็สามารถใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษีได้ด้วย จึงเป็นสาเหตุให้ธุรกิจกองทุนรวมมีอัตราการขยายตัวได้ดี
สำหรับตลาดตราสารหนี้ ปกติแล้วการลงทุนในพันธบัตรระยะยาวจะมีผลตอบแทนสูงกว่าพันธบัตรระยะสั้น แต่มีความเสี่ยงมากกว่า นักลงทุนจึงควรเลือกลงทุนตามความสามารถในการยอมรับความเสี่ยงสมจินต์มองว่า ภาวะตลาดทุนในระยะนี้มีความผันผวน ซึ่งไม่เคยเห็นในลักษณะนี้มาก่อน หากนักลงทุนต้องการลงทุนควรแบ่งสัดส่วนการลงทุนให้เหมาะสม ไม่ทุ่มลงทุนไปในอย่างใดอย่างหนึ่งมากเกินไป และควรติดตามภาวะตลาดด้วย ซึ่งก็เป็นกลยุทธ์ที่สำคัญในการลงทุน และอาจเป็นการพลิกวิกฤติให้เป็นโอกาสได้ในที่สุด นอกจากนี้ นักลงทุนควรทราบเป้าหมายในการลงทุน เพื่อวางแผนการลงทุนให้สอดคล้องกับความต้องการ และอาจสร้างผลตอบแทนให้ได้เป็นจำนวนที่สูงขึ้นอีกด้วย

นายมาริษ ท่าราบ กรรมการผู้จัดการ บลจ. ไอเอ็นจี (ประเทศไทย) ให้สัมภาษณ์ผ่านรายการ Smart Money ทาง Money Channel ว่า กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ คือการระดมทุนจากประชาชน เพื่อไปลงทุนในทรัพย์สินถาวร เช่น อาคารสำนักงาน โรงแรม และโรงงานอุตสาหกรรม ที่สามารถสร้างรายได้อย่างสม่ำเสมอให้กับกองทุน นอกจากนี้กองทุนยังมีกรรมสิทธิ์ในที่ดิน อาคาร และสามารถทำสัญญาเช่าระยะยาวได้ สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) กำหนดให้กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์เป็นกองทุนปิด คือมีการเสนอขายเพียงหนึ่งครั้ง และต้องจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ถือหน่วยลงทุนสามารถซื้อขายได้ นอกจากนี้ยังกำหนดให้จ่ายเงินปันผลปีละไม่ต่ำกว่า 90% ของกำไรสุทธิ ปัจจุบันกองทุนรวมอสังหาฯ ให้ผลตอบแทนเฉลี่ย 7% ในช่วง 3 ปีที่ผ่านมา กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ได้รับความนิยมมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง เพราะเป็นทางเลือกหนึ่งในการระดมทุน ทำให้บริษัทไม่ต้องกู้เงินจากธนาคาร หรือออกหุ้นกู้ ซึ่งอาจกระทบต่อเงินทุนและหนี้สินของบริษัท สำหรับมาตรการสกัดการเก็งกำไรค่าเงินบาทของธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ส่งผลกระทบโดยตรงต่อกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ เนื่องจากถ้ามีการขายหน่วยลงทุนให้นักลงทุนต่างชาติ จะต้องถูกหักเป็นเงินสำรอง 30% ทั้งนี้ ในปี 2549 กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์มีมูลค่ารวม 4.48 หมื่นล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนของนักลงทุนต่างชาติ 35 – 40% และคาดว่าในไตรมาสที่ 1/2550 จะมีการเพิ่มทุนและตั้งกองทุนใหม่รวม 3 หมื่นล้านบาท และตลอดปี 2550 จะมีมูลค่ารวม 7 หมื่นล้านบาท ซึ่งทั้งหมดชะลอออกไปเนื่องจากมาตรการกันสำรอง 30%

ความคิดเห็น

ทำให้รู้ว่าการลงทุนมีข้อดีคือ อาจสร้างผลตอบแทนได้สูงกว่าการฝากเงินในธนาคาร เลือกลงทุนได้ตามการยอมรับความเสี่ยง สามารถเก็บออมเงินไว้ใช้ได้ในยามเกษียณ โดยบางกองทุนก็สามารถใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษีได้ด้วย จึงเป็นสาเหตุให้ธุรกิจกองทุนรวมมีอัตราการขยายตัวได้ดี

 --------------------------------------------------------------------------------------------

 

 

 

 

 

 

นางสาวสุภาณี ขันสุข

นางสาวสุภาณี  ขันสุข   รหัส 5047301042  โปรแกรมวิชา เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ  

ให้นักศึกษาทุกคนแสดงความเห็นว่าการคงประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน  ราคาไข่ไก่  ราคาน้ำตาลทราย  การท่องเที่ยว  การลงทุน  มีความเชื่อมโยงกันอย่างไร 

 

สถานการณ์ฉุกเฉินราคาไข่ไก่

มาตรการพยุงราคาไข่ไก่ กับความต้องการแท้จริงของเกษตรกร  จากปัญหาไข่ไก่ราคาสูงขึ้น ซึ่งก่อนหน้านี้รัฐบาลมีการชี้แจงว่าเกิดจากสภาวะอากาศที่ร้อนแห้งแล้งทำให้แม่ไก่ไม่ออกไข่... กลายเป็นประเด็นถกเถียงอย่างกว้างขวางขึ้น เมื่อมีเกษตรกรผู้เลี้ยงไก่ไข่ออกมาร้องเรียนว่า ปัญหาที่แท้จริงไม่ได้มาจากปัญหาสภาวะอากาศเพียงอย่างเดียว แต่เกิดจากปัญหาการขาดตลาดของแม่พันธุ์ไก่ไข่ กระทั่งเมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม ที่ผ่านมา ที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์มีการประชุมคณะกรรมการนโยบายพัฒนาไก่ไข่ และผลิตภัณฑ์ โดยนายธีระ วงศ์สมุทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กล่าวว่า ที่ประชุมได้สรุปมาตรการแก้ไขปัญหาราคาไข่ไก่เป็น 3 ระยะ คือ มาตรการระยะสั้น มาตรการระยะกลาง และมาตรการระยะยาวมาตรการระยะสั้น ประกอบด้วย

1. การยืดอายุไก่ไข่สาว โดยแจ้งขอความร่วมมือผู้ประกอบการและเกษตรกรขยายเวลาไก่ยืนกรงจำนวน 2 ล้านตัวต่อไปอีกประมาณ 4 สัปดาห์ หรือจนกว่าสถานการณ์ตลาดจะเข้าสู่ภาวะปกติ เพื่อทำให้ปริมาณไข่ไก่เข้าสู่ตลาดเพิ่มมากขึ้นเฉลี่ย 1.2 ล้านฟอง/วัน

2. เพิ่มปริมาณไข่ไก่ภายในประเทศ โดยขอความร่วมมือผู้ส่งออกไข่ไก่ให้ชะลอการส่งออกไข่ไก่ชั่วคราว กรณีที่ยังไม่ทำสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ซึ่งจากข้อมูลสถานการณ์การส่งออกไข่ไก่ในปัจจุบันตั้งแต่ต้นปีที่ผ่านมาถึงเดือนพฤษภาคมมีการส่งออกไข่ไก่แล้ว 86 ล้านฟอง

3. จัดลูกไข่ไก่กองกลาง 50,000 ตัว/เดือน โดยมอบหมายให้กรมปศุสัตว์เป็นผู้บริหารจัดการเพื่อแก้ไขปัญหาเกษตรกรรายเล็ก รายย่อยที่ขาดแคลนลูกไก่ไข่

 4. ให้กรมปศุสัตว์ติดตามภาวะราคาลูกไก่ไข่และไก่สาวโดยต่อเนื่อง และปรับลดราคาให้สอดคล้องกับต้นทุนการผลิตและข้อตกลงเดิมที่ได้เคยกำหนดส่วนต่างราคาต้นทุนลูกไก่ไข่และไก่สาว ไม่ให้เกินร้อยละ 20 ซึ่งผู้ประกอบการแจ้งว่าได้ปรับลดราคาจำหน่ายลูกไข่ไก่และไก่สาวลงแล้ว โดยขณะนี้ราคาลูกไข่ไก่อยู่ที่ตัวละ 30 บาท ปรับลงจากเดิม 2 บาท และราคาไก่สาวปรับเหลือตัวละ 149 บาทจากเดิม 154 บาท

5. ให้กรมปศุสัตว์สรุปข้อมูลความคืบหน้าผลการดำเนินงานทั้งหมดมารายงานต่อที่ประชุมอีกครั้งเพื่อประเมินสถานการณ์การแก้ไขปัญหาดังกล่าวภายใน 30 วัน มาตรการระยะกลางซึ่งเป็นข้อกังวลของหลายฝ่ายที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ ภารกิจ โครงสร้างและผลการดำเนินงานของคณะกรรมการนโยบายพัฒนาไก่ไข่และผลิตภัณฑ์ในการแก้ไขปัญหาการผลิตไข่ไก่ทั้งระบบ ที่ประชุมได้มอบหมายให้กรมปศุสัตว์ประสานร่วมกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศึกษาปรับปรุงโครงสร้าง Egg Board ให้แล้วเสร็จใน 60 วัน มาตรการระยะยาว ที่ประชุมได้พิจารณากำหนดปริมาณไก่ไข่พันธุ์เป็นโควตากลางในปี 2554 เพื่อให้กรมปศุสัตว์บริหารจัดการแก้ไขปัญหาไก่ไข่ให้เกษตรกรที่รวมตัวเป็นสหกรณ์หรือสมาคม โดยเกษตรกรต้องเสนอความพร้อมทั้งแผนการผลิตและตลาดประกอบการพิจารณาด้วยเช่นกัน ซึ่งในส่วนของโควตากลางที่ประชุมยังไม่มีกำหนดปริมาณที่ชัดเจนว่ารัฐจะเข้าไปดำเนินการนำเข้าเองเท่าไหร่อย่างไรทั้งนี้ต้องขึ้นอยู่กับการพิจารณาและตรวจสอบข้อมูลการนำเข้าของบริษัทเอกชนที่ได้รับการจัดสรรโควตาการนำเข้าทั้งสิ้น 9 ราย จำนวนไก่ไข่พันธุ์ 400,921 ตัว ว่าเป็นไปตามจำนวนที่ได้รับการจัดสรร และกระจายแม่พันธุ์ไปยังเกษตรกรตามข้อกำหนดหรือไม่ โดยหากไม่เป็นไปตามข้อกำหนด กรมปศุสัตว์ก็มีอำนาจที่จะตัดลดจำนวนการนำเข้าที่ไม่ถึงโควตามาจัดสรรเป็นโควตากลางได้ ซึ่งที่ประชุมได้กำหนดให้กรมปศุสัตว์รวบรวมข้อมูลดังกล่าวเพื่อให้คณะกรรมการฯ พิจารณารายละเอียดของเรื่องดังกล่าวอีกครั้งภายใน 30 วัน

 แนวทางที่ต้องการจากรัฐบาล จากมาตรการข้างต้นนั้น หากย้อนมองถึงความต้องการของเกษตรกรจะพบข้อร้องเรียนสำคัญๆ 2 ประการ ที่มองว่ารัฐบาลยังไม่มีการนำไปใช้อย่างชัดเจนในแนวทางข้างต้น กล่าวคือ

1) รัฐบาลควรเปิดเสรีการนำเข้าพันธุ์ไก่ไข่ ไม่ให้กระจุกตัวอยู่แค่เอกชนไม่กี่ราย ส่งผลทำให้เกิดการผูกขาด นายปัญญา โชติเทวัญ ประธานกรรมการบริษัทสหฟาร์ม จำกัด กล่าวว่า ปัจจุบันมีปัญหาการผูกขาดเกิดขึ้นเพราะแม่พันธุ์ไก่ไข่ที่นำเข้ามา 400,000 ตัว และมีเกษตรกรที่ได้รับจัดสรรจริงเพียงร้อยละ 5 หรือ 20,000 ตัว เท่านั้น ที่เหลือเป็นของผู้เลี้ยงที่ไม่ใช่เกษตรกรรายย่อย ซึ่งการแก้ไขปัญหาควรสอดคล้องกับเกณฑ์องค์การการค้าโลก (ดับเบิลยูทีโอ) ที่ระบุว่า การค้าต้องไม่เกิดระบบผูกขาด

 2) การปรับลดราคาลูกไก่ และแม่ไก่ลง มีการมองว่าไม่ช่วยอะไรมาก เพราะราคาขายปัจจุบันยังอยู่ที่ตัวละ 28 กว่าบาท ที่ถือว่าสูงมาก ทำให้เกษตรกรผู้เลี้ยงมีค่าใช้จ่ายเพิ่มมากขึ้น และต้องผลักภาระไปให้ผู้บริโภคเมื่อผลผลิตออกก็ยังส่งผลให้มีราคาสูงอยู่ดี เนื่องจากราคาต้นทุนสูง

 ข้อวิพากษ์  อย่างไรก็ตามจากมาตรการทั้งหมดนี้ มีการมองว่าเป็นการแก้ไขปัญหาในระยะสั้น ซึ่งไม่สามารถแก้ปัญหาได้อย่างแท้จริง อย่างการใช้โครงการธงฟ้าในการแทรกแซงนั้น ถือเป็นการดูแลประชาชนผู้มีรายได้น้อย ซึ่งในการแก้ปัญหาอย่างยั่งยืนไม่ใช่การคุมราคาสินค้าทั้งหมด เช่น หากสินค้าเกษตรราคาแพง รัฐบาลก็ไม่ควรเข้าไปคุมราคามากจนเกินไป เพราะสินค้าเกษตรราคามักมีการเปลี่ยนแปลงไปตามวัฏจักร เช่น ราคาแพงเพราะผลผลิตน้อย แต่หากราคาที่สูงขึ้นก็จะจูงใจให้เกษตรกรผลิตเพิ่ม ทำให้ปริมาณสินค้าในตลาดเพิ่ม ผู้ประกอบการกับผู้บริโภคที่กินน้อยลง ก็จะเป็นกลไกที่ทำให้ราคาถูกลงมาเอง  ทั้งนี้ ต้องพิจารณาปัญหาที่ทางเกษตรกรร้องเรียนว่าเหตุที่ผลผลิตน้อยเนื่องจากการถูกจำกัดแม่พันธุ์หรือไม่ ซึ่งการที่รัฐบาลมีการลดปริมาณการส่งออกลงเพื่อเพิ่มผลผลิตการขายในประเทศ ก็เป็นทางออกในระยะสั้นเช่นกัน เพราะผู้ส่งออกมีตลาดอยู่แล้วหากระงับไม่ให้ส่งออกจะส่งผลกระทบในอนาคตที่ลูกค้าไม่กล้าซื้อไข่ไก่จากไทยอีก อีกทั้งแนวโน้มประชากรที่เพิ่มขึ้นในอนาคตความต้องการอาหารและผลผลิตทางการเกษตรย่อมสูงขึ้น การหามาตรการรองรับด้านผลผลิตจึงเป็นแนวทางที่สำคัญกว่าในระยะยาว ดังนั้นหากรัฐบาลไม่มีการพัฒนาระบบการค้า และเป็นวงจรที่ต้องแก้ไขปัญหาอย่างนี้ทุกปี ก็จะไม่สามารถแก้ไขปัญหากลไกทางการตลาดได้

 ข้อมูลจาก "สมาคมผู้เลี้ยงไก่ไข่"  ระบุว่าประเทศไทยมีกำลังผลิตไข่ไก่ราว 9,500-10,000 ล้านฟองต่อปี และมีกำลังการผลิตไข่ไก่ ออกสู่ตลาดประมาณ 25-26 ล้านฟองต่อวัน ซึ่งสอดคล้องกับอัตราการบริโภคไข่ไก่ ของคนไทย คือประมาณ 160 ฟอง /คน/ปี ซึ่งถือว่าเป็นอัตราการบริโภค ไข่ที่น้อย เมื่อเทียบกับประเทศมาเลเซีย ที่บริโภค 230 ฟอง/คน/ปี ขณะที่ประเทศญี่ปุ่น ,ไต้หวัน และ สหภาพยุโรป บริโภคกัน 300 ฟอง/คน/ปี  ประเด็นเรื่อง "ไข่แพง" หากมองอีกมุมหนึ่ง ไม่น่าจะเป็นเรื่องราวใหญ่โตอะไร และน่าจะเป็นเรื่องที่น่ายินดีด้วยซ้ำที่เกษตรกรสามารถขายผลผลิตได้ราคาดี มีรายได้เพิ่ม โดยเฉพาะเกษตรกรผู้เลี้ยงไก่ไข่ ที่แบกภาระขาดทุนต่อเนื่องมาร่วม 3 ปี ที่พอจะมีกำไรมาให้เห็นเป็นเนื้อเป็นหนังก็ในช่วงไม่กี่เดือนมานี้เอง และที่เห็นว่าไม่น่าจะเป็นเรื่องแปลกอะไรก็เพราะเป็นแค่เรื่องเศรษฐศาสตร์ขั้นพื้นฐาน ที่ ว่าด้วยเรื่อง "อุปสงค์-อุปทาน" หรือ "ดีมานด์-ซัพพลาย" หรือจะเรียก "กำลังซื้อ-กำลังผลิต" ก็สุดแท้แต่ใครจะถนัดใช้คำไหน แต่หลักใหญ่ใจความก็คือ เมื่อมีความต้องการซื้อเท่าเดิมหรือเพิ่มขึ้น แต่กำลังผลิตเท่าเดิมหรือลดลง ย่อมส่งผลทำให้ราคาปรับตัวสูงขึ้นเป็นธรรมดา และเป็นเรื่องรับรู้ได้ในระบบเศรษฐกิจการค้าเสรี ที่มีการแข่งขันกันระหว่างผู้ผลิตแต่ละรายย้อนกลับไปเมื่อ 3 ปีที่ผ่านมา วงการไก่ไข่ ต้องประสบปัญหาเมื่อราคาวัตถุดิบอาหารสัตว์ในตลาดโลกปรับตัวสูงขึ้นเป็นประวัติการณ์ โดยมีสาเหตุหลักมาจากเรื่องความแปรปรวนของสภาพอากาศ เมื่อผสมกับราคาน้ำมันในตลาดโลกที่ปรับตัวสูงขึ้น จึงเป็นสองแรงบวก ทำให้ราคาวัตถุดิบอาหารสัตว์ปรับขึ้นถ้วนหน้า นี่คือเรื่องของ "ดีมานด์-ซัพพลาย" ในระดับโลก ที่เราไม่สามารถแก้ไขอะไรได้ในเมื่อเราเองก็อยู่ในระบบการค้าเสรี ที่ราคาสินค้าเกษตรหลายชนิดต้องอ้างอิงกับตลาดโลก สิ่งเหล่านี้ได้สร้างความเดือดร้อนให้กับเกษตรกรที่อยู่ในวงการปศุสัตว์ โดยเฉพาะผู้เลี้ยงไก่ไข่ ที่โดนเต็มๆ ทำให้ต้องแบกรับสภาพขาดทุนมาอย่างต่อเนื่อง จากต้นทุนวัตถุดิบราคาสูง และปริมาณแม่ไก่ยืนกรง ที่มีอยู่มาก ทำให้ผลผลิตไข่ไก่ออกสู่ท้องตลาดจำนวนมากเกินความต้องการ ราคาขายไข่ไก่ จึงประคองตัวอยู่ในระดับบาทแก่ๆ จนถึงสองบาทต้นๆ เท่านั้น ซึ่งเป็นราคาที่ขายแล้วขาดทุนแน่นอน นี่ก็ชัดเจนว่าเป็นเรื่องของ "ดีมานด์-ซัพพลาย"กำนันมาโนช ชูทับทิม นายกสมาคมผู้เลี้ยงไก่ไข่ ผู้คร่ำหวอดในวงการไข่ไก่มาร่วม 30 ปี เล่าให้ฟังว่าเมื่อ 3 ปีที่ผ่านมาเป็นช่วงที่เกษตรกรผู้เลี้ยงไก่ไข่เจอวิกฤติอย่างหนัก และประสบกับการขาดทุนมาโดยตลอด เพราะผลผลิตที่มีออกมามากเกินความต้องการของตลาดเกษตร กรผู้เลี้ยงไก่ไข่ กับบรรดาบริษัทในภาคเอกชน จึงได้ร่วมกันหารือกับคณะ กรรมการนโยบายพัฒนาไก่ไข่ และผลิตภัณฑ์หรือ EGG Broad เพื่อช่วยกันหาทางออกในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น ก่อนจะได้ข้อสรุปว่า ถ้าจะทำให้ไข่ไก่ในประเทศราคาดีขึ้น จะต้องใช้การณรงค์ส่งเสริมการบริโภคไข่ไก่ มีการจัดทำโครงการไข่โรงเรียน รวมทั้งการส่งออกเพื่อระบายไข่ไก่ส่วนเกิน นั่นคือการจัดการเพื่อช่วยให้กำลังซื้อในประเทศเพิ่มขึ้น ส่วนเรื่องกำลังผลิตได้มีข้อสรุปร่วมกันว่าควรใช้วิธีการควบคุมปริมาณการนำเข้าพ่อแม่พันธุ์ ทำให้ในช่วงที่ผ่านมามีปริมาณแม่ไก่ ยืนกรงลดลงประมาณ 20 เปอร์เซ็นต์เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันกับปีก่อน หรือมีอยู่ประมาณ 35-36 ล้านตัว ซึ่งส่งผลให้มีผลผลิตไข่ไก่ออกสู่ท้องตลาดวันละ 25-26 ล้านฟอง จากที่ผลิตกันออกมาได้วันละ 28-30 ล้านฟอง เขาเล่าว่า ปริมาณแม่ไก่ยืนกรงที่น้อยลง เมื่อมาเจอกับสภาวะอากาศแปรปรวนในระยะ 3-4 เดือนที่ผ่านมา ทำให้สภาพอากาศมีอุณหภูมิสูงระหว่าง 43-44 องศาเซลเซียส แม้ว่าจะมีการเลี้ยงไก่ในโรงเรือนปิดแล้วก็ตาม แต่ก็ส่งผลทำให้อุณหภูมิในโรงเรือนสูงกว่าระดับที่เหมาะสมกับการเลี้ยง(อุณหภูมิภายในโรงเรือนที่เหมาะสมต้องอยู่ระหว่าง 28-30 องศาเซลเซียส)เมื่ออุณหภูมิ ภายนอกสูงมาก ทำให้การปรับสภาพอากาศในโรงเรือน ทำได้ลำบาก แม่ไก่จึงเกิดอาการเครียด กินอาหารได้น้อย ทำให้เปอร์เซ็นต์การให้ไข่ลดลง

"การขาดแคลนน้ำสะอาดเพื่อให้ไก่กินในบางพื้นที่ ก็เป็นเหตุให้เกิดไก่ป่วยตามมา ผลผลิตจึงลดลงมาก และยิ่งมีปัญหาโรคระบาดในไก่ไข่ ที่เข้ามาซ้ำเติมวงการเลี้ยงไก่ให้ปัญหาปริมาณไข่ไก่ลด ต้องลุกลามเข้าไปอีกคือโรค IB หรือโรคหลอดลมอักเสบ ซึ่งเกิดในลูกไก่ไข่ที่มีอายุ 1-3 สัปดาห์ ที่ระบาดในช่วงที่ผ่านมา ทำให้เมื่อลูกไก่ชุดนี้โตขึ้นเป็นแม่ไก่ในปัจจุบันมีลักษณะของรังไข่ที่ฝ่อ ผลผลิตไข่ไก่จึงเสียหาย" กำนันคนเดิมอธิบาย

จากเหตุผลที่กล่าวมาทำให้มีผลผลิตไข่ไก่ออกสู่ท้องตลาดน้อยลง ประกอบกับเป็นช่วงโรงเรียนเปิดภาคเรียน ความต้องการบริโภคไข่ไก่ในช่วงนี้จึงสูงกว่าในช่วง 1-2 เดือนก่อนหน้านี้ ทำให้ราคาไข่ไก่ในท้องตลาดมีการปรับตัวสูงขึ้น จนปัจจุบันมีราคาขายเฉลี่ยฟองละ 2.80 บาท เป็นไปตามดีมานด์-ซัพพลายและกลไกของตลาด ในฐานะผู้มีประสบการณ์ในวงการไก่ไข่ มาร่วม 30 ปี กำนันมาโนช "ฟันธง" ว่า ราคาไข่ จะปรับตัวขึ้นในช่วงสั้นๆ เท่านั้น หลังจากผ่านช่วงนี้ไปแล้ว สภาพอากาศเริ่มมีอุณหภูมิลดลงหลัง จากมีฝนลงมาพอให้คลายร้อนกันได้บ้าง เชื่อว่าจะทำให้ในช่วง 1-2 เดือนข้างหน้าจะมีปริมาณไข่ไก่ออกสู่ตลาดมากกว่าช่วงที่ผ่านมา และทำให้ราคาขายปรับเข้าสู่ภาวะปกติได้  ในประเด็นที่มีผู้ตั้งข้อสังเกตว่าเมื่อไข่ไก่ราคาสูงขึ้น น่าจะนำไข่ที่เก็บไว้ในห้องเย็นออกมากระจายสู่ตลาด กำนันมาโนช บอกว่า ตอนนี้ไม่มีไข่ไก่เหลือในห้องเย็นอีกแล้ว เพราะเมื่อไข่ราคาขยับสูงขึ้นมาที่ฟองละ 2.60 บาท ทางห้องเย็นต่างๆ ได้มีการระบายไข่ไก่ ที่มีอยู่ออกสู่ท้องตลาดหมดแล้ว เพราะถือว่าขายได้ราคาดี และไม่มีใครต้องการแบกภาระเรื่องต้นทุนการเก็บรักษาไข่ แต่ถึงระบายออกมาหมดแล้วก็ไม่ได้ทำให้ราคาไข่ลดลง เพราะปริมาณไข่ไก่หายไปจากท้องตลาด จำ นวนมาก ดังที่กล่าวมาแล้ว พูดง่ายๆ ก็คือเมื่อไข่ราคาถูก เราจึงจะเก็บไข่เข้าห้องเย็น เพื่อลดปริมาณ ไข่ในท้องตลาดและทำให้ราคาในตลาดดีขึ้น แต่ถ้าไข่ราคาดี ไม่มีใครอยากเก็บไข่ไว้แน่นอนเพราะ มีแต่จะทำให้มีต้นทุนที่เพิ่มขึ้น  อีกประเด็นที่ดูจะเป็นข้อถกเถียงกันมากในเรื่องของต้นทุน "ลูกไก่" และ "ไก่สาว"ที่มีราคาสูงขึ้น นายกสมาคมผู้เลี้ยงไก่ไข่ บอกว่า เป็นเรื่องของดีมานด์-ซัพพลาย อย่างที่กล่าวไว้ตอน ต้นว่าแต่ละฝ่าย ทั้งเกษตรกร และ ภาคเอกชนผู้นำเข้าพ่อแม่พันธุ์ ได้ตกลงร่วมกันว่าจะให้มีการลดปริมาณพันธุ์สัตว์ลง 20 เปอร์เซ็นต์ แน่นอนว่าปริมาณของลดลงย่อมทำให้ราคาเพิ่มขึ้นเป็นธรรม ดา และได้มีการคุยกันในที่ประชุมแล้ว ซึ่งเกษตรกรเอง ก็ยอมรับในเรื่องราคาพันธุ์สัตว์ที่อาจจะแพงขึ้นในอนาคต

ส่วนเรื่องของการ "ฮั้ว" ราคากันระหว่างผู้ผลิตพันธุ์สัตว์ กำนันคนเดิม แสดงทัศนะว่า ในความเป็นจริงแล้วการตั้งราคาได้ตามใจชอบนั้น เกิดจากการเป็นตลาดผูกขาด แต่การที่มีผู้ผลิตในตลาดอยู่ถึง 9 รายคงเป็นเรื่องที่ทำได้ยาก เนื่องจากความสามารถหรือศักยภาพในการผลิตและการทำตลาดของแต่ละบริษัทย่อมแตกต่างกัน ช่องว่างของการทำกำไร แต่ละบริษัทย่อมแตกต่างกัน การฮั้วราคากันจะทำให้บางบริษัทได้กำไรมาก บางบริษัทได้กำไรน้อย และทำให้แข่งขันในตลาดไม่ได้ ฉะนั้นจึงเป็นเรื่องที่แต่ละบริษัทจะต้องวางยุทธศาสตร์หรือกลยุทธ์ที่เหมาะสมกับศักยภาพของตัวเอง เพื่อให้สามารถทำกำไรและยังแข่งขันในตลาดได้ "นอกจากนี้ ในการนำเข้าพันธุ์สัตว์ก็ไม่ได้จำกัดอยู่แค่ 9 บริษัทที่มีอยู่เท่านั้น ทาง EGG Board ได้เปิดโอกาสให้เอกชนหรือเกษตรกรแต่ละรายที่สนใจนำเข้าพันธุ์สัตว์ ก็สามารถยื่นเรื่องเสนอไปทาง EGG Board ได้ และไม่ใช่เรื่องยาก เพียงแต่ต้องดูว่าเอกชนหรือเกษตรกรแต่ละรายมีความพร้อมมากขนาดไหน เพราะที่ผ่านมาก็เคยมีผู้นำเข้าพันธุ์สัตว์เป็นจำนวนมากกว่าในปัจจุบัน แต่สุดท้ายก็ไม่สามารถแข่งขันได้ จนต้องยกเลิกไปและเหลืออยู่เพียง 9 รายอย่างในปัจจุบัน" เขา กล่าวส่วนที่มีการตั้งคำถามว่าเมื่อไข่ราคาดี เกษตรกรต้องซื้อพันธุ์สัตว์ในราคาสูงขึ้นตามราคาไข่หรือไม่ กำนันมาโนช บอกว่า คงไม่ได้เป็นสูตรตายตัว แต่สุดท้ายก็หนีไม่พ้นเรื่องของดีมานด์-ซัพพลาย เช่นเคย เมื่อไข่ราคาดี มีหรือเกษตรกรจะไม่อยากเลี้ยง นี่เป็น "วัฏจักร" ที่มักเกิดขึ้นกับเกษตรกรไทย หรือวงจรการเกษตรของไทยมาตลอด ผลผลิตขายได้ราคาดีก็อยากเลี้ยงให้มากขึ้น คิดว่าทำเกษตรต้องเป็นหนึ่งบวกหนึ่งเท่ากับสองเสมอ ซึ่งในความเป็นจริงอาจจะไม่ใช่เสมอไป เพราะเมื่อปริมาณเพิ่ม 1 เปอร์เซ็นต์อาจจะมีผลให้ราคาลดลงถึง 10 เปอร์เซ็นต์ก็เป็นไปได้ ในทางตรงกันข้ามถ้าลดปริมาณเลี้ยงลง 1 เปอร์เซ็นต์ก็อาจจะทำให้ราคาปรับสูงขึ้นได้ 10 เปอร์เซ็นต์ก็อาจเป็นไปได้เช่นเดียวกัน

ใช่หรือไม่ว่า ทางออกปัญหา "ไข่ไก่แพง" คือการปล่อยให้ราคามีการปรับเปลี่ยนไป ตามกลไกตลาด ตามแต่ ดีมานด์- ซัพพลาย ที่เกิดขึ้นจริง ?

 

น้ำตาลทราย

 เลขาธิการ สอน. - ประธานบริหาร ไทยชูการ์ มิลเลอร์ ประสานเสียง ปีนี้เป็นปีทองอุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลทราย ถือเป็นสินค้าที่สร้างประโยชน์อย่างยิ่งต่อเศรษฐกิจของประเทศในภาวะที่เศรษฐกิจตกต่ำทั่วโลก สร้างรายได้เข้าประเทศต่อปีกว่า 8 หมื่นล้านบาท หมุน 5 รอบ 4 แสนล้านบาท ลุ้นราคาอ้อยฤดูกาล 2551/2552 มีสิทธิ์แตะระดับ 1 พันบาทต่อตันอ้อย คาดเกษตรกรจะหันมาปลูกอ้อยมากขึ้น

 ดร.ประเสริฐ ตปนียางกูร เลขาธิการคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทราย กระทรวงอุตสาหกรรม เปิดเผยว่า จากแนวโน้มอุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลทรายในปี 2552 ที่ถือว่า ดีที่สุดในรอบหลายๆ ปี ส่งผลให้ราคาอ้อยปรับตัวสูงขึ้นเป็นประวัติการณ์ ทำให้คาดว่า ราคาอ้อยขั้นสุดท้ายปี 2551/2552 น่าจะอยู่ที่ระดับ 920 บาทต่อตันอ้อย จากราคาขั้นต้นที่ 830 บาทต่อตันอ้อย และหากรวมค่าความหวานเข้าไปอีกก็น่าจะทำให้ราคาอ้อยปีนี้ยืนอยู่ที่ระดับ 1,000 บาทต่อตันอ้อยได้ ขณะเดียวกันทิศทางราคาน้ำตาลในตลาดโลกที่อยู่ในระดับสูง ก็น่าจะทำให้ราคาอ้อยปี 2552/2553 ไม่ต่ำกว่าราคาในปีนี้ ซึ่งจะมีผลให้ปริมาณอ้อยไม่ลดลงจากปีก่อน

           “ปีนี้ถือเป็นปีทองของอุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลทราย โดยฤดูการผลิตอ้อยและน้ำตาลปี 2551/2552 ซึ่งปิดหีบไปแล้วมีผลผลิตอ้อยรวมทั้งสิ้น 66.5 ล้านตัน สามารถผลิตน้ำตาลทรายได้ 7.1 ล้านตัน ถึงแม้ผลผลิตอ้อยที่ได้จะต่ำกว่าที่คาดไว้ 5 ล้านตัน แต่ด้วยราคาที่ปรับตัวสูงขึ้นเป็นประวัติการณ์จากการขาดดุลน้ำตาลในตลาดโลกเนื่องจากหลายประเทศมีผลผลิตน้ำตาลลดลงจึงต้องมีการนำเข้ามากขึ้น เช่น อินเดีย ยุโรป ปากีสถาน และจีน ทำให้ราคาน้ำตาลอยู่ในระดับที่ดีมากและชาวไร่อ้อยเองก็ได้ค่าอ้อยที่สูง” ดร.ประเสริฐกล่าว

          สำหรับทิศทางการส่งออกน้ำตาลทรายในปีนี้ประมาณกว่า 5 ล้านตัน นั้น เลขาธิการคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทราย มองว่า เป็นโอกาสที่ดีต่อการส่งออกน้ำตาลของไทยแม้ว่า สภาวะเศรษฐกิจโลกจะชะลอตัว แต่อัตราการบริโภคจะยังคงมีการขยายตัวเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะตลาดในภูมิภาคเอเชีย ซึ่งถือเป็นตลาดส่งออกน้ำตาลที่สำคัญของไทยกว่า 98% เนื่องจากมีข้อได้เปรียบในด้านการขนส่ง โดยคาดว่า ราคาน้ำตาลทรายดิบในตลาดโลกปีนี้น่าจะอยู่ที่ระดับประมาณ 14-15 เซนต์ต่อปอนด์

ดังนั้น อุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลทรายถือเป็นอุตสาหกรรมที่มีความสำคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ สร้างรายได้จากการจำหน่ายน้ำตาลในประเทศและส่งออกประมาณกว่า 8 หมื่นล้านบาทต่อปี สร้างงานและสร1 ล้านคน

 “อุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลทรายถือเป็นอุตสาหกรรมที่มีความสำคัญมากต่อระบบเศรษฐกิจประเทศ โดยสร้างรายได้ต่อปีกว่า 8 หมื่นล้านบาท ซึ่งหากมีการหมุนเวียนเงินจำนวนดังกล่าวในระบบเศรษฐกิจ 5 รอบ จะเพิ่มมูลค่าอีกกว่า 4 แสนล้านบาท และก่อให้เกิดการลงทุนในอุตสาหกรรมต่อเนื่องอื่นๆ อีกมากมาย เช่น ผลิตกระแสไฟฟ้า เอทานอล อาหารแปรรูปและเครื่องดื่ม และหากเปรียบเทียบการส่งออกสินค้าเกษตรในปีที่ผ่านมา น้ำตาลมีมูลค่าส่งออกถึง 4.7 หมื่นล้านบาท ซึ่งสูงกว่ามันสำปะหลังที่มีมูลค่า 4.5 หมื่นล้านบาท” เลขาธิการคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทรายกล่าว

            ทั้งนี้ เพื่อให้อุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลทรายของไทยมีการปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงในตลาดการค้าโลก และสามารถคงความได้เปรียบในการแข่งขันกับประเทศคู่แข่งได้อย่างยั่งยืนในระยะยาว ภาครัฐจึงได้ดำเนินการส่งเสริมและพัฒนาประสิทธิภาพการผลิตอ้อยและน้ำตาลทรายอย่างต่อเนื่อง ทั้งการร่วมกับสมาคมชาวไร่อ้อย และโรงงานน้ำตาลทั้ง 47 โรง ผลิตอ้อยพันธุ์ดีที่ให้ผลผลิตและค่าความหวานสูง ทนทานต่อโรคและแมลงศัตรูอ้อย รวมถึงสนับสนุนโดยการให้สินเชื่อเพื่อส่งเสริมการปลูกอ้อยกว่า 1 หมื่นล้านบาท สินเชื่อเพื่อแก้ไขปัญหาภัยแล้งจำนวน 2 พันล้านบาท ให้แก่ชาวไร่อ้อยเพื่อนำไปใช้ในการปลูกและบำรุงรักษาอ้อย พัฒนาแหล่งน้ำและระบบการจัดการในไร่อ้อย นอกจากนี้ยังอยู่ระหว่างการเสนอโครงการสินเชื่อเพื่อซื้อรถตัดอ้อยปีละกว่า 1 พันล้านบาท

             ทั้งนี้ ผลพวงจากราคาอ้อยที่ปรับตัวสูงขึ้นทำให้คาดว่า ในฤดูกาล 2552/2553 เกษตรกรจะหันมาปลูกอ้อยเพิ่มมากขึ้นกว่าปีก่อน ซึ่งมีปริมาณอ้อยต่ำกว่าที่คาดการณ์ไว้ค่อนข้างมากโดยมีผลผลิตรวม 66.5 ล้านตัน จากที่คาดว่า จะมีผลผลิต 71.80 ล้านตันจากการสำรวจพบว่า น้ำตาลทรายขายปลีกสูงกว่าราคาควบคุมซึ่งกำหนดไว้ไม่เกินกิโลกรัมละ 23.50 บาท โดยพ่อค้าแบ่งเป็นถุงๆ ขายเฉลี่ยแล้วกิโลกรัมละ 25 ถึง 30 บาท เนื่องจากยี่ปั๊วส่งน้ำตาลมาให้น้อยลง และราคาสูงขึ้นจากเดือนก่อนถึงกระสอบละ 115 บาท

...(เสียง ศักดิ์ชัย เมืองน้อย พ่อค้าตลาดห้วยขวาง)

สำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทราย เปิดเผย ปริมาณน้ำตาลทรายในประเทศที่ลดลง เกิดจากผู้ผลิตอาหารเพื่อการส่งออก หันมาใช้น้ำตาลโควต้าในประเทศ ส่งผลให้น้ำตาลทรายในประเทศ ลดลงไปประมาณ 10,000 ตัน

ที่ด่านสระแก้ว ผู้ค้าส่งรายใหญ่จำกัดปริมาณการจำหน่ายน้ำตาลในประเทศเหลือเพียงคนละ 1 กระสอบ ป้องกันการกักตุนสินค้าและลักลอบนำออกไปนอกประเทศ ซึ่งราคาสูงถึงกิโลกรัมละ 30-35 บาท ขณะที่ในประเทศขายกิโลกรัมละ 25-27 บาท

ด้านชายแดนไทย-กัมพูชา เพิ่งจับกุมผู้ลักลอบนำน้ำตาลทรายออกไปในรูปแบบกองทัพมด ทยอยนำออกเฉลี่ยคนละ 1-10 กิโลกรัม โดยจับกุมได้แล้ว 50 กระสอบๆ ละ 50 กิโลกรัม  ราคาน้ำตาลในตลาดโลกขณะนี้ยังอยู่ในช่วงขาขึ้น โดยตั้งแต่ปลายปีที่แล้ว ราคาน้ำตาลทรายดิบเพิ่มขึ้นแล้วกว่า 20 เปอร์เซ็นต์ เพราะประเทศผู้ผลิตรายใหญ่ลดการส่งออก

กรมการค้าภายใน ยืนยัน ราคาน้ำตาลในประเทศยังไม่ขาดแคลนและเตรียมสำรองน้ำตาลทรายในประเทศเพิ่มอีก 40,000 ตัน และส่งเจ้าหน้าที่ออกตรวจสอบไม่ให้มีการฉวยโอกาสปรับขึ้นราคา และหากพบโรงงานที่ใช้น้ำตาลโควต้าบริโภคในประเทศ ไปใช้ผลิตเพื่อการส่งออก จะถูกตัดโควต้าเป็นเวลา 5 ปี

 

การท่องเที่ยว

"ชุมพล"ตั้ง กก.เฉพาะกิจเยียวยา-ฟื้นฟูท่องเที่ยวเชิงรุก รอครม.ไฟเขียวงบฯ1.6 พันล.ลุยการตลาด "สุรพล"เรียกผู้ประกอบการประเมินสถานการณ์ ภายใต้สมมุติฐานความวุ่นวายจบ นายชุมพล ศิลปอาชา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา และหัวหน้าพรรคชาติไทยพัฒนา (ชทพ.) เปิดเผยเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคมว่า ได้หารือร่วมกับนายบรรหาร ศิลปอาชา ประธานที่ปรึกษาหัวหน้าพรรค ชพท. เกี่ยวกับแผนการดำเนินงานเพื่อเยียวยาการท่องเที่ยวของไทย โดยเบื้องต้นได้ตั้งคณะกรรมการเฉพาะกิจเพื่อช่วยเหลือเยียวยาฟื้นฟูภาพลักษณ์ และสร้างความเชื่อมั่นด้านการท่องเที่ยว โดยมีนายสุรพล เศวตเศรนี ผู้ว่าการการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) เป็นประธาน เพื่อจัดทำข้อมูลผลกระทบที่เกิดขึ้นจากความวุ่นวายทางการเมือง และแผนการดำเนินงานต่างๆ ให้แล้วเสร็จโดยเร็วที่สุดนายชุมพล กล่าวว่า หน้าที่ของคณะกรรมการชุดดังกล่าวที่จะต้องดำเนินการ คือ 1.ประมวลรายงานข้อเท็จจริง รวมถึงปัญหาต่างๆ ของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว 2.แผนการดำเนินงานช่วยเหลือผู้ประกอบการ 3.การโฆษณาและประชาสัมพันธ์ เน้นสื่อต่างประเทศ เพื่อให้ชาวต่างชาติเข้าใจในสถานการณ์ที่เกิดขึ้นโดยเร็ว และ4.เรื่องทั้งหมดที่กล่าวมาจะต้องดำเนินการให้แล้วเสร็จโดยเร็ว เพื่อให้สามารถแก้ไขสถานการณ์ได้อย่างทันท่วงที นายชุมพล กล่าวว่า หลังจากคณะกรรมการฯ ดำเนินการแล้วเสร็จ ต้องเสนอให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวฯ พิจารณา เพื่อเชิญผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวมาหารือถึงแนวทางในการดำเนินงานร่วมกันอีกครั้ง "ตอนนี้ยังไม่ได้ประเมินผลกระทบที่เกิดขึ้นอย่างชัดเจน รวมถึงการกำหนดมาตรการดึงนักท่องเที่ยวต่างชาติเข้ามา เพราะต้องรอให้คณะกรรมการที่จัดตั้งขึ้นมารวบรวมข้อมูลนำเสนอก่อน" นายชุมพลกล่าว นายชุมพล กล่าวด้วยว่า ส่วนมาตรการช่วยเหลือผู้ประกอบการด้านการท่องเที่ยว ขณะนี้เรื่องอยู่ที่คณะรัฐมนตรี (ครม.) ส่วนจะนำมาพิจารณาในการประชุมครั้งต่อไปหรือไม่นั้น ตนยังไม่ทราบ โดยมีอยู่ 2 มาตรการ คือ 1.การเสนอให้ธนาคารเพื่อการพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย(ธพว.) หรือเอสเอ็มอี แบงก์ สนับสนุนเงินกู้ช่วยผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวที่ได้รับผลกระทบจำนวน 5,000 ล้านบาท 2.ของบประมาณจาก ครม. 1,600 ล้านบาท ให้ ททท.ใช้ดำเนินงานด้านการตลาดในเชิงรุก

นายชุมพล กล่าวว่า กระทรวงการท่องเที่ยวฯ ยังย้ายศูนย์อำนวยการช่วยเหลือนักท่องเที่ยว จากอาคาร ททท. ถนนเพชรบุรี ไปอยู่ที่โรงแรมรามาการเด้นส์ ในช่วงที่เกิดความรุนแรง เพื่อให้การดำเนินงานสะดวกมากยิ่งขึ้น ที่ผ่านมาพบว่านักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศมาสอบถามข้อมูลไม่มาก  ด้านนายสุรพล ศวตเศรนี ผู้ว่าฯ ททท. กล่าวว่า หน้าที่หลักของ ททท.ในคณะกรรมการชุดดังกล่าว คงจะเป็นเรื่องมาตรการด้านการตลาดเป็นหลัก การดำเนินการดังกล่าวจะเป็นการฟื้นฟูภาพลักษณ์เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวทั้งในและต่างประเทศ โดยในวันที่ 25 พฤษภาคมนี้ ททท.ได้เรียกผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวเข้าหารือเพื่อหามาตรการการส่งเสริมการท่องเที่ยว การติดตามสถานการณ์ และการวิเคราะห์การตลาด ภายใต้ข้อสมมุติที่ว่าเหตุการณ์ได้จบลงแล้ว จะดำเนินการอย่างไรต่อไป ทั้งนี้ ยังจะพิจารณาตลาดท่องเที่ยวแต่ละแห่ง ว่าตลาดไหนฟื้นตัวได้เร็ว และตลาดไหนต้องใช้ระยะเวลาในการฟื้นตัว เพื่อกำหนดมาตรการดำเนินงานต่อไป

"ททท.มีประสบการณ์แก้ไขวิกฤตที่เกิดขึ้นจาการท่องเที่ยวมาหลายครั้ง เช่น ปี 2534 ปี 2549 ปี 2551 และปี 2552 โดยทุกครั้งที่ผ่านมา จะได้รับผลกระทบในเชิงจิตวิทยา ดังนั้นจะต้องดำเนินการฟื้นฟู ส่งเสริมภาพลักษณ์ให้กลับคืนมา แต่ครั้งนี้คงจะต้องมีการฟื้นฟูในด้านกายภาพเพิ่มเติมเข้ามาด้วย เพราะได้รับความเสียหายหนัก" นายสุรพลกล่าว นายสุรพล กล่าวว่า หากความวุ่นวายยุติอย่างแท้จริง คาดว่าจะใช้เวลาในการฟื้นฟูไม่นาน และจะสามารถดึงนักท่องเที่ยวต่างชาติให้เดินทางเข้ามาท่องเที่ยวในไทยได้ในช่วงไตรมาส 4 ซึ่งเป็นฤดูกาลท่องเที่ยว(ไฮซีซั่น) ของปีนี้ได้อย่างแน่นอน"ในช่วงวิกฤตหลายครั้งที่ผ่านมา ททท.จะใช้เวลาในการฟื้นฟูการท่องเที่ยวให้กลับเข้าสู่ภาวะปกติได้ภายใน 3 เดือน ยกเว้นช่วงเมษายนปีที่แล้ว ที่ได้รับผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจตกต่ำทั่วโลก จึงต้องใช้เวลาในการฟื้นฟูประมาณ 4 เดือนกว่า ครั้งนี้ก็คาดว่าจะใช้เวลาในการฟื้นฟูได้ไม่นานนัก" นายสุรพลกล่าว

 

การลงทุน

หน้าที่ที่ยิ่งใหญ่ ย่อมมากับความรับผิดชอบที่ยิ่งใหญ่” ไม่ต่างอะไรกับพอร์ตการลงทุนและสินเชื่อของธนาคารออมสิน..

ศิรินันท์ กาญจนพันธุ์วง์ 50473010001 เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

 

 พรก.ฉุกเฉิน
         การบริหารชาติบ้านเมืองจะคงสภาพ “ฉุกเฉิน” แบบไร้พรมแดนเวลาคงไม่ได้ จะเป็นการบ่งชี้ความอ่อนแอของรัฐบาลยืนบนขาสองข้างไม่ได้ต้องใช้ไม้ค้ำไปเรื่อยๆ  เมื่อเสนอนายกฯและรองฯเทือกยกเลิกพ.ร.ก.ฉุกเฉินก็มี 2 ภารกิจสะสางให้เสร็จสิ้นก่อนเพราะเป็นสิ่งที่ศอฉ.ก่อไว้
    ข้อแรก ขอชมศอฉ.ตัดสินใจถูกต้องแล้วให้ดีเอสไอออกกฎหมายพิเศษยกเลิกการเอาผิดผู้ร่วมชุมนุมช่วงมีนา-พฤษภาบนฐานความผิดฝ่าฝืนพ.ร.ก.ฉุกเฉิน นับรวมแล้วหลายหมื่นคนเพราะทุกคนอยู่ในพื้นที่ราชประสงค์และใกล้เคียงมีความผิดตามพ.ร.ก.ทั้งสิ้น โทษจำคุกสูงสุดถึง 2 ปี การไม่เอาผิดก็เหมือนเคารพความคิดของผู้ชุมนุมมาโดยบริสุทธิ์ใจ ไม่ถือเป็นผู้กระทำผิด
ส่วนกลุ่มหัวโจกติดบ่วงข้อหาก่อการร้ายก็ต้องดำเนินคดีจนถึงที่สุดไม่ละเว้น 
   
ข้อที่สองว่าด้วยคำสั่งศอฉ.ให้ระงับธุรกรรมทางการเงินบุคคลและนิติบุคคล 2 ระลอกรวม 149 ราย ถึงวันนี้ผ่านไปแล้วเกือบเดือนทุกรายเหล่านั้นยังติดแหง็กในร่างแหไปไหนไม่ได้ หลายคนหลายบริษัทมีธุรกิจต้องเดินไปข้างหน้า ตอนนี้ถูกตรึงนิ่งตามประกาศิต ศอฉ.ทั้งๆที่ควรแยกแยะ 149 รายตามระดับ “ความน่าจะเป็น” มาถึง “ความน่าสงสัย” หากพบผิดปกติก็เรียกไปชี้แจงและหากไม่พบปกติก็ควรปิดจ๊อบ ปลดรายชื่อออกเพื่อให้เขาดำเนินกิจการของเขาเป็นปกติ บางรายทำธุรกิจข้ามชาติเป็นกำลังสำคัญกระตุ้นและเสริมสร้างเศรษฐกิจของประเทศ ศอฉ.ควรใช้อำนาจคลี่คลายปัญหา ต้องเลี่ยงการใช้อำนาจจนเพลิดเพลินกลายเป็นเพิ่มปัญหา

การท่องเที่ยว

นายเมธี สุภาพงษ์ ผู้อำนวยการฝ่ายเศรษฐกิจในประเทศ ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) เปิดเผยว่า เศรษฐกิจเดือน พ.ค.ได้รับผลกระทบจากความไม่สงบทางการเมือง โดยเฉพาะภาคการท่องเที่ยว แต่จากข้อมูลเบื้องต้นพบว่า ผลกระทบน้อยกว่าที่ ธปท.เคยคาดการณ์ว่าจะกระทบร้อยละ 0.9 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (จีดีพี) ซึ่งผลกระทบที่ชัดเจนทั้งหมดจะประเมินในรายงานแนวโน้มเงินเฟ้อวันที่ 23 ก.ค.นี้    สำหรับผลกระทบต่อภาคการท่องเที่ยวกระทบหนักในกรุงเทพมหานคร อัตราการเข้าพักเหลือเพียงร้อยละ 24 จากเฉลี่ยร้อยละ 63 นักท่องเที่ยวลดลงร้อยละ 11 มีนักท่องเที่ยวจำนวน 815,000 คน

อย่างไรก็ตาม คาดว่าภาคการท่องเที่ยวจะฟื้นตัวภายในระยะเวลาประมาณ 6-7 เดือนส่วนการที่รัฐบาลยังคง พ.ร.ก.ฉุกเฉิน ถือเป็นเรื่องของฝ่ายความมั่นคง ซึ่งการที่นักท่องเที่ยวจะมาเที่ยวประเทศไทยจะตัดสินใจจาก 3 ปัจจัยหลัก คือ ยังคงประกาศ พ.ร.ก.ฉุกเฉินหรือไม่ มีคำเตือนจากประเทศตนเองหรือไม่ และดูจากสถานการณ์จริง หากมี พ.ร.ก.ฉุกเฉิน แต่ถ้าสถานการณ์เรียบร้อยก็คาดว่านักท่องเที่ยวจะไม่กังวลมากนัก นายเมธี กล่าวว่า หลังจากที่เหตุการณ์ความไม่สงบทางการเมืองยุติลงปลายเดือน พ.ค.ที่ผ่านมา ดัชนีความเชื่อมั่นภาคธุรกิจก็ปรับตัวดีขึ้น จากร้อยละ 46 ในเดือน เม.ย. เป็นร้อยละ 49.9 เดือน พ.ค.เช่นเดียวกับความเชื่อมั่นทางธุรกิจในอีก 3 เดือนข้างหน้าเพิ่มจาก 55.3 เป็น 55.5 โดยความกังวลเรื่องการเมืองปรับลดลง แต่ยังความกังวลเรื่องเศรษฐกิจและต้นทุนการผลิตที่มีแนวโน้มสูงขึ้น สอดคล้องกับดัชนีการลงทุนที่ปรับเพิ่มขึ้นร้อยละ 20.7 จากระดับเดียวกันของปีก่อน เนื่องจากมีความสั่งซื้อหมวดอิเล็กทรอนิกส์และยานยนต์สะท้อนภาคการส่งออกที่ยังคงขยายตัวต่อเนื่องเพิ่มขึ้นร้อยละ 42.5 คิดเป็นมูลค่า 16,436 ล้านดอลลาร์สหรัฐ การนำเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 53.5 มูลค่า 14,137 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ส่วนปัญหาหนี้สินยุโรปยังไม่เห็นผลที่กระทบต่อการส่งออกของไทย แต่ยังคงต้องจับตาสถานการณ์ต่อไป

ราคาน้ำตาล

             “อุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลทรายถือเป็นอุตสาหกรรมที่มีความสำคัญมากต่อระบบเศรษฐกิจประเทศ โดยสร้างรายได้ต่อปีกว่า 8 หมื่นล้านบาท ซึ่งหากมีการหมุนเวียนเงินจำนวนดังกล่าวในระบบเศรษฐกิจ 5 รอบ จะเพิ่มมูลค่าอีกกว่า 4 แสนล้านบาท และก่อให้เกิดการลงทุนในอุตสาหกรรมต่อเนื่องอื่นๆ อีกมากมาย เช่น ผลิตกระแสไฟฟ้า เอทานอล อาหารแปรรูปและเครื่องดื่ม และหากเปรียบเทียบการส่งออกสินค้าเกษตรในปีที่ผ่านมา น้ำตาลมีมูลค่าส่งออกถึง 4.7 หมื่นล้านบาท ซึ่งสูงกว่ามันสำปะหลังที่มีมูลค่า 4.5 หมื่นล้านบาท” เลขาธิการคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทรายกล่าว
              ทั้งนี้ เพื่อให้อุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลทรายของไทยมีการปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงในตลาดการค้าโลก และสามารถคงความได้เปรียบในการแข่งขันกับประเทศคู่แข่งได้อย่างยั่งยืนในระยะยาว ภาครัฐจึงได้ดำเนินการส่งเสริมและพัฒนาประสิทธิภาพการผลิตอ้อยและน้ำตาลทรายอย่างต่อเนื่อง ทั้งการร่วมกับสมาคมชาวไร่อ้อย และโรงงานน้ำตาลทั้ง 47 โรง ผลิตอ้อยพันธุ์ดีที่ให้ผลผลิตและค่าความหวานสูง ทนทานต่อโรคและแมลงศัตรูอ้อย รวมถึงสนับสนุนโดยการให้สินเชื่อเพื่อส่งเสริมการปลูกอ้อยกว่า 1 หมื่นล้านบาท สินเชื่อเพื่อแก้ไขปัญหาภัยแล้งจำนวน 2 พันล้านบาท ให้แก่ชาวไร่อ้อยเพื่อนำไปใช้ในการปลูกและบำรุงรักษาอ้อย พัฒนาแหล่งน้ำและระบบการจัดการในไร่อ้อย นอกจากนี้ยังอยู่ระหว่างการเสนอโครงการสินเชื่อเพื่อซื้อรถตัดอ้อยปีละกว่า 1 พันล้านบาท

        สำหรับสาเหตุที่น้ำตาลทรายขาดแคลนที่สำคัญเป็นผลจากที่ผู้ประกอบการได้หันไปซื้อน้ำตาลทรายโควตา ก.(ใช้บริโภคในประเทศ) แทนใช้น้ำตาลทรายโควตา ค.(เพื่อการส่งออก) รวมถึงมีการลักลอบส่งออกน้ำตาลตามแนวชายแดนเนื่องจากเวลานี้น้ำตาลทรายในตลาดโลกมีราคาสูง บวกกับมีการกักตุนน้ำตาลทรายในช่วงที่มีการชุมนุม

ราคาไข่

นายมาโนช ชูทับทิม นายกสมาคมผู้เลี้ยงไก่ไข่ กล่าวว่า ขณะนี้เกษตรกรผู้เลี้ยงไก่ไข่ กำลังประสบปัญหาอย่างหนัก จากภาวะภัยแล้งและสภาพอากาศที่ร้อนจัด โดยมีอุณหภูมิสูงขึ้นผิดปกติถึง 43-44 องศาเซลเซียส เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีที่ผ่านมา (2552) ขณะที่อุณหภูมิที่เหมาะสมในการเลี้ยงไก่ไข่อยู่ที่ 28-30 องศาเซลเซียสเท่านั้น ส่งผลให้แม่ไก่เกิดอาการเครียด กินอาหารได้น้อย และทำให้เปอร์เซ็นต์การให้ไข่ของแม่ไก่ลดลง รวมถึงผลผลิตไข่ไก่มีขนาดเล็กลง นอกจากนี้ บางพื้นที่ขาดน้ำสะอาดเพื่อให้ไก่กิน ก่อให้เกิดไก่ป่วยตามมา ผลผลิตจึงลดลงมาก และในวงการเลี้ยงไก่กำลังประสบปัญหาโรคระบาดในไก่ไข่ คือ โรค ib หรือโรคหลอดลมอักเสบ ในช่วงฤดูหนาวที่ผ่านมา ซึ่งเกิดในลูกไก่ไข่ที่มีอายุ 1-3 สัปดาห์ ทำให้รังไข่ฝ่อ ผลผลิตไข่ไก่ที่ได้เกิดความเสียหาย จึงอยากเตือนให้เกษตรกรผู้เลี้ยงไก่ไข่เข้มงวดในเรื่องการป้องกันโรคด้วย
นายมาโนช กล่าวด้วยว่า ตลอดระยะเวลา 3 ปีที่ผ่านมา ผู้เลี้ยงไก่ไข่ขาดทุนมาโดยตลอดเพราะผลผลิตมากเกินความต้องการบริโภค คณะกรรมการนโยบายพัฒนาไก่ไข่และผลิตภัณฑ์ และเกษตรกรผู้เลี้ยงไก่ไข่ ได้พยายามร่วมกันหาทางแก้ปัญหาเสถียรภาพราคาไข่ไก่ด้วยมาตรการต่างๆ มากมาย เช่น การควบคุมปริมาณการนำเข้าพ่อแม่พันธุ์ การปลดแม่ไก่แก่ยืนกรงให้เร็วขึ้น หรือการส่งออกเพื่อระบายไข่ส่วนเกิน เพื่อรักษาสมดุลของอุปสงค์อุปทานของไข่ไก่ให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม แต่ความพยายามดังกล่าวเพิ่งจะเริ่มสัมฤทธิ์ผลในปีนี้ และกลับต้องเจอกับสภาวะโรคร้อน และโรคระบาด ดังกล่าว แต่มั่นใจจะเป็นเพียงช่วงระยะเวลาสั้นๆ เนื่องจากกำลังเข้าสู่ช่วงฤดูฝน อีกทั้งไข่ไก่เป็นสินค้าเกษตรที่มีช่วงวงจรเวลาสั้น ความเสียหายของผลผลิตไข่ไก่จะลดลงและเข้าสู่ภาวะปกติในที่สุด

การลงทุน

การลงทุน  ความต้องการบริโภคภายในประเทศมีสัญญาณดีขึ้น แต่ภัยแล้ง และการทยอยถอนมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจที่ส่งเสริมการบริโภค และความไม่แน่นอนทางการเมืองอาจเป็นปัจจัยฉุดรั้งการเติบโตของเศรษฐกิจหุ้นไทยถูกเงินนอกทะลัก  ปัญหาความวุ่นวายทางการเมืองที่เกิดขึ้นนั้นอาจจะส่งผลให้การปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายในช่วงกลางเดือนเมษายนนี้อาจจะต้องเลื่อนออกไป รวมทั้งยังเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลให้ GDP ต่ำกว่าที่หลายหลายคาดการณ์ไว้ ส่วนแนวโน้มตลาดหุ้นกลับมองว่าจะยังไม่ได้รับผลกระทบจากปัญหาทางการเมือง เพราะราคาหุ้นค่อนข้างถูกโดยการเข้าลงทุนส่วนใหญ่จะสลับเข้าลงทุนอยู่ 2 กลุ่ม คือกลุ่มพลังงาน เช่น  PTT TOP และ PTTEP กลุ่มธนาคารพาณิชย์ เช่น BBL SCB และ KBANK เนื่องจากเป็นหุ้นขนาดใหญ่พื้นฐานดีและยังพอมีอัพไซด์ ทั้งนี้แม้ปัจจุบันราคาหุ้นกลุ่มอสังหาริมทรัพย์จะปรับตัวลดลงต่อเนื่อง แต่ฝ่ายวิจัยกลับมองว่าเป็นหุ้นที่น่าลงทุนเป็นอย่างมากเพราะเป็นหุ้นที่พื้นฐานดีและแม้ว่ามาตรากระตุ้นภาษีอสังหาริมทรัพย์จะหมดอายุภายในเร็วๆนี้เชื่อว่าจะไม่กระทบต่อปัจจัยฟื้นตัวของหุ้น

จากบทความข้างต้น ทำให้เห็นได้ว่าสิ่งที่กล่าวมามีความสัมพันธ์กันเป็นทอด สรุปได้ว่า ความต้องการบริโภคภายในประเทศมีสัญญาณดีขึ้น แต่ภัยแล้ง และการทยอยถอนมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจที่ส่งเสริมการบริโภค และความไม่แน่นอนทางการเมืองอาจเป็นปัจจัยฉุดรั้งการเติบโตของเศรษฐกิจ หุ้นไทยถูกเงินนอกทะลัก  ปัญหาความวุ่นวายทางการเมืองที่เกิดขึ้นนั้นอาจจะส่งผลกระทบโดยตรงต่อการท่องเที่ยว การท่องทุน เนื่องมาจาก ชาวต่างชาติและนักลงทุนขาดความเชื่อมั่นในประเทศไทยบวกกับที่ยังมีการตรึงสถานการณ์ พรก.ฉุกเฉินอยู่ ทำให้ภาคการท่องเที่ยวและการลงทุนชะลอตัวลง ความแห้งแล้ง ผลผลิตที่สำคัญของไทย มีผลต่อการบริโภคภายในประเทศ ก็จะส่งผลกลับไปที่การลงทุนเพราะแนวโน้มเศรษฐกิจจะดีขึ้น หรือแย่ลง

 

เหมือนฝัน คำใจดี รหัส 50473010049 เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

ให้นักศึกษาทุกคนแสดงความเห็นว่าการคงประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน ราคาไข่ไก่ ราคาน้ำตาลทราย การท่องเที่ยว การลงทุน มีความเชื่อมโยงกันอย่างไร

 Egg price (ราคาไข่ไก่)

 จากปัญหาไข่ไก่ราคาสูงขึ้น ซึ่งก่อนหน้านี้รัฐบาลมีการชี้แจงว่าเกิดจากสภาวะอากาศที่ร้อนแห้งแล้งทำให้แม่ไก่ไม่ออกไข่... กลายเป็นประเด็นถกเถียงอย่างกว้างขวางขึ้น เมื่อมีเกษตรกรผู้เลี้ยงไก่ไข่ออกมาร้องเรียนว่า ปัญหาที่แท้จริงไม่ได้มาจากปัญหาสภาวะอากาศเพียงอย่างเดียว แต่เกิดจากปัญหาการขาดตลาดของแม่พันธุ์ไก่ไข่ กระทั่งเมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม ที่ผ่านมา ที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์มีการประชุมคณะกรรมการนโยบายพัฒนาไก่ไข่ และผลิตภัณฑ์ โดยนายธีระ วงศ์สมุทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กล่าวว่า ที่ประชุมได้สรุปมาตรการแก้ไขปัญหาราคาไข่ไก่เป็น 3 ระยะ คือ มาตรการระยะสั้น มาตรการระยะกลาง และมาตรการระยะยาว แนวทางที่ต้องการจากรัฐบาล จากมาตรการข้างต้นนั้น หากย้อนมองถึงความต้องการของเกษตรกรจะพบข้อร้องเรียนสำคัญๆ 2 ประการ ที่มองว่ารัฐบาลยังไม่มีการนำไปใช้อย่างชัดเจนในแนวทางข้างต้น กล่าวคือ 1) รัฐบาลควรเปิดเสรีการนำเข้าพันธุ์ไก่ไข่ ไม่ให้กระจุกตัวอยู่แค่เอกชนไม่กี่ราย ส่งผลทำให้เกิดการผูกขาด นายปัญญา โชติเทวัญ ประธานกรรมการบริษัทสหฟาร์ม จำกัด กล่าวว่า ปัจจุบันมีปัญหาการผูกขาดเกิดขึ้นเพราะแม่พันธุ์ไก่ไข่ที่นำเข้ามา 400,000 ตัว และมีเกษตรกรที่ได้รับจัดสรรจริงเพียงร้อยละ 5 หรือ 20,000 ตัว เท่านั้น ที่เหลือเป็นของผู้เลี้ยงที่ไม่ใช่เกษตรกรรายย่อย ซึ่งการแก้ไขปัญหาควรสอดคล้องกับเกณฑ์องค์การการค้าโลก (ดับเบิลยูทีโอ) ที่ระบุว่า การค้าต้องไม่เกิดระบบผูกขาด 2) การปรับลดราคาลูกไก่ และแม่ไก่ลง มีการมองว่าไม่ช่วยอะไรมาก เพราะราคาขายปัจจุบันยังอยู่ที่ตัวละ 28 กว่าบาท ที่ถือว่าสูงมาก ทำให้เกษตรกรผู้เลี้ยงมีค่าใช้จ่ายเพิ่มมากขึ้น และต้องผลักภาระไปให้ผู้บริโภคเมื่อผลผลิตออกก็ยังส่งผลให้มีราคาสูงอยู่ดี เนื่องจากราคาต้นทุนสูง อย่างไรก็ตามจากมาตรการทั้งหมดนี้ มีการมองว่าเป็นการแก้ไขปัญหาในระยะสั้น ซึ่งไม่สามารถแก้ปัญหาได้อย่างแท้จริง อย่างการใช้โครงการธงฟ้าในการแทรกแซงนั้น ถือเป็นการดูแลประชาชนผู้มีรายได้น้อย ซึ่งในการแก้ปัญหาอย่างยั่งยืนไม่ใช่การคุมราคาสินค้าทั้งหมด เช่น หากสินค้าเกษตรราคาแพง รัฐบาลก็ไม่ควรเข้าไปคุมราคามากจนเกินไป เพราะสินค้าเกษตรราคามักมีการเปลี่ยนแปลงไปตามวัฏจักร เช่น ราคาแพงเพราะผลผลิตน้อย แต่หากราคาที่สูงขึ้นก็จะจูงใจให้เกษตรกรผลิตเพิ่ม ทำให้ปริมาณสินค้าในตลาดเพิ่ม ผู้ประกอบการกับผู้บริโภคที่กินน้อยลง ก็จะเป็นกลไกที่ทำให้ราคาถูกลงมาเอง ทั้งนี้ ต้องพิจารณาปัญหาที่ทางเกษตรกรร้องเรียนว่าเหตุที่ผลผลิตน้อยเนื่องจากการถูกจำกัดแม่พันธุ์หรือไม่ ซึ่งการที่รัฐบาลมีการลดปริมาณการส่งออกลงเพื่อเพิ่มผลผลิตการขายในประเทศ ก็เป็นทางออกในระยะสั้นเช่นกัน เพราะผู้ส่งออกมีตลาดอยู่แล้วหากระงับไม่ให้ส่งออกจะส่งผลกระทบในอนาคตที่ลูกค้าไม่กล้าซื้อไข่ไก่จากไทยอีก อีกทั้งแนวโน้มประชากรที่เพิ่มขึ้นในอนาคตความต้องการอาหารและผลผลิตทางการเกษตรย่อมสูงขึ้น การหามาตรการรองรับด้านผลผลิตจึงเป็นแนวทางที่สำคัญกว่าในระยะยาว ดังนั้นหากรัฐบาลไม่มีการพัฒนาระบบการค้า และเป็นวงจรที่ต้องแก้ไขปัญหาอย่างนี้ทุกปี ก็จะไม่สามารถแก้ไขปัญหากลไกทางการตลาดได้

Sugar price (ราคาน้ำตาล)

นายวิฑูรย์ สิมะโชคดี ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม เปิดเผยว่า คณะกรรมการจัดซื้อน้ำตาลทราย ที่มีนายประเสริฐ ตปนียางกูร เลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทราย (สอน.) จะจัดเปิดระมูลซื้อน้ำตาลโควตา ค (น้ำตาลเพื่อการส่งออก) จำนวน 1 ล้านกระสอบ (1 แสนตัน) กลับคืนมา เพื่อแก้ไขปัญหาน้ำตาลทรายในประเทศตึงตัว ในวันจันทร์ที่ 12 ก.ค. 2553ทั้งนี้ จากการสำรวจพบว่าขณะนี้มีน้ำตาลอยู่ในมือตัวแทนผู้ส่งออก (เทรดเดอร์) ประมาณ 8 แสนกว่ากระสอบ และส่วนใหญ่น้ำตาลยังอยู่ที่โรงงาน ซึ่งเบื้องต้นอาจจะซื้อกลับมา 5 แสนกระสอบ เพื่อประเมินสถานการณ์ก่อน และหากเพียงพอต่อความต้องการของตลาดแล้ว ก็ไม่จำเป็นต้องซื้อกลับคืนมาเต็ม 1 ล้านกระสอบ เพื่อป้องกันน้ำตาลเหลือค้างกระดานมากเกินไป เพราะยังมีน้ำตาลค้างกระดานอยู่กว่า 1.6 ล้านกระสอบ แบ่งเป็นของกระทรวงอุตสาหกรรมประมาณ 1 ล้านกระสอบ และกระทรวงพาณิชย์อีก 6 แสนกระสอบสำหรับเทรดเดอร์ทางกระทรวงอุตสาหกรรรมจะส่งหนังสือเชิญไปยังเทรดเดอร์ทั่วโลกที่มีอยู่ 24 บริษัท ที่เคยทำการค้ากับ บริษัทอ้อยและน้ำตาลไทย (อนท.) ให้เข้ามายื่นซองประมูลขายน้ำตาล ซึ่งขั้นตอนจะเปิดให้มีการยื่นซองเสนอทั้งปริมาณและราคาน้ำตาลทรายขาว และน้ำตาลทรายขาวบริสุทธิ์ โดยคณะกรรมการจะคัดเลือกรายที่เสนอราคาต่ำที่สุดไล่ไปจนครบปริมาณที่ต้องการ ซึ่งล่าสุดราคาน้ำตาลทรายขาวและน้ำตาลทรายขาวบริสุทธิ์ในตลาดโลกเคลื่อนไหวอยู่ที่ระดับ 560 เหรียญต่อตัน (ไม่รวมค่าพรีเมี่ยมไทยอีก 100 เหรียญสหรัฐต่อตัน) โดยคาดว่าราคาน้ำตาลที่ซื้อขายผ่านเทรดเดอร์จะเฉลี่ยที่ 23 บาทต่อกิโลกรัม นอกจากนี้ คณะกรรมการขายน้ำตาล ที่มีปลัดกระทรวงอุตสาหกรรมเป็นประธาน จะหารือถึงแนวทางการกระจายน้ำตาลจำนวนดังกล่าวในวันที่ 8 ก.ค. 2553 ซึ่งแนวทางการกระจายน้ำตาลจะทำด้วยวิธีปกติ โดยการขายผ่านทางยี่ปั๊วที่มีอยู่ในระบบประมาณ 20 ราย โดยจะกระจายให้ในสัดส่วนที่เท่ากัน เพื่อความเป็นธรรม และจะกำหนดราคาขายน้ำตาลทรายขาวธรรมดาที่ 19 บาทต่อกิโลกรัม และบวกภาษีมูลค่าเพิ่ม 7% ส่วนน้ำตาลทรายขาวบริสุทธิ์จะขายที่ 20 บาทต่อกิโลกรัม บวกภาษีมูลค่าเพิ่ม ซึ่งเป็นการจำหน่ายในราคาควบคุม ทำให้จะมีส่วนต่างจากราคาที่ซื้อคืนมาประมาณ 2-3 บาทต่อกิโลกรัม โดยกองทุนอ้อยและน้ำตาลทรายจะเป็นผู้รับผิดชอบส่วนต่างทั้งหมด 300 ล้านบาทนายประเสริฐ ตปนียางกูร เลขาธิการสอน. กล่าวว่า สำหรับสถานการณ์ภายหลังจากมีการเพิ่มปริมาณน้ำตาลทรายโดยการดึงน้ำตาลงวดที่ 52 และ 51 มาเพิ่มจากงวดปกติ ส่งผลให้มีน้ำตาลทรายใหม่เข้าสู่ตลาดจำนวน 8.06 แสนกระสอบต่อสัปดาห์ ทำให้การตึงตัวลดลงและราคาลดลงในระดับหนึ่ง ซึ่ง ณ วันที่ 5 ก.ค. มีปริมาณน้ำตาลทรายค้างกระดาน 1.6 ล้านกระสอบ และหากคิดรวมกับน้ำตาลที่จะเข้ามาใหม่อีก ปริมาณน้ำตาลจึงมีเพียงพอแน่นอน และไม่น่าจะทำให้เกิดการกักตุน แหล่งข่าวจากกอน.กล่าวว่า ล่าสุดกระทรวงพาณิชย์ได้ทำหนังสือทวงน้ำตาลทรายโควตาพิเศษที่กระทรวงอุตสาหกรรมกำหนดให้ 1 ล้านกระสอบแต่ได้จัดสรรไปให้ 8.04 แสนกระสอบยังคงเหลือประมาณ 1.9 แสนกระสอบ ซึ่งกระทรวงอุตสาหกรรมได้ตอบกลับไปแล้วว่าคงจะไม่สามารถจัดสรรเพิ่มให้ได้เพราะของเดิมพาณิชย์ยังไม่สามารถขายได้หมดโดยยังคงมีน้ำตาลเหลือ 6 แสนกระสอบ เนื่องจากหากมีน้ำตาลทรายดังกล่าวเหลือเท่าใดจะส่งผลกระทบต่อการคำนวณรายได้ของชาวไร่อ้อยโดยเฉพาะราคาอ้อยขั้นต้นปี 2553/2554 ที่จะกำหนดพ.ย.นี้เพราะการคำนวณจะยึดจากการปริมาณน้ำตาลที่ขายได้จริง Interest rate (อัตราดอกเบี้ย) ธนาคารแห่งประเทศไทยส่งสัญญาณปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบาย ตามการฟื้นตัวเศรษฐกิจ - ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) กล่าวว่า ในปี 53 อัตราดอกเบี้ยนโยบาย (RP 1 วัน) อาจมีการปรับขึ้น โดยตามธรรมเนียมปฏิบัติที่ปกติจะปรับขึ้นคราวละ 0.25-0.50% เพื่อให้สอดคล้องกับเศรษฐกิจและระยะเวลาในการดำเนินนโยบายการเงิน ส่วนการที่รัฐบาลต่ออายุมาตรการช่วยลดค่าครองชีพให้กับประชาชนออกไปถึงสิ้นปี 53 นั้น ธปท.ประเมินว่าจะมีผลกระทบต่อเงินเฟ้อไม่มากนัก แต่การต่ออายุหรือหากจะมีการปรับให้เป็นมาตรการถาวรก็จะกระทบต่อการใช้จ่ายของรัฐบาล นอกจากนี้ปัญหาวิกฤตเศรษฐกิจในยุโรป เชื่อว่าการแก้ปัญหาร่วมกันน่าจะช่วยให้ธนาคารพาณิชย์ในยุโรปสามารถดำเนินอยู่ได้ และเชื่อว่าไม่น่าจะเกิดวิกฤติรอบสอง รวมถึงเศรษฐกิจสหรัฐก็มีการฟื้นตัวอย่างต่อเนื่อง ซึ่งประเด็นเหล่านี้ต้องติดตามต่อไป

Tourism (การท่องเที่ยว)

 ธปท.ชี้คง พ.ร..ก.ฉุกเฉินกระทบท่องเที่ยวจำกัด - ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย(ธปท.) เปิดเผยว่าในช่วงเดือนเม.ย.-พ.ค.53 ธุรกิจท่องเที่ยวได้รับผลกระทบจากการประกาศ พ.ร.ก.อยู่ในวงจำกัด ในเขตกทม.และปริมณฑล ขณะที่พื้นที่อื่นๆกระทบน้อย เพียงร้อยละ 11 ของปริมาณการท่องเที่ยวทั้งหมดในระยะสั้น แต่สำหรับในระยะยาวยังต้องติดตามดูต่อไป - สศค. วิเคราะห์ว่า เหตุการณ์การชุมนุมได้ส่งผลกระทบต่อการท่องเที่ยวสะท้อนได้จากจำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เดินทางเข้าประเทศไทยในเดือนพ.ค.5.3 หดตัวที่ร้อยละ -12.9 ต่อปี โดยเป็นการหดตัวในด่านสุวรรณภูมิ (สัดส่วนร้อยละ 70 ของด่านทั้งหมด) ที่ร้อยละ -19.1 ต่อปี ขณะที่ชดเชยด้วยด่านภูเก็ตที่ขยายตัวสูงถึงร้อยละ 60.1 ต่อปี ทั้งนี้ จากข้อมูลล่าสุดในเดือนมิ.ย.53 พบว่ามีมีจำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เดินทางผ่านด่านสุวรรณภูมิ 615 แสนคน หดตัวลดลงร้อยละ -4.8 ต่อปี บ่งชี้ถึงสัญญาณการท่องเที่ยวต่างชาติที่เริ่มดีขึ้น

 

จากที่กล่าวมาข้างต้นมีความเชื่อมโยงกัน คือ

ภาวะเศรษฐกิจโดยรวมของไทยเดือน พ.ค.53 ชะลอตัวลงติดต่อกันเป็นเดือนที่ 2  จากผลของเหตุการณ์ความไม่สงบทางการเมือง สะท้อนจากจำนวนนักท่องเที่ยวที่เดินทางเข้าประเทศไทยลดลง แม้ว่าการบริโภคภาคเอกชนจะลดลงเพียงเล็กน้อย อัตราการว่างงานที่อยู่ในระดับต่ำ และรายได้เกษตรกรที่ได้รับผลกระทบจากภัยแล้งยังไม่ได้ลดลงมาก

-  สศค. วิเคราะห์ว่า เศรษฐกิจไทยในเดือน พ.ค.53 ยังคงขยายตัวได้ดีอย่างต่อเนื่อง โดยมีปัจจัยสนับสนุนที่สำคัญจากมูลค่าการส่งออกสินค้าที่ขยายตัวได้สูงถึงร้อยละ 42.1 ต่อปี จากแรงส่งของเศรษฐกิจประเทศคู่ค้าของไทย โดยเฉพาะประเทศในภูมิภาคเอเชียที่ขยายตัวได้ดีกว่าที่คาดการณ์  ในขณะที่การบริโภคภาคเอกชนที่วัดจากภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ ยังคงขยายตัวได้ดีที่ร้อยละ 18.1 ต่อปี แม้ว่าจะเริ่มมีสัญญาณแผ่วลงเมื่อเทียบต่อเดือนร้อยละ -1.6  โดยเฉพาะสินค้าหมวดคงทนที่ได้รับผลกระทบจากปัญหาการเมือง  โดยปัจจัยดังกล่าวช่วยลดผลกระทบจากปัญหาการเมืองที่ส่งผลต่อจำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติที่หดตัวลงร้อยละ -12.9 ต่อปี เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้า  ดังนั้น สศค. คาดว่าอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของไทยในปี 2553 ยังสามารถเติบโตได้ดีอยู่ที่ระดับร้อยละ 5.5 ต่อปี (คาดการณ์ ณ เดือน มิ.ย.53) จากเดิมที่คาดการณ์ไว้ที่ร้อยละ 4.5 ต่อปี

 

นางสาวพรพิมล พรหหมผาบ 50473010056 เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

1. ราคาไข่ไก่  ขณะนี้เกษตรกรผู้เลี้ยงไก่ไข่ กำลังประสบปัญหาอย่างหนัก เนื่องจากในช่วงต้นปีที่ผ่านมา ประเทศไทย ต้องประสบภาวะภัยแล้ง ขาดน้ำ และสภาพอากาศที่ร้อนจัด โดยมีอุณหภูมิสูงขึ้นผิดปกติถึง 43-44 องศาเซลเซียส เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีที่ผ่านมา (2552) ขณะที่อุณหภูมิที่เหมาะสมในการเลี้ยงไก่ไข่อยู่ที่ 28-30 องศาเซลเซียสเท่านั้น ส่งผลให้แม่ไก่เกิดอาการเครียด กินอาหารได้น้อย และทำให้เปอร์เซ็นต์การให้ไข่ของแม่ไก่ลดลง รวมถึงผลผลิตไข่ไก่มีขนาดเล็กลง นอกจากนี้ บางพื้นที่ขาดน้ำสะอาดเพื่อให้ไก่ กิน ก่อให้เกิดไก่ป่วยตามมา ผลผลิตจึงลดลงมาก และในวงการเลี้ยงไก่กำลังประสบปัญหาโรคระบาดในไก่ไข่ คือ โรค IB หรือโรคหลอดลมอักเสบ โดยเกิดการระบาดช่วงฤดูหนาวที่ผ่านมา ซึ่งเกิดในลูกไก่ไข่ที่มีอายุ 1-3 สัปดาห์ ซึ่งทำให้เมื่อลูกไก่ชุดนี้โตขึ้นเป็น แม่ไก่ในปัจจุบัน จะทำให้รังไข่ฝ่อ ผลผลิตไข่ไก่ที่ได้เกิดความเสียหาย จึงอยากแจ้งข่าวให้เกษตรกรผู้เลี้ยงไก่ไข่เข้มงวดในเรื่องการ ป้องกันโรค  ปัจจุบันปริมาณแม่ไก่ไข่ยืนก รงทั่วประเทศเหลืออยู่ประมาณ 35-36 ล้านตัว ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีที่แล้วกว่า 20% มีผลให้ปริมาณไข่ไก่ทั่วประเทศในขณะนี้อยู่ที่ 25-26 ล้านฟองต่อวัน  จาก 28-30 ล้านฟองต่อวัน ซึ่งอาจส่งกระทบโดยตรงต่อราคาไข่ไก่ ตามหลักอุปสงค์อุปทานและกลไกตลาด แต่จะเป็นเพียงช่วงระยะเวลาสั้นๆ เท่านั้น เนื่องจากขณะนี้กำลังเข้าสู่ช่วงฤดูฝน ที่จะมีอาหารธรรมชาติเพิ่มมากขึ้น และด้วยไข่ไก่เป็นสินค้าเกษตรที่มี ช่วงวงจรเวลาสั้น ความเสียหายของผลผลิตไข่ไก่จึงจะลดลงและเข้าสู่ภาวะ ปกติในที่สุด

2. การท่องเที่ยว   ผลลบต่อจิตวิทยาการเดินทางท่องเที่ยวและการใช้จ่ายของประชาชนภายในประเทศ  รองลงมา  ได้แก่  ราคาน้ำมันขายปลีกในประเทศที่เริ่มแพงขึ้น  รวมถึงปัญหาค่าครองชีพและราคาสินค้าที่ทรงตัวระดับสูง   ส่งผลกระทบต่อภาคอุตสาหกรรมและเศรษฐกิจโดยรวมค่อนข้างมาก  โดยเฉพาะอุตสาหกรรมท่องเที่ยว  ส่วนภาคส่งออกยังพอขับเคลื่อนไปได้  หากไม่มีการปิดเส้นทางหรือสนามบิน  แต่การลงทุนระยะสั้นในไตรมาส  2  คงหายไปประมาณ  0.5%  ซึ่งทางออกต้องมีการเจรจากัน  และไม่เห็นด้วยหากรัฐบาลจะใช้ความรุนแรง

 นายกรัฐมนตรีได้กำชับให้รัฐมนตรีที่เกี่ยวข้องกับการค้าการลงทุนได้ประชุมเร่งชี้แจงทำความเข้าใจกับเอกชน  นักลงทุน  และการประกาศ   พ.ร.ก.ฉุกเฉินน่าจะสร้างความเชื่อมั่นให้นักลงทุนมากขึ้น  เนื่องจากมีขั้นตอนดำเนินการและมีการเปิดโอกาสให้สื่อเข้าร่วมสังเกตการณ์มากขึ้น  นักลงทุนเอกชนถึงสภาวะเศรษฐกิจของไทยระหว่างที่กลุ่มคนเสื้อแดงชุมนุมบริเวณแยกราชประสงค์กระทบต่อการท่องเที่ยว  ธุรกิจโรงแรม  ซึ่งการท่องเที่ยวและธุรกิจโรงแรมได้รับผลกระทบจากการประเมินเบื้องต้น   3-4   หมื่นล้านต่อเดือน  คิดว่าผู้ประกอบการมีสิทธิฟ้องร้องได้  โดยทางสภาหอการค้าไทยจะเปิดสายด่วนชี้แจงให้แก่นักลงทุนด้วย

               

3.  ราคาน้ำตาล  สถานการณ์การจำหน่ายน้ำตาลทรายขณะนี้ ราคาขายปลีกน้ำตาลเพิ่มสูงกว่าเพดานที่กำหนด กก.ละ 23.50 บาท โดยราคาสูงตั้งแต่ต้นทางจากโรงงานจนถึงร้านค้าส่งรายใหญ่ ซึ่งกระทรวงเพิ่มความเข้มงวดในการตรวจเส้นทางการจำหน่ายมากขึ้น  การตัดสิทธิการใช้น้ำตาลโควตา ค. 5 ปี ถือเป็นการลงโทษที่รุนแรง ที่ผ่านมาผู้ส่งออกอาหารถูกกล่าวหาว่าเป็นต้นเหตุ แต่เราใช้ตามสิทธิและขนน้ำตาลตามใบอนุญาตเท่านั้น ยืนยันว่าไม่มีการกักตุน  โรงงานน้ำตาลทราย เปิดเผยว่า จากการประชุมร่วม 3 สมาคมโรงงานน้ำตาลทรายมีความเห็นร่วมกันว่า น้ำตาลทรายเพื่อการบริโภคภายในประเทศจะไม่ขาดแคลนอย่างแน่นอน เนื่องจากโรงงานน้ำตาลสำรองน้ำตาลไว้ให้ผู้บริโภคอย่างเพียงพอ และขณะนี้อยู่ระหว่างการหีบอ้อยผลิตน้ำตาลทราย จึงไม่อยากให้ทุกคนวิตกกังวลในเรื่องนี้  ส่วนกรณีที่มีรายงานข่าวอ้างว่า สาเหตุที่น้ำตาลทรายเริ่มขาดตลาดเพราะโรงงานส่งสินค้าลดลงนั้น น่าจะเป็นข้อมูลที่คลาดเคลื่อน เพราะมีการนำน้ำตาลออกจำหน่ายสัปดาห์ละ 4.03 แสนกระสอบ ทุกวันจันทร์ แต่ผู้บริโภคและร้านค้ามีความต้องการซื้อเพิ่มขึ้น เนื่องจากกลัวสินค้าขาดแคลน

4. (การลงทุน) การชุมนุมประท้วงในประเทศใดก็ตาม มักจะส่งผลทางลบต่อเศรษฐกิจโดยเริ่มต้นจาก การสูญเสียความเชื่อมั่นของนักลงทุน (โดยเฉพาะนักลงทุนจากต่างประเทศ) ซึ่งจะส่งผลทำให้ปริมาณการลงทุนในประเทศลดลง ไม่ว่าจะเป็นการลงทุนจากต่างประเทศ (Foreign Direct Investment) และการลงทุนในหลักทรัพย์ (Portfolio Investment) ซึ่งเมื่อนักลงทุน (โดยเฉพาะจากต่างประเทศ) ไม่มีความเชื่อมั่นต่อระบบเศรษฐกิจไทยแล้ว นักลงทุนเหล่านั้นก็จะทำการเคลื่อนย้ายเงินทุนออกไปลงทุนในต่างประเทศ ซึ่งจะส่งผลตามมาถึงการลดลงของราคาหลักทรัพย์, การอ่อนตัวของค่าเงินในประเทศ, การถดถอยทางเศรษฐกิจ, จนลามไปถึงการว่างงาน ตามลำดับ

               

นาย กิตติวิทย์ ตั้งมงคลเลิศ รหัส 50473010025 เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

นาย กิตติวิทย์ ตั้งมงคลเลิศ

รหัส 50473010025 เศรษฐศาสตร์

1. ให้นักศึกษาทุกคนแสดงความเห็นว่าการคงประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน ราคาไข่ไก่ ราคาน้ำตาลทราย การท่องเที่ยว การลงทุน มีความเชื่อมโยงกันอย่างไร

ผลกระทบจากการคง พ.ร.ก.ฉุกเฉินไว้นั้นในด้านการท่องเที่ยวก็จะส่งผลให้บริษัททัวร์ไม่กล้าที่จะส่งลูกค้ามายังประเทศไทยเพราะไม่มีความมั่นใจในสถานการณ์ซึ่งก็จะส่งผลกระทบเป็นลูกโซ่ต่อธุรกิจที่เกี่ยวข้องไม่ว่าจะเป็นโรงแรม ร้านอาหาร รถทัวร์นำเที่ยว และพนักงาน การที่รัฐบาลยังไม่ยกเลิก พ.ร.ก.ฉุกเฉิน ถือเป็นสัญลักษณ์ที่แสดงให้นักท่องเที่ยวเห็นว่าประเทศไทยยังไม่มีความปลอดภัย และทำให้นักท่องเที่ยวมีจำนวนลดน้อยลงเพราะไม่กล้าเสี่ยงเข้ามาในประเทศไทย

ราคาไข่ไก่ในตลาดเฉลี่ยฟองละกว่า 2 บาท ซึ่งถือว่าต่ำกว่าราคาต้นทุนที่เฉลี่ย 2.30 บาทต่อฟอง ขณะเดียวกันปริมาณไข่ไก่ที่มีมากกว่าการบริโภคประมาณ 1-2 ล้านฟอง ทำให้ไข่ไก่ในปัจจุบันล้นตลาดและราคาตกต่ำ จึงอยากขอความร่วมมือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องรับไข่ไก่จากผู้เลี้ยงไปบริโภค ส่วนกระทรวงพาณิชย์จะเชื่อมโยงตลาด เพื่อระบายไข่ที่ล้นตลาดให้น้อยลง เพื่อแก้ไขปัญหาให้กับผู้เลี้ยง

ในด้านเศรษฐกิจปัญหาราคาไข่ไก่สูงขึ้นเกิดจากปัญหาอากาศร้อนจัด แม่ไก่ออกไข่น้อยลง ไข่ในตลาดไม่เพียงพอต่อการบริโภค ประกอบกับต้นทุนวัตถุดิบ โดยเฉพาะอาหารสัตว์ ราคาแพงเมื่อไข่ไก่มีราคาสูงขึ้นน้ำตาลซึ่งเป็นวัตถุดิบที่ใช้ในการทำขนมจึงมีราคาสูงขึ้นตามไปด้วย

ส่วนราคาน้ำตาลทราย มีปัจจัยหลักมาจาก ราคา น้ำตาลทรายตลาดโลกที่ปรับตัวสูงขึ้น จนอยู่ในระดับที่สูงกว่าราคาในประเทศ ส่งผลให้มีน้ำตาลทรายบางส่วนที่ กำหนดให้ใช้ในประเทศถูกส่งออกไปต่างประเทศที่ได้ราคาสูงกว่า ประกอบกับการที่ภาคอุตสาหกรรมที่ผลิต สินค้าส่งออกบางส่วน ได้หันมาใช้น้ำตาลทรายในประเทศที่มีราคาต่ำ แทนการใช้น้ำตาลทรายจากโควตาส่งออก ที่มีราคาสูงกว่า ทำให้เกิดการแย่งใช้น้ำตาลทรายในประเทศกันอย่างกว้างขวาง

ด้านการลงทุนอันเนื่องมาจากสาเหตุที่ประเทศไทยมีความเชื่อมั่นต่อการลงทุนในประเทศน้อยและยิ่งประเทศไทยนั้นประการฉุกเฉินอีกทำให้นักลงทุนหมดความเชื่อมั่นในไทยและทำให้นักลงทุนไม่ว่าจะเป็นชาวต่างชาติก็ดีหรือประเทศเพื่อนบ้านก็ดีอาจจะลงทุนประเทศเพื่อนบ้านหรือประเทศอื่นๆแทนที่จะลงทุนในไทยและอาจจะเสียดุลในการค้ามากขึ้นไปด้วย

นางสาวจันทกานต์ ศรีมาวรรณ์

นางสาวจันทกานต์  ศรีมาวรรณ์

รหัสนักศึกษา  50473010040

คณะวิทยาการจัดการ  โปรแกรมวิชาเศรษฐศาสตร์

               ให้นักศึกษาทุกคนแสดงความเห็นว่าการคงประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน  ราคาไข่ไก่  ราคาน้ำตาลทราย  การท่องเที่ยว  การลงทุน  มีความเชื่อมโยงกันอย่างไร 

          ทางรัฐบาลได้ขยายระยะเวลาการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินที่มีความร้ายแรงออกไปอีกเป็นเวลาสามเดือนในเขตท้องที่กรุงเทพ มหานครจังหวัดขอนแก่น จังหวัดชลบุรี จังหวัดเชียงราย จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดนนทบุรี จังหวัดปทุมธานี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จังหวัดมหาสารคาม จังหวัดมุกดาหาร จังหวัดร้อยเอ็ด จังหวัดลำปาง จังหวัดสกลนคร จังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดหนองบัวลำภู จังหวัดอุดรธานี และจังหวัดอุบลราชธานี

          ส่วนในบางพื้นที่ที่นอกเหนือจากที่กล่าวมานั้นได้ยกเลิกลงแล้วเพราะเจ้าหน้าที่สามารถควบคุมให้อยู่ในความสงบได้

  • ด้านความเชื่อมโยงด้านราคาไข่ไก่ และ ราคาน้ำตาลทราย

     จากภาพรวมของราคาสินค้าอุปโภคและบริโภค 6 เดือนแรกของปีนี้ แม้จะมีบางรายการปรับขึ้นไปบ้าง แต่หากเทียบผลกระทบต่อต้นทุน ถือว่าเพิ่มในสัดส่วนที่น้อยมาก แต่ก็ยังมีราคาสินค้า เช่น ไข่ไก่ น้ำตาลทราย หากดูผลกระทบต่อต้นทุนถือว่าไม่มาก

     "แต่ยอมรับว่า ราคาน้ำตาลทรายและไข่ไก่ ตึงตัว โดยกระทรวงพาณิชย์ ได้เร่งแก้ไขปัญหาราคาไข่ไก่ เชื่อว่า จะกลับเข้าสู่ภาวะปกติได้เร็วๆ นี้ "

     ส่วนปัญหาน้ำตาลทรายที่ตึงตัว กระทรวงพาณิชย์และกระทรวงอุตสาหกรรม ทำความเข้าใจเพื่อให้ไปในทิศทางเดียวกันแล้ว ซึ่งขณะนี้น้ำตาลทรายในตลาดโลกเริ่มปรับตัวสูงขึ้น จึงเกรงว่าอาจจะมีการนำน้ำตาลทรายในประเทศไปส่งออก เนื่องจากได้ราคาดีกว่า

     อย่างไรก็ตาม จะต้องมีการติดตามพฤติกรรมอย่างใกล้ชิด ทั้งนี้เชื่อว่า ขณะนี้กระทรวงอุตสาหกรรม ได้นำน้ำตาลทราย ไม่น้อยกว่า 1 แสนกระสอบ ออกมาเร่งระบายในตลาดในประเทศ และคาดว่า น้ำตาลทรายจะกลับเข้าสู่ภาวะปกติได้

     ขณะนี้กระทรวงพาณิชย์ยังไม่ได้รับรายงานว่า ทางกลุ่มผู้ประกอบการน้ำอัดลม จะขอปรับขึ้นราคาน้ำอัดลมเพิ่ม เพราะจากปัญหาราคาน้ำตาลทราย ซึ่งอยู่ระหว่างการติดตามดูภาวะต้นทุน รวมถึง กลุ่มน้ำอัดลมไม่ใช่สินค้าควบคุม แต่อยากแนะนำให้ผู้บริโภคหันมาน้ำชนิดอื่นแทน 

  • ด้านความเชื่อมโยงด้านการท่องเที่ยว

ในแง่บวก

     นายชุมพล ศิลปอาชา รมว.การท่องเที่ยวและกีฬา กล่าวว่า การต่ออายุ พ.ร.ก.ฉุกเฉินออกไปอีก 3 เดือน ไม่มีผลกระทบต่อการท่องเที่ยว เนื่องจากขณะนี้จำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติเริ่มทยอยเดินทางเข้ามาประเทศ ไทยอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจากตัวเลขการเดินทางผ่านเข้ามาทางสนามบินสุวรรณภูมิพบว่ามีปริมาณเพิ่ม ขึ้น รวมทั้งหลายประเทศได้ผ่อนคลายคำเตือนการห้ามเข้าประเทศไทยแล้ว เหลือเพียงประเทศซาอุดิอาระเบียเท่านั้น

นอกจากนี้การคงพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ เป็นประโยชน์ทางด้านความมั่นคงปลอดภัยของประเทศ และจากการโรดโชว์ รวมถึงการทำกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวน่าจะทำให้ยอดนักท่องเที่ยวปีนี้ อยู่ที่ 15 ล้านคน ซึ่งเป็นไปตามเป้าที่วางไว้ จากช่วงต้นปี (ม.ค.-มิ.ย.) มีตัวเลขนักท่องเที่ยวแล้ว 7.4 ล้านคน ทำให้มั่นใจว่าในช่วงครึ่งปีหลังการท่องเที่ยวจะฟื้นตัวดีขึ้นกว่าเดิม เนื่องจากตัวเลขปริมาณนักท่องเที่ยวก็ยังเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง

ในแง่ลบ

                นายทวิสันต์  โลณานุรักษ์  เลขาธิการหอการค้าภาคตะวันออกเฉียงเหนือกล่าวถึงกรณีที่รัฐบาลให้ คง พ.ร.ก.ฉุกเฉิน ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือไว้ถึง 9 จังหวัด นั้นเปรียบเสมือนการให้น้ำเกลือกับคนที่ป่วย ในเมื่อรัฐบาลเห็นว่าประเทศไทยป่วยและอาการยังไม่ดีขึ้นก็ต้องให้น้ำเกลือ ต่อไป ส่วนผลกระทบจากการคง พ.ร.ก.ฉุกเฉินไว้นั้นเกิดขึ้นอย่างแน่นอนไม่ว่าจะเป็นด้านเศรษฐกิจซึ่งนักลง ทุนก็จะชะลอการลงทุนและหลายรายได้ย้ายฐานการผลิตไปยังประเทศเพื่อนบ้านของไทย
                สำหรับด้านการท่องเที่ยวก็จะส่งผลให้บริษัททัวร์ไม่กล้าที่จะ ส่งลูกค้ามายังประเทศไทยเพราะไม่มีความมั่นใจในสถานการณ์ซึ่งก็จะส่งผลกระทบ เป็นลูกโซ่ต่อธุรกิจที่เกี่ยวข้องไม่ว่าจะเป็นโรงแรม ร้านอาหาร รถทัวร์นำเที่ยว และพนักงานรวมถึงครอบครัวของผู้ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจการท่องเที่ยวด้วย  ฉะนั้นสิ่งที่รัฐบาลควรจะทำคือเร่งสร้างความมั่นใจให้กับทุกฝ่ายด้วยการควบ คุมสถานการณ์ให้ได้อย่าทำเฉพาะเรื่องเล็กๆควรเน้นในเรื่องที่สำคัญๆเพื่อให้ ประเทศชาติกลับคืนสู่สภาวะปกติโดยเร็วเพราะปัจจุบันรัฐบาลได้ประกาศใช้ พ.ร.ก.ฉุกเฉินนานเกินไปแล้วสำหรับประเทศที่เป็นประชาธิปไตย เพราะหากประกาศภาวะฉุกเฉินนานก็จะสะท้อนให้เห็นว่ารัฐบาลควบคุมสถานการณ์ภาย ในประเทศไม่ได้

สรุป

     การต่ออายุ พ.ร.ก.ฉุกเฉิน โดยมุมมองส่วนตัวแล้วทั้งเห็นด้วยและไม่เห็นด้วย ในส่วนของการเห็นด้วย เนื่องจากเป็นการต่ออายุเพื่อความมั่นคงของประเทศ เป็นการป้องปรามกลุ่มผู้ไม่หวังดีที่จะก่อความไม่สงบขึ้นในประเทศ และเพื่อให้เจ้าหน้าที่บ้านเมืองดำเนินการได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว

แต่การต่ออายุพ.ร.ก.ฉุกเฉินก็จะส่งผลกระทบด้านการท่องเที่ยวอย่าง หลีกเลี่ยงไม่ได้เช่นเดียวกัน โดยเฉพาะความเชื่อมั่นของต่างประเทศด้านความปลอดภัย ทั้งนี้ การคง พ.ร.ก.ฉุกเฉินเป็นเรื่องที่สากลไม่ให้การยอมรับ ดังนั้น รัฐบาลไม่ควรแต่จะมุ่งต่ออายุโดยอ้างเหตุผลด้านความมั่นคงเพียงอย่างเดียว อาจจะต้องมีการดำเนินมาตรการในเชิงรุกเพื่อกระตุ้นและสร้างความเชื่อมั่นให้ กลับคืนมาด้วยการออกสื่อประชาสัมพันธ์สร้างความมั่นใจให้กับนักท่องเที่ยวและ ประเทศต่างๆ ทั่วโลกได้รับทราบแม้ว่าจะมีการประกาศพ.ร.ก.ฉุกเฉินแต่ประเทศไทยก็ยังมีความ ปลอดภัยอยู่ พร้อมกันนี้ ยังต้องมีการออกมาตรการเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากการออกพ.ร.ก.ฉุกเฉิน ดังกล่าว โดยเฉพาะผู้ประกอบการธุรกิจด้านการท่องเที่ยว

  • ด้านความเชื่อมโยงด้านการลงทุน

     นายกรณ์ จาติกวณิช รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง กล่าวภายหลังการประชุมคณะรัฐมนตรี ถึงผลกระทบด้านเศรษฐกิจ จากการต่ออายุการบังคับใช้ พ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉินว่า การต่ออายุ พ.ร.ก.ฉุกเฉินเพื่อต้องการคุมพื้นที่บางส่วนให้มีความสงบเรียบร้อย ซึ่งจะทำให้ประชาชนเชื่อมั่น ออกมาจับจ่ายใช้สอย ดังนั้นการคง พ.ร.ก.ฉุกเฉินไว้  จึงมีความจำเป็นในการดูแลความเรียบร้อย ซึ่งไม่น่ากระทบต่อความเชื่อมั่นของนักลงทุน

     นางอรรชกา สีบุญเรืองเลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (บีโอไอ) เปิดเผยว่า ขณะนี้ทางกลุ่มนักลงทุนต่างชาติยังไม่มีความกังวลกับปัญหาทางการเมืองที่ เกิดขึ้นในไทย โดยยังยืนยันที่จะเข้ามาลงทุนในไทยต่อไป เนื่องจากนักลงทุนต่างชาติมองในเรื่องของการลงทุนระยะยาวมากกว่า เพราะไม่ว่าจะมีการเปลี่ยนแปลงรัฐบาลอย่างไร แต่นโยบายของบีโอไอยังเหมือนเดิม นอกจากนี้ นักลงทุนส่วนใหญ่ที่เข้ามาลงทุนในไทยก็คุ้นเคยกับประเทศไทยดี ปัญหาทางการเมืองที่เกิดขึ้น จึงมีผลกระทบน้อยมาก

               “แม้จะมีการประกาศ พ.ร.ก.ฉุกเฉินในสถานการณ์ร้ายแรง แต่ในด้านการลงทุนของไทยยังไม่ได้รับผลกระทบ เนื่องจากโครงการลงทุนต่างๆ เป็นการมองภาพระยะยาวจึงยังเดินหน้าต่อไปได้ โดยเฉพาะรถยนต์ประหยัดพลังงานตามมาตรฐานสากล หรือ อีโคคาร์ โดยตอนนี้พบว่ามี 6 ค่ายรถยนต์ยังสนใจเข้าลงทุนเพิ่ม”

                นอกจากนี้ บีโอไอ ยังพบว่า กลุ่มอุตสาหกรรมต่างๆ เริ่มฟื้นตัวดีขึ้น อาทิ อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มผลิตฮาร์ดดิสก์ ที่กำลังการผลิตไม่เพียงพอกับความต้องการ กลุ่มเกษตร อาหาร และกลุ่มพลังงานทดแทน ทำให้นักลงทุนเกิดความมั่นใจในพื้นฐานที่แข็งแกร่ง

เกียรติชัย เกียรติสูงส่ง

นาย เกียรติชัย เกียรติสูงส่ง

รหัสนักศึกษา 50473010045

คณะวิทยาการจัดการ โปรแกรมวิชาเศรษฐศาสตร์

ทางรัฐบาลได้ขยายระยะเวลาการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินที่มีความร้ายแรงออกไปอีกเป็นเวลาสามเดือนในเขตท้องที่กรุงเทพ มหานครจังหวัดขอนแก่น จังหวัดชลบุรี จังหวัดเชียงราย จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดนนทบุรี จังหวัดปทุมธานี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จังหวัดมหาสารคาม จังหวัดมุกดาหาร จังหวัดร้อยเอ็ด จังหวัดลำปาง จังหวัดสกลนคร จังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดหนองบัวลำภู จังหวัดอุดรธานี และจังหวัดอุบลราชธานี

ด้านราคาไข่ไก่ และ ราคาน้ำตาลทราย

จากภาพรวมของราคาสินค้าอุปโภคและบริโภค 6 เดือนแรกของปีนี้ แม้จะมีบางรายการปรับขึ้นไปบ้าง แต่หากเทียบผลกระทบต่อต้นทุน ถือว่าเพิ่มในสัดส่วนที่น้อยมาก แต่ก็ยังมีราคาสินค้า เช่น ไข่ไก่ น้ำตาลทราย หากดูผลกระทบต่อต้นทุนถือว่าไม่มาก

"แต่ยอมรับว่า ราคาน้ำตาลทรายและไข่ไก่ ตึงตัว โดยกระทรวงพาณิชย์ ได้เร่งแก้ไขปัญหาราคาไข่ไก่ เชื่อว่า จะกลับเข้าสู่ภาวะปกติได้เร็วๆ นี้ "

ส่วนปัญหาน้ำตาลทรายที่ตึงตัว กระทรวงพาณิชย์และกระทรวงอุตสาหกรรม ทำความเข้าใจเพื่อให้ไปในทิศทางเดียวกันแล้ว ซึ่งขณะนี้น้ำตาลทรายในตลาดโลกเริ่มปรับตัวสูงขึ้น จึงเกรงว่าอาจจะมีการนำน้ำตาลทรายในประเทศไปส่งออก เนื่องจากได้ราคาดีกว่า

อย่างไรก็ตาม จะต้องมีการติดตามพฤติกรรมอย่างใกล้ชิด ทั้งนี้เชื่อว่า ขณะนี้กระทรวงอุตสาหกรรม ได้นำน้ำตาลทราย ไม่น้อยกว่า 1 แสนกระสอบ ออกมาเร่งระบายในตลาดในประเทศ และคาดว่า น้ำตาลทรายจะกลับเข้าสู่ภาวะปกติได้

ขณะนี้กระทรวงพาณิชย์ยังไม่ได้รับรายงานว่า ทางกลุ่มผู้ประกอบการน้ำอัดลม จะขอปรับขึ้นราคาน้ำอัดลมเพิ่ม เพราะจากปัญหาราคาน้ำตาลทราย ซึ่งอยู่ระหว่างการติดตามดูภาวะต้นทุน รวมถึง กลุ่มน้ำอัดลมไม่ใช่สินค้าควบคุม แต่อยากแนะนำให้ผู้บริโภคหันมาน้ำชนิดอื่นแทน

ด้านการท่องเที่ยว

แง่บวกนายชุมพล ศิลปอาชา รมว.การท่องเที่ยวและกีฬา กล่าวว่า การต่ออายุ พ.ร.ก.ฉุกเฉินออกไปอีก 3 เดือน ไม่มีผลกระทบต่อการท่องเที่ยว เนื่องจากขณะนี้จำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติเริ่มทยอยเดินทางเข้ามาประเทศ ไทยอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจากตัวเลขการเดินทางผ่านเข้ามาทางสนามบินสุวรรณภูมิพบว่ามีปริมาณเพิ่ม ขึ้น รวมทั้งหลายประเทศได้ผ่อนคลายคำเตือนการห้ามเข้าประเทศไทยแล้ว เหลือเพียงประเทศซาอุดิอาระเบียเท่านั้น

นอกจากนี้การคงพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ เป็นประโยชน์ทางด้านความมั่นคงปลอดภัยของประเทศ และจากการโรดโชว์ รวมถึงการทำกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวน่าจะทำให้ยอดนักท่องเที่ยวปีนี้ อยู่ที่ 15 ล้านคน ซึ่งเป็นไปตามเป้าที่วางไว้ จากช่วงต้นปี (ม.ค.-มิ.ย.) มีตัวเลขนักท่องเที่ยวแล้ว 7.4 ล้านคน ทำให้มั่นใจว่าในช่วงครึ่งปีหลังการท่องเที่ยวจะฟื้นตัวดีขึ้นกว่าเดิม เนื่องจากตัวเลขปริมาณนักท่องเที่ยวก็ยังเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง

แง่ลบนายทวิสันต์ โลณานุรักษ์ เลขาธิการหอการค้าภาคตะวันออกเฉียงเหนือกล่าวถึงกรณีที่รัฐบาลให้ คง พ.ร.ก.ฉุกเฉิน ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือไว้ถึง 9 จังหวัด นั้นเปรียบเสมือนการให้น้ำเกลือกับคนที่ป่วย ในเมื่อรัฐบาลเห็นว่าประเทศไทยป่วยและอาการยังไม่ดีขึ้นก็ต้องให้น้ำเกลือ ต่อไป ส่วนผลกระทบจากการคง พ.ร.ก.ฉุกเฉินไว้นั้นเกิดขึ้นอย่างแน่นอนไม่ว่าจะเป็นด้านเศรษฐกิจซึ่งนักลง ทุนก็จะชะลอการลงทุนและหลายรายได้ย้ายฐานการผลิตไปยังประเทศเพื่อนบ้านของไทย

สำหรับด้านการท่องเที่ยวก็จะส่งผลให้บริษัททัวร์ไม่กล้าที่จะ ส่งลูกค้ามายังประเทศไทยเพราะไม่มีความมั่นใจในสถานการณ์ซึ่งก็จะส่งผลกระทบ เป็นลูกโซ่ต่อธุรกิจที่เกี่ยวข้องไม่ว่าจะเป็นโรงแรม ร้านอาหาร รถทัวร์นำเที่ยว และพนักงานรวมถึงครอบครัวของผู้ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจการท่องเที่ยวด้วย ฉะนั้นสิ่งที่รัฐบาลควรจะทำคือเร่งสร้างความมั่นใจให้กับทุกฝ่ายด้วยการควบ คุมสถานการณ์ให้ได้อย่าทำเฉพาะเรื่องเล็กๆควรเน้นในเรื่องที่สำคัญๆเพื่อให้ ประเทศชาติกลับคืนสู่สภาวะปกติโดยเร็วเพราะปัจจุบันรัฐบาลได้ประกาศใช้ พ.ร.ก.ฉุกเฉินนานเกินไปแล้วสำหรับประเทศที่เป็นประชาธิปไตย เพราะหากประกาศภาวะฉุกเฉินนานก็จะสะท้อนให้เห็นว่ารัฐบาลควบคุมสถานการณ์ภาย ในประเทศไม่ได้

สรุป

การต่ออายุ พ.ร.ก.ฉุกเฉิน โดยมุมมองส่วนตัวแล้วทั้งเห็นด้วยและไม่เห็นด้วย ในส่วนของการเห็นด้วย เนื่องจากเป็นการต่ออายุเพื่อความมั่นคงของประเทศ เป็นการป้องปรามกลุ่มผู้ไม่หวังดีที่จะก่อความไม่สงบขึ้นในประเทศ และเพื่อให้เจ้าหน้าที่บ้านเมืองดำเนินการได้อย่างสะดวกและรวดเร็วแต่การต่ออายุพ.ร.ก.ฉุกเฉินก็จะส่งผลกระทบด้านการท่องเที่ยวอย่าง หลีกเลี่ยงไม่ได้เช่นเดียวกัน โดยเฉพาะความเชื่อมั่นของต่างประเทศด้านความปลอดภัย ทั้งนี้ การคง พ.ร.ก.ฉุกเฉินเป็นเรื่องที่สากลไม่ให้การยอมรับ ดังนั้น รัฐบาลไม่ควรแต่จะมุ่งต่ออายุโดยอ้างเหตุผลด้านความมั่นคงเพียงอย่างเดียว อาจจะต้องมีการดำเนินมาตรการในเชิงรุกเพื่อกระตุ้นและสร้างความเชื่อมั่นให้ กลับคืนมาด้วยการออกสื่อประชาสัมพันธ์สร้างความมั่นใจให้กับนักท่องเที่ยวและ ประเทศต่างๆ ทั่วโลกได้รับทราบแม้ว่าจะมีการประกาศพ.ร.ก.ฉุกเฉินแต่ประเทศไทยก็ยังมีความ ปลอดภัยอยู่ พร้อมกันนี้ ยังต้องมีการออกมาตรการเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากการออกพ.ร.ก.ฉุกเฉิน ดังกล่าว โดยเฉพาะผู้ประกอบการธุรกิจด้านการท่องเที่ยว

ด้านการลงทุน

นายกรณ์ จาติกวณิช รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง กล่าวภายหลังการประชุมคณะรัฐมนตรี ถึงผลกระทบด้านเศรษฐกิจ จากการต่ออายุการบังคับใช้ พ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉินว่า การต่ออายุ พ.ร.ก.ฉุกเฉินเพื่อต้องการคุมพื้นที่บางส่วนให้มีความสงบเรียบร้อย ซึ่งจะทำให้ประชาชนเชื่อมั่น ออกมาจับจ่ายใช้สอย ดังนั้นการคง พ.ร.ก.ฉุกเฉินไว้ จึงมีความจำเป็นในการดูแลความเรียบร้อย ซึ่งไม่น่ากระทบต่อความเชื่อมั่นของนักลงทุน

นางอรรชกา สีบุญเรืองเลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (บีโอไอ) เปิดเผยว่า ขณะนี้ทางกลุ่มนักลงทุนต่างชาติยังไม่มีความกังวลกับปัญหาทางการเมืองที่ เกิดขึ้นในไทย โดยยังยืนยันที่จะเข้ามาลงทุนในไทยต่อไป เนื่องจากนักลงทุนต่างชาติมองในเรื่องของการลงทุนระยะยาวมากกว่า เพราะไม่ว่าจะมีการเปลี่ยนแปลงรัฐบาลอย่างไร แต่นโยบายของบีโอไอยังเหมือนเดิม นอกจากนี้ นักลงทุนส่วนใหญ่ที่เข้ามาลงทุนในไทยก็คุ้นเคยกับประเทศไทยดี ปัญหาทางการเมืองที่เกิดขึ้น จึงมีผลกระทบน้อยมา

“แม้จะมีการประกาศ พ.ร.ก.ฉุกเฉินในสถานการณ์ร้ายแรง แต่ในด้านการลงทุนของไทยยังไม่ได้รับผลกระทบ เนื่องจากโครงการลงทุนต่างๆ เป็นการมองภาพระยะยาวจึงยังเดินหน้าต่อไปได้ โดยเฉพาะรถยนต์ประหยัดพลังงานตามมาตรฐานสากล หรือ อีโคคาร์ โดยตอนนี้พบว่ามี 6 ค่ายรถยนต์ยังสนใจเข้าลงทุนเพิ่ม”

นอกจากนี้ บีโอไอ ยังพบว่า กลุ่มอุตสาหกรรมต่างๆ เริ่มฟื้นตัวดีขึ้น อาทิ อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มผลิตฮาร์ดดิสก์ ที่กำลังการผลิตไม่เพียงพอกับความต้องการ กลุ่มเกษตร อาหาร และกลุ่มพลังงานทดแทน ทำให้นักลงทุนเกิดความมั่นใจในพื้นฐานที่แข็งแกร่ง

วรนาถ สาธิตินิมิต 50473010047

นาย วรนาถ สาธิตนิมิต

รหัส 50473010047  เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

1. ให้นักศึกษาทุกคนแสดงความเห็นว่าการคงประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน ราคาไข่ไก่ ราคาน้ำตาลทราย การท่องเที่ยว การลงทุน มีความเชื่อมโยงกันอย่างไร

การแก้ไขปัญหา  เพื่อช่วยเหลือผู้เลี้ยงไข่ไก่ เพราะราคาไข่ไก่ในตลาดเฉลี่ยฟองละกว่า  2  บาท  ซึ่งถือว่าต่ำกว่าราคาต้นทุนที่เฉลี่ย  2.30  บาทต่อฟอง  ขณะเดียวกันปริมาณไข่ไก่ที่มีมากกว่าการบริโภคประมาณ 1-2  ล้านฟอง  ทำให้ไข่ไก่ในปัจจุบันล้นตลาดและราคาตกต่ำ  จึงอยากขอความร่วมมือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องรับไข่ไก่จากผู้เลี้ยงไปบริโภค ส่วนกระทรวงพาณิชย์จะเชื่อมโยงตลาด  เพื่อระบายไข่ที่ล้นตลาดให้น้อยลง เพื่อแก้ไขปัญหาให้กับผู้เลี้ยง  และเชื่อว่าจะได้รับความสนับสนุนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอย่างดี   พาณิชย์จับมือ 3 ห้างฯ ตลาดสด จัดไข่ธงฟ้า 2 สัปดาห์ ระหว่างรอให้สถานการณ์ราคากลับเข้าสู่ภาวะปกติ  โดยห้างสรรพสินค้าจะจำกัดปริมาณการซื้อที่เหมาะสมเพื่อให้เพียงพอต่อความ ต้องการ และไม่น่าจะเกิดปัญหาการกักตุน

 

ราคาน้ำตาล  สถานการณ์การจำหน่ายน้ำตาลทรายขณะนี้ ราคาขายปลีกน้ำตาลเพิ่มสูงกว่าเพดานที่กำหนด กก.ละ 23.50 บาท โดยราคาสูงตั้งแต่ต้นทางจากโรงงานจนถึงร้านค้าส่งรายใหญ่ ซึ่งกระทรวงเพิ่มความเข้มงวดในการตรวจเส้นทางการจำหน่ายมากขึ้น  การตัดสิทธิการใช้น้ำตาลโควตา ค. 5 ปี ถือเป็นการลงโทษที่รุนแรง ที่ผ่านมาผู้ส่งออกอาหารถูกกล่าวหาว่าเป็นต้นเหตุ แต่เราใช้ตามสิทธิและขนน้ำตาลตามใบอนุญาตเท่านั้น ยืนยันว่าไม่มีการกักตุน  โรงงานน้ำตาลทราย เปิดเผยว่า จากการประชุมร่วม 3 สมาคมโรงงานน้ำตาลทรายมีความเห็นร่วมกันว่า น้ำตาลทรายเพื่อการบริโภคภายในประเทศจะไม่ขาดแคลนอย่างแน่นอน เนื่องจากโรงงานน้ำตาลสำรองน้ำตาลไว้ให้ผู้บริโภคอย่างเพียงพอ และขณะนี้อยู่ระหว่างการหีบอ้อยผลิตน้ำตาลทราย จึงไม่อยากให้ทุกคนวิตกกังวลในเรื่องนี้  ส่วนกรณีที่มีรายงานข่าวอ้างว่า สาเหตุที่น้ำตาลทรายเริ่มขาดตลาดเพราะโรงงานส่งสินค้าลดลงนั้น น่าจะเป็นข้อมูลที่คลาดเคลื่อน เพราะมีการนำน้ำตาลออกจำหน่ายสัปดาห์ละ 4.03 แสนกระสอบ ทุกวันจันทร์ แต่ผู้บริโภคและร้านค้ามีความต้องการซื้อเพิ่มขึ้น เนื่องจากกลัวสินค้าขาดแคลน

 

การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) เตรียมฟื้นการท่องเที่ยว โดยกำหนดจัดโครงการ amazing thailand grand sale 2010 ระหว่างวันที่ 15 มิถุนายน – 15 สิงหาคม 2553 ในพื้นที่หลัก 8 แห่ง ได้แก่ กรุงเทพมหานคร เชียงใหม่ หาดใหญ่ ภูเก็ต หัวหิน พัทยา สมุยและอุดรธานี เชิญชวนผู้ประกอบการร่วมจัดกิจรรมลดราคาสินค้าสูงสุดถึง 70% เพื่อส่งเสริมให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการซื้อสินค้าของนักท่องเที่ยว (shopping paradise) และสร้างแรงจูงใจให้นักท่องเที่ยวซื้อสินค้าในช่วงนอกฤดูกาลท่องเที่ยวของประเทศไทยเพิ่มมากขึ้น รวมทั้งกระตุ้นให้เกิดเงินหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจและกระจายรายได้สู่ภูมิภาคต่างๆ

 

การลงทุน  ความต้องการบริโภคภายในประเทศมีสัญญาณดีขึ้น แต่ภัยแล้ง และการทยอยถอนมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจที่ส่งเสริมการบริโภค และความไม่แน่นอนทางการเมืองอาจเป็นปัจจัยฉุดรั้งการเติบโตของเศรษฐกิจหุ้นไทยถูกเงินนอกทะลัก  ปัญหาความวุ่นวายทางการเมืองที่เกิดขึ้นนั้นอาจจะส่งผลให้การปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายในช่วงกลางเดือนเมษายนนี้อาจจะต้องเลื่อนออกไป รวมทั้งยังเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลให้ GDP ต่ำกว่าที่หลายหลายคาดการณ์ไว้ ส่วนแนวโน้มตลาดหุ้นกลับมองว่าจะยังไม่ได้รับผลกระทบจากปัญหาทางการเมือง เพราะราคาหุ้นค่อนข้างถูกโดยการเข้าลงทุนส่วนใหญ่จะสลับเข้าลงทุนอยู่ 2 กลุ่ม คือกลุ่มพลังงาน เช่น  PTT TOP และ PTTEP กลุ่มธนาคารพาณิชย์ เช่น BBL SCB และ KBANK เนื่องจากเป็นหุ้นขนาดใหญ่พื้นฐานดีและยังพอมีอัพไซด์ ทั้งนี้แม้ปัจจุบันราคาหุ้นกลุ่มอสังหาริมทรัพย์จะปรับตัวลดลงต่อเนื่อง แต่ฝ่ายวิจัยกลับมองว่าเป็นหุ้นที่น่าลงทุนเป็นอย่างมากเพราะเป็นหุ้นที่พื้นฐานดีและแม้ว่ามาตรากระตุ้นภาษีอสังหาริมทรัพย์จะหมดอายุภายในเร็วๆนี้เชื่อว่าจะไม่กระทบต่อปัจจัยฟื้นตัวของหุ้น

 

นางสาว ศิรินภา คำมา รหัส 50473010003 เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

นางสาว ศิรินภา  คำมา

รหัสนักศึกษา  50473010003

คณะวิทยาการจัดการ  โปรแกรมวิชาเศรษฐศาสตร์

   - ให้นักศึกษาทุกคนแสดงความเห็นว่าการคงประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน  ราคาไข่ไก่  ราคาน้ำตาลทราย  การท่องเที่ยว  การลงทุน  มีความเชื่อมโยงกันอย่างไร 

 

ราคาไข่

เมื่อวันที่ 27 มิ.ย.นายมาโนช ชูทับทิม นายกสมาคมผู้เลี้ยงไก่ไข่ กล่าวว่า ขณะนี้เกษตรกรผู้เลี้ยงไก่ไข่ กำลังประสบปัญหาอย่างหนัก จากภาวะภัยแล้งและสภาพอากาศที่ร้อนจัด โดยมีอุณหภูมิสูงขึ้นผิดปกติถึง 43-44 องศาเซลเซียส เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีที่ผ่านมา ขณะที่อุณหภูมิที่เหมาะสมในการเลี้ยงไก่ไข่อยู่ที่ 28-30 องศาเซลเซียสเท่านั้น ส่งผลให้แม่ไก่เกิดอาการเครียด กินอาหารได้น้อย และทำให้เปอร์เซ็นต์การให้ไข่ของแม่ไก่ลดลง รวมถึงผลผลิตไข่ไก่มีขนาดเล็กลง นอกจากนี้ บางพื้นที่ขาดน้ำสะอาดเพื่อให้ไก่กิน ก่อให้เกิดไก่ป่วยตามมา ผลผลิตจึงลดลงมาก และในวงการเลี้ยงไก่กำลังประสบปัญหาโรคระบาดในไก่ไข่ คือ โรค IB หรือโรคหลอดลมอักเสบ ในช่วงฤดูหนาวที่ผ่านมา ซึ่งเกิดในลูกไก่ไข่ที่มีอายุ 1-3 สัปดาห์ ทำให้รังไข่ฝ่อ ผลผลิตไข่ไก่ที่ได้เกิดความเสียหาย จึงอยากเตือนให้เกษตรกรผู้เลี้ยงไก่ไข่เข้มงวดในเรื่องการป้องกันโรคด้วย

นายมาโนช กล่าวด้วยว่า ตลอดระยะเวลา 3 ปีที่ผ่านมา ผู้เลี้ยงไก่ไข่ขาดทุนมาโดยตลอดเพราะผลผลิตมากเกินความต้องการบริโภค คณะกรรมการนโยบายพัฒนาไก่ไข่และผลิตภัณฑ์ และเกษตรกรผู้เลี้ยงไก่ไข่ ได้พยายามร่วมกันหาทางแก้ปัญหาเสถียรภาพราคาไข่ไก่ด้วยมาตรการต่างๆ มากมาย เช่น การควบคุมปริมาณการนำเข้าพ่อแม่พันธุ์ การปลดแม่ไก่แก่ยืนกรงให้เร็วขึ้น หรือ การส่งออกเพื่อระบายไข่ส่วนเกิน เพื่อรักษาสมดุลของอุปสงค์อุปทานของไข่ไก่ให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม แต่ความพยายามดังกล่าวเพิ่งจะเริ่มสัมฤทธิ์ผลในปีนี้ และกลับต้องเจอกับสภาวะโรคร้อน และโรคระบาด ดังกล่าว แต่มั่นใจจะเป็นเพียงช่วงระยะเวลาสั้นๆ เนื่องจากกำลังเข้าสู่ช่วงฤดูฝน อีกทั้งไข่ไก่เป็นสินค้าเกษตรที่มีช่วงวงจรเวลาสั้น ความเสียหายของผลผลิตไข่ไก่จะลดลงและเข้าสู่ภาวะปกติในที่สุด

ราคาน้ำตาล

ไทยเตรียมซื้อคืนน้ำตาลโควตา ค. กลับ เป็นครั้งแรกในรอบ 20 ปี หลังหลายประเทศทั่วเอเชีย พยายามกว้านซื้อน้ำตาลรองรับการบริโภคที่โตขึ้น

นายกำธร กิตติโชคทรัพย์ ประธานสหพันธ์ชาวไร่อ้อยแห่งประเทศไทยและคณะกรรมการกองทุนอ้อยและน้ำตาลทราย  กล่าวภายหลังการประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนอ้อยและน้ำตาลทรายว่า  ขณะนี้ราคาน้ำตาลทรายในตลาดโลกเริ่มปรับตัวสูงขึ้นอีกครั้ง   เนื่องจากมีความต้องการใช้น้ำตาลเพิ่มขึ้นในแถบประเทศตะวันออกกลางและเอเชีย  ส่งผลให้ราคาน้ำตาลในตลาดโลกปรับตัวสูงสุดในรอบ 10 สัปดาห์ โดยราคาส่งมอบทันทีครั้งล่าสุดที่  22.23  เซนต์ต่อปอนด์   ถือเป็นราคาที่เริ่มปรับสูงขึ้นอีกครั้งหลังจากก่อนหน้านี้เคยปรับลดลงอยู่ที่ระดับ 11-13 เซนต์ต่อปอนด์

ทั้งนี้ ล่าสุดน้ำตาลทรายตลาดนิวยอร์กตามสัญญาเดือน ก.ค.สิ้นสุดการซื้อขายเมื่อ 30 มิ.ย.53 ปิดตลาดที่ 17.29 เซนต์ต่อปอนด์ เพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อน 10.98% ราคาน้ำตาลตามสัญญาเดือน ต.ค. ปิดตลาด 16.39 เซนต์ต่อปอนด์ เพิ่มขึ้น 6.57%

“ราคาน้ำตาลในอนาคตจะมีแนวโน้มสูงขึ้นแค่ไหนคงตอบยาก   ซึ่งขณะนี้หลายประเทศในเอเชียพยายามกว้านซื้อน้ำตาลเพื่อไปรองรับการบริโภคที่โตขึ้น ไทยเองต้องไปซื้อน้ำตาลโควตา ค. กลับคืนมาครั้งแรกในรอบ 20 ปี โดยครั้งสุดท้ายเกิดขึ้นเมื่อปี 2524 ส่งผลให้ค่าพรีเมียมน้ำตาล (เงินส่วนเพิ่มจากราคาน้ำตาล) ช่วงนี้สูงมากถึง 100 เหรียญสหรัฐฯต่อตัน จากต้นปีเคยอยู่ที่ 40 เหรียญสหรัฐฯต่อตัน”

สำหรับการประชุมคณะกรรมการกองทุนอ้อยและน้ำตาลทรายนั้น   เบื้องต้นที่ประชุมได้หารือถึงความคืบหน้าการซื้อคืนน้ำตาลเพื่อการส่งออก (โควตา ค.) จำนวน 1 ล้านกระสอบ โดยที่ประชุมจัดตั้งคณะทำงานจัดซื้อและคณะทำงานจำหน่ายน้ำตาลโดยจะมีตัวแทนภาคราชการและโรงงานเข้าร่วมชุดละ 10 คน หลังจากนี้คณะทำงานทั้ง 2 ชุดจะหาผู้ที่เหมาะสมมาเป็นประธาน คาดว่าจะสามารถตั้งโต๊ะรับซื้อคืนน้ำตาลได้ในช่วงต้นเดือน   ก.ค.นี้

การท่องเที่ยว

เศรษฐกิจเดือน พ.ค.ได้รับผลกระทบจากความไม่สงบทางการเมือง โดยเฉพาะภาคการท่องเที่ยว ธุรกิจการท่องเที่ยวได้รับผลกระทบจากการประกาศใช้ พ.ร.ก.ฉุกเฉิน นักท่องเที่ยวยกเลิกห้องพักแล้วกว่า 50 % เนื่องจากไม่มั่นใจในสถานการณ์ ส่งผลให้บรรยากาศการท่องเที่ยวซบเซาหนัก   ธุรกิจการท่องเที่ยว ได้รับผลกระทบด้านเศรษฐกิจและการท่องเที่ยว หลังจากที่ศูนย์อำนวยการบริหารสถานการณ์ฉุกเฉิน หรือ ศอฉ. ประกาศใช้ พ.ร.ก.บริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน (พ.ร.ก.ฉุกเฉิน) ที่ผ่านมา

การลงทุน

การลงทุนจากต่างประเทศในไทยยังอาจได้รับปัจจัยลบจากปัญหาวิกฤติการเงินระลอกใหม่ของสหรัฐฯ ที่ส่งผลต่อสภาพคล่องทางการเงินทั่วโลก อีกทั้งการชะลอตัวของเศรษฐกิจภูมิภาคหลักของโลกอาจส่งผลต่อสถานะผลประกอบการของบริษัทข้ามชาติ ซึ่งอาจเป็นปัจจัยที่มีผลต่อการชะลอตัวของการลงทุนจากต่างประเทศทั่วโลก อย่างไรก็ตาม หากสถานการณ์การเมืองของไทยมีความชัดเจนมากขึ้น โดยสามารถมีรัฐบาลที่มีเสถียรภาพในการบริหารประเทศ ก็คาดว่าเศรษฐกิจไทยน่าจะมีแรงขับเคลื่อนจากภายในประเทศที่จะช่วยผลักดันให้เศรษฐกิจกลับมาขยายตัวดีขึ้น เนื่องจากปัจจัยพื้นฐานของประเทศยังเอื้ออำนวยต่อการขยายตัวของการบริโภคและการลงทุน ประกอบกับนโยบายของรัฐบาลในระยะต่อๆไปน่าจะยังคงมุ่งเน้นการกระตุ้นการเติบโตทางเศรษฐกิจ เร่งรัดโครงการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานขนาดใหญ่เพื่อฟื้นฟูความเชื่อมั่นและผลักดันให้เศรษฐกิจเติบโตได้ตามเป้าหมาย

 

ความเห็น  จากสถานการณ์ความไม่สงบทางการเมืองที่ผ่านมานั้น ส่งผลต่อระบบเศรษฐกิจไทยในหลายๆด้าน  ดังที่กล่าวมาข้างต้น ทำให้ภาคการท่องเที่ยวและการลงทุนชะลอตัวลง เพราะความไม่ชัดเจนของสถานการณ์บ้านเมือง  หากสถานการณ์การเมืองของไทยมีความชัดเจนมากขึ้น โดยสามารถมีรัฐบาลที่มีเสถียรภาพในการบริหารประเทศ ก็คาดว่าเศรษฐกิจไทยน่าจะมีแรงขับเคลื่อนจากภายในประเทศที่จะช่วยผลักดันให้เศรษฐกิจกลับมาขยายตัวดีขึ้น เนื่องจากปัจจัยพื้นฐานของประเทศยังเอื้ออำนวยต่อการขยายตัวของการบริโภคและการลงทุน ประกอบกับนโยบายของรัฐบาลในระยะต่อๆไปน่าจะยังคงมุ่งเน้นการกระตุ้นการเติบโตทางเศรษฐกิจ

.................................................................................

นางสาวลัดดา วงษ์สวาท รหัส 50473010060 โปรแกรมเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

ในด้านเศรษฐกิจปัญหาราคาไข่ไก่สูงขึ้นเกิดจากปัญหาอากาศร้อนจัด แม่ไก่ออกไข่น้อยลง ไข่ในตลาดไม่เพียงพอต่อการบริโภค ประกอบกับต้นทุนวัตถุดิบ โดยเฉพาะอาหารสัตว์ ราคาแพงเมื่อไข่ไก่มีราคาสูงขึ้นน้ำตาลซึ่งเป็นวัตถุดิบที่ใช้ในการทำขนมจึงมีราคาสูงขึ้นตามไปด้วยเพราะโรงงานผลิตหรือผู้ผลิตกักตุนสินค้าไว้เพื่อให้ราคาสูงขึ้นซึ่งปัญหานี้เกิดมานานมากก่อนที่จะมีการชุมนุมทางการเมืองซึ่งรัฐบาลก็ยังไม่มีการแก้ไขราคาน้ำตาลและควบคุมจำนวนวัตถุดิบในการผลิตน้ำตาลได้อย่างมีประสิทธิภาพ  ดังนั้น รัฐบาลจำเป็นต้องแก้ไขทั้งระบบ ไม่ใช่เกษตรกรผู้เลี้ยง  ทำให้ไข่ไก่ในปัจจุบันล้นตลาดและราคาตกต่ำ จึงอยากขอความร่วมมือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องรับไข่ไก่จากผู้เลี้ยงไปบริโภค ส่วนกระทรวงพาณิชย์จะเชื่อมโยงตลาด เพื่อระบายไข่ที่ล้นตลาดให้น้อยลง เพื่อแก้ไขปัญหาให้กับผู้เลี้ยง

               ปัญหาน้ำตาลทรายที่ตึงตัว กระทรวงพาณิชย์และกระทรวงอุตสาหกรรม ทำความเข้าใจเพื่อให้ไปในทิศทางเดียวกันแล้ว ซึ่งขณะนี้น้ำตาลทรายในตลาดโลกเริ่มปรับตัวสูงขึ้น จึงเกรงว่าอาจจะมีการนำน้ำตาลทรายในประเทศไปส่งออก เนื่องจากได้ราคาดีกว่า  ขณะนี้กระทรวงพาณิชย์ยังไม่ได้รับรายงานว่า ทางกลุ่มผู้ประกอบการน้ำอัดลม จะขอปรับขึ้นราคาน้ำอัดลมเพิ่ม เพราะจากปัญหาราคาน้ำตาลทราย ซึ่งอยู่ระหว่างการติดตามดูภาวะต้นทุน

             จากการที่รัฐบาลคงประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินก็จะส่งผลกระทบด้านการท่องเที่ยวย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ โดยเฉพาะความเชื่อมั่นของต่างประเทศด้านความปลอดภัย  ดังนั้น รัฐบาลไม่ควรแต่จะมุ่งต่ออายุโดยอ้างเหตุผลด้านความมั่นคงเพียงอย่างเดียว อาจจะต้องมีการดำเนินมาตรการในเชิงรุกเพื่อกระตุ้นและสร้างความเชื่อมั่นให้กลับคืนมาด้วยการออกสื่อประชาสัมพันธ์สร้างความมั่นใจให้กับนักท่องเที่ยวละประเทศต่างๆ ทั่วโลกได้รับทราบแม้ว่าจะมีการออกพ.ร.ก.ฉุกเฉิน  แต่ประเทศไทยก็ยังมีความปลอดภัยอยู่ พร้อมกันนี้ ยังต้องมีการออกมาตรการเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากการออกพ.ร.ก.ฉุกเฉิน ดังกล่าว โดยเฉพาะผู้ประกอบการธุรกิจด้านการท่องเที่ยว

            ธุรกิจการท่องเที่ยว หลังประกาศใช้ พ.ร.ก.ฉุกเฉิน ได้รับผลกระทบ นักท่องเที่ยวยกเลิกห้องพัก เนื่องจากไม่มั่นใจในสถานการณ์ ส่งผลให้บรรยากาศการท่องเที่ยวซบเซา  ธุรกิจการท่องเที่ยว ได้รับผลกระทบด้านเศรษฐกิจและการท่องเที่ยว หลังจากที่ ประกาศใช้ พ.ร.ก.สถานการณ์ฉุกเฉิน ที่ผ่านมา ส่งผลกระทบต่อรายได้ของโรงแรมเป็นอย่างมาก สาเหตุเกิดจากสถานการณ์ความวุ่นวายทางการเมือง  ประกอบกับต่างประเทศ มีการประกาศเตือนห้ามนักท่องเที่ยวเดินทางเข้ามาในประเทศไทย เนื่องจากไม่ปลอดภัย ยิ่งส่งผลให้นักท่องเที่ยวลดน้อยลงอย่างมาก  และยังส่งผลกระทบต่อภาพลักษณ์ ด้านเศรษฐกิจและการท่องเที่ยว โดยเฉพาะธุรกิจโรงแรม สถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ ซึ่งแต่ละแห่งมีนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ

นางสาวปวิตรา คลังทอง รหัส 50473010035 โปรแกรมเศรษศาสตร์ธุรกิจ

 ปัญหาราคาไข่ไก่ และปัญหาราคาน้ำตาลทราย

              จากปัญหาไข่ไก่ราคาสูงขึ้น มีการมองว่าการใช้โครงการธงฟ้าในการแทรกแซงนั้น ถือเป็นการดูแลประชาชนผู้มีรายได้น้อย ซึ่งในการแก้ปัญหาอย่างยั่งยืนไม่ใช่การคุมราคาสินค้าทั้งหมด เช่น หากสินค้าเกษตรราคาแพง รัฐบาลก็ไม่ควรเข้าไปคุมราคามากจนเกินไป เพราะสินค้าเกษตรราคามักมีการเปลี่ยนแปลงไปตามวัฏจักร เช่น ราคาแพงเพราะผลผลิตน้อย แต่หากราคาที่สูงขึ้นก็จะจูงใจให้เกษตรกรผลิตเพิ่ม ทำให้ปริมาณสินค้าในตลาดเพิ่ม ผู้ประกอบการกับผู้บริโภคที่กินน้อยลง ก็จะเป็นกลไกที่ทำให้ราคาถูกลงมาเอง  ทั้งนี้ การที่รัฐบาลมีการลดปริมาณการส่งออกลงเพื่อเพิ่มผลผลิตการขายในประเทศนั้นเป็นทางออกในระยะสั้น เพราะผู้ส่งออกมีตลาดอยู่แล้วหากระงับไม่ให้ส่งออกจะส่งผลกระทบในอนาคตที่ลูกค้าไม่กล้าซื้อไข่ไก่จากไทยอีก อีกทั้งแนวโน้มประชากรที่เพิ่มขึ้นในอนาคตความต้องการอาหารและผลผลิตทางการเกษตรย่อมสูงขึ้น การหามาตรการรองรับด้านผลผลิตจึงเป็นแนวทางที่สำคัญกว่าในระยะยาว

                  ส่วนราคาน้ำตาลทราย มีปัจจัยหลักมาจากราคาน้ำตาลทรายในตลาดโลกที่ปรับสูงขึ้น จนอยู่ในระดับที่สูงกว่าราคาในประเทศ ส่งผลให้มีน้ำตาลทรายบางส่วนที่กำหนดให้ใช้ในประเทศถูกส่งออกไปต่างประเทศที่ได้ราคาสูงกว่า ประกอบกับการที่ภาคอุตสาหกรรมที่ผลิต สินค้าส่งออกบางส่วน ได้หันมาใช้น้ำตาลทรายในประเทศที่มีราคาต่ำ แทนการใช้น้ำตาลทรายจากโควตาส่งออก ที่มีราคาสูงกว่า ทำให้เกิดการ แย่งใช้น้ำตาลทราย  เกิดการกักตุน ส่งผลทำให้เกิดปัญหาสินค้าขาดตลาดตามมา   ดังนั้น รัฐบาลจำเป็นต้องแก้ไขทั้งระบบ เริ่มตั้งแต่ราคาขายหน้าฟาร์มที่ต้องไม่สูงจนเกินไป โดยมีพ่อค้าคนกลาง เป็นผู้กำหนดราคากลาง ไม่ใช่เกษตรกรผู้เลี้ยง

 ผลกระทบของ  พ.ร.ก.ฉุกเฉิน กับอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว 

             จากการที่รัฐบาลคงประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน  มีความเชื่อมโยงกับการท่องเที่ยว  การต่ออายุพ.ร.ก.ฉุกเฉิน ถ้ามองในด้านดี  เป็นการต่ออายุเพื่อความมั่นคงของประเทศ เป็นการป้องปรามกลุ่มผู้ไม่หวังดีที่จะก่อความไม่สงบขึ้นในประเทศ และเพื่อให้เจ้าหน้าที่บ้านเมืองดำเนินการได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว     แต่การต่ออายุพ.ร.ก.ฉุกเฉินก็จะส่งผลกระทบด้านท่องเที่ยว โดยเฉพาะความเชื่อมั่นของต่างประเทศด้านความปลอดภัย ทั้งนี้ มองในมุมมองของนักธุรกิจ ที่ไม่มีข้อมูลข่าวกรองด้านความมั่นคงไม่ทราบความเคลื่อนไหวโดยเฉพาะชาวต่างประเทศที่หลายชาติมีความอ่อนไหวต่อการประกาศในลักษณะดังกล่าว   ทั้งนี้ การคงพ.ร.ก.ฉุกเฉินเป็นเรื่องที่สากลไม่ให้การยอมรับ

          ประกาศใช้ พ.ร.ก.สถานการณ์ฉุกเฉิน ส่งผลกระทบต่อภาพลักษณ์ ด้านเศรษฐกิจและการท่องเที่ยว โดยเฉพาะธุรกิจโรงแรม สถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ ซึ่งแต่ละแห่งมีนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ ได้ยกเลิกการเดินทาง และแจ้งคืนห้องพัก ส่งผลกระทบต่อรายได้ของโรงแรมเป็นอย่างมาก สาเหตุเกิดจากสถานการณ์ความวุ่นวายทางการเมือง  ประกอบกับต่างประเทศ มีการประกาศเตือนห้ามนักท่องเที่ยวเดินทางเข้ามาในประเทศไทย เนื่องจากไม่ปลอดภัย ยิ่งส่งผลให้นักท่องเที่ยวลดน้อยลงอย่างมาก

             ความเสี่ยงจากความผันผวนของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวการ ดำเนินธุรกิจต่างๆ  เช่น  ธุรกิจโรงแรม  ซึ่งมีฐานลูกค้าที่สำคัญคือนักท่องเที่ยวโดยเฉพาะจากต่างประเทศ   ปัจจัยความเสี่ยงภายนอกที่สำคัญซึ่ง ไม่สามารถควบคุมได้ คือ ความผันผวนของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว อันเกิดจากภาวะสงคราม การก่อการร้าย หรือ การแพร่ระบาดของโรคติดต่อ  เป็นต้น ซึ่งส่งผลกระทบโดยตรงต่อปริมาณนักท่องเที่ยวเป็นวงกว้าง ไม่เพียงแต่ในประเทศไทย เท่านั้น แต่ยังรวมถึงภูมิภาคเอเชียด้วยเช่นกัน

           ความเสี่ยงเกี่ยวกับอัตราดอกเบี้ยเกิดขึ้นจากความผันผวนของอัตราดอกเบี้ยในตลาด ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อผลการดำเนินงาน ทางธุรกิจเนื่องจากอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ยืมส่วนใหญ่เป็นอัตราคงที่  ในการบริหารความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ย ได้ใช้ตราสารอนุพันธ์ทางการเงิน มีไว้เพื่อช่วยในการบริหารความเสี่ยงที่เกิดจากความผันผวนของอัตราดอกเบี้ยสำหรับรายการเงินกู้โดยเฉพาะเจาะจง                                                             

ความคิดเห็นเชื่อมโยง     

             แม้การปรับขึ้นของราคาน้ำตาลทราย และไข่ไก่ จะไม่มีผลต่ออัตราเงินเฟ้อโดยตรง  แต่อาจส่งผลกระทบต่อต้นทุนการผลิตสินค้าตัวอื่น  ทำให้ราคาปรับเพิ่มขึ้นได้ เช่น ส่งผลโดยตรงต่ออาหารสำเร็จรูป น้ำตาลทราย ที่มีผลต่อผู้บริโภคโดยตรงและสินค้าหลายชนิด ทั้งน้ำอัดลม น้ำผลไม้ นมข้นหวาน เป็นต้น         

             เงินทุนต่างชาติยังไม่ไหลกลับเข้ามาลงทุนในไทยเพราะไม่มั่นใจในภาวะการเมืองในประเทศ จากการที่รัฐบาลยังไม่ยกเลิกพรก.ฉุกเฉินซึ่งตีความได้ว่าสถานการณ์โดยภาพรวมยังไม่ดีนัก ทำให้ภาคการท่องเที่ยวและการลงทุนปรับตัวลดลง

 

 

นางสาวจุฬารัตน์ เชื้อนิล

ราคาไข่

นายกสมาคมผู้เลี้ยงไก่ไข่ กล่าวว่า ขณะนี้เกษตรกรผู้เลี้ยงไก่ไข่ กำลังประสบปัญหาอย่างหนัก จากภาวะภัยแล้งและสภาพอากาศที่ร้อนจัด โดยมีอุณหภูมิสูงขึ้นผิดปกติถึง 43-44 องศาเซลเซียส เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีที่ผ่านมา (2552) ขณะที่อุณหภูมิที่เหมาะสมในการเลี้ยงไก่ไข่อยู่ที่ 28-30 องศาเซลเซียสเท่านั้น ส่งผลให้แม่ไก่เกิดอาการเครียด กินอาหารได้น้อย และทำให้เปอร์เซ็นต์การให้ไข่ของแม่ไก่ลดลง รวมถึงผลผลิตไข่ไก่มีขนาดเล็กลง

นายมาโนช กล่าวว่า ตลอดระยะเวลา 3 ปีที่ผ่านมา ผู้เลี้ยงไก่ไข่ขาดทุนมาโดยตลอดเพราะผลผลิตมากเกินความต้องการบริโภค คณะกรรมการนโยบายพัฒนาไก่ไข่และผลิตภัณฑ์ และเกษตรกรผู้เลี้ยงไก่ไข่ ได้พยายามร่วมกันหาทางแก้ปัญหาเสถียรภาพราคาไข่ไก่ด้วยมาตรการต่างๆ มากมาย เช่น การควบคุมปริมาณการนำเข้าพ่อแม่พันธุ์ การปลดแม่ไก่แก่ยืนกรงให้เร็วขึ้น หรือการส่งออกเพื่อระบายไข่ส่วนเกิน เพื่อรักษาสมดุลของอุปสงค์อุปทานของไข่ไก่ให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม

การลงทุน

การลงทุนจากต่างประเทศในไทยยังอาจได้รับ ปัจจัยลบจากปัญหาวิกฤติการเงินระลอกใหม่ของสหรัฐฯ ที่ส่งผลต่อสภาพคล่องทางการเงินทั่วโลก อีกทั้งการชะลอตัวของเศรษฐกิจภูมิภาคหลักของโลกอาจส่งผลต่อสถานะผลประกอบการ ของบริษัทข้ามชาติ ซึ่งอาจเป็นปัจจัยที่มีผลต่อการชะลอตัวของการลงทุนจากต่างประเทศทั่วโลก อย่างไรก็ตาม หากสถานการณ์การเมืองของไทยมีความชัดเจนมากขึ้น โดยสามารถมีรัฐบาลที่มีเสถียรภาพในการบริหารประเทศ ก็คาดว่าเศรษฐกิจไทยน่าจะมีแรงขับเคลื่อนจากภายในประเทศที่จะช่วยผลักดันให้ เศรษฐกิจกลับมาขยายตัวดีขึ้น เนื่องจากปัจจัยพื้นฐานของประเทศยังเอื้ออำนวยต่อการขยายตัวของการบริโภคและ การลงทุน ประกอบกับนโยบายของรัฐบาลในระยะต่อๆไปน่าจะยังคงมุ่งเน้นการกระตุ้นการเติบ โตทางเศรษฐกิจ เร่งรัดโครงการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานขนาดใหญ่เพื่อฟื้นฟูความเชื่อมั่นและ ผลักดันให้เศรษฐกิจเติบโตได้ตามเป้าหมาย

การท่องเที่ยว ผลลบต่อจิตวิทยาการเดินทางท่องเที่ยวและการใช้จ่ายของประชาชนภายในประเทศ รองลงมา ได้แก่ ราคาน้ำมันขายปลีกในประเทศที่เริ่มแพงขึ้น รวมถึงปัญหาค่าครองชีพและราคาสินค้าที่ทรงตัวระดับสูง ส่งผลกระทบต่อภาคอุตสาหกรรมและเศรษฐกิจโดยรวมค่อนข้างมาก โดยเฉพาะอุตสาหกรรมท่องเที่ยว ส่วนภาคส่งออกยังพอขับเคลื่อนไปได้ หากไม่มีการปิดเส้นทางหรือสนามบิน แต่การลงทุนระยะสั้นในไตรมาส 2 คงหายไปประมาณ 0.5% ซึ่งทางออกต้องมีการเจรจากัน และไม่เห็นด้วยหากรัฐบาลจะใช้ความรุนแรง

นายกรัฐมนตรีได้กำชับให้รัฐมนตรีที่เกี่ยวข้องกับการค้าการลงทุนได้ ประชุมเร่งชี้แจงทำความเข้าใจกับเอกชน นักลงทุน และการประกาศ พ.ร.ก.ฉุกเฉินน่าจะสร้างความเชื่อมั่นให้นักลงทุนมากขึ้น เนื่องจากมีขั้นตอนดำเนินการและมีการเปิดโอกาสให้สื่อเข้าร่วมสังเกตการณ์ มากขึ้น นักลงทุนเอกชนถึงสภาวะเศรษฐกิจของไทยระหว่างที่กลุ่มคนเสื้อแดงชุมนุมบริเวณ แยกราชประสงค์กระทบต่อการท่องเที่ยว ธุรกิจโรงแรม ซึ่งการท่องเที่ยวและธุรกิจโรงแรมได้รับผลกระทบจากการประเมินเบื้องต้น 3-4 หมื่นล้านต่อเดือน คิดว่าผู้ประกอบการมีสิทธิฟ้องร้องได้ โดยทางสภาหอการค้าไทยจะเปิดสายด่วนชี้แจงให้แก่นักลงทุนด้วย

ราคาน้ำตาล สถานการณ์การจำหน่ายน้ำตาลทรายขณะนี้ ราคาขายปลีกน้ำตาลเพิ่มสูงกว่าเพดานที่กำหนด กก.ละ 23.50 บาท โดยราคาสูงตั้งแต่ต้นทางจากโรงงานจนถึงร้านค้าส่งรายใหญ่ ซึ่งกระทรวงเพิ่มความเข้มงวดในการตรวจเส้นทางการจำหน่ายมากขึ้น การตัดสิทธิการใช้น้ำตาลโควตา ค. 5 ปี ถือเป็นการลงโทษที่รุนแรง ที่ผ่านมาผู้ส่งออกอาหารถูกกล่าวหาว่าเป็นต้นเหตุ แต่เราใช้ตามสิทธิและขนน้ำตาลตามใบอนุญาตเท่านั้น ยืนยันว่าไม่มีการกักตุน โรงงานน้ำตาลทราย เปิดเผยว่า จากการประชุมร่วม 3 สมาคมโรงงานน้ำตาลทรายมีความเห็นร่วมกันว่า น้ำตาลทรายเพื่อการบริโภคภายในประเทศจะไม่ขาดแคลนอย่างแน่นอน เนื่องจากโรงงานน้ำตาลสำรองน้ำตาลไว้ให้ผู้บริโภคอย่างเพียงพอ และขณะนี้อยู่ระหว่างการหีบอ้อยผลิตน้ำตาลทราย จึงไม่อยากให้ทุกคนวิตกกังวลในเรื่องนี้ ส่วนกรณีที่มีรายงานข่าวอ้างว่า สาเหตุที่น้ำตาลทรายเริ่มขาดตลาดเพราะโรงงานส่งสินค้าลดลงนั้น น่าจะเป็นข้อมูลที่คลาดเคลื่อน เพราะมีการนำน้ำตาลออกจำหน่ายสัปดาห์ละ 4.03 แสนกระสอบ ทุกวันจันทร์ แต่ผู้บริโภคและร้านค้ามีความต้องการซื้อเพิ่มขึ้น เนื่องจากกลัวสินค้าขาดแคลน

ความเห็น จากสถานการณ์ความไม่สงบทางการเมืองที่ผ่านมานั้น ส่งผลต่อระบบเศรษฐกิจไทยในหลายๆด้าน ดังที่กล่าวมาข้างต้น ทำให้ภาคการท่องเที่ยวและการลงทุนชะลอตัวลง เพราะความไม่ชัดเจนของสถานการณ์บ้านเมือง หากสถานการณ์การเมืองของไทยมีความชัดเจนมากขึ้น โดยสามารถมีรัฐบาลที่มีเสถียรภาพในการบริหารประเทศ ก็คาดว่าเศรษฐกิจไทยน่าจะมีแรงขับเคลื่อนจากภายในประเทศที่จะช่วยผลักดันให้ เศรษฐกิจกลับมาขยายตัวดีขึ้น เนื่องจากปัจจัยพื้นฐานของประเทศยังเอื้ออำนวยต่อการขยายตัวของการบริโภคและ การลงทุน ประกอบกับนโยบายของรัฐบาลในระยะต่อๆไปน่าจะยังคงมุ่งเน้นการกระตุ้นการเติบ โตทางเศรษฐกิจ

นางสาวปัทมา พิมพ์ศรี รหัส 50473010034 โปรแกรมวิชาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

      ให้นักศึกษาทุกคนแสดงความเห็นว่าการคงประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน  ราคาไข่ไก่  ราคาน้ำตาลทราย  การท่องเที่ยว  การลงทุน  มีความเชื่อมโยงกันอย่างไร 

         การที่ศูนย์อำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน (ศอฉ.)ยืนยันต่ออายุการประกาศใช้พ.ร.บ.ฉุกเฉินฯ อาจจะส่งผลกระทบให้การฟื้นตัวของภาคการท่องเที่ยวที่ได้รับผลกระทบจากปัญหาการเมืองล่าช้าออกไปกว่าที่คาดการณ์ไว้ ว่าการท่องเที่ยวต้องจะใช้เวลาในการฟื้นตัวอย่างน้อยประมาณ 6 เดือน หรือ 2 ไตรมาส เนื่องจากการคงพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ เหมือนเครื่องชี้ถึงความไม่ปลอดภัย ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อความเชื่อมั่นของนักท่องเที่ยวต่างชาติให้ทบทวนการมาท่องเที่ยวในไทย และจากการดูตัวเลขภาคการท่องเที่ยว ล่าสุดในเดือนพฤษภาคม ของสมาคมไทยธุรกิจการท่องเที่ยว(แอตต้า) พบว่าการท่องเที่ยวฟื้นตัวได้เร็วกว่าที่คิดไว้มาก ซึ่งในอดีต พบว่า การท่องเที่ยวที่ได้รับผลกระทบจากเหตุต่างๆโดยเฉลี่ยจะต้องในการฟื้นตัวประมาณ 6 เดือน ซึ่งเหตุการณ์ครั้งนี้ก็น่าจะเห็นการท่องเที่ยวการฟื้นตัวได้ในเดือนพฤศจิกายนนี้ ซึ่งเป็นช่วงไฮซีซั่นพอดี แต่หากยังมีพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯอยู่ อาจะทำให้การท่องเที่ยวต้องใช้เวลาฟื้นตัวนานกว่านั้น ดังนั้นเมื่อเทียบผลกระทบต่อเศรษฐกิจมองว่าการยกเลิกพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯจะมีผลดีกว่าเศรษฐกิจมากว่ามีพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ    ส่วนผลกระทบต่อความเชื่อมั่นของลงทุนคงไม่มีผลกระทบไม่มากนัก เนื่องจากการพิจารณาลงทุนของนักลงทุนจะไม่ได้มองเพียงว่า ประเทศที่จะลงทุนจะมีพ.ร.ก.ฉุกเฉินหรือไม่เท่านั้น แต่จะมองถึงเรื่องภาพรวมเศรษฐกิจ โอกาสการลงทุน ต้นทุนการผลิต ความสามารถการแข่งขันด้านแรงงาน และความชำนาญของแรงงานเป็นสำคัญ ซึ่งปัจจัยเหล่านี้หากเทียบกับประเทศอื่นๆในภูมิภาคเดียวกับไทยไม่ได้ก็ไม่ได้ด้อยไปกว่าประเทศในภูมิภาคเดียวกัน แต่ยอมรับว่า ปัญหาการเมืองในประเทศ ยังคงเป็นปัจจัยเสี่ยงในขณะนี้ ดังนั้นเชื่อว่าการลงทุนในระยะสั้นของนักลงทุนต่างประเทศก็ยังอยู่ไม่ไปไหน เพราะสถานการณ์ในประเทศก็ไม่ได้เลวร้ายไปกว่านี้ แต่ในระยะยาวยอมรับว่า นักลงทุนคงจะต้องชะลอการลงทุนเพื่อรอดูความชัดเจนก่อนตัดสินใจลงทุนในไทยต่อไป

        สาเหตุที่ราคาไข่แพงเนื่องจากเกษตรกรประสบปัญหา จากภาวะภัยแล้งและสภาพอากาศที่ร้อนจัด โดยมีอุณหภูมิสูงขึ้นผิดปกติถึง 43-44 องศาเซลเซียส เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีที่ผ่านมา ขณะที่อุณหภูมิที่เหมาะสมในการเลี้ยงไก่ไข่อยู่ที่ 28-30 องศาเซลเซียสเท่านั้น ส่งผลให้แม่ไก่เกิดอาการเครียด กินอาหารได้น้อย และทำให้เปอร์เซ็นต์การให้ไข่ของแม่ไก่ลดลง รวมถึงผลผลิตไข่ไก่มีขนาดเล็กลง นอกจากนี้ บางพื้นที่ขาดน้ำสะอาดเพื่อให้ไก่กิน ก่อให้เกิดไก่ป่วยตามมา ผลผลิตจึงลดลงมาก และในวงการเลี้ยงไก่กำลังประสบปัญหาโรคระบาดในไก่ไข่ คือ โรค IB หรือโรคหลอดลมอักเสบ ในช่วงฤดูหนาวที่ผ่านมา ซึ่งเกิดในลูกไก่ไข่ที่มีอายุ 1-3 สัปดาห์ ทำให้รังไข่ฝ่อ ผลผลิตไข่ไก่ที่ได้เกิดความเสียหาย สำหรับสถานการณ์ราคาไข่ไก่ช่วงนี้ทางซีพีเอฟระบุว่า จะเกิดขึ้นเพียงช่วงระยะเวลาหนึ่ง พอเข้าสู่ฤดูฝนที่ความร้อนคลี่คลาย ความเสียหายของผลผลิตไข่ไก่จะลดลงและระดับราคาจะเข้าสู่ภาวะปกติในที่สุด

          และอีกสาเหตุหนึ่งราคาหน้าฟาร์มเลี้ยงไก่ไข่ ขายส่งก็ไม่ได้แพงอย่างที่มีการนำเสนอกัน แต่ราคาขายปลีกไข่ไก่ในท้องตลาดบางพื้นที่มีราคาสูงเกินเหตุ จึงทำให้ภาครัฐต้องออกมาแสดงอำนาจในการตรวจสอบและควบคุมการขายแพงเกินจริง โดยกระทรวงพาณิชย์นำไข่ไก่จำหน่ายผ่านช่องทางมุมธงฟ้าในห้างค้าปลีกและตลาดสดในราคาถูก

           ส่วนราคาน้ำตาลแพงเนื่องจากพบว่ามีการลักลอบนำน้ำตาลทรายส่งออกไปขายตามแนวชายแดนอย่างต่อเนื่อง เพราะได้ราคาสูงกว่านำมาขายในประเทศถึงกว่ากก.ละ 30 บาท รวมทั้งมีการกักตุนน้ำตาลทรายด้วย  นายยรรยง พวงราช ปลัดกระทรวงพาณิชย์ เปิดเผยว่า เตรียมนำมาตรการทางกฎหมายออกมาใช้แก้ปัญหาน้ำตาลทรายขาดแคลนหลังจากที่ได้ทำการหารือกับกรมการค้าภายในแล้ว โดยจะประกาศให้น้ำตาลทรายเป็นสินค้าควบคุมทั้งประเทศ จากเดิมที่ควบคุมเฉพาะกรุงเทพฯและปริมณฑล 5 จังหวัด โดยจะกำหนดราคากลาง และราคาขายปลีกให้แต่ละจังหวัด เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการฉวยโอกาสขึ้นราคาจนผู้บริโภคเดือดร้อน รวมถึงควบคุมปริมาณการครอบครองและการขนย้ายด้วยเพื่อแก้ไขปัญหานี้ ไม่ให้ประชาชนเดือดร้อน โดยในระหว่างนี้ จะเร่งรัดนำน้ำตาลทรายโควตาพิเศษที่ได้รับ 1 ล้านกระสอบ กระจายออกไปโดยเร็วที่สุด

           อย่างไรก็ตาม "คม ชัด ลึก" ได้สอบถามแม่ค้าตลาดราม 2 ถึงผลกระทบจากราคาไข่ไก่และน้ำตาลที่ขยับตัวขึ้นสูง แม่ค้าขายปลีกและขายส่งส่วนใหญ่ยอมรับว่า ราคาน้ำตาลและไข่ไก่เริ่มขยับสูงขึ้นตั้งแต่ต้นปี อาจมีสาเหตุมาจากปัญหาทางการเมืองที่เกิดขึ้น จนทำให้มีการกักตุนสินค้าประเภทน้ำตาลทรายไว้ ส่วนไข่ไก่ตอนนี้แพงกว่าเมื่อก่อนก็ต้องรับสภาพ ที่สำคัญคนก็ไม่ค่อยมีกำลังซื้อด้วย

นางสาวแสงระวี ศรีราปราน 50473010002 เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

                                                                         นางสาวแสงระวี ศรีราปราน

                                                                             50473010002

                                                                         โปรแกรมเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน  ราคาไข่ไก่  ราคาน้ำตาลทราย  การท่องเที่ยว  การลงทุน  มีความเชื่อมโยงกันอย่างไร 

ราคาไข่ไก่ ศูนย์วิจัยเศรษฐกิจและพยากรณ์ทางการเกษตร หรือ แม่โจ้โพลล์ เผยผลสำรวจความคิดเห็นเกษตรกรผู้เลี้ยงไก่ไข่ทั่วประเทศ 307 ราย ระหว่างวันที่ 1-6 กรกฎาคม พบว่า ร้อยละ 86 ราคาไข่ไก่สูงขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อน ส่วนผลผลิตไข่ไก่ปีนี้ เพิ่มขึ้น 8.1 เปอร์เซ็นต์ เท่าเดิม 23.1 และลดลงร้อยละ 68.8 ทำให้เกษตรกรส่วนใหญ่ ร้อยละ 64.2 ไม่ประสบปัญหา เนื่องจากไข่ไก่มีราคาสูงขึ้นอย่างไรก็ตาม สาเหตุของการปรับขึ้นราคาไข่ไก่ในท้องตลาด พบว่า เกิดจากสภาพอากาศร้อน อุณหภูมิสูง การลดจำนวนแม่พันธุ์ไก่ไข่ และปัจจัยต่างๆส่วนข้อเสนอแนะต่อรัฐบาลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เกษตรกรผู้ตอบแบบสอบถาม ร้อยละ 43 เสนอว่า ภาครัฐควรเข้ามาแก้ไขปัญหาทั้งระบบ ร้อยละ 25.7 เห็นว่า ควรปล่อยให้เป็นไปตามกลไกตลาด และร้อยละ 11.1 เห็นว่า ควรเพิ่มจำนวนการนำเข้าแม่พันธุ์ไก่ไข่เพื่อเพิ่มผลผลิตไข่ ทั้งนี้ ร้อยละ 80.8 ไม่วิตกกังวลต่อการลดปริมาณการบริโภคไข่ไก่ลงหากราคายังคงสูงขึ้นต่อเนื่อง เนื่องจากเห็นว่าเป็นอาหารที่จำเป็นต้องบริโภค และราคาไม่แพงหากเทียบกับอาหารโปรตีนชนิดอื่น ส่งผลต่อการลงทุน จากเหตุผลที่กล่าวมาทำให้มีผลผลิตไข่ไก่ออกสู่ท้องตลาดน้อยลง ประกอบกับเป็นช่วงโรงเรียนเปิดภาคเรียน ความต้องการบริโภคไข่ไก่ในช่วงนี้จึงสูงกว่าในช่วง 1-2 เดือนก่อนหน้านี้ ทำให้ราคาไข่ไก่ในท้องตลาดมีการปรับตัวสูงขึ้น จนปัจจุบันมีราคาขายเฉลี่ยฟองละ 2.80 บาท เป็นไปตามดีมานด์-ซัพพลายและกลไกของตลาด จะปรับตัวขึ้นในช่วงสั้นๆ เท่านั้น หลังจากผ่านช่วงนี้ไปแล้ว สภาพอากาศเริ่มมีอุณหภูมิลดลงหลัง จากมีฝนลงมาพอให้คลายร้อนกันได้บ้าง เชื่อว่าจะทำให้ในช่วง 1-2 เดือนข้างหน้าจะมีปริมาณไข่ไก่ออกสู่ตลาดมากกว่าช่วงที่ผ่านมา และทำให้ราคาขายปรับเข้าสู่ภาวะปกติได้ ในประเด็นที่มีผู้ตั้งข้อสังเกตว่าเมื่อไข่ไก่ราคาสูงขึ้น น่าจะนำไข่ที่เก็บไว้ในห้องเย็นออกมากระจายสู่ตลาด กำนันมาโนช บอกว่า ตอนนี้ไม่มีไข่ไก่เหลือในห้องเย็นอีกแล้ว เพราะเมื่อไข่ราคาขยับสูงขึ้นมาที่ฟองละ 2.60 บาท ทางห้องเย็นต่างๆ ได้มีการระบายไข่ไก่ ที่มีอยู่ออกสู่ท้องตลาดหมดแล้ว เพราะถือว่าขายได้ราคาดี และไม่มีใครต้องการแบกภาระเรื่องต้นทุนการเก็บรักษาไข่ แต่ถึงระบายออกมาหมดแล้วก็ไม่ได้ทำให้ราคาไข่ลดลง เพราะปริมาณไข่ไก่หายไปจากท้องตลาด จำ นวนมาก ดังที่กล่าวมาแล้ว พูดง่ายๆ ก็คือเมื่อไข่ราคาถูก เราจึงจะเก็บไข่เข้าห้องเย็น เพื่อลดปริมาณ ไข่ในท้องตลาดและทำให้ราคาในตลาดดีขึ้น แต่ถ้าไข่ราคาดี ไม่มีใครอยากเก็บไข่ไว้แน่นอนเพราะ มีแต่จะทำให้มีต้นทุนที่เพิ่มขึ้น
                 ส่วนเรื่องของการ "ฮั้ว" ราคากันระหว่างผู้ผลิตพันธุ์สัตว์ แสดงทัศนะว่า ในความเป็นจริงแล้วการตั้งราคาได้ตามใจชอบนั้น เกิดจากการเป็นตลาดผูกขาด แต่การที่มีผู้ผลิตในตลาดอยู่ถึง 9 รายคงเป็นเรื่องที่ทำได้ยาก เนื่องจากความสามารถหรือศักยภาพในการผลิตและการทำตลาดของแต่ละบริษัทย่อมแตกต่างกัน ช่องว่างของการทำกำไร แต่ละบริษัทย่อมแตกต่างกัน การฮั้วราคากันจะทำให้บางบริษัทได้กำไรมาก บางบริษัทได้กำไรน้อย และทำให้แข่งขันในตลาดไม่ได้ ฉะนั้นจึงเป็นเรื่องที่แต่ละบริษัทจะต้องวางยุทธศาสตร์หรือกลยุทธ์ที่เหมาะสมกับศักยภาพของตัวเอง เพื่อให้สามารถทำกำไรและยังแข่งขันในตลาดได้
ส่วนที่มีการตั้งคำถามว่าเมื่อไข่ราคาดี เกษตรกรต้องซื้อพันธุ์สัตว์ในราคาสูงขึ้นตามราคาไข่หรือไม่ กำนันมาโนช บอกว่า คงไม่ได้เป็นสูตรตายตัว แต่สุดท้ายก็หนีไม่พ้นเรื่องของดีมานด์-ซัพพลาย เช่นเคย เมื่อไข่ราคาดี มีหรือเกษตรกรจะไม่อยากเลี้ยง นี่เป็น "วัฏจักร" ที่มักเกิดขึ้นกับเกษตรกรไทย หรือวงจรการเกษตรของไทยมาตลอด ผลผลิตขายได้ราคาดีก็อยากเลี้ยงให้มากขึ้น คิดว่าทำเกษตรต้องเป็นหนึ่งบวกหนึ่งเท่ากับสองเสมอ ซึ่งในความเป็นจริงอาจจะไม่ใช่เสมอไป เพราะเมื่อปริมาณเพิ่ม 1 เปอร์เซ็นต์อาจจะมีผลให้ราคาลดลงถึง 10 เปอร์เซ็นต์ก็เป็นไปได้ ในทางตรงกันข้ามถ้าลดปริมาณเลี้ยงลง 1 เปอร์เซ็นต์ก็อาจจะทำให้ราคาปรับสูงขึ้นได้ 10 เปอร์เซ็นต์ก็อาจเป็นไปได้เช่นเดียวกัน

ราคาน้ำตาลทราย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ เปิดเผยภายหลังการประชุมคณะกรรมการกลางว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ (กกร.) ว่า ที่ประชุมมีมติให้ใช้อำนาจตามพ.ร.บ.ว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ พ.ศ.2542 กำหนดมาตรการเพิ่มเติมแก้ไขปัญหาน้ำตาลทรายขาดแคลน และมีราคาแพง คาดว่าหลังจากนำมาตรการมาใช้จะทำให้ปัญหายุติลงได้ เพราะกระทรวงพาณิชย์จะสามารถติดตามตรวจสอบได้ว่าน้ำตาลทรายที่ผลิตออกมาขาย ไปที่ใด จำนวนเท่าไร โดยกกร.จะเร่งออกประกาศเพื่อให้มีผลบังคับใช้ในทันที โดยมาตรการที่อนุมัติ ได้แก่ โรงงานน้ำตาลทราย จะต้องแจ้งต่อกรมการค้าภายในถึงปริมาณการผลิต การจำหน่ายภายในประเทศ การส่งออก ปริมาณคงเหลือ และสถานที่เก็บภายใน 7 วัน และทุกเดือน และให้แจ้งรายชื่อผู้ซื้อที่มีปริมาณครั้งละตั้งแต่ 10,000 กิโลกรัมขึ้นไป แยกเป็นกลุ่มผู้ค้าส่ง และผู้ใช้ ส่วนผู้แทนจำหน่าย ผู้ค้าส่ง ให้แจ้งรายชื่อผู้ซื้อตั้งแต่ 10,000 กิโลกรัมขึ้นไป ขณะที่ผู้ครอบครองน้ำตาลทรายตั้งแต่ 10,000 กิโลกรัมขึ้นไป จะต้องแจ้งปริมาณ สถานที่เก็บทุกเดือน และผู้จะขนย้าย 1,000 กิโลกรัมขึ้นไป เข้ามาใน 24 จังหวัด 107 อำเภอ ที่ติดกับประเทศเพื่อนบ้าน จะต้องขออนุญาตก่อน สำหรับปัญหาด้านราคา ได้กำหนดราคาจำหน่ายปลีกแนะนำทั่วประเทศ และให้คณะกรรมการส่วนจังหวัดว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ (กจร.) กำหนดราคาจำหน่ายปลีกในจังหวัด แต่ต้องไม่เกินราคาแนะนำ 5% เช่น แม่ฮ่องสอน ราคาแนะนำขายปลีกกิโลกรัมละ 25.50 บาท จะบวกราคาเพิ่มได้อีก 5% หรือบวกเพิ่มได้อีก 1.275 บาท เป็นไม่เกิน 26.77 บาท “เมื่อแต่ละจังหวัดมีราคาแนะนำขายปลีกแล้ว หากยังมีการจำหน่ายเกินไปกว่าราคาแนะนำบวก 5% จะมีความผิดตามกฎหมาย หากถูกจับกุมได้ จะมีโทษจำคุกไม่เกิน 5 ปี ปรับไม่เกิน 100,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ โดยกรมการค้าภายในจะมีการจัดส่งเจ้าหน้าที่ออกไปตรวจสอบอย่างต่อเนื่อง เชื่อว่า มาตรการเหล่านี้จะแก้ปัญหาน้ำตาลตึงตัว และราคาแพงได้แน่นอน”กำหนดมาตรการแก้ปัญหาน้ำตาลทรายขาดแคลนและราคาแพง โดยสั่งให้ควบคุมทุกขั้นตอนตั้งแต่โรงงาน ผู้จำหน่าย ค้าส่ง ผู้ครอบครอง และการลักลอบขนย้ายตามแนวชายแดน พร้อมให้แต่ละจังหวัดประกาศราคาแนะนำทั่วประเทศบวกราคาเพิ่มได้ไม่เกิน 5% หากพบผู้ฝ่าฝืนขายเกินราคามีโทษทั้งจำทั้งปรับ

การท่องเที่ยว ด้านการท่องเที่ยวก็จะส่งผลให้บริษัททัวร์ไม่กล้าที่จะส่งลูกค้ามายังประเทศไทยเพราะไม่มีความมั่นใจในสถานการณ์ซึ่งก็จะส่งผลกระทบเป็นลูกโซ่ต่อธุรกิจที่เกี่ยวข้องไม่ว่าจะเป็นโรงแรม ร้านอาหาร รถทัวร์นำเที่ยว และพนักงานรวมถึงครอบครัวของผู้ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจการท่องเที่ยวด้วยการที่รัฐบาลยังไม่ยกเลิก พ.ร.ก.ฉุกเฉิน ถือเป็นสัญลักษณ์ที่แสดงให้นักท่องเที่ยวเห็นว่าประเทศไทยยังไม่มีความปลอดภัย ซึ่งทำให้บริษัทประกันไม่กล้าทำประกันให้กับนักท่องเที่ยวที่ประสงค์จะเดินทางเข้าประเทศไทย โดยเฉพาะนักท่องเที่ยวกลุ่มประเทศเอเชีย เช่น จีนหรือญี่ปุ่นมีจำนวนลดลงอย่างเห็นได้ชัด

การลงทุน  ความต้องการบริโภคภายในประเทศมีสัญญาณดีขึ้น แต่ภัยแล้ง และการทยอยถอนมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจที่ส่งเสริมการบริโภค และความไม่แน่นอนทางการเมืองอาจเป็นปัจจัยฉุดรั้งการเติบโตของเศรษฐกิจหุ้นไทยถูกเงินนอกทะลัก  ปัญหาความวุ่นวายทางการเมืองที่เกิดขึ้นนั้นอาจจะส่งผลให้การปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายในช่วงกลางเดือนเมษายนนี้อาจจะต้องเลื่อนออกไป รวมทั้งยังเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลให้ GDP ต่ำกว่าที่หลายหลายคาดการณ์ไว้ ส่วนแนวโน้มตลาดหุ้นกลับมองว่าจะยังไม่ได้รับผลกระทบจากปัญหาทางการเมือง เพราะราคาหุ้นค่อนข้างถูกโดยการเข้าลงทุนส่วนใหญ่จะสลับเข้าลงทุนอยู่ 2 กลุ่ม คือกลุ่มพลังงาน เช่น  PTT TOP และ PTTEP กลุ่มธนาคารพาณิชย์ เช่น BBL SCB และ KBANK เนื่องจากเป็นหุ้นขนาดใหญ่พื้นฐานดีและยังพอมีอัพไซด์ ทั้งนี้แม้ปัจจุบันราคาหุ้นกลุ่มอสังหาริมทรัพย์จะปรับตัวลดลงต่อเนื่อง แต่ฝ่ายวิจัยกลับมองว่าเป็นหุ้นที่น่าลงทุนเป็นอย่างมากเพราะเป็นหุ้นที่พื้นฐานดีและแม้ว่ามาตรากระตุ้นภาษีอสังหาริมทรัพย์จะหมดอายุภายในเร็วๆนี้เชื่อว่าจะไม่กระทบต่อปัจจัยฟื้นตัวของหุ้น

นายอัครวัฒน์ พฤกษชาติเจริญ รหัส 50473010046

นายอัครวัฒน์ พฤกษชาติเจริญ

รหัส 50473010046

คณะวิทยาการจัดการ

โปรแกรมเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

.

ความเห็นว่าการคงประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน ราคาไข่ไก่ ราคาน้ำตาลทราย การท่องเที่ยว การลงทุน มีความเชื่อมโยงกันอย่างไร

ก่อนอื่นเราต้องเข้าใจปัญหาที่เกิดขึ้นก่อนว่ามาจากสาเหตุใด จากการวิเคราะห์ข้างต้น สามารถอธิบายได้ดังนี้

- รัฐบาลคงประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน เนื่องมาจากการที่รัฐบาลยังไม่สามารถคุมการไม่เห็นด้วยทางการเมืองของประชาชนได้ และยังมีการเคลื่อนไหวอยู่ ซึ่งปัญหานี้เกิดจากการเห็นต่างทางด้านการเมือง และการไม่พอใจของประชาชนบางส่วน

- ปัญหาราคาไข่ไก่ตกเกิดจากไก่ผลิตไข่น้อยกว่าความต้องการของประชาชนเนื่องจากอากาศร้อน ทำให้ไก่ไม่ออกไข่ ซึ่งส่งผลให้ไข่ไก่มีราคาที่แพงขึ้น

- ราคาน้ำตาลทราย เกิดจากการกักตุนสินค้าของพ่อค้าคนกลาง ซึ่งจะทำให้ราคาน้ำตาลสูงขึ้น เพราะน้ำตาลเป็นสิ่งสำคัญในการเป็นส่วนผสมของอาหาร

- การท่องเที่ยว มีผลมาจากการไม่มันใจในสถานการณ์การเมืองที่รุ่นแรง ประกอบกับมีฟุตบอลโลก จึงทำให้นักท่องเที่ยวจะไปเที่ยวที่อเมริกาใต้ มากกว่า

- การลงทุน มีผลมาจากการที่ต่างประเทศประสบปัญหาทางด้านการเงิน และยังไม่เชื่อมันในประเทศไทย ถึงแม้รัฐบาลจะมีมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจก็ตาม

ดังนั้นถ้าเราวิเคราะห์ ปัญหาต่างๆมีการเชื่อมโยงกันดังนี้

- การคงประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินเชื่อมโยงกับการท่องเที่ยวและการลงทุน ดังนี้ เนื่องจากต่างประเทศยังไม่เชื่อมั่นในรัฐบาลและการเมืองของไทย ประกอบกับความรุ่นแรงที่เกิดขึ้นในการชุมนุม ชาวต่างชาติจึงไม่กล้าลงทุนในไทย รวมไปถึงนักท่องเที่ยวด้วย

- ราคาไข่ไก่และราคาน้ำตาลทราย อาจเชื่อมโยงกับการลงทุน เพราะไทยไม่สามารถส่งสินค้าเหล่านี้ออกนอกประเทศได้ จึงทำให้ขาดรายได้เข้าประเทศ ซึ่งจะทำให้การลงทุนในต่างประเทศขาดดุล เพราะต้องนำสินค้าเหล่านี้ มาขายให้กับคนในประเทศ

นางสาวแสงระวี ศรีราปราน 50473010002 เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

                                                                       นางสาวแสงระวี ศรีราปราน

                                                                             50473010002

                                                                     โปรแกรมเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน  ราคาไข่ไก่  ราคาน้ำตาลทราย  การท่องเที่ยว  การลงทุน  มีความเชื่อมโยงกันอย่างไร 

ราคาไข่ไก่ ศูนย์วิจัยเศรษฐกิจและพยากรณ์ทางการเกษตร หรือ แม่โจ้โพลล์ เผยผลสำรวจความคิดเห็นเกษตรกรผู้เลี้ยงไก่ไข่ทั่วประเทศ 307 ราย ระหว่างวันที่ 1-6 กรกฎาคม พบว่า ร้อยละ 86 ราคาไข่ไก่สูงขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อน ส่วนผลผลิตไข่ไก่ปีนี้ เพิ่มขึ้น 8.1 เปอร์เซ็นต์ เท่าเดิม 23.1 และลดลงร้อยละ 68.8 ทำให้เกษตรกรส่วนใหญ่ ร้อยละ 64.2 ไม่ประสบปัญหา เนื่องจากไข่ไก่มีราคาสูงขึ้นอย่างไรก็ตาม สาเหตุของการปรับขึ้นราคาไข่ไก่ในท้องตลาด พบว่า เกิดจากสภาพอากาศร้อน อุณหภูมิสูง การลดจำนวนแม่พันธุ์ไก่ไข่ และปัจจัยต่างๆส่วนข้อเสนอแนะต่อรัฐบาลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เกษตรกรผู้ตอบแบบสอบถาม ร้อยละ 43 เสนอว่า ภาครัฐควรเข้ามาแก้ไขปัญหาทั้งระบบ ร้อยละ 25.7 เห็นว่า ควรปล่อยให้เป็นไปตามกลไกตลาด และร้อยละ 11.1 เห็นว่า ควรเพิ่มจำนวนการนำเข้าแม่พันธุ์ไก่ไข่เพื่อเพิ่มผลผลิตไข่ ทั้งนี้ ร้อยละ 80.8 ไม่วิตกกังวลต่อการลดปริมาณการบริโภคไข่ไก่ลงหากราคายังคงสูงขึ้นต่อเนื่อง เนื่องจากเห็นว่าเป็นอาหารที่จำเป็นต้องบริโภค และราคาไม่แพงหากเทียบกับอาหารโปรตีนชนิดอื่น ส่งผลต่อการลงทุน จากเหตุผลที่กล่าวมาทำให้มีผลผลิตไข่ไก่ออกสู่ท้องตลาดน้อยลง ประกอบกับเป็นช่วงโรงเรียนเปิดภาคเรียน ความต้องการบริโภคไข่ไก่ในช่วงนี้จึงสูงกว่าในช่วง 1-2 เดือนก่อนหน้านี้ ทำให้ราคาไข่ไก่ในท้องตลาดมีการปรับตัวสูงขึ้น จนปัจจุบันมีราคาขายเฉลี่ยฟองละ 2.80 บาท เป็นไปตามดีมานด์-ซัพพลายและกลไกของตลาด จะปรับตัวขึ้นในช่วงสั้นๆ เท่านั้น หลังจากผ่านช่วงนี้ไปแล้ว สภาพอากาศเริ่มมีอุณหภูมิลดลงหลัง จากมีฝนลงมาพอให้คลายร้อนกันได้บ้าง เชื่อว่าจะทำให้ในช่วง 1-2 เดือนข้างหน้าจะมีปริมาณไข่ไก่ออกสู่ตลาดมากกว่าช่วงที่ผ่านมา และทำให้ราคาขายปรับเข้าสู่ภาวะปกติได้ ในประเด็นที่มีผู้ตั้งข้อสังเกตว่าเมื่อไข่ไก่ราคาสูงขึ้น น่าจะนำไข่ที่เก็บไว้ในห้องเย็นออกมากระจายสู่ตลาด กำนันมาโนช บอกว่า ตอนนี้ไม่มีไข่ไก่เหลือในห้องเย็นอีกแล้ว เพราะเมื่อไข่ราคาขยับสูงขึ้นมาที่ฟองละ 2.60 บาท ทางห้องเย็นต่างๆ ได้มีการระบายไข่ไก่ ที่มีอยู่ออกสู่ท้องตลาดหมดแล้ว เพราะถือว่าขายได้ราคาดี และไม่มีใครต้องการแบกภาระเรื่องต้นทุนการเก็บรักษาไข่ แต่ถึงระบายออกมาหมดแล้วก็ไม่ได้ทำให้ราคาไข่ลดลง เพราะปริมาณไข่ไก่หายไปจากท้องตลาด จำ นวนมาก ดังที่กล่าวมาแล้ว พูดง่ายๆ ก็คือเมื่อไข่ราคาถูก เราจึงจะเก็บไข่เข้าห้องเย็น เพื่อลดปริมาณ ไข่ในท้องตลาดและทำให้ราคาในตลาดดีขึ้น แต่ถ้าไข่ราคาดี ไม่มีใครอยากเก็บไข่ไว้แน่นอนเพราะ มีแต่จะทำให้มีต้นทุนที่เพิ่มขึ้น
                 ส่วนเรื่องของการ "ฮั้ว" ราคากันระหว่างผู้ผลิตพันธุ์สัตว์ แสดงทัศนะว่า ในความเป็นจริงแล้วการตั้งราคาได้ตามใจชอบนั้น เกิดจากการเป็นตลาดผูกขาด แต่การที่มีผู้ผลิตในตลาดอยู่ถึง 9 รายคงเป็นเรื่องที่ทำได้ยาก เนื่องจากความสามารถหรือศักยภาพในการผลิตและการทำตลาดของแต่ละบริษัทย่อมแตกต่างกัน ช่องว่างของการทำกำไร แต่ละบริษัทย่อมแตกต่างกัน การฮั้วราคากันจะทำให้บางบริษัทได้กำไรมาก บางบริษัทได้กำไรน้อย และทำให้แข่งขันในตลาดไม่ได้ ฉะนั้นจึงเป็นเรื่องที่แต่ละบริษัทจะต้องวางยุทธศาสตร์หรือกลยุทธ์ที่เหมาะสมกับศักยภาพของตัวเอง เพื่อให้สามารถทำกำไรและยังแข่งขันในตลาดได้
ส่วนที่มีการตั้งคำถามว่าเมื่อไข่ราคาดี เกษตรกรต้องซื้อพันธุ์สัตว์ในราคาสูงขึ้นตามราคาไข่หรือไม่ กำนันมาโนช บอกว่า คงไม่ได้เป็นสูตรตายตัว แต่สุดท้ายก็หนีไม่พ้นเรื่องของดีมานด์-ซัพพลาย เช่นเคย เมื่อไข่ราคาดี มีหรือเกษตรกรจะไม่อยากเลี้ยง นี่เป็น "วัฏจักร" ที่มักเกิดขึ้นกับเกษตรกรไทย หรือวงจรการเกษตรของไทยมาตลอด ผลผลิตขายได้ราคาดีก็อยากเลี้ยงให้มากขึ้น คิดว่าทำเกษตรต้องเป็นหนึ่งบวกหนึ่งเท่ากับสองเสมอ ซึ่งในความเป็นจริงอาจจะไม่ใช่เสมอไป เพราะเมื่อปริมาณเพิ่ม 1 เปอร์เซ็นต์อาจจะมีผลให้ราคาลดลงถึง 10 เปอร์เซ็นต์ก็เป็นไปได้ ในทางตรงกันข้ามถ้าลดปริมาณเลี้ยงลง 1 เปอร์เซ็นต์ก็อาจจะทำให้ราคาปรับสูงขึ้นได้ 10 เปอร์เซ็นต์ก็อาจเป็นไปได้เช่นเดียวกัน

ราคาน้ำตาลทราย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ เปิดเผยภายหลังการประชุมคณะกรรมการกลางว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ (กกร.) ว่า ที่ประชุมมีมติให้ใช้อำนาจตามพ.ร.บ.ว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ พ.ศ.2542 กำหนดมาตรการเพิ่มเติมแก้ไขปัญหาน้ำตาลทรายขาดแคลน และมีราคาแพง คาดว่าหลังจากนำมาตรการมาใช้จะทำให้ปัญหายุติลงได้ เพราะกระทรวงพาณิชย์จะสามารถติดตามตรวจสอบได้ว่าน้ำตาลทรายที่ผลิตออกมาขาย ไปที่ใด จำนวนเท่าไร โดยกกร.จะเร่งออกประกาศเพื่อให้มีผลบังคับใช้ในทันที โดยมาตรการที่อนุมัติ ได้แก่ โรงงานน้ำตาลทราย จะต้องแจ้งต่อกรมการค้าภายในถึงปริมาณการผลิต การจำหน่ายภายในประเทศ การส่งออก ปริมาณคงเหลือ และสถานที่เก็บภายใน 7 วัน และทุกเดือน และให้แจ้งรายชื่อผู้ซื้อที่มีปริมาณครั้งละตั้งแต่ 10,000 กิโลกรัมขึ้นไป แยกเป็นกลุ่มผู้ค้าส่ง และผู้ใช้ ส่วนผู้แทนจำหน่าย ผู้ค้าส่ง ให้แจ้งรายชื่อผู้ซื้อตั้งแต่ 10,000 กิโลกรัมขึ้นไป ขณะที่ผู้ครอบครองน้ำตาลทรายตั้งแต่ 10,000 กิโลกรัมขึ้นไป จะต้องแจ้งปริมาณ สถานที่เก็บทุกเดือน และผู้จะขนย้าย 1,000 กิโลกรัมขึ้นไป เข้ามาใน 24 จังหวัด 107 อำเภอ ที่ติดกับประเทศเพื่อนบ้าน จะต้องขออนุญาตก่อน สำหรับปัญหาด้านราคา ได้กำหนดราคาจำหน่ายปลีกแนะนำทั่วประเทศ และให้คณะกรรมการส่วนจังหวัดว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ (กจร.) กำหนดราคาจำหน่ายปลีกในจังหวัด แต่ต้องไม่เกินราคาแนะนำ 5% เช่น แม่ฮ่องสอน ราคาแนะนำขายปลีกกิโลกรัมละ 25.50 บาท จะบวกราคาเพิ่มได้อีก 5% หรือบวกเพิ่มได้อีก 1.275 บาท เป็นไม่เกิน 26.77 บาท “เมื่อแต่ละจังหวัดมีราคาแนะนำขายปลีกแล้ว หากยังมีการจำหน่ายเกินไปกว่าราคาแนะนำบวก 5% จะมีความผิดตามกฎหมาย หากถูกจับกุมได้ จะมีโทษจำคุกไม่เกิน 5 ปี ปรับไม่เกิน 100,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ โดยกรมการค้าภายในจะมีการจัดส่งเจ้าหน้าที่ออกไปตรวจสอบอย่างต่อเนื่อง เชื่อว่า มาตรการเหล่านี้จะแก้ปัญหาน้ำตาลตึงตัว และราคาแพงได้แน่นอน”กำหนดมาตรการแก้ปัญหาน้ำตาลทรายขาดแคลนและราคาแพง โดยสั่งให้ควบคุมทุกขั้นตอนตั้งแต่โรงงาน ผู้จำหน่าย ค้าส่ง ผู้ครอบครอง และการลักลอบขนย้ายตามแนวชายแดน พร้อมให้แต่ละจังหวัดประกาศราคาแนะนำทั่วประเทศบวกราคาเพิ่มได้ไม่เกิน 5% หากพบผู้ฝ่าฝืนขายเกินราคามีโทษทั้งจำทั้งปรับ

การท่องเที่ยว ด้านการท่องเที่ยวก็จะส่งผลให้บริษัททัวร์ไม่กล้าที่จะส่งลูกค้ามายังประเทศไทยเพราะไม่มีความมั่นใจในสถานการณ์ซึ่งก็จะส่งผลกระทบเป็นลูกโซ่ต่อธุรกิจที่เกี่ยวข้องไม่ว่าจะเป็นโรงแรม ร้านอาหาร รถทัวร์นำเที่ยว และพนักงานรวมถึงครอบครัวของผู้ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจการท่องเที่ยวด้วยการที่รัฐบาลยังไม่ยกเลิก พ.ร.ก.ฉุกเฉิน ถือเป็นสัญลักษณ์ที่แสดงให้นักท่องเที่ยวเห็นว่าประเทศไทยยังไม่มีความปลอดภัย ซึ่งทำให้บริษัทประกันไม่กล้าทำประกันให้กับนักท่องเที่ยวที่ประสงค์จะเดินทางเข้าประเทศไทย โดยเฉพาะนักท่องเที่ยวกลุ่มประเทศเอเชีย เช่น จีนหรือญี่ปุ่นมีจำนวนลดลงอย่างเห็นได้ชัด

การลงทุน  ความต้องการบริโภคภายในประเทศมีสัญญาณดีขึ้น แต่ภัยแล้ง และการทยอยถอนมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจที่ส่งเสริมการบริโภค และความไม่แน่นอนทางการเมืองอาจเป็นปัจจัยฉุดรั้งการเติบโตของเศรษฐกิจหุ้นไทยถูกเงินนอกทะลัก  ปัญหาความวุ่นวายทางการเมืองที่เกิดขึ้นนั้นอาจจะส่งผลให้การปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายในช่วงกลางเดือนเมษายนนี้อาจจะต้องเลื่อนออกไป รวมทั้งยังเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลให้ GDP ต่ำกว่าที่หลายหลายคาดการณ์ไว้ ส่วนแนวโน้มตลาดหุ้นกลับมองว่าจะยังไม่ได้รับผลกระทบจากปัญหาทางการเมือง เพราะราคาหุ้นค่อนข้างถูกโดยการเข้าลงทุนส่วนใหญ่จะสลับเข้าลงทุนอยู่ 2 กลุ่ม คือกลุ่มพลังงาน เช่น  PTT TOP และ PTTEP กลุ่มธนาคารพาณิชย์ เช่น BBL SCB และ KBANK เนื่องจากเป็นหุ้นขนาดใหญ่พื้นฐานดีและยังพอมีอัพไซด์ ทั้งนี้แม้ปัจจุบันราคาหุ้นกลุ่มอสังหาริมทรัพย์จะปรับตัวลดลงต่อเนื่อง แต่ฝ่ายวิจัยกลับมองว่าเป็นหุ้นที่น่าลงทุนเป็นอย่างมากเพราะเป็นหุ้นที่พื้นฐานดีและแม้ว่ามาตรากระตุ้นภาษีอสังหาริมทรัพย์จะหมดอายุภายในเร็วๆนี้เชื่อว่าจะไม่กระทบต่อปัจจัยฟื้นตัวของหุ้น

นางสาวนิรมล สายวงษ์คำ โปรแกรมเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

รหัสนักศึกษา 50473010005

ให้นักศึกษาทุกคนแสดงความเห็นว่าการคงประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน  ราคาไข่ไก่  ราคาน้ำตาลทราย  การท่องเที่ยว  การลงทุน  มีความเชื่อมโยงกันอย่างไร  

ราคาไข่ไก่

จากปัญหาไข่ไก่ราคาสูงขึ้น ซึ่งก่อนหน้านี้รัฐบาลมีการชี้แจงว่าเกิดจากสภาวะอากาศที่ร้อนแห้งแล้งทำให้แม่ไก่ไม่ออกไข่... กลายเป็นประเด็นถกเถียงอย่างกว้างขวางขึ้น เมื่อมีเกษตรกรผู้เลี้ยงไก่ไข่ออกมาร้องเรียนว่า ปัญหาที่แท้จริงไม่ได้มาจากปัญหาสภาวะอากาศเพียงอย่างเดียว แต่เกิดจากปัญหาการขาดตลาดของแม่พันธุ์ไก่ไข่

กระทั่งเมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม ที่ผ่านมา ที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์มีการประชุมคณะกรรมการนโยบายพัฒนาไก่ไข่ และผลิตภัณฑ์ โดยนายธีระ วงศ์สมุทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กล่าวว่า ที่ประชุมได้สรุปมาตรการแก้ไขปัญหาราคาไข่ไก่เป็น 3 ระยะ คือ มาตรการระยะสั้น มาตรการระยะกลาง และมาตรการระยะยาว

มาตรการระยะสั้น ประกอบด้วย

1. การยืดอายุไก่ไข่สาว โดยแจ้งขอความร่วมมือผู้ประกอบการและเกษตรกรขยายเวลาไก่ยืนกรงจำนวน 2 ล้านตัวต่อไปอีกประมาณ 4 สัปดาห์ หรือจนกว่าสถานการณ์ตลาดจะเข้าสู่ภาวะปกติ เพื่อทำให้ปริมาณไข่ไก่เข้าสู่ตลาดเพิ่มมากขึ้นเฉลี่ย 1.2 ล้านฟอง/วัน

2. เพิ่มปริมาณไข่ไก่ภายในประเทศ โดยขอความร่วมมือผู้ส่งออกไข่ไก่ให้ชะลอการส่งออกไข่ไก่ชั่วคราว กรณีที่ยังไม่ทำสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ซึ่งจากข้อมูลสถานการณ์การส่งออกไข่ไก่ในปัจจุบันตั้งแต่ต้นปีที่ผ่านมาถึงเดือนพฤษภาคมมีการส่งออกไข่ไก่แล้ว 86 ล้านฟอง

3. จัดลูกไข่ไก่กองกลาง 50,000 ตัว/เดือน โดยมอบหมายให้กรมปศุสัตว์เป็นผู้บริหารจัดการเพื่อแก้ไขปัญหาเกษตรกรรายเล็ก รายย่อยที่ขาดแคลนลูกไก่ไข่

4. ให้กรมปศุสัตว์ติดตามภาวะราคาลูกไก่ไข่และไก่สาวโดยต่อเนื่อง และปรับลดราคาให้สอดคล้องกับต้นทุนการผลิตและข้อตกลงเดิมที่ได้เคยกำหนดส่วนต่างราคาต้นทุนลูกไก่ไข่และไก่สาว ไม่ให้เกินร้อยละ 20 ซึ่งผู้ประกอบการแจ้งว่าได้ปรับลดราคาจำหน่ายลูกไข่ไก่และไก่สาวลงแล้ว โดยขณะนี้ราคาลูกไข่ไก่อยู่ที่ตัวละ 30 บาท ปรับลงจากเดิม 2 บาท และราคาไก่สาวปรับเหลือตัวละ 149 บาทจากเดิม 154 บาท

5. ให้กรมปศุสัตว์สรุปข้อมูลความคืบหน้าผลการดำเนินงานทั้งหมดมารายงานต่อที่ประชุมอีกครั้งเพื่อประเมินสถานการณ์การแก้ไขปัญหาดังกล่าวภายใน 30 วัน

มาตรการระยะกลาง ซึ่งเป็นข้อกังวลของหลายฝ่ายที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ ภารกิจ โครงสร้างและผลการดำเนินงานของคณะกรรมการนโยบายพัฒนาไก่ไข่และผลิตภัณฑ์ในการแก้ไขปัญหาการ

ผลิตไข่ไก่ทั้งระบบ ที่ประชุมได้มอบหมายให้กรมปศุสัตว์ประสานร่วมกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศึกษาปรับปรุงโครงสร้าง Egg Board ให้แล้วเสร็จใน 60 วัน

มาตรการระยะยาว ที่ประชุมได้พิจารณากำหนดปริมาณไก่ไข่พันธุ์เป็นโควตากลางในปี 2554 เพื่อให้กรมปศุสัตว์บริหารจัดการแก้ไขปัญหาไก่ไข่ให้เกษตรกรที่รวมตัวเป็นสหกรณ์หรือสมาคม โดยเกษตรกรต้องเสนอความพร้อมทั้งแผนการผลิตและตลาดประกอบการพิจารณาด้วยเช่นกัน ซึ่งในส่วนของโควตากลางที่ประชุมยังไม่มีกำหนดปริมาณที่ชัดเจนว่ารัฐจะเข้าไปดำเนินการนำเข้าเองเท่าไหร่อย่างไร

ทั้งนี้ต้องขึ้นอยู่กับการพิจารณาและตรวจสอบข้อมูลการนำเข้าของบริษัทเอกชนที่ได้รับการจัดสรรโควตาการนำเข้าทั้งสิ้น 9 ราย จำนวนไก่ไข่พันธุ์ 400,921 ตัว ว่าเป็นไปตามจำนวนที่ได้รับการจัดสรร และกระจายแม่พันธุ์ไปยังเกษตรกรตามข้อกำหนดหรือไม่ โดยหากไม่เป็นไปตามข้อกำหนด กรมปศุสัตว์ก็มีอำนาจที่จะตัดลดจำนวนการนำเข้าที่ไม่ถึงโควตามาจัดสรรเป็นโควตากลางได้ ซึ่งที่ประชุมได้กำหนดให้กรมปศุสัตว์รวบรวมข้อมูลดังกล่าวเพื่อให้คณะกรรมการฯ พิจารณารายละเอียดของเรื่องดังกล่าวอีกครั้งภายใน 30 วัน

แนวทางที่ต้องการจากรัฐบาล

จากมาตรการข้างต้นนั้น หากย้อนมองถึงความต้องการของเกษตรกรจะพบข้อร้องเรียนสำคัญๆ 2 ประการ ที่มองว่ารัฐบาลยังไม่มีการนำไปใช้อย่างชัดเจนในแนวทางข้างต้น กล่าวคือ

1) รัฐบาลควรเปิดเสรีการนำเข้าพันธุ์ไก่ไข่ ไม่ให้กระจุกตัวอยู่แค่เอกชนไม่กี่ราย ส่งผลทำให้เกิดการผูกขาด นายปัญญา โชติเทวัญ ประธานกรรมการบริษัทสหฟาร์ม จำกัด กล่าวว่า ปัจจุบันมีปัญหาการผูกขาดเกิดขึ้นเพราะแม่พันธุ์ไก่ไข่ที่นำเข้ามา 400,000 ตัว และมีเกษตรกรที่ได้รับจัดสรรจริงเพียงร้อยละ 5 หรือ 20,000 ตัว เท่านั้น ที่เหลือเป็นของผู้เลี้ยงที่ไม่ใช่เกษตรกรรายย่อย ซึ่งการแก้ไขปัญหาควรสอดคล้องกับเกณฑ์องค์การการค้าโลก (ดับเบิลยูทีโอ) ที่ระบุว่า การค้าต้องไม่เกิดระบบผูกขาด

2) การปรับลดราคาลูกไก่ และแม่ไก่ลง มีการมองว่าไม่ช่วยอะไรมาก เพราะราคาขายปัจจุบันยังอยู่ที่ตัวละ 28 กว่าบาท ที่ถือว่าสูงมาก ทำให้เกษตรกรผู้เลี้ยงมีค่าใช้จ่ายเพิ่มมากขึ้น และต้องผลักภาระไปให้ผู้บริโภคเมื่อผลผลิตออกก็ยังส่งผลให้มีราคาสูงอยู่ดี เนื่องจากราคาต้นทุนสูง

ข้อวิพากษ์

อย่างไรก็ตามจากมาตรการทั้งหมดนี้ มีการมองว่าเป็นการแก้ไขปัญหาในระยะสั้น ซึ่งไม่สามารถแก้ปัญหาได้อย่างแท้จริง อย่างการใช้โครงการธงฟ้าในการแทรกแซงนั้น ถือเป็นการดูแลประชาชนผู้มีรายได้น้อย ซึ่งในการแก้ปัญหาอย่างยั่งยืนไม่ใช่การคุมราคาสินค้าทั้งหมด เช่น หากสินค้าเกษตรราคาแพง รัฐบาลก็ไม่ควรเข้าไปคุมราคามากจนเกินไป เพราะสินค้าเกษตรราคามักมีการเปลี่ยนแปลงไปตามวัฏจักร เช่น ราคาแพงเพราะผลผลิตน้อย แต่หากราคาที่สูงขึ้นก็จะจูงใจให้เกษตรกรผลิตเพิ่ม ทำให้ปริมาณสินค้าในตลาดเพิ่ม ผู้ประกอบการกับผู้บริโภคที่กินน้อยลง ก็จะเป็นกลไกที่ทำให้ราคาถูกลงมาเอง ทั้งนี้ ต้องพิจารณาปัญหาที่ทางเกษตรกรร้องเรียน

ว่าเหตุที่ผลผลิตน้อยเนื่องจากการถูกจำกัดแม่พันธุ์หรือไม่ ซึ่งการที่รัฐบาลมีการลดปริมาณการส่งออกลงเพื่อเพิ่มผลผลิตการขายในประเทศ ก็เป็นทางออกในระยะสั้นเช่นกัน เพราะผู้ส่งออกมีตลาดอยู่แล้วหากระงับไม่ให้ส่งออกจะส่งผลกระทบในอนาคตที่ลูกค้าไม่กล้าซื้อไข่ไก่จากไทยอีก อีกทั้งแนวโน้มประชากรที่เพิ่มขึ้นในอนาคตความต้องการอาหารและผลผลิตทางการเกษตรย่อมสูงขึ้น การหามาตรการรองรับด้านผลผลิตจึงเป็นแนวทางที่สำคัญกว่าในระยะยาว ดังนั้นหากรัฐบาลไม่มีการพัฒนาระบบการค้า และเป็นวงจรที่ต้องแก้ไขปัญหาอย่างนี้ทุกปี ก็จะไม่สามารถแก้ไขปัญหากลไกทางการตลาดได้

ความคิดเห็น    ปัญหาราคาไข่ไก่สูงนั้นมีมาจากหลายสาเหตุ เช่น อากาศที่ร้อนจึงทำให้แม่ไก่ให้ปริมาณไข่ที่น้อยลงแต่ทั้งนี้ก็ไม่ใช้สาเหตุที่สำคัญเท่าใดนัก  อีกสาเหตุหนึ่งมาจากการผูกขาดแม่พันธุ์ไก่ไข่ของผู้ค้ารายใหญ่จึงทำให้ปริมาณแม่ไก่ส่งถึงเกษตรรายย่อยน้อยลง จึงเป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่ส่งผลให้มีต้นทุนที่สูงขึ้น ทั้งนี้รัฐบาลเองควรที่จะหาวิธีที่จะทำให้เกิดผลได้ในระยะยาวเพื่อที่จะไม่ให้เกิดวัฏจักรเช่นเดิมอีก 

 

ให้นักศึกษาทุกคนแสดงความเห็นว่าการคงประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน  ราคาไข่ไก่  ราคาน้ำตาลทราย  การท่องเที่ยว  การลงทุน  มีความเชื่อมโยงกันอย่างไร 

ราคาไข่ไก่

จากปัญหาไข่ไก่ราคาสูงขึ้น ซึ่งก่อนหน้านี้รัฐบาลมีการชี้แจงว่าเกิดจากสภาวะอากาศที่ร้อนแห้งแล้งทำให้แม่ไก่ไม่ออกไข่... กลายเป็นประเด็นถกเถียงอย่างกว้างขวางขึ้น เมื่อมีเกษตรกรผู้เลี้ยงไก่ไข่ออกมาร้องเรียนว่า ปัญหาที่แท้จริงไม่ได้มาจากปัญหาสภาวะอากาศเพียงอย่างเดียว แต่เกิดจากปัญหาการขาดตลาดของแม่พันธุ์ไก่ไข่

กระทั่งเมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม ที่ผ่านมา ที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์มีการประชุมคณะกรรมการนโยบายพัฒนาไก่ไข่ และผลิตภัณฑ์ โดยนายธีระ วงศ์สมุทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กล่าวว่า ที่ประชุมได้สรุปมาตรการแก้ไขปัญหาราคาไข่ไก่เป็น 3 ระยะ คือ มาตรการระยะสั้น มาตรการระยะกลาง และมาตรการระยะยาว

มาตรการระยะสั้น ประกอบด้วย

1. การยืดอายุไก่ไข่สาว โดยแจ้งขอความร่วมมือผู้ประกอบการและเกษตรกรขยายเวลาไก่ยืนกรงจำนวน 2 ล้านตัวต่อไปอีกประมาณ 4 สัปดาห์ หรือจนกว่าสถานการณ์ตลาดจะเข้าสู่ภาวะปกติ เพื่อทำให้ปริมาณไข่ไก่เข้าสู่ตลาดเพิ่มมากขึ้นเฉลี่ย 1.2 ล้านฟอง/วัน

2. เพิ่มปริมาณไข่ไก่ภายในประเทศ โดยขอความร่วมมือผู้ส่งออกไข่ไก่ให้ชะลอการส่งออกไข่ไก่ชั่วคราว กรณีที่ยังไม่ทำสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ซึ่งจากข้อมูลสถานการณ์การส่งออกไข่ไก่ในปัจจุบันตั้งแต่ต้นปีที่ผ่านมาถึงเดือนพฤษภาคมมีการส่งออกไข่ไก่แล้ว 86 ล้านฟอง

3. จัดลูกไข่ไก่กองกลาง 50,000 ตัว/เดือน โดยมอบหมายให้กรมปศุสัตว์เป็นผู้บริหารจัดการเพื่อแก้ไขปัญหาเกษตรกรรายเล็ก รายย่อยที่ขาดแคลนลูกไก่ไข่

4. ให้กรมปศุสัตว์ติดตามภาวะราคาลูกไก่ไข่และไก่สาวโดยต่อเนื่อง และปรับลดราคาให้สอดคล้องกับต้นทุนการผลิตและข้อตกลงเดิมที่ได้เคยกำหนดส่วนต่างราคาต้นทุนลูกไก่ไข่และไก่สาว ไม่ให้เกินร้อยละ 20 ซึ่งผู้ประกอบการแจ้งว่าได้ปรับลดราคาจำหน่ายลูกไข่ไก่และไก่สาวลงแล้ว โดยขณะนี้ราคาลูกไข่ไก่อยู่ที่ตัวละ 30 บาท ปรับลงจากเดิม 2 บาท และราคาไก่สาวปรับเหลือตัวละ 149 บาทจากเดิม 154 บาท

5.ให้กรมปศุสัตว์สรุปข้อมูลความคืบหน้าผลการดำเนินงานทั้งหมดมารายงานต่อที่ประชุมอีกครั้งเพื่อประเมินสถานการณ์การแก้ไขปัญหาดังกล่าวภายใน 30 วัน

มาตรการระยะกลาง ซึ่งเป็นข้อกังวลของหลายฝ่ายที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ ภารกิจ โครงสร้างและผลการดำเนินงานของคณะกรรมการนโยบายพัฒนาไก่ไข่และผลิตภัณฑ์ในการแก้ไขปัญหาการ

ผลิตไข่ไก่ทั้งระบบ ที่ประชุมได้มอบหมายให้กรมปศุสัตว์ประสานร่วมกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศึกษาปรับปรุงโครงสร้าง Egg Board ให้แล้วเสร็จใน 60 วัน

มาตรการระยะยาว ที่ประชุมได้พิจารณากำหนดปริมาณไก่ไข่พันธุ์เป็นโควตากลางในปี 2554 เพื่อให้กรมปศุสัตว์บริหารจัดการแก้ไขปัญหาไก่ไข่ให้เกษตรกรที่รวมตัวเป็นสหกรณ์หรือสมาคม โดยเกษตรกรต้องเสนอความพร้อมทั้งแผนการผลิตและตลาดประกอบการพิจารณาด้วยเช่นกัน ซึ่งในส่วนของโควตากลางที่ประชุมยังไม่มีกำหนดปริมาณที่ชัดเจนว่ารัฐจะเข้าไปดำเนินการนำเข้าเองเท่าไหร่อย่างไร

ทั้งนี้ต้องขึ้นอยู่กับการพิจารณาและตรวจสอบข้อมูลการนำเข้าของบริษัทเอกชนที่ได้รับการจัดสรรโควตาการนำเข้าทั้งสิ้น 9 ราย จำนวนไก่ไข่พันธุ์ 400,921 ตัว ว่าเป็นไปตามจำนวนที่ได้รับการจัดสรร และกระจายแม่พันธุ์ไปยังเกษตรกรตามข้อกำหนดหรือไม่ โดยหากไม่เป็นไปตามข้อกำหนด กรมปศุสัตว์ก็มีอำนาจที่จะตัดลดจำนวนการนำเข้าที่ไม่ถึงโควตามาจัดสรรเป็นโควตากลางได้ ซึ่งที่ประชุมได้กำหนดให้กรมปศุสัตว์รวบรวมข้อมูลดังกล่าวเพื่อให้คณะกรรมการฯ พิจารณารายละเอียดของเรื่องดังกล่าวอีกครั้งภายใน 30 วัน

แนวทางที่ต้องการจากรัฐบาล

จากมาตรการข้างต้นนั้น หากย้อนมองถึงความต้องการของเกษตรกรจะพบข้อร้องเรียนสำคัญๆ 2 ประการ ที่มองว่ารัฐบาลยังไม่มีการนำไปใช้อย่างชัดเจนในแนวทางข้างต้น กล่าวคือ

1) รัฐบาลควรเปิดเสรีการนำเข้าพันธุ์ไก่ไข่ ไม่ให้กระจุกตัวอยู่แค่เอกชนไม่กี่ราย ส่งผลทำให้เกิดการผูกขาด นายปัญญา โชติเทวัญ ประธานกรรมการบริษัทสหฟาร์ม จำกัด กล่าวว่า ปัจจุบันมีปัญหาการผูกขาดเกิดขึ้นเพราะแม่พันธุ์ไก่ไข่ที่นำเข้ามา 400,000 ตัว และมีเกษตรกรที่ได้รับจัดสรรจริงเพียงร้อยละ 5 หรือ 20,000 ตัว เท่านั้น ที่เหลือเป็นของผู้เลี้ยงที่ไม่ใช่เกษตรกรรายย่อย ซึ่งการแก้ไขปัญหาควรสอดคล้องกับเกณฑ์องค์การการค้าโลก (ดับเบิลยูทีโอ) ที่ระบุว่า การค้าต้องไม่เกิดระบบผูกขาด

2) การปรับลดราคาลูกไก่ และแม่ไก่ลง มีการมองว่าไม่ช่วยอะไรมาก เพราะราคาขายปัจจุบันยังอยู่ที่ตัวละ 28 กว่าบาท ที่ถือว่าสูงมาก ทำให้เกษตรกรผู้เลี้ยงมีค่าใช้จ่ายเพิ่มมากขึ้น และต้องผลักภาระไปให้ผู้บริโภคเมื่อผลผลิตออกก็ยังส่งผลให้มีราคาสูงอยู่ดี เนื่องจากราคาต้นทุนสูง

ข้อวิพากษ์

อย่างไรก็ตามจากมาตรการทั้งหมดนี้ มีการมองว่าเป็นการแก้ไขปัญหาในระยะสั้น ซึ่งไม่สามารถแก้ปัญหาได้อย่างแท้จริง อย่างการใช้โครงการธงฟ้าในการแทรกแซงนั้น ถือเป็นการดูแลประชาชนผู้มีรายได้น้อย ซึ่งในการแก้ปัญหาอย่างยั่งยืนไม่ใช่การคุมราคาสินค้าทั้งหมด เช่น หากสินค้าเกษตรราคาแพง รัฐบาลก็ไม่ควรเข้าไปคุมราคามากจนเกินไป เพราะสินค้าเกษตรราคามักมีการเปลี่ยนแปลงไปตามวัฏจักร เช่น ราคาแพงเพราะผลผลิตน้อย แต่หากราคาที่สูงขึ้นก็จะจูงใจให้เกษตรกรผลิตเพิ่ม ทำให้ปริมาณสินค้าในตลาดเพิ่ม ผู้ประกอบการกับผู้บริโภคที่กินน้อยลง ก็จะเป็นกลไกที่ทำให้ราคาถูกลงมาเอง ทั้งนี้ ต้องพิจารณาปัญหาที่ทางเกษตรกรร้องเรียน 

ว่าเหตุที่ผลผลิตน้อยเนื่องจากการถูกจำกัดแม่พันธุ์หรือไม่ ซึ่งการที่รัฐบาลมีการลดปริมาณการส่งออกลงเพื่อเพิ่มผลผลิตการขายในประเทศ ก็เป็นทางออกในระยะสั้นเช่นกัน เพราะผู้ส่งออกมีตลาดอยู่แล้วหากระงับไม่ให้ส่งออกจะส่งผลกระทบในอนาคตที่ลูกค้าไม่กล้าซื้อไข่ไก่จากไทยอีก อีกทั้งแนวโน้มประชากรที่เพิ่มขึ้นในอนาคตความต้องการอาหารและผลผลิตทางการเกษตรย่อมสูงขึ้น การหามาตรการรองรับด้านผลผลิตจึงเป็นแนวทางที่สำคัญกว่าในระยะยาว ดังนั้นหากรัฐบาลไม่มีการพัฒนาระบบการค้า และเป็นวงจรที่ต้องแก้ไขปัญหาอย่างนี้ทุกปี ก็จะไม่สามารถแก้ไขปัญหากลไกทางการตลาดได้

ความคิดเห็น    ปัญหาราคาไข่ไก่สูงนั้นมีมาจากหลายสาเหตุ เช่น อากาศที่ร้อนจึงทำให้แม่ไก่ให้ปริมาณไข่ที่น้อยลงแต่ทั้งนี้ก็ไม่ใช้สาเหตุที่สำคัญเท่าใดนัก  อีกสาเหตุหนึ่งมาจากการผูกขาดแม่พันธุ์ไก่ไข่ของผู้ค้ารายใหญ่จึงทำให้ปริมาณแม่ไก่ส่งถึงเกษตรรายย่อยน้อยลง จึงเป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่ส่งผลให้มีต้นทุนที่สูงขึ้น ทั้งนี้รัฐบาลเองควรที่จะหาวิธีที่จะทำให้เกิดผลได้ในระยะยาวเพื่อที่จะไม่ให้เกิดวัฏจักรเช่นเดิมอีก

 

 

 

นางสาวนิรมล สายวงษ์คำ โปรแกรมเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

รหัสนักศึกษา 50473010005

น้ำตาลทราย

นายยรรยง พวงราช ปลัดกระทรวงพาณิชย์ เปิดเผยว่า จากภาพรวมของราคาสินค้าอุปโภคและบริโภค 6 เดือนแรกของปีนี้ แม้จะมีบางรายการปรับขึ้นไปบ้าง แต่หากเทียบผลกระทบต่อต้นทุน ถือว่าเพิ่มในสัดส่วนที่น้อยมาก แต่ก็ยังมีราคาสินค้า เช่น ไข่ไก่ น้ำตาลทราย หากดูผลกระทบต่อต้นทุนถือว่าไม่มาก"แต่ยอมรับว่า ราคาน้ำตาลทรายและไข่ไก่ ตึงตัว โดยกระทรวงพาณิชย์ ได้เร่งแก้ไขปัญหาราคาไข่ไก่ เชื่อว่า จะกลับเข้าสู่ภาวะปกติได้เร็วๆ นี้ "ส่วนปัญหาน้ำตาลทรายที่ตึงตัว กระทรวงพาณิชย์และกระทรวงอุตสาหกรรม ทำความเข้าใจเพื่อให้ไปในทิศทางเดียวกันแล้ว ซึ่งขณะนี้น้ำตาลทรายในตลาดโลกเริ่มปรับตัวสูงขึ้น จึงเกรงว่าอาจจะมีการนำน้ำตาลทรายในประเทศไปส่งออก เนื่องจากได้ราคาดีกว่าอย่างไรก็ตาม จะต้องมีการติดตามพฤติกรรมอย่างใกล้ชิด ทั้งนี้เชื่อว่า ขณะนี้กระทรวงอุตสาหกรรม ได้นำน้ำตาลทราย ไม่น้อยกว่า 1 แสนกระสอบ ออกมาเร่งระบายในตลาดในประเทศ และคาดว่า น้ำตาลทรายจะกลับเข้าสู่ภาวะปกติได้นายยรรยง กล่าวด้วยว่า ขณะนี้กระทรวงพาณิชย์ยังไม่ได้รับรายงานว่า ทางกลุ่มผู้ประกอบการน้ำอัดลม จะขอปรับขึ้นราคาน้ำอัดลมเพิ่ม เพราะจากปัญหาราคาน้ำตาลทราย ซึ่งอยู่ระหว่างการติดตามดูภาวะต้นทุน รวมถึง กลุ่มน้ำอัดลมไม่ใช่สินค้าควบคุม แต่อยากแนะนำให้ผู้บริโภคหันมาน้ำชนิดอื่นแทน 

นางวัชรี วิมุกตายน อธิบดีกรมการค้าภายใน เปิดเผยถึงแนวทางแก้ปัญหาราคาไข่ไก่แพงว่า ขณะนี้ กรมการค้าภายในกำลังเร่งกระจายไข่ไก่ธงฟ้าไปยังห้างค้าปลีก ที่ขอความร่วมมือให้จัดมุมไข่ไก่ธงฟ้าจำหน่ายประชาชน กระจายไข่ไก่ธงฟ้าวันละ 4 แสนฟองช่วยประชาชน
          โดยในวันที่ 6 ก.ค.จะมีสาขาของแม็คโคร, บิ๊กซี, เทสโก้โลตัส, คาร์ฟูร์ และท็อปส์ซุปเปอร์มาร์เก็ต ในกรุงเทพฯ และปริมณฑลรวม 130 สาขา จำหน่ายไข่ไก่ธงฟ้าในราคาพิเศษ โดยไข่ไก่เบอร์ 2 ฟองละ 2.90 บาท

 

ไข่ไก่เบอร์ 3 ฟองละ 2.80 บาท และไข่ไก่เบอร์ 4 ฟองละ 2.70 บาท ส่วนต่างจังหวัด ได้ให้สำนักงานการค้าภายในจังหวัดทั่วประเทศจัดสถานที่จำหน่ายเช่นกัน 
          "เร็วๆ นี้จะลงพื้นที่ตรวจสอบการจัดจำหน่ายไข่ไก่ธงฟ้า ซึ่งจะตรวจสอบราคาไข่ไก่ที่จำหน่ายภายในห้างค้าปลีกแบบแพ็กปกติด้วย เพราะไข่ไก่บางชนิดมีราคาสูงกว่าไข่ไก่ปกติ เนื่องจากเป็นไข่ชนิดพิเศษ ก็ต้องดูถึงการตั้งราคาที่เหมาะสมต่อไป"นางวัชรี กล่าว
          สำหรับสถานการณ์น้ำตาลทรายนั้น นางวัชรี กล่าวว่า ยังอยู่ในภาวะตึงตัว โดยสัปดาห์นี้จะประชุมคณะกรรมการกลางว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ (กกร.) ที่มี รมว.พาณิชย์ เป็นประธาน ซึ่งกรมการค้าภายในจะเสนอให้ใช้มาตรการกฎหมายเพิ่มเติม โดยจะกำหนดราคาแนะนำน้ำตาลทรายทั่วประเทศ พร้อมกับให้แจ้งปริมาณการครอบครองและขนย้ายของผู้ครอบครอง ซึ่งหากมาตรการนี้ใช้ไม่ได้ผลจะมีการคุมราคาขายปลีกที่ถือเป็นมาตรการสุดท้ายต่อไป

 

ความคิดเห็น ราคาน้ำตาลที่สูงขึ้นอาจเป็นผลมาจากการที่พ่อค้าคนกลางได้กักตุนน้ำตาลทรายไว้ในช่วงที่มีข่าวการปรับตัวขึ้นของราคาน้ำตาลและนำออกมาจำหน่ายในราคาที่สูงจึงเป็นสาเหตุที่ทำให้มีราคาในตลาดและส่งผลกระทบให้ราคาสินค้าที่ต้องใช้น้ำตาลเป็นวัตถุดิบหลักมีการปรับราคาสูงขึ้น 

 

 
นางสาวฐิรดา สันทาลุนัย

นางสาวฐิรดา สันทาลุนัย

รหัสนักศึกษา 50473010052

พรก. ฉุกเฉิน ส่งผลกระทบการท่องเที่ยวของประเทศไทยคือ ประเทศไทยมีรายได้จากการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวเป็นจำนวนเงินที่ค้อนข้างมาก ถือว่าเป็นรายได้หลักของประเทศอย่างหนึ่ง แต่หลังจากที่ได้มีการนำ พรก.ฉุกเฉิน ออกมาใช้

ทำให้นักท่องเที่ยวชลอการเดินทางเข้ามาในประเทศ เพราะยังไม่มั่นใจในสถานะการความปลอดภัย เนื่องจากมีการชุมนุมและมีการใช้ความรุนแรงในการชุมนุม และเทศไทยมีรายได้ลดลง ส่งผลกับอัตราดอกเบี้ย ให้มีอัตราที่ต่ำลงเนื่องจากว่า มีการลงทุนน้อยรัฐบาลจึงต้องการให้มีการกระตุ้นให้มีการลงทุ่นมากขึ้น จึงลดอัตราดอกเบียให้ต่ำลง เพื่อเป็นเเรงดึงดูดให้คนมากู้และมีเงินสะพัดในระบบธุรกิจและในขณะนี้รัฐบาลกำลังมุ่งความสนใจแก้ปัญหาราคาไข่แพงและราคาน้ำตาลแพง ราคาไข่มีราคาเพิ่มสูงขึ้นส่งผลกระทบกับผู้บริโภคแต่จำของฟาร์มจะได้ผลประโยชน์จากตรงนี้ ราคาน้ำตาลมีราคาเพิ่งสูงขึ้นกระทรวงพานิชได้มีการจัดราคาน้ำตาลเพิ่มขึ้นอีก 75 สตางค์ เพราะมีค้าขนส่งที่สูงขึ้น ทั้งนี้ทั้งนั้นปัญหาทุกข้อที่กล้าวมารัฐบาลควรหาทางแก้ไข เพื่อให้ทุกฝ้ายได้รับความพึงพอใจทุกๆฝ่่าย

 

ผลกระทบการประกาศภาวะฉุกเฉินกับระบบการท่องเที่ยว 

 

การต่ออายุพ.ร.ก.ฉุกเฉิน โดยมุมมองส่วนตัวแล้วทั้งเห็นด้วยและไม่เห็นด้วย ในส่วนของการเห็นด้วย เนื่องจากเป็นการต่ออายุเพื่อความมั่นคงของประเทศ เป็นการป้องปรามกลุ่มผู้ไม่หวังดีที่จะก่อความไม่สงบขึ้นในประเทศ และเพื่อให้เจ้าหน้าที่บ้านเมืองดำเนินการได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว แต่การต่ออายุพ.ร.ก.ฉุกเฉินก็จะส่งผลกระทบด้านการท่องเที่ยวอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้เช่นเดียวกัน โดยเฉพาะความเชื่อมั่นของต่างประเทศด้านความปลอดภัย ทั้งนี้ การคงพ.ร.ก.ฉุกเฉินเป็นเรื่องที่สากลไม่ให้การยอมรับ ดังนั้น รัฐบาลไม่ควรแต่จะมุ่งต่ออายุโดยอ้างเหตุผลด้านความมั่นคงเพียงอย่างเดียว อาจจะต้องมีการดำเนินมาตรการในเชิงรุกเพื่อกระตุ้นและสร้างความเชื่อมั่นให้กลับคืนมาด้วยการออกสื่อประชาสัมพันธ์สร้างความมั่นใจให้กับนักท่องเที่ยวและประเทศต่างๆ ทั่วโลกได้รับทราบแม้ว่าจะมีการประกาศพ.ร.ก.ฉุกเฉินแต่ประเทศไทยก็ยังมีความปลอดภัยอยู่ พร้อมกันนี้ ยังต้องมีการออกมาตรการเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากการออกพ.ร.ก.ฉุกเฉิน

 

ผลกระทบการประกาศภาวะฉุกเฉินกับราคาไข่ไก่ 

 

สถิติปี 2553 คนไทยบริโภคไข่คนละ 160 ฟอง/ปี เฉลี่ย ทอด ต้ม เจียว ตุ๋น ดาว เดือนละ 13 ฟอง/คน เปรียบเทียบกับเมื่อปี 2545 ที่ยอดรายปีอยู่ที่ 130ฟอง/คน และแม่ไก่ 1 ตัวให้ไข่ได้ 290 ฟอง/ปี แม้จะยอดบริโภคจะเพิ่มขึ้นแต่ก็ยังถือว่าน้อยเมื่อเปรียบเทียบกับ จีน ที่กินไข่ 320-330 ฟอง/คน/ปี ฮ่องกงกินไข่ 270 ฟองต่อคนต่อปี ญี่ปุ่นสูงถึง 390 ฟอง/คน/ปี เรียกว่ากินกันเกือบทุกวัน ถึงอย่างนั้น ในมุมมองธนเดช ยังเชื่อว่า ยอดการบริโภคไข่ที่เพิ่มขึ้น มีส่วนไม่มากก็น้อย ด้วยกฎของ Demand - supply "เพราะไข่เป็นโปรตีนราคาถูกที่สุด คิดดู มาม่าใส่ไข่ 2 ฟอง ยังไงก็ยังถูกกว่าไปทานก๋วยเตี๋ยวข้างนอก แถมไม่อิ่มอีกต่างหาก พูดอย่างนี้ไม่ใช่ว่า ผู้บริโภคต้องแบกรับปัญหา แต่อาจจะบริโภคให้น้อยลง ปรับวิถีชีวิต จากที่กินถี่ ก็หันไปหาอาหารอย่างอื่นบ้าง" เพราะถ้าสังเกต ราคาไข่จะขึ้นๆ ลงๆ ตลอดหลายสิบปีมานี้ และมักจะถูกโยงเข้าไปเป็นตัวประเมินผลงานของรัฐบาลของรัฐบาลอย่างสม่ำเสมอ

 

 ดัชนีไข่ไก่ เริ่มมาตั้งแต่สมัยไหนเป็นสมัยแรกไม่ปรากฏหลักฐานชัดเจน ว่ากันว่า ดัชนีไข่ไก่เปรียบเปรยกันมาตั้งแต่ จอมพลถนอม กิตติขจร เป็นนายกรัฐมนตรี ไปตลาดซื้อไข่ไก่สมัยนั้น ใบละ 50-75 สตางค์ ถือว่าราคายังไม่แพงเกินไปนัก เศรษฐกิจไม่ลำบาก ไข่ยังเป็นอาหารหลักของคนจน ต่อมาสมัย ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช เป็นนายกรัฐมนตรี ไข่ไก่ยังใบละ 75 สตางค์อยู่ แต่ไข่เบอร์ใหญ่ขายปลีกตามท้องตลาดราคาฟองละ 1.50 บาท สมัย พล.อ.ชาติชาย ชุณหะวัณ เป็นนายกรัฐมนตรี ถือเป็นยุคฟองสบู่ เศรษฐกิจอู้ฟู่ ผู้คนฟุ่มเฟือยทำให้อัตราเงินเฟ้ออยู่ในอัตราที่สูงขึ้นจากเดิม ไข่ไก่สมัย พล.อ.ชาติชาย จึงทะลุไปที่ใบละ 2 บาท ซึ่งถือว่าแพงมากในสมัยนั้น มารู้ตัวอีกทีไข่ในรัฐบาล นายอานันท์ ปันยารชุน เป็นนายกรัฐมนตรี สถานการณ์ของไข่ไม่ได้ดีขึ้น ราคาไข่ฟองละ 2 บาท ถึง 2.50 บาท ก็ยังแพงอยู่ มาสมัยนายหัวจากประชาธิปัตย์ นายชวน หลีกภัย ราคาข้าวของเครื่องใช้ยังพุ่งสูงไม่ลด โดยเฉพาะราคาไข่พุ่งขยับไปขายกันอยู่ที่ใบละ 2.70 บาท และยิ่งแพงขึ้นไปอีกสมัยของ นายบรรหาร ศิลปอาชา ตกอยู่ที่ใบละ 3 บาท เป็นรัฐบาลที่ไม่สามารถทำให้ราคาไข่ไก่ลดลงได้ ส่วนสมัยที่ราคาไข่ถูกอย่างน่าใจหาย คือสมัยของ พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ ราคาไข่ไก่ตกไปอยู่ที่ฟองละ 1 บาท แต่เมื่อหมดยุคนายบรรหาร เปลี่ยนรัฐบาลใหม่ ทำให้ราคาไข่ไก่พลิกผันจากหน้ามือเป็นหลังมือ โดยขยับไปอยู่ที่ใบละ 4 บาท นั่นคือสมัยของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร "ไข่แม้ว" ได้ทุบสถิติไข่แพงมหาโหดลบสถิติไข่คุณชวน จากราคาไข่ไก่ปี 2547 ซึ่งก่อนช่วงการระบาดของไข่หวัดนก ไข่ไก่ เบอร์ 0 ฟองละ 2.62 บาท เบอร์ 1 ฟองละ 2.47 บาท เบอร์ 5 ฟองละ 2.02 บาท พอถึงช่วงเดือนมีนาคม 2547 ที่เมืองไทยเจอโรคไข้หวัดนกเล่นงาน ไข่ไก่เบอร์ 0 เหลือแค่ฟองละ 2.40 บาท เบอร์ 1 ฟองละ 2.25 บาท เบอร์ 5 ฟองละ 1.77 บาท หลังจากนั้นช่วงเดือนพฤษภาคม 2547 ไข่ไก่เบอร์ 0 ราคาพุ่งขึ้นไปถึงฟองละ 3.20 บาท เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ ที่คนไทยได้ลิ้มรสไข่ไก่ฟองละทะลุ 3 บาท โดยไข่เบอร์ 1 ฟองละ 3.10 บาท และเบอร์ 5 ฟองละ 2.70 บาท ยุค พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์ เป็นนายกฯ ปี 2550 "ไข่บิ๊กแอ๊ด" ถูกลง โดยที่เบอร์ 0 ราคาฟองละ 3 บาท เบอร์ 1 ฟองละ 2.80 บาท เบอร์ 2 ฟองละ 2.60 บาท และเบอร์ 6 (เล็กสุด) ฟองละ 1.90 บาท รัฐบาลสมัคร สุนทรเวช ราคาไข่ไก่ที่ชาวบ้านซื้อหาเอาเบอร์กลางๆ อย่างเบอร์ 3 ราคาใบละ 2.50 บาท เพราะเบอร์ 0 ยังอยู่ที่ฟองละ 3 บาท แถมยังมีเบอร์เล็กสุด (เบอร์ 6) ฟองละ 2.10 บาท ดังนั้น อนุมานได้ว่าอัตราเงินเฟ้อของรัฐบาลสมัคร เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน คือ 4.33 เปอร์เซ็นต์ สูงกว่าปีก่อน แต่ถือว่าเป็นอัตราเงินเฟ้อพองาม ยังรับได้ จนยุคไข่มาร์คที่กำลังเป็นข่าว ราคาต่อฟองตก 3.30 บาท และกำลังเร่งแผน "ไข่ประชานิยม" อย่างสุดตัว

ผลกระทบการประกาศภาวะฉุกเฉินกับราคาน้ำตาลทราย

นายยรรยง พวงราช ปลัดกระทรวงพาณิชย์ เปิดเผยว่า ได้หารือกับกรมการค้าภายใน เพื่อนำมาตรการทางกฎหมายออกมาใช้ในการแก้ปัญหาน้ำตาลทรายขาดแคลน โดยจะประกาศให้น้ำตาลทรายเป็นสินค้าควบคุมทั้งประเทศจากเดิมที่ควบคุมเฉพาะ กรุงเทพฯ และปริมณฑล 5 จังหวัด โดยจะกำหนดราคากลางและราคาขายปลีกให้แต่ละจังหวัด เพื่อป้องกันไม่เกิดการฉวยโอกาสขึ้นราคาจนผู้บริโภคเดือดร้อน รวมถึงควบคุมปริมาณการครอบครองและการขนย้ายด้วย
ส่วนสถานการณ์ น้ำตาลทรายขณะนี้ พบว่ามีการลักลอบนำน้ำตาลทรายส่งออกไปขายตามแนวชายแดนอย่างต่อเนื่อง เพราะราคาสูงกว่าในไทยเกินกก.ละ 30 บาท และยังพบว่ามีการซื้อผิดปกติ โดยเฉพาะโรงงานที่ทำขนมที่มีการซื้อน้ำตาลทรายไปกักตุนไว้


ด้านนางวัชรี วิมุกตายน อธิบดีกรมการค้าภายใน กล่าวว่า เร็วๆ นี้จะพิจารณาออกประกาศเพิ่มเติมให้ทุกพื้นที่ในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑลแจ้งปริมาณถือครอง และการเคลื่อนย้ายน้ำตาลทรายออกนอกพื้นที่ เพื่อแก้ปัญหาน้ำตาลทรายขาดแคลน เนื่องจากที่ผ่านมาได้รับร้องเรียนว่ามีผู้ประกอบการและโรงงานน้ำตาลใน เขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล ซึ่งอยู่ในเขตพื้นที่ควบคุมราคาน้ำตาลทรายกก.ละ 23.50 บาท นำน้ำตาลออกไปขายจังหวัดอื่นที่ไม่มีการประกาศควบคุม เพราะได้กำไรมากกว่าและไม่ถูกกวดขัน ซึ่งตอนนี้ปัญหาน้ำตาลยังรุนแรงขึ้น โดยน้ำตาลทรายขาวบริสุทธิ์ที่คนส่วนใหญ่นิยมบริโภคได้ขึ้นไปถึง กก.ละ 26-30 บาทแล้ว

ผลกระทบการประกาศภาวะฉุกเฉินกับภาวะการลงทุน

“ทนง” จี้รัฐยกเลิก พ.ร.ก. ฉุกเฉิน หวังฟื้นความเชื่อมั่นนักท่องเที่ยวและการลงทุนใหม่ มองจีดีพีปีนี้โตไม่ต่ำกว่า 5-6% หากรัฐอัดฉีดเงินลงทุนต่อเนื่อง คาดธปท.ขึ้นดอกเบี้ยตามทิศทางเงินเฟ้อที่มีแนวโน้มสูงขึ้น แนะลงทุนหุ้นระยะยาว 10-25 ปี โอกาสรับผลตอบแทนเกือบ 100%

นายทนง พิทยะ อดีตรมว.คลัง กล่าวในงานเสวนา “จัดทัพลงทุน ด้วย หุ้น ตราสารหนี้ ทองคำ และน้ำมัน” หัวข้อ “สมรภูมิโลกแห่งการลงทุน” ที่จัดขึ้นโดยบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน (บลจ.) ทหารไทย จำกัด ว่า ปีนี้เศรษฐกิจไทยน่าจะขยายตัวได้ไม่ต่ำกว่า 5% และมีโอกาสที่จะขยายตัวได้ถึง 6% ตามที่รัฐบาลตั้งเป้าหมายไว้ แต่ขึ้นอยู่กับการอัดฉีดเม็ดเงินลงทุนในโครงการไทยเข้มแข็ง ประกอบกับการสร้างความมั่นใจด้านเสถียรภาพการเมืองแก่นักลงทุนใหม่ และนักท่องเที่ยวให้กลับคืนมาโดยเร็วในช่วงครึ่งหลังของปีนี้ เศรษฐกิจไทยยังมีความเสี่ยงจากความไม่มั่นคงทางการเมือง ที่ส่งผลกระทบต่อความไม่มั่นใจของนักลงทุนใหม่ และนักท่องเที่ยว ซึ่งรัฐบาลต้องเร่งสร้างเชื่อมั่นให้กลับคืนมา เพราะส่วนตัวเห็นว่าพื้นฐานเศรษฐกิจไทยยังมีความแข็งแกร่ง การส่งออกขยายตัวได้ดี แม้จะประสบปัญหาวิกฤตการเงินจากสหรัฐและยุโรป แต่ถือว่าการส่งออกไทยไปยังตลาดในภูมิภาคเอเชียขยายตัวมากกว่าปกติ สามารถทดแทนการส่งออกไปยังกลุ่มประเทศอุตสาหกรรมหลักได้ “กรณีรัฐบาลประกาศใช้ พ.ร.ก.ฉุกเฉิน ในบางพื้นที่อาจเป็นความจำเป็นด้านความมั่นคง แต่หากยกเลิก พ.ร.ก.ฉุกเฉิน ก็เชื่อว่านักท่องเที่ยวจะกลับเข้ามาเที่ยวในไทยเร็วขึ้น โดยเฉพาะการลงทุนที่น่าจะกลับมาได้เช่นกัน แต่ต้องการความชัดเจน และต้องอาศัยเวลาในการวิเคราะห์ วางแผนการลงทุนก่อนตัดสินใจ”

ทั้งนี้ คาดว่าเร็วๆ นี้ ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) จะปรับอัตราดอกเบี้ยนโยบายขึ้นจากปัจจุบันที่อยู่ในระดับ 1.25% ตามทิศทางเงินเฟ้อที่มีแนวโน้มสูงขึ้นต่อเนื่อง โดยส่วนตัวมองว่าเงินเฟ้อทั่วไปปีนี้น่าจะปรับตัวสูงขึ้นอยู่ที่ 3-4% และเงินเฟ้อพื้นฐาน ที่เป็นกรอบเป้าหมายในการดำเนินนโยบายการเงินน่าจะไม่เกิน 2% ซึ่งถือว่าไม่ใช่ระดับที่น่ากังวลแต่อย่างใด และ ธปท.ยังติดตามดูแลอย่างใกล้ชิด นายทนง กล่าวว่า การลงทุนที่น่าสนใจในภาวะเศรษฐกิจที่ยังมีความไม่แน่นอนสูงนั้น หากเป็นการลงทุนระยะสั้นแนะนำให้ลงทุนในตราสารหนี้ที่ให้ผลตอบแทนคงที่ เนื่องจากมีความเสี่ยงต่ำ ส่วนการลงทุนในระยะยาวนั้นแนะนำให้ลงทุนในกองทุนตราสารหุ้น เนื่องจากมีความผันผวนที่น้อยกว่าการลงทุนในระยะสั้น โอกาสได้รับผลตอบแทนสูงมาก เนื่องจากบลจ.ทหารไทยจะเน้นการลงทุนแบบ Passive fund เป็นกองทุนที่น่าสนใจ เนื่องจากหุ้นที่ลงทุนจะให้ผลตอบแทนที่ดี และจากการศึกษาพบว่า การลงทุนในตราสารดัชนีนั้นจะให้ผลตอบแทนที่ดี ความเสี่ยงน้อย ต่อเมื่อลงทุนในระยะยาว อาทิ ระยะเวลาลงทุน 1 ปี โอกาสที่ผู้ลงทุนจะได้ผลตอบแทน 80% โอกาสขาดทุน 20% ลงทุนภายใน 5 ปี โอกาสได้รับผลตอบแทนสูง 85% โอกาสขาดทุน 15% ลงทุนภายใน 10 ปี โอกาสรับผลตอบแทน 95% โอกาสขาดทุน 5% และลงทุนตั้งแต่ 25 ปี โอกาสขาดทุนเกือบ 0%

“ด้วยภาวะเศรษฐกิจที่ยังผันผวน ตลาดโลกยังมีความเสี่ยงทั้งเศรษฐกิจของสหรัฐฯและยุโรป ประกอบกับค่าเงินที่ยังมีความไม่แน่นอน แม้ว่าทวีปเอเชียจะดูเป็นพระเอกด้านเศรษฐกิจในปีนี้ เนื่องจากต้นทุนในการดำเนินงานที่ต่ำ ค่าแรงถูก มีอัตราการออมสูง แต่เรายังมีข้อเสียเปรียบในเรื่องนวัตกรรม ระบบเทคโนโลยีที่ทันสมัย และรายได้ต่อประชากรของเรายังอยู่ในระดับต่ำเมื่อเทียบกับสหรัฐฯและยุโรป” อย่างไรก็ตาม การที่เอเชียจะได้เป็นผู้ชนะทางเศรษฐกิจอย่างแท้จริงนั้น จะต้องพัฒนาทั้งด้านเทคโนโลยี การวิจัยและการออกแบบผลิตภัณฑ์ทางการเงินใหม่ๆ และความได้เปรียบในเชิงการเงิน รวมถึงการได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐในการผลักดันให้เกิดการลงทุนแปลกใหม่ ที่ขณะนี้ยังไม่ได้รับการช่วยเหลืออย่างแท้จริง

 

 

ณัฏฐาทิพย์ วงศ์จันคำ รหัส 504730119 เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

ผลกระทบการประกาศภาวะฉุกเฉินกับระบบการท่องเที่ยว

แม้รัฐบาลจะคงการประกาศพระราชกำหนดบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉินออกไปอีก ก็ไม่ส่งผลกระทบต่อการท่องเที่ยว เพราะเป็นการรักษาความปลอดภัยให้กับประชาชน และประชาชนเริ่มคุ้นเคยกับกฎข้อบังคับแล้ว นอกจากนี้ต่างประเทศ ส่วนใหญ่ได้ยกเลิกการตักเตือนประชาชนให้ห้ามเดินทางมาประเทศไทย เหลือเพียงประเทศซาอุดิอาระเบีย ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ต่างประเทศเริ่มเข้าใจสถานการณ์ไทยมากขึ้น ขณะที่ตัวเลขด้านการท่องเที่ยว ได้สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยคาดว่า ปลายปีนี้จะดีขึ้นกว่าเดิมอย่างแน่นอน เนื่องมาจากว่ารัฐบาล และภาคธุรกิจ ได้ร่วมมือกันชี้แจงสถานการณ์ของไทยให้ต่างชาติเข้าใจ รวมถึงยังคงมาตรการส่งเสริมด้านการท่องเที่ยวไว้ อาทิ วีซ่าฟรี

 

ผลกระทบการประกาศภาวะฉุกเฉินกับราคาไข่ไก่

 

สถิติปี 2553 คนไทยบริโภคไข่คนละ 160 ฟอง/ปี เฉลี่ย ทอด ต้ม เจียว ตุ๋น ดาว เดือนละ 13 ฟอง/คน เปรียบเทียบกับเมื่อปี 2545 ที่ยอดรายปีอยู่ที่ 130ฟอง/คน และแม่ไก่ 1 ตัวให้ไข่ได้ 290 ฟอง/ปี แม้จะยอดบริโภคจะเพิ่มขึ้นแต่ก็ยังถือว่าน้อยเมื่อเปรียบเทียบกับ จีน ที่กินไข่ 320-330 ฟอง/คน/ปี ฮ่องกงกินไข่ 270 ฟองต่อคนต่อปี ญี่ปุ่นสูงถึง 390 ฟอง/คน/ปี เรียกว่ากินกันเกือบทุกวัน ถึงอย่างนั้น ในมุมมองธนเดช ยังเชื่อว่า ยอดการบริโภคไข่ที่เพิ่มขึ้น มีส่วนไม่มากก็น้อย ด้วยกฎของ Demand - supply "เพราะไข่เป็นโปรตีนราคาถูกที่สุด คิดดู มาม่าใส่ไข่ 2 ฟอง ยังไงก็ยังถูกกว่าไปทานก๋วยเตี๋ยวข้างนอก แถมไม่อิ่มอีกต่างหาก พูดอย่างนี้ไม่ใช่ว่า ผู้บริโภคต้องแบกรับปัญหา แต่อาจจะบริโภคให้น้อยลง ปรับวิถีชีวิต จากที่กินถี่ ก็หันไปหาอาหารอย่างอื่นบ้าง" เพราะถ้าสังเกต ราคาไข่จะขึ้นๆ ลงๆ ตลอดหลายสิบปีมานี้ และมักจะถูกโยงเข้าไปเป็นตัวประเมินผลงานของรัฐบาลของรัฐบาลอย่างสม่ำเสมอ

 

 ดัชนีไข่ไก่ เริ่มมาตั้งแต่สมัยไหนเป็นสมัยแรกไม่ปรากฏหลักฐานชัดเจน ว่ากันว่า ดัชนีไข่ไก่เปรียบเปรยกันมาตั้งแต่ จอมพลถนอม กิตติขจร เป็นนายกรัฐมนตรี ไปตลาดซื้อไข่ไก่สมัยนั้น ใบละ 50-75 สตางค์ ถือว่าราคายังไม่แพงเกินไปนัก เศรษฐกิจไม่ลำบาก ไข่ยังเป็นอาหารหลักของคนจน ต่อมาสมัย ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช เป็นนายกรัฐมนตรี ไข่ไก่ยังใบละ 75 สตางค์อยู่ แต่ไข่เบอร์ใหญ่ขายปลีกตามท้องตลาดราคาฟองละ 1.50 บาท สมัย พล.อ.ชาติชาย ชุณหะวัณ เป็นนายกรัฐมนตรี ถือเป็นยุคฟองสบู่ เศรษฐกิจอู้ฟู่ ผู้คนฟุ่มเฟือยทำให้อัตราเงินเฟ้ออยู่ในอัตราที่สูงขึ้นจากเดิม ไข่ไก่สมัย พล.อ.ชาติชาย จึงทะลุไปที่ใบละ 2 บาท ซึ่งถือว่าแพงมากในสมัยนั้น มารู้ตัวอีกทีไข่ในรัฐบาล นายอานันท์ ปันยารชุน เป็นนายกรัฐมนตรี สถานการณ์ของไข่ไม่ได้ดีขึ้น ราคาไข่ฟองละ 2 บาท ถึง 2.50 บาท ก็ยังแพงอยู่ มาสมัยนายหัวจากประชาธิปัตย์ นายชวน หลีกภัย ราคาข้าวของเครื่องใช้ยังพุ่งสูงไม่ลด โดยเฉพาะราคาไข่พุ่งขยับไปขายกันอยู่ที่ใบละ 2.70 บาท และยิ่งแพงขึ้นไปอีกสมัยของ นายบรรหาร ศิลปอาชา ตกอยู่ที่ใบละ 3 บาท เป็นรัฐบาลที่ไม่สามารถทำให้ราคาไข่ไก่ลดลงได้ ส่วนสมัยที่ราคาไข่ถูกอย่างน่าใจหาย คือสมัยของ พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ ราคาไข่ไก่ตกไปอยู่ที่ฟองละ 1 บาท แต่เมื่อหมดยุคนายบรรหาร เปลี่ยนรัฐบาลใหม่ ทำให้ราคาไข่ไก่พลิกผันจากหน้ามือเป็นหลังมือ โดยขยับไปอยู่ที่ใบละ 4 บาท นั่นคือสมัยของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร "ไข่แม้ว" ได้ทุบสถิติไข่แพงมหาโหดลบสถิติไข่คุณชวน จากราคาไข่ไก่ปี 2547 ซึ่งก่อนช่วงการระบาดของไข่หวัดนก ไข่ไก่ เบอร์ 0 ฟองละ 2.62 บาท เบอร์ 1 ฟองละ 2.47 บาท เบอร์ 5 ฟองละ 2.02 บาท พอถึงช่วงเดือนมีนาคม 2547 ที่เมืองไทยเจอโรคไข้หวัดนกเล่นงาน ไข่ไก่เบอร์ 0 เหลือแค่ฟองละ 2.40 บาท เบอร์ 1 ฟองละ 2.25 บาท เบอร์ 5 ฟองละ 1.77 บาท หลังจากนั้นช่วงเดือนพฤษภาคม 2547 ไข่ไก่เบอร์ 0 ราคาพุ่งขึ้นไปถึงฟองละ 3.20 บาท เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ ที่คนไทยได้ลิ้มรสไข่ไก่ฟองละทะลุ 3 บาท โดยไข่เบอร์ 1 ฟองละ 3.10 บาท และเบอร์ 5 ฟองละ 2.70 บาท ยุค พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์ เป็นนายกฯ ปี 2550 "ไข่บิ๊กแอ๊ด" ถูกลง โดยที่เบอร์ 0 ราคาฟองละ 3 บาท เบอร์ 1 ฟองละ 2.80 บาท เบอร์ 2 ฟองละ 2.60 บาท และเบอร์ 6 (เล็กสุด) ฟองละ 1.90 บาท รัฐบาลสมัคร สุนทรเวช ราคาไข่ไก่ที่ชาวบ้านซื้อหาเอาเบอร์กลางๆ อย่างเบอร์ 3 ราคาใบละ 2.50 บาท เพราะเบอร์ 0 ยังอยู่ที่ฟองละ 3 บาท แถมยังมีเบอร์เล็กสุด (เบอร์ 6) ฟองละ 2.10 บาท ดังนั้น อนุมานได้ว่าอัตราเงินเฟ้อของรัฐบาลสมัคร เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน คือ 4.33 เปอร์เซ็นต์ สูงกว่าปีก่อน แต่ถือว่าเป็นอัตราเงินเฟ้อพองาม ยังรับได้ จนยุคไข่มาร์คที่กำลังเป็นข่าว ราคาต่อฟองตก 3.30 บาท และกำลังเร่งแผน "ไข่ประชานิยม" อย่างสุดตัว

 

ผลกระทบการประกาศภาวะฉุกเฉินกับราคาน้ำตาลทราย

 

ราคาน้ำตาลทราย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ เปิดเผยภายหลังการประชุมคณะกรรมการกลางว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ (กกร.) ว่า ที่ประชุมมีมติให้ใช้อำนาจตามพ.ร.บ.ว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ พ.ศ.2542 กำหนดมาตรการเพิ่มเติมแก้ไขปัญหาน้ำตาลทรายขาดแคลน และมีราคาแพง คาดว่าหลังจากนำมาตรการมาใช้จะทำให้ปัญหายุติลงได้ เพราะกระทรวงพาณิชย์จะสามารถติดตามตรวจสอบได้ว่าน้ำตาลทรายที่ผลิตออกมาขาย ไปที่ใด จำนวนเท่าไร โดยกกร.จะเร่งออกประกาศเพื่อให้มีผลบังคับใช้ในทันที โดยมาตรการที่อนุมัติ ได้แก่ โรงงานน้ำตาลทราย จะต้องแจ้งต่อกรมการค้าภายในถึงปริมาณการผลิต การจำหน่ายภายในประเทศ การส่งออก ปริมาณคงเหลือ และสถานที่เก็บภายใน 7 วัน และทุกเดือน และให้แจ้งรายชื่อผู้ซื้อที่มีปริมาณครั้งละตั้งแต่ 10,000 กิโลกรัมขึ้นไป แยกเป็นกลุ่มผู้ค้าส่ง และผู้ใช้ ส่วนผู้แทนจำหน่าย ผู้ค้าส่ง ให้แจ้งรายชื่อผู้ซื้อตั้งแต่ 10,000 กิโลกรัมขึ้นไป ขณะที่ผู้ครอบครองน้ำตาลทรายตั้งแต่ 10,000 กิโลกรัมขึ้นไป จะต้องแจ้งปริมาณ สถานที่เก็บทุกเดือน และผู้จะขนย้าย 1,000 กิโลกรัมขึ้นไป เข้ามาใน 24 จังหวัด 107 อำเภอ ที่ติดกับประเทศเพื่อนบ้าน จะต้องขออนุญาตก่อน สำหรับปัญหาด้านราคา ได้กำหนดราคาจำหน่ายปลีกแนะนำทั่วประเทศ และให้คณะกรรมการส่วนจังหวัดว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ (กจร.) กำหนดราคาจำหน่ายปลีกในจังหวัด แต่ต้องไม่เกินราคาแนะนำ 5% เช่น แม่ฮ่องสอน ราคาแนะนำขายปลีกกิโลกรัมละ 25.50 บาท จะบวกราคาเพิ่มได้อีก 5% หรือบวกเพิ่มได้อีก 1.275 บาท เป็นไม่เกิน 26.77 บาท เมื่อแต่ละจังหวัดมีราคาแนะนำขายปลีกแล้ว หากยังมีการจำหน่ายเกินไปกว่าราคาแนะนำบวก 5% จะมีความผิดตามกฎหมาย หากถูกจับกุมได้ จะมีโทษจำคุกไม่เกิน 5 ปี ปรับไม่เกิน 100,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ โดยกรมการค้าภายในจะมีการจัดส่งเจ้าหน้าที่ออกไปตรวจสอบอย่างต่อเนื่อง เชื่อว่า มาตรการเหล่านี้จะแก้ปัญหาน้ำตาลตึงตัว และราคาแพงได้แน่นอนกำหนดมาตรการแก้ปัญหาน้ำตาลทรายขาดแคลนและราคาแพง โดยสั่งให้ควบคุมทุกขั้นตอนตั้งแต่โรงงาน ผู้จำหน่าย ค้าส่ง ผู้ครอบครอง และการลักลอบขนย้ายตามแนวชายแดน พร้อมให้แต่ละจังหวัดประกาศราคาแนะนำทั่วประเทศบวกราคาเพิ่มได้ไม่เกิน 5% หากพบผู้ฝ่าฝืนขายเกินราคามีโทษทั้งจำทั้งปรับ

ผลกระทบการประกาศภาวะฉุกเฉินกับภาวะการลงทุน

กระทบต่อความน่าลงทุนของไทยในระยะสั้น การลงทุนจากต่างประเทศในไทยยังอาจได้รับปัจจัยลบจากปัญหาวิกฤติการเงินระลอกใหม่ของสหรัฐฯ ที่ส่งผลต่อสภาพคล่องทางการเงินทั่วโลก อีกทั้งการชะลอตัวของเศรษฐกิจภูมิภาคหลักของโลกอาจส่งผลต่อสถานะผลประกอบการของบริษัทข้ามชาติ ซึ่งอาจเป็นปัจจัยที่มีผลต่อการชะลอตัวของการลงทุนจากต่างประเทศทั่วโลก อย่างไรก็ตาม หากสถานการณ์การเมืองของไทยมีความชัดเจนมากขึ้น โดยสามารถมีรัฐบาลที่มีเสถียรภาพในการบริหารประเทศ ก็คาดว่าเศรษฐกิจไทยน่าจะมีแรงขับเคลื่อนจากภายในประเทศที่จะช่วยผลักดันให้เศรษฐกิจกลับมาขยายตัวดีขึ้น เนื่องจากปัจจัยพื้นฐานของประเทศยังเอื้ออำนวยต่อการขยายตัวของการบริโภคและการลงทุน ประกอบกับนโยบายของรัฐบาลในระยะต่อๆไปน่าจะยังคงมุ่งเน้นการกระตุ้นการเติบโตทางเศรษฐกิจ เร่งรัดโครงการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานขนาดใหญ่เพื่อฟื้นฟูความเชื่อมั่นและผลักดันให้เศรษฐกิจเติบโตได้ตามเป้าหมาย ทั้งนี้เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ ในภูมิภาค ไทยยังคงมีความได้เปรียบในเรื่องของปัจจัยพื้นฐานของประเทศ อาทิ โครงสร้างพื้นฐานและระบบสาธารณูปโภค การมีคลัสเตอร์อุตสาหกรรม การคุ้มครองการลงทุน ฯลฯ เมื่อเทียบกับหลายๆ ประเทศในภูมิภาค นอกจากนี้ในแง่ของความสะดวกในการทำธุรกิจ ไทยก็ได้มีการปรับปรุงดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยจากการจัดอันดับความง่ายในการทำธุรกิจของธนาคารโลกประจำปี 2552 ไทยมีอันดับเลื่อนขึ้นจากลำดับที่ 15 เป็นลำดับที่13 ซึ่งเป็นลำดับที่สูงกว่ามาเลเซีย (20) จีน (83) เวียดนาม (92) อินเดีย (122) อินโดนีเซีย (129) แสดงให้เห็นว่าในด้านปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการแข่งขัน ไทยยังเป็นที่สนใจของนักลงทุนต่างชาติในการเข้ามาลงทุนระยะยาว สำหรับปัจจัยที่จะมีผลต่อการลงทุนในระยะปานกลางและระยะยาว ได้แก่ ความมีเสถียรภาพทางการเมือง นโยบายของรัฐบาล ทิศทางของนโยบายอุตสาหกรรม เช่น การพัฒนาพลังงานทางเลือก ซึ่งมีความเกี่ยวเนื่องกับอุตสาหกรรมหลายสาขา ไม่ว่าจะเป็นการเกษตร พลังงาน ปิโตรเคมี และยานยนต์ จึงควรมีการวางเป้าหมายนโยบายของอุตสาหกรรมเหล่านี้ให้มีความเชื่อมโยงและสอดคล้องกับแผนการพัฒนาประเทศและแผนการส่งเสริมการลงทุนในระยะยาว นอกจากนี้รัฐควรให้ความสำคัญกับการเร่งการลงทุนในโครงการโครงสร้างพื้นฐานที่สำคัญซึ่งในช่วงที่ผ่านมาได้มีการชะลอตัวลง ส่วนหนึ่งสืบเนื่องจากปัญหาในภาคการเมือง อย่างไรก็ดี ด้วยข้อจำกัดทางด้านงบประมาณและสภาพเศรษฐกิจในปัจจุบัน รัฐควรพิจารณาการลงทุนในโครงการที่มีความสำคัญในลำดับต้นๆ ก่อน อาทิ รถไฟรางคู่และการลงทุนในโครงการอื่นๆ เพื่อพัฒนาระบบขนส่งและโลจิสติกส์ของประเทศ การลงทุนด้านการเกษตรและการปรับปรุงระบบชลประทาน เป็นต้น ซึ่งการลงทุนของรัฐเหล่านี้จะมีผลช่วยกระตุ้นการลงทุนของภาคเอกชนทั้งจากในและต่างประเทศในระยะต่อไปให้กลับมาฟื้นตัวได้

 

ณัฏฐาทิพย์ วงศ์จันคำ รหัส 50473010019 เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

ใส่รหัสนักศึกษา ของ ณัฏฐาทิพย์ ผิดคะ ขอแก้ เป็น รหัส 50473010019 คะ

น.ส.ธีราภรณ์ บุญปัญญา

ธีราภรณ์ บุญปัญญา : เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

50473010058

จากคำถาม : ดิฉันมีความเห็นว่าจากการที่รัฐบาลได้มีความคิดเห็นว่ายังคงประกาศให้มีการประกาศใช้ พรก.ฉุกเฉินอยู่ และได้ทำการยกเลิกไปเพียง 5 จังหวัด โดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพมหานครก็ยังคงใช้พรก. ฉุนเฉินต่อไป ซึ่งในประเด็นนี้หากเป็นบุคคลภายนอกประเทศ ก็ย่อมมองว่ารัฐบาลยังไม่สามารถควบคุมความสงบของบ้านเมืองได้ จึงเกิดภาวะของความไม่มั่นใจ ทั้งในด้านการลงทุนและการท่องเที่ยว และก็ส่งผลแก่ระบบเศรษฐกิจโดยตรงคือ ภาคเอกชนทั้งต่างประเทศและภายในประเทศก็ยังไม่กล้าเสี่ยงในการที่จะทำการลงทุนภายในประเทศไทย ต่างประเทศบางประเทศยังไม่ส่งคนของประเทศนั้น ๆ ให้เข้ามาท่องเที่ยวในไทย มีการออกหนังสือเตือนในการเข้าประเทศไทย จึงทำให้มีเม็ดเงินในภาคเศรษฐกิจที่น้อย เศรษฐกิจเกิดการชลอตัวลง หรือเกิดการหดตัวของภาคธุรกิจบางประเภท และคนภายในประเทศเองก็ยังไม่กล้าใช้เงินในการจับจ่ายใช้สอย หรือการท่องเที่ยวพักผ่อนเพราะยังเกิดความไม่มั่นใจในสถานการณ์ของบ้านเมือง คงต้องใช้ระยะเวลาอีก 1 - 2 ไตรมาสในการที่จะฟื้นคืนเศรษฐกิจ ทั้งในด้านการท่องเที่ยวและการลงทุน ให้กลับมามีตัวเลขการเจริญเติบโตให้ใกล้เคียงหรือเทียบเท่าก่อนที่จะเกิดสถานการณ์ความไม่สงบภายในบ้านเมือง

และจากปัญหาในภาคเศรษฐกิจนั่นเอง ทำให้เกิดปัญหาที่ตามมาก็คือ สินค้าอุปโภคบริโภคต่าง ๆ ที่จ่อคิวขึ้นราคากันเห็นได้ชัดจาก นำตาลและไข่ไก่ซึ่งเป็นสินค้าอุปโภคบริโภคสำคัญของภาคครัวเรือน หากมีการปรับขึ้นราคาเพียงเล็กน้อยก็ส่งผลกระทบเป็นลูกโซ่ เพราะเป็นปัจจัยในการผลิตอาหารหลายชนิดซึ่งปัจจุบันน้ำตาลทรายในขณะนี้ได้ประสบปัญหาภาวะการตึงตัวของนำตาลทรายและราคาน้ำตาลทราย ซึ่งปัญหาน้ำตาลทรายเป็นปัญหาที่เรื้อรังมายาวนานประชาชนตามชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยทำการซื้อนำตาลจากประเทศเพื่อนบ้านมาใช้แทนเพราะราคาถูกกว่า แต่คนอีกกลุ่มหนึ่งกับเร่งผลักดันส่งออกนำตาล ธุรกิจส่งออกน้ำตาลพยายามกดดันรัฐบาลทววงถามถึงโควต้าน้ำตาลทรายจากภาครัฐ แต่ความเป็นจริงภาคครัวเรือนยังมีปริมาณน้ำตาลไม่เพียงพอต่อความต้องการ รัฐบาลต้องมีการซื้อน้ำตาลกลับคืนมาเพื่อให้เพียงพอต่อความต้องการภายในประเทศก่อน เพื่อจะได้ไม่ขาดแคลน และเกิดภาวะการกักตุนสินค้าขึ้น และเป็นเหตุให้มีการปรับราคาสูงขึ้นด้วยซึ่งจะส่งผลต่อผู้บริโภคโดยตรง ด้านปัญหาของไขไก่นั้นในอดีตไข่ไก่มีปัญหาล้นตลาดแต่ปัจจุบันไข่ไก่ขาดแคลนเพราะเกษตรกรณ์รายย่อยยังต้องพึ่งเอกชนในการจัดสรรแม่พันธ์ไก่ไข่ เอกชนฉวยโอกาสอ้างสถานการณ์ต่าง ๆ บีบให้เกษตรกรณ์รายย่อยจำเป็นต้องซื้อแม่ไก่ไข่ในราคาที่แพงขึ้นหากไม่ซื้อก็ไม่มีแม่พันธุ์ ก็ไม่มีผลผลิต ต้นทุนในการผลิตจึงสูงราคาไขจึงสูงตาม ดังนั้นรัฐบาลต้องตั้งข้อกฎหมายเข้ามาควบคุมเอกชน หรือมีการจัดสรรแม่พันธุ์ไก่ไข่ เพื่อไม่ให้เกิดปัญหาที่ต้องโยนภาระมาสู่ผู้บริโภค เพราะหากเกษตรกรรายย่อยไม่ทำเช่นนี้ก็ไม่สามารถประกอบอาชีพนี้ได้เช่นกันเพราะเกิดภาวะขาดทุน

สุรัตนา ศรีกระภา รหัส 50473010032 โปรแกรม เศรษฐศาสตร์

 

ราคาไข่ไก่  ขณะนี้เกษตรกรผู้เลี้ยงไก่ไข่ กำลังประสบปัญหาอย่างหนัก เนื่องจากในช่วงต้นปีที่ผ่านมา ประเทศไทย ต้องประสบภาวะภัยแล้ง ขาดน้ำ และสภาพอากาศที่ร้อนจัด โดยมีอุณหภูมิสูงขึ้นผิดปกติถึง 43-44 องศาเซลเซียส เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีที่ผ่านมา (2552) ขณะที่อุณหภูมิที่เหมาะสมในการเลี้ยงไก่ไข่อยู่ที่ 28-30 องศาเซลเซียสเท่านั้น ส่งผลให้แม่ไก่เกิดอาการเครียด กินอาหารได้น้อย และทำให้เปอร์เซ็นต์การให้ไข่ของแม่ไก่ลดลง รวมถึงผลผลิตไข่ไก่มีขนาดเล็กลง นอกจากนี้ บางพื้นที่ขาดน้ำสะอาดเพื่อให้ไก่ กิน ก่อให้เกิดไก่ป่วยตามมา ผลผลิตจึงลดลงมาก และในวงการเลี้ยงไก่กำลังประสบปัญหาโรคระบาดในไก่ไข่ คือ โรค IB หรือโรคหลอดลมอักเสบ โดยเกิดการระบาดช่วงฤดูหนาวที่ผ่านมา ซึ่งเกิดในลูกไก่ไข่ที่มีอายุ 1-3 สัปดาห์ ซึ่งทำให้เมื่อลูกไก่ชุดนี้โตขึ้นเป็น แม่ไก่ในปัจจุบัน จะทำให้รังไข่ฝ่อ ผลผลิตไข่ไก่ที่ได้เกิดความเสียหาย จึงอยากแจ้งข่าวให้เกษตรกรผู้เลี้ยงไก่ไข่เข้มงวดในเรื่องการ ป้องกันโรค  ปัจจุบันปริมาณแม่ไก่ไข่ยืนก รงทั่วประเทศเหลืออยู่ประมาณ 35-36 ล้านตัว ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีที่แล้วกว่า 20% มีผลให้ปริมาณไข่ไก่ทั่วประเทศในขณะนี้อยู่ที่ 25-26 ล้านฟองต่อวัน  จาก 28-30 ล้านฟองต่อวัน ซึ่งอาจส่งกระทบโดยตรงต่อราคาไข่ไก่ ตามหลักอุปสงค์อุปทานและกลไกตลาด แต่จะเป็นเพียงช่วงระยะเวลาสั้นๆ เท่านั้น เนื่องจากขณะนี้กำลังเข้าสู่ช่วงฤดูฝน ที่จะมีอาหารธรรมชาติเพิ่มมากขึ้น และด้วยไข่ไก่เป็นสินค้าเกษตรที่มี ช่วงวงจรเวลาสั้น ความเสียหายของผลผลิตไข่ไก่จึงจะลดลงและเข้าสู่ภาวะ ปกติในที่สุด

การท่องเที่ยว ด้านการท่องเที่ยวก็จะส่งผลให้บริษัททัวร์ไม่กล้าที่จะส่งลูกค้ามายังประเทศไทยเพราะไม่มีความมั่นใจในสถานการณ์ซึ่งก็จะส่งผลกระทบเป็นลูกโซ่ต่อธุรกิจที่เกี่ยวข้องไม่ว่าจะเป็นโรงแรม ร้านอาหาร รถทัวร์นำเที่ยว และพนักงานรวมถึงครอบครัวของผู้ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจการท่องเที่ยวด้วยการที่รัฐบาลยังไม่ยกเลิก พ.ร.ก.ฉุกเฉิน ถือเป็นสัญลักษณ์ที่แสดงให้นักท่องเที่ยวเห็นว่าประเทศไทยยังไม่มีความปลอดภัย ซึ่งทำให้บริษัทประกันไม่กล้าทำประกันให้กับนักท่องเที่ยวที่ประสงค์จะเดินทางเข้าประเทศไทย โดยเฉพาะนักท่องเที่ยวกลุ่มประเทศเอเชีย เช่น จีนหรือญี่ปุ่นมีจำนวนลดลงอย่างเห็นได้ชัด

ราคาน้ำตาลทราย เกิดจากการกักตุนสินค้าของพ่อค้าคนกลาง ซึ่งจะทำให้ราคาน้ำตาลสูงขึ้น เพราะน้ำตาลเป็นสิ่งสำคัญในการเป็นส่วนผสมของอาหาร

ด้านการลงทุนอันเนื่องมาจากสาเหตุที่ประเทศไทยมีความเชื่อมั่นต่อการลงทุนในประเทศน้อยและยิ่งประเทศไทยนั้นประการฉุกเฉินอีกทำให้นักลงทุนหมดความเชื่อมั่นในไทยและทำให้นักลงทุนไม่ว่าจะเป็นชาวต่างชาติก็ดีหรือประเทศเพื่อนบ้านก็ดีอาจจะลงทุนประเทศเพื่อนบ้านหรือประเทศอื่นๆแทนที่จะลงทุนในไทยและอาจจะเสียดุลในการค้ามากขึ้นไปด้วย

 

ดังที่กล่าวมาข้างต้น ทำให้ภาคการท่องเที่ยวและการลงทุนชะลอตัวลง เพราะความไม่ชัดเจนของสถานการณ์บ้านเมือง  หากสถานการณ์การเมืองของไทยมีความชัดเจนมากขึ้น โดยสามารถมีรัฐบาลที่มีเสถียรภาพในการบริหารประเทศ ก็คาดว่าเศรษฐกิจไทยน่าจะมีแรงขับเคลื่อนจากภายในประเทศที่จะช่วยผลักดันให้เศรษฐกิจกลับมาขยายตัวดีขึ้น เนื่องจากปัจจัยพื้นฐานของประเทศยังเอื้ออำนวยต่อการขยายตัวของการบริโภคและการลงทุน ประกอบกับนโยบายของรัฐบาลในระยะต่อๆไปน่าจะยังคงมุ่งเน้นการกระตุ้นการเติบโตทางเศรษฐกิจ

นางสาวจันทกานต์ ศรีมาวรรณ์

นางสาวจันทกานต์ ศรีมาวรรณ์

รหัสนักศึกษา 50473010040

คณะวิทยาการจัดการ โปรแกรมวิชาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ ปี 4

โจทย์ หาโครงสร้างองค์กรของธนาคาร พร้อมทั้งเลือกมา 1 ธนาคาร เพื่อให้สนับสนุนกับธุรกิจของเรา และธนาคารนั้นควรปรับปรุงด้านใดเพื่อให้เราได้รับความพึงพอใจ โครงสร้างธนาคารแห่งประเทศไทย

โครงสร้างธนาคารแห่งประเทศไทย

 

มีแต่โครงสร้างตอนต้น ปี 2540 ค่ะ  ส่วนของปัจจุบันไม่มี URL ไม่สามารถ COPY ได้ค่ะ

 

โครงสร้างธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย

 

โครงสร้างธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร

 

โครงสร้างธนาคารอาคารสงเคราะห์ 

 

โครงสร้างธนาคารกรุงไทย 

 

โครงสร้างธนาคารกรุงเทพ

 

โครงสร้างธนาคารกรุงศรีอยุธยา

โครงสร้างธนาคารกสิกรไทย

 

โครงสร้างธนาคารเกียรตินาคิน

 

 

โครงสร้างธนาคารออมสิน

 

โครงสร้างธนาคารซีไอเอ็มบี ไทย

 

โครงสร้างธนาคารไทยพาณิชย์

โครงสร้างการบริหารงาน

 

โครงสร้างธนาคารธนชาต

 

โครงสร้างธนาคารนครหลวงไทย

โครงสร้างธนาคารทิสโก้

           ธุรกิจที่ดิฉันเลือกทำ  คือ ธุรกิจด้านอสังหาริมทรัพย์ (บ้านและที่ดิน) ธนาคารที่เลือกให้มาสนับสนุนธุรกิจ คือ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำกัด (มหาชน) 

           เหตุที่เลือกธนาคารนี้  เพราะว่า  ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำกัด (มหาชน)  เกิดจากแนวคิดของบริษัทแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำกัด (มหาชน)  และบริษัทควอลิตี้เฮ้าส์ จำกัด (มหาชน) ซึ่งทั้ง 2 บริษัทนี้เป็นบริษัทที่ได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและได้ดำเนินธุรกิจด้านการพัฒนาและบริหารโครงสร้างอสังหาริมทรัพย์  โดยมีส่วนแบ่งการตลาดรวมเป็นอันดับหนึ่ง  จึงมีความน่าเชื่อถือที่จะร่วมทำธุรกรรมด้วย  อีกทั้งยังมีผู้เชี่ยวชาญและผู้มีความรู้ในการให้ข้อมูลเกี่ยวกับข้อสงสัยในการประกอบธุรกิจด้านอสังหาริมทรัพย์

          ธนาคารมีการพิจาณาในด้านสินเชื่อเน้นไปที่เงินกู้เพื่อการเคหะของสินเชื่อโดยรวมทั้งหมด 60% และ40% จะเป็นสินเชื่อประเภทเอสเอ็มอี เนื่องจากว่าในส่วนของสินเชื่อเคหะมีข้อดีตรงที่มีหลักประกันที่ชัดเจน และทางธนาคารแห่งประเทศไทยก็ให้ความสนใจในเรื่องนี้เป็นสำคัญ เพราะถือว่าเป็นฐานเงินทุนที่มีประสิทธิภาพสูง

          การปล่อยสินเชื่อรายย่อยอื่นคงมีแต่จะเป็นส่วนน้อย เป็นองค์ประกอบ เพราะเรา LH BANK จะเน้นการปล่อยสินเชื่อบ้านและที่ดินให้กับลูกค้ารายย่อย แต่ละล็อตที่ปล่อยไปถึงจุดๆหนึ่งจะนำมารวมกันขายออกไปและนำเงินที่ได้มาปล่อยสินเชื่อใหม่ ทำให้ธนาคารนั้นไม่มีลูกหนี้มาก สินทรัพย์ไม่โตมาก เพราะเป็นที่ธนาคารที่มีรายได้จาการปล่อยสินเชื่อให้ลูกค้า

                โดยได้ค่าฟีในการบุ๊คให้ลูกค้าและนำมาขายอีกที ดังนั้นจะมีรายได้เรื่องของค่าฟีและการติดตามเก็บหนี้ลูกค้าให้ แต่สินเชื่อในตัวงบดุลไม่สูงตามเพราะการนำหนี้ไปขาย สินเชื่อบ้านเป็นสินเชื่อที่แน่นอนตรงที่มีระยะเวลาที่ยาวนาน เป็น 10 ถึง 20 ปีดังนั้นความเสี่ยงก็ไม่มากนัก

          จากเหตุผลที่กล่าวมาข้างต้น  จึงสรุปได้ว่า  ถ้าดิฉันจะประกอบธุรกิจด้านอสังหาริมทรัพย์  ดิฉันควรจะเลือกธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำกัด (มหาชน) เพราะเป็นธนาคารที่จัดตั้งขึ้นมาสำหรับด้านนี้โดยเฉพาะ  เนื่องจากได้เล็งเห็นว่าประเทศไทยควรมีสถาบันการเงินที่เป็นทางเลือกใหม่ให้กับผู้บริโภค  และได้ผ่านการยอมรับจากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยแล้ว

          สิ่งที่ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำกัด (มหาชน) ควรจะปรับปรุง  ก็คือ  การขยายสาขาให้มีมากยิ่งขึ้น  เนื่องจากตอนนี้จะเห็นได้ว่านักธุรกิจส่วนใหญ่หันมาประกอบธุรกิจทางด้านอสังหาริมทรัพย์มากขึ้น  สังเกตได้จากคอนโดย่านต่างๆที่ก่อสร้างขึ้นมาอย่างรวดเร็ว  ถ้าธนาคารขยายสาขามากกว่านี้ก็จะทำให้รองรับ และ ให้ความสะดวกสบายกับผู้ประกอบการธุรกิจในด้านอสังหาริมทรัพย์มากยิ่งขึ้น  (ปัจจุบันมีเพียง 23 สาขาในประเทศไทย)

 

*** หมายเหตุ***  ธนาคารส่วนใหญ่ใช้ไฟล์ PDF จึงไม่สามารถ COPY มาได้ค่ะ

 

 

นางสาวจันทกานต์ ศรีมาวรรณ์

นางสาวจันทกานต์  ศรีมาวรรณ์   

รหัสนักศึกษา  50473010040 

คณะวิทยาการจัดการ  โปรแกรมวิชาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ ปี4 

 

โจทย์  หารูป  L/C ,  L/G , P/C , T/R , Avalled 

 

1.  เลตเตอร์ออฟเครดิต : Letter  of  Credit  (L/C)

 

 

2.  หนังสือค้ำประกัน  :  Letter  of  Guarantee (L/G)

 

 

หนังสือค้ำประกันยื่นซองประกวดราคา (bid  bond)

 

หนังสือค้ำประกันการดำเนินโครงการตามสัญญา (performance  bond)

 

3.  แพคกิ้งเครดิต  :  Packing  Credit  (P/C)

 

4.  ทรัสต์รีซีท  :  Trust  Receipt  (T/R) 

 

5.  การรับรองและอาวัลตั๋ว  :  Avalled  / Accepted  Bills

 

 

นางสาวนิรมล สายวงษ์คำ  โปรแกรมเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

รหัสนักศึกษา 50473010005

LETER OF CREDIT

เป็นบริการแก่ผู้นำเข้าที่เป็นลูกค้าของธนาคารในการเปิด Letter of Credit หรือ L/C  เมื่อลูกค้าหรือผู้นำเข้าสั่งซื้อสินค้าจากต่างประเทศโดยเลือก
วิธีการชำระเงินด้วย L/C ลูกค้าจะต้องติดต่อให้ธนาคารเปิด L/C ให้ผู้ขายหรือผู้ส่งออกเป็นผู้รับประโยชน์ โดยธนาคารจะรับผิดชอบการจ่ายเงินค่าสินค้าแทนผู้ซื้อเมื่อผู้ขายสินค้า ทำตามเงื่อนไขที่ระบุไว้ใน L/C ครบถ้วน  

วิธีนี้ช่วยให้ผู้ซื้อได้รับสินค้าตามเงื่อนไขที่ตกลงกับผู้ขาย  ส่วนผู้ขายได้รับเงินค่าสินค้า ถ้าปฏิบัติตามเงื่อนไขใน L/C ครบถ้วนถูกต้อง ทั้งนี้ธนาคารจะเป็น
ผู้ตรวจสอบความถูกต้องตามเงื่อนไขต่างๆ ใน L/C แต่จะตรวจโดยเฉพาะความถูกต้องด้านเอกสารเท่านั้น ไม่สามารถดูความถูกต้องของตัวสินค้าได้

ทั้งนี้ ธนาคารจะให้บริการเปิด L/C เฉพาะประเภทเพิกถอนไม่ได้ (Irrevocable Credit) เท่านั้น หากจะมีการยกเลิกหรือแก้ไข จะต้องได้รับความยินยอมจากผู้ขายหรือผู้ที่เกี่ยวข้อง

หลังจากเปิด L/C ไปแล้ว ถ้าผู้ซื้อและผู้ขายต้องการแก้ไขข้อความต่างๆใน L/C ลูกค้า(ผู้ซื้อ)สามารถยื่นขอแก้ไขต่อธนาคารเพื่อขอให้ธนาคารแก้ไข L/C ไปยังผู้ขายเพื่อเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขที่ต้องการได้

ประเภทบริการ
• Sight L/C  เป็น L/C ที่มีเงื่อนไขการชำระเงินทันทีเมื่อธนาคาร ได้รับเอกสาร ลูกค้าต้องชำระเงินทันที่เมื่อเอกสารมาถึง หรือขออนุมัติทำ T/R
• Usance L/C เป็น L/C ที่ผู้ขายให้ระยะเวลาการชำระเงิน ลูกค้าต้อง
ขออนุมัติทำ T/R เมื่อเอกสารมาถึงและชำระเงินเมื่อตั๋วครบกำหนด

สถานที่ให้บริการ           
ฝ่ายการค้าต่างประเทศ / ศูนย์ธุรกิจต่างประเทศ / สาขา

คุณสมบัติลูกค้า
• เป็นลูกค้าที่ประกอบธุรกิจนำเข้าสินค้าเพื่อจำหน่ายหรือผลิต
เพื่อการ จำหน่าย
• ลูกค้าต้องมีวงเงิน L/C หรือ L/C+T/R กับธนาคาร

เงื่อนไขการใช้บริการ
• ลูกค้าต้องมีวงเงิน L/C หรือ L/C+T/R
• ถ้าไม่มีวงเงิน ต้องได้รับอนุมัติวงเงินเฉพาะรายในการเปิด L/C
-ลูกค้าสามารถยื่นเอกสารการขอเปิด L/C ได้ที่สาขาที่ลูกค้ามีบัญชีอยู่
หรือ ศูนย์ธุรกิจต่างประเทศ หรือ ฝ่ายการค้าต่างประเทศ

เอกสารการขอใช้บริการ            
กรณีเปิด L/C
• ใบคำขอเปิดเลตเตอร์ออฟเครดิต (Application for Irrevocable Documentary Credit)
• หลักฐานการซื้อขาย เช่น Proforma Invoice , Contract หรือ Purchase Order เป็นต้น

กรณีขอแก้ไข L/C
• คำขอแก้ไขเลตเตอร์ออฟเครดิต (Application for Amendment to Letter of Credit)
• หลักฐานการติดต่อกับผู้ขายในการขอแก้ไข L/C เช่น Fax , e-Mail เป็นต้น

ประโยชน์ลูกค้า
ด้านผู้ซื้อ : ได้รับสินค้าตามเงื่อนไขที่ตกลงกับผู้ขาย
ด้านผู้ขาย : ได้รับเงินค่าสินค้า ถ้าปฏิบัติตามเงื่อนไขใน L/C ครบถ้วนถูกต้อง

รูปภาพตัวอย่าง L/C

 

 

 

นางสาวนิรมล สายวงษ์คำ โปรแกรมเศรษฐซาสตร์ธุรกิจ

รหัสนักศึกษา 50473010005

รูปตัวอย่าง L/C

 

 

 

นางสาวนิรมล สายวงษ์คำ โปรแกรมเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

รหัสนักศึกษา 50473010005

Packing Credit

สินเชื่อ Packing Credit เป็นสินเชื่อดอกเบี้ยต่ำที่ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย ให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่ผู้ส่งออกผ่านทางธนาคารพาณิชย์ ด้วยวิธีให้ธนาคารพาณิชย์กู้ยืม โดยใช้ตั๋วสัญญาใช้เงินที่เกิดจากการส่งออกเป็นหลักประกัน ซึ่งธนาคารพาณิชย์ผู้ปล่อยสินเชื่อจะต้องปฏิบัติตามระเบียบของ EXIM Bank Packing Credit เป็นสินเชื่อสำหรับผู้ขายหรือผู้ส่งออกเพื่อเป็นเงินทุนหมุนเวียนในการจัดหาสินค้า หรือจัดหาวัตถุดิบสำหรับผลิตสินค้า เพื่อการส่งออก การให้สินเชื่อ Packing Credit แบ่งออกเป็น 2 วิธีคือ

 

 

1

การใช้สินเชื่อก่อนการส่งออก Pre-Shipment Financing แบ่งออกเป็น 3 ประเภท

 

 

 

1.1 สินเชื่อจำนำสินค้า Packing Credit Against Stock
คือ การที่ผู้ส่งออกมีสินค้าจำนวนหนึ่ง หรือมีสินค้าที่อยู่ในระหว่างผลิตจำนวนหนึ่งแล้วแต่ยังไม่พอเพียงที่จะส่งออกได้ จึงต้องการสินเชื่อเพื่อใช้ในการเพิ่มสินค้าให้ครบถ้วน ผู้ส่งออกสามารถกระทำได้โดยการขอจำนำสินค้าที่มีอยู่ให้กับธนาคาร ธนาคารจะให้กู้ได้ไม่เกิน ร้อยละ 80 ของราคาสินค้าที่ผู้ส่งออกนำมาจำนำ ซึ่งธนาคารจะประเมินสินค้าที่ผู้ส่งออกนำมาจำนำตามราคาที่แท้จริงในท้องตลาดขณะนั้น

 

 

 

1.2 สินเชื่อที่สัญญาการค้ากำกับ (Packing Credit Against Contract or Purchase Order)
คือการที่ผู้ส่งออกมีสินค้าที่จะส่งออกได้แต่ไม่มี L/C สั่งซื้อสินค้าของตนเองมาจากผู้ซื้อในต่างประเทศและมีความต้องการที่จะใช้เงินก่อน ผู้ส่งออกสามารถกระทำได้โดยนำสัญญาซื้อขาย หรือใบสั่งซื้อที่ตนเองทำไว้กับผู้ซื้อในต่างประเทศ ไปขอกู้เงินจากธนาคาร ธนาคารจะให้กู้ได้ไม่เกินร้อยละ 80 ของมูลค่าสินค้าที่ทำการซื้อขายกัน

 

 

 

1.3 สินเชื่อที่มี Letter of Credit กำกับ (Packing Credit Against Letter of Credit)
คือ การที่ส่งออกมี L/C สั่งซื้อสินค้าชนิดเพิกถอนไม่ได้มาจากผู้ซื้อในต่างประเทศ และมีความประสงค์ขอกู้เงินจากธนาคารเพื่อนำไปจัดซื้อสินค้าหรือวัตถุดิบในการผลิตสินค้าเพื่อการส่งออก ผู้ส่งออกสามารถกระทำได้โดยการใช้ L/C ไปขอกู้เงินจากธนาคารได้ ธนาคารจะให้กู้เงินได้ไม่เกินร้อยละ 80 ของมูลค่าสินค้าตาม L/C นั้น

 

 

2

การให้สินเชื่อหลังการส่งออก (Post-Shipment Financing)
คือ การให้กุ้ตามตั๋วแลกเงิน ที่มีกำหนดระยะเวลาการชำระเงิน ซึ่งผู้ส่งออกให้วงเงินสินเชื่อกับผู้ซื้อในต่างประเทศ เช่น 60 วัน หรือ 90 วัน หลังวันที่ในตั๋วแลกเงิน เป็นต้น ซึ่งผู้ส่งออกจะได้รับการชำระเงินก็ต่อเมื่อครบกำหนดตามระยะเวลาดังกล่าว ถ้าผู้ส่งออกมีความประสงค์จะใช้เงินก่อนกำหนดก็นำตั๋วแลกเงินดังกล่าว ไปขอแลกเงินกับธนาคารได้ไม่เกินร้อยละ 90 ของมูลค่าตั๋วแลกเงิน

 

 

 

บริการแฟคตอริ่งระหว่างประเทศ (International Factoring)
คือ การที่ผู้ขายสินค้าขอให้บริษัทแฟคตอริ่งทำประกันฐานะการจ่ายเงินของผู้ซื้อสินค้าในต่างประเทศ ให้แก่ตน ในกรณีที่ไม่ได้ทำการซื้อขายกันด้วยวิธี L/C แต่เป็นการซื้อขายกันด้วยวิธีอื่น เช่น Open Account ในขณะเดียวกันในระหว่างที่ผู้ขายสินค้ายังไม่ได้รับเงิน เนื่องจากว่ายังไม่ได้ครบกำหนดชำระเงินแต่มีความต้องการเงินสดเพื่อใช้หมุนเวียนในกิจการของตน ก็สามารถขายหนี้รอเก็บเงินนั้นให้แก่บริษัทแฟคตอริ่ง ที่เป็นผู้ค้ำประกันฐานะการจ่ายเงินของลูกหนี้ได้ ดังนั้นบริการของแฟคตอริ่งระหว่างประเทศ จึงเป็นบริการที่ช่วยให้ผู้ขายสินค้า สามารถส่งออกสินค้าไปขายยังต่างประเทศโดยไม่ต้องมี L/C จากผู้ซื้อในต่างประเทศได้ เป็นการลดความเสี่ยง ในการเรียกเก็บเงินค่าสินค้า ด้วยการไปขอรับการค้ำประกัน กับบริษัทแฟคตอริ่ง กับทั้งยังสามารถได้เงินในทันที หลังจากการส่งออกสินค้าแล้ว

 

 

 

Forfeiting
คือ การจัดหาสถาบันการเงินมารับซื้อตั๋วแลกเงินและ/หรือเอกสารจากผู้ส่งออกโดยผู้รับซื้อหนี้เรียกว่า Forfaitor (โดยทั่วไปคือธนาคารพาณิชย์หรือสถาบันการเงิน) โดยปกติหนี้ดังกล่าว จะเป็นหนี้การค้าซึ่งเกิดจากการซื้อสินค้าประเภททุนเช่นเครื่องจักร โดยวิธีการชำระเงินจะกระทำในรูปแบบต่างๆ เช่น ชำระโดยตั๋วสัญญาใช้เงิน หรือตั๋วแลกเงินซึ่งค้ำประกัน โดยธนาคารหรือสถาบันการเงินของประเทศผู้นำเข้าจะออกเป็นชุดตามระยะเวลาของ
หนี้ในการรับซื้อหนี้จากผู้ส่งออก ภาระความเสี่ยงในการเรียกเก็บเงินจะตกอยู่แก่ Forfaitor กล่าวคือไม่มีสิทธิในการไล่เบี้ย

รูปตัวอย่างP/C

นางสาวนิรมล สายวงษ์คำ โปรแกรมเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

รหัสนักศึกษา 50473010005

 

Trust Receipt :T/R (บริการสินเชื่อเพื่อการนำเข้า)

 

เป็นบริการที่ธนาคารให้สินเชื่อแก่ผู้นำเข้าที่มีการซื้อสินค้าจากต่างประเทศ โดยลูกค้าสามารถติดต่อ
ขอทำสัญญา T/Rกับธนาคารและรับเอกสารสิทธิ์เพื่อออกสินค้าและจำหน่าย เพื่อนำเงินมาชำระหนี้
ค่าสินค้าให้แก่ธนาคาร

 

ลักษณะบริการ 

เป็นบริการให้กู้ยืมเงินระยะสั้น

เป็นสัญญาที่ลูกค้าทำไว้ต่อธนาคารโดยเป็นการรับรองว่าธนาคารมีกรรมสิทธิ์ในสินค้า
ลูกค้าครอบครองสินค้าเพื่อจัดจำหน่ายเท่านั้น และนำเงินมาชำระเมื่อครบกำหนด

ประเภทของสัญญา T/R แบ่งได้เป็น

 

1.

T/R Sight แบ่งเป็น

 

1.1

T/R Sight Fixed Rate คือ ทำสัญญา T/R โดยกำหนดอัตราแลกเปลี่ยน ณ
วันทำสัญญา T/R และชำระด้วยอัตราแลกเปลี่ยนนั้นซึ่งถือเป็นหนี้เงินบาท

1.2

T/R Sight Non-Fixed Rate คือทำสัญญา T/Rโดยยังคงเป็น หนี้สกุลเงินตรา
ต่างประเทศและลูกค้าจะต้องชำระด้วยอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันครบกำหนดหรือ
ในวันที่ชำระเงิน

2.

T/R Time คือการทำสัญญา T/R ตามระยะเวลาที่ได้รับจากผู้ขาย (ตามเงื่อนไขใน L/C)
โดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ครบกำหนด หรือวันที่ชำระเงิน

 

นางสาวนิรมล สายวงษ์คำ โปรแกรมเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

รหัสนักศึกษา 50473010005

บริการอาวัลหรือการรับรองตั๋วเงิน

หลักการอาวัลหรือการรับรองตั๋วเงิน

       ธนาคารจะรับอาวัลเฉพาะตั๋วสัญญาใช้เงิน และรับรองเฉพาะตั๋วแลกเงิน ซึ่งความสมบูรณ์ของตั๋วเงิน ให้เป็นไปตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

ระยะเวลาการอาวัลหรือการรับรองตั๋วเงิน
       1. ระยะเวลาขั้นต่ำของการรับอาวัลหรือการรับรองตั๋วเงินแต่ละฉบับ ไม่ต่ำกว่า 1 เดือน (30 วัน)
       2. ระยะเวลาขั้นสูงของการรับอาวัลหรือการรับรองตั๋วเงินแต่ละฉบับ ไม่เกินกว่า 1 ปี หรือหากเกินกว่า 1 ปี ให้เป็นไปตามความจำเป็นและเหมาะสมของลูกค้า

ค่าธรรมเนียมการอาวัลหรือการรับรองตั๋วเงินให้เป็นไปตามประกาศของธนาคาร

ค่าอากรแสตมป์ให้เป็นไปตามประมวลรัษฎากร

ความสมบูรณ์ของการอาวัลหรือการรับรองตั๋วเงิน
       ตั๋วสัญญาใช้เงินจะมีการอาวัลที่สมบูรณ์ได้ด้วยการเขียนลงในตั๋วสัญญาใช้เงินนั้นเอง หรือที่ใบประจำต่อ(ถ้ามี) โดยมีถ้อยคำสำนวนว่า “ใช้ได้เป็นอาวัล” (GOOD AS AVAL) หรือสำนวนอื่นใดทำนองเดียวกัน และจะต้องลงลายเมือชื่อผู้รับอาวัล และวัน เดือน ปี ที่อาวัลไว้ด้วย โดยให้เขียนลงด้านหน้าของตั๋วสัญญาใช้เงินนั้น

       ในกรณีตั๋วแลกเงินจะมีการรับรองที่สมบูรณ์ได้ด้วยการเขียนลงไว้ในด้านหน้าของตั๋วแลกเงินเท่านั้น โดยมีถ้อยคำสำนวนว่า “รับรองแล้ว” (ACCEPTED) หรือข้อความอย่างอื่นทำนองเดียวกัน และจะต้องลงลายมือชื่อผู้รับรอง และวัน เดือน ปี ที่รับรองไว้ด้วย

 

นางสาวแสงระวี ศรีราปราน 50473010002 เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

พร้อมทั้งเลือกมา 1 ธนาคาร เพื่อให้สนับสนุนกับธุรกิจของเรา และธนาคารนั้นควรปรับปรุงด้านใดเพื่อให้เราได้รับความพึงพอใจ โครงสร้างธนาคารแห่งประเทศไทย

โครงสร้างธนาคารแห่งประเทศไทย

โครงสร้างธนาคารกรุงศรีอยุธยา

โครงสร้างธนาคารซีไอเอ็มบีไทย

โครงสร้างธนาคารนครหลวงไทย

 

โครงสร้างธนาคารกรุงเทพ

โครงสร้างธนาคารออมสิน

โครงสร้างธนาคารไทยพาณิชย์

โครงสร้างธนาคารอาคารสงเคราะห์

โครงสร้างธนาคารกรุงไทย

โครงสร้างธนาคารธนชาต

โครงสร้างธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย

โครงสร้างเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร

โครงสร้างธนาคารกสิกรไทย

โครงสร้างธนาคารทิสโก้

โครงสร้างธนาคารเกียรตินาคิน

เลือกธุรกิจนำเข้าส่งออกสินค้าประเภทรองเท้าแฟชั่นสตรีไทย ธนาคารที่เลือกธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน)

เหตุผลที่เลือกธนาคารกรุงเทพ เพราะ ทางธนาคารมีนโยบายและสนับสนุน  

ธนาคารกรุงเทพให้บริการด้านการค้าระหว่างประเทศที่มีความรวดเร็ว มีประสิทธิภาพและเชื่อถือได้ ช่วยให้ท่านเปิดประตูสู่ตลาดโลกได้สะดวกกว่าเดิม ด้วยประสบการณ์ที่ยาวนานมากว่าครึ่งศตวรรษของธนาคารในด้านบริการทางการเงินเพื่อการค้าระหว่างประเทศ กอปรกับเทคโนโลยีการสื่อสารที่ทันสมัย และเครือข่ายธนาคารพันธมิตรทั่วโลก การขยายธุรกิจของท่านสู่ตลาดโลกจึงไม่ใช่เรื่องยากอีกต่อไป

ธนาคารกรุงเทพสามารถช่วยท่านได้ในทุกขั้นตอน ตั้งแต่การชำระค่าวัตถุดิบ การจัดเตรียมเงินทุนในการเสริมสภาพคล่อง ไปจนถึงการประกันความเสี่ยงจากการไม่ได้รับค่าสินค้า อีกทั้งธนาคารยังให้การรับรองเล็ตเตอร์ออฟเครดิต ในกรณีที่ท่านไม่มั่นใจในความน่าเชื่อถือของธนาคารที่ออกเล็ตเตอร์ออฟเครดิต

ธนาคารกรุงเทพพร้อมให้ความช่วยเหลือในทุกขั้นตอนของธุรกิจนำเข้า ตั้งแต่การสนับสนุนสินเชื่อระยะสั้นที่ตอบสนองทุกความต้องการทางธุรกิจตามเงื่อนไขทางการตลาดและวงจรการผลิต รวมถึงการนำเข้าสินค้าสู่ตลาด ด้วยบริการการจัดเตรียมการจัดส่งเอกสาร การชำระเงินค่าวัตถุดิบและบริการ และการค้ำประกันการออกสินค้าทางเรือ

เพราะธนาคารกรุงเทพมีเครือข่ายพันธมิตรทั่วโลกและมีสาขากว่า 950 แห่งทั่วประเทศ ท่านจึงสามารถชำระเงินได้ตรงเวลาและประหยัดค่าใช้จ่าย สะดวกสบาย เครือข่ายธนาคารตัวแทนกว่า 1,500 แห่งทั่วโลก และธนาคารสาขาต่างประเทศ จำนวน 15 สาขา ธนาคารในเครือที่ธนาคารถือหุ้นเต็ม 2 แห่ง และสำนักงานตัวแทนอีก 1 แห่ง

เจ้าหน้าที่ผู้เชี่ยวชาญของธนาคารกรุงเทพยินดีและพร้อมให้คำปรึกษาแนะนำแก่ท่านทุกแง่มุมเกี่ยวกับการค้าระหว่างประเทศอย่างมืออาชีพที่ สำนักธุรกิจ ทุกแห่งของธนาคาร ธนาคารยินดีให้ความช่วยเหลือและคำแนะนำผ่านสาขาต่างประเทศของธนาคารกรุงเทพ และ สายงานต่างประเทศ ตลอดจน ฝ่ายธุรกิจสัมพันธ์จีนจากเหตุผลดังกล่าวจึงทำให้มีความเชื่อมั่นว่าช่วยให้ธุรกิจดำเนินไปได้ดี

สิ่งที่ธนาคารกรุงเทพควรปรับปรุงควรตระหนักถึงปัจจัยความเสี่ยงต่างๆ อันอาจจะเกิดขึ้นและส่งผลกระทบต่อการประกอบธุรกิจของธนาคาร จึงได้มีการพิจารณาเตรียมการและกำหนดแนวทางในการบริหารความเสี่ยงแต่ละด้าน โดยในช่วงที่ผ่านมา ธนาคารได้วิเคราะห์ถึงปัจจัยแห่งความเสี่ยงที่สำคัญที่อาจจะมีผลกระทบต่อการประกอบการธุรกิจการเงิน และได้ดำเนินการทบทวน ปรับปรุงโครงสร้างองค์กรและกระบวนการในการบริหารความเสี่ยงด้านต่างๆอย่างต่อเนื่อง เพื่อเสริมสร้างให้ระบบการบริหารความเสี่ยงของธนาคารได้มาตรฐานเทียบเคียงระดับสากล และมีความพร้อมในการรองรับการบริหารความเสี่ยงตามแนวทางของหลักเกณฑ์ 

เลือกธุรกิจนำเข้าส่งออกสินค้าประเภทรองเท้าแฟชั่นสตรีไทย ธนาคารที่เลือกธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน)

เหตุผลที่เลือกธนาคารกรุงเทพ เพราะ ทางธนาคารมีนโยบายและสนับสนุน  

ธนาคารกรุงเทพให้บริการด้านการค้าระหว่างประเทศที่มีความรวดเร็ว มีประสิทธิภาพและเชื่อถือได้ ช่วยให้ท่านเปิดประตูสู่ตลาดโลกได้สะดวกกว่าเดิม ด้วยประสบการณ์ที่ยาวนานมากว่าครึ่งศตวรรษของธนาคารในด้านบริการทางการเงินเพื่อการค้าระหว่างประเทศ กอปรกับเทคโนโลยีการสื่อสารที่ทันสมัย และเครือข่ายธนาคารพันธมิตรทั่วโลก การขยายธุรกิจของท่านสู่ตลาดโลกจึงไม่ใช่เรื่องยากอีกต่อไป

ธนาคารกรุงเทพสามารถช่วยท่านได้ในทุกขั้นตอน ตั้งแต่การชำระค่าวัตถุดิบ การจัดเตรียมเงินทุนในการเสริมสภาพคล่อง ไปจนถึงการประกันความเสี่ยงจากการไม่ได้รับค่าสินค้า อีกทั้งธนาคารยังให้การรับรองเล็ตเตอร์ออฟเครดิต ในกรณีที่ท่านไม่มั่นใจในความน่าเชื่อถือของธนาคารที่ออกเล็ตเตอร์ออฟเครดิต

ธนาคารกรุงเทพพร้อมให้ความช่วยเหลือในทุกขั้นตอนของธุรกิจนำเข้า ตั้งแต่การสนับสนุนสินเชื่อระยะสั้นที่ตอบสนองทุกความต้องการทางธุรกิจตามเงื่อนไขทางการตลาดและวงจรการผลิต รวมถึงการนำเข้าสินค้าสู่ตลาด ด้วยบริการการจัดเตรียมการจัดส่งเอกสาร การชำระเงินค่าวัตถุดิบและบริการ และการค้ำประกันการออกสินค้าทางเรือ

เพราะธนาคารกรุงเทพมีเครือข่ายพันธมิตรทั่วโลกและมีสาขากว่า 950 แห่งทั่วประเทศ ท่านจึงสามารถชำระเงินได้ตรงเวลาและประหยัดค่าใช้จ่าย สะดวกสบาย เครือข่ายธนาคารตัวแทนกว่า 1,500 แห่งทั่วโลก และธนาคารสาขาต่างประเทศ จำนวน 15 สาขา ธนาคารในเครือที่ธนาคารถือหุ้นเต็ม 2 แห่ง และสำนักงานตัวแทนอีก 1 แห่ง

เจ้าหน้าที่ผู้เชี่ยวชาญของธนาคารกรุงเทพยินดีและพร้อมให้คำปรึกษาแนะนำแก่ท่านทุกแง่มุมเกี่ยวกับการค้าระหว่างประเทศอย่างมืออาชีพที่ สำนักธุรกิจ ทุกแห่งของธนาคาร ธนาคารยินดีให้ความช่วยเหลือและคำแนะนำผ่านสาขาต่างประเทศของธนาคารกรุงเทพ และ สายงานต่างประเทศ ตลอดจน ฝ่ายธุรกิจสัมพันธ์จีนจากเหตุผลดังกล่าวจึงทำให้มีความเชื่อมั่นว่าช่วยให้ธุรกิจดำเนินไปได้ดี

สิ่งที่ธนาคารกรุงเทพควรปรับปรุงควรตระหนักถึงปัจจัยความเสี่ยงต่างๆ อันอาจจะเกิดขึ้นและส่งผลกระทบต่อการประกอบธุรกิจของธนาคาร จึงได้มีการพิจารณาเตรียมการและกำหนดแนวทางในการบริหารความเสี่ยงแต่ละด้าน โดยในช่วงที่ผ่านมา ธนาคารได้วิเคราะห์ถึงปัจจัยแห่งความเสี่ยงที่สำคัญที่อาจจะมีผลกระทบต่อการประกอบการธุรกิจการเงิน และได้ดำเนินการทบทวน ปรับปรุงโครงสร้างองค์กรและกระบวนการในการบริหารความเสี่ยงด้านต่างๆอย่างต่อเนื่อง เพื่อเสริมสร้างให้ระบบการบริหารความเสี่ยงของธนาคารได้มาตรฐานเทียบเคียงระดับสากล และมีความพร้อมในการรองรับการบริหารความเสี่ยงตามแนวทางของหลักเกณฑ์

 

นางสาวแสงระวี ศรีราปราน 50473010002 เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

โจทย์  หารูป  L/C ,  L/G , P/C , T/R , Avalled 

1.  เลตเตอร์ออฟเครดิต : Letter  of  Credit  (L/C)

2.  หนังสือค้ำประกัน  :  Letter  of  Guarantee (L/G)

3. แพคกิ้งเครดิต  :  Packing  Credit  (P/C)

4.  ทรัสต์รีซีท  :  Trust  Receipt  (T/R) 

5.  การรับรองและอาวัลตั๋ว  :  Avalled  / Accepted  Bills

นางสาวน้ำฝน เพาะจะโปะ

 

นางสาวน้ำฝน  เพาะจะโปะ  รหัสนักศึกษา 50473010009  

 โปรแกรมวิชาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

MY STUDENTS , IN CASE OF YOU ARE BUSINESS MAN , YOU WILL CONTACT MANY COMMERCIAL BANKS ALL TIME. SO ALL OF YOU MUST KNOW ABOUT SERVICES AND ORGANIZATION CHART OF THOSE BANKS IN ORDER TO SUPPORT YOUR FIRMS.    

1. SEARCH ORGANIZATION CHART ALL COMMERCIAL BANKS AND COMMENT WHY YOU CHOOSE THAT BANK TO SUPPORT YOUR BUSINESS.

2. THAT BANK SHOULD IMPROVE WHAT SERVICES  TO MEET YOUR SATISFACTION . WHY ?

1. โครงสร้างธนาคารกรุงเทพ

 

 

2.  โครงสร้างธนาคารเกียรตินาคิน  

 

 

 

 

3.  ธนาคารทิสโก้ 

 

 

4. ธนาคารออมสิน

 

5.  โครงสร้างธนาคารธนชาต 

 

 

 

6.  ธนาคารนครหลวงไทย 

 

 

7.  โครงสร้างธนาคารไทยพาณิชย์ 

 

 

 

 

8.  โครงสร้างธนาคารกสิกรไทย

 

 

9.  โครงสร้างธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร 

 

 

 

10.   โครงสร้างธนาคารกรุงศรีอยุธยา

 

 

11.  โครงสร้างธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย

 

12. โครงสร้างธนาคารกรุงไทย

 

 

 

13.  โครงสร้างธนาคารอาคารสงเคราะห์

 

14.  โครงสร้างธนาคาร ซี ไอ เอ็ม บี ไทย

 

----------------------------------------------------------------------------

ธุรกิจที่ เลือกทำ  คือ ธุรกิจด้าน การปล่อยสินเชื่อในการซื้อขายรถยนต์ ธนาคารที่ไว้วางใจ คือ ธนาคารธนชาต

ธนชาต คำนี้มีความหมาย เริ่มแรกทุกกลุ่มธุรกิจใช้คำว่า ธนชาติ ซึ่งหมายถึง การเกิดแห่งทรัพย์ ต่อมาได้เปิดดำเนินการ ธนาคารธนชาต จึงใช้ชื่อว่า ธนชาต เนื่องจากติดข้อกำหนดของธนาคารแห่งประเทศไทยไม่อนุญาตให้ใช้คำว่า ชาติ อยู่ในชื่อของธนาคารพาณิชย์ ดังนั้นเพื่อเป็นการง่ายต่อการสร้างความจดจำในการสื่อสารเรื่องแบรนด์ ทุกบริษัทในกลุ่มธนชาตจึงเปลี่ยนมาใช้ ธนชาต เป็นต้นมา ซึ่ง ธนชาต หมายถึง ทรัพย์ที่เกิดแล้ว

ก่อนมาเป็น ธนาคารธนชาต ในปี 2541 กระทรวงการคลังประกาศออกใบอนุญาตประกอบการธนาคารพาณิชย์แบบจำกัดขอบเขตธุรกิจ แทน ใบอนุญาตประกอบการ Super Finance ตามนโยบายสนับสนุนการรวมกิจการระหว่างสถาบันการเงิน โดยธนาคารพาณิชย์ที่จะยื่นขอจะต้องเกิดจากการรวมกิจการอย่างน้อย 5 แห่ง และมีเงินกองทุนไม่ต่ำกว่า 10,000 ล้านบาท (หลังหักสำรองค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญแล้ว) ต่อมาในปี 2542 บริษัท ทุนธนชาต จำกัด (มหาชน) ได้ยื่นต่อธนาคารแห่งประเทศไทยเพื่อขออนุมัติใบอนุญาตประกอบการธนาคารพาณิชย์แบบจำกัดขอบเขตธุรกิจ จากนั้นธนาคาร ธนชาตก็ได้เริ่มเปิดให้บริการเป็นวันแรกในวันที่ 22 เมษายน และในวันที่ 1 มีนาคม 2547 ธนาคารธนชาต จำกัด (มหาชน) ก็ได้รับใบอนุญาตประกอบการธนาคารพาณิชย์เต็มรูปแบบ หลังจากนั้น ธนาคารแห่งโนวาสโกเทีย (สโกเทียแบงค์) ธนาคารที่ได้รับการยอมรับโดยทั่วไปว่าเป็นธนาคารที่มีความมั่นคงอันดับต้นๆ ของโลก ได้เข้ามาร่วมถือหุ้นธนาคารธนชาตอยู่ร้อยละ 49 เมื่อวันที่ 3 ก.พ.2552 และเมื่อวันที่ 11 มี.ค.53 ธนาคารธนชาตได้รับเลือกจากกองทุนฟื้นฟูฯ ให้เข้าซื้อหุ้นธนาคารนครหลวงไทย จำนวน 1,005,330,950 หุ้น (47.58%) ในราคาหุ้นละ 32.50 บาท ซึ่งจะทำให้ธนาคารธนชาตเป็นธนาคารพาณิชย์อันดับ 5 ของไทย มีสินทรัพย์ 8.57 แสนล้านบาท มีสาขารวม 687 แห่งทั่วประเทศ มีเครื่องเอทีเอ็มจำนวน 2,101 เครื่อง

(ข้อดี)

     มีการกำหนดโครงสร้างการบริหารทางบริษัทที่ชัดเจนบริการทางการเงินของแต่ละธุรกิจให้สามารถแข่งขันได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสร้างสรรค์นวัตกรรมทางการเงินทั้งด้านผลิตภัณฑ์และบริการที่ผนวกรวมบริการทางการเงินของต่างธุรกิจในกลุ่มเข้าด้วยกัน เพื่อสามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้า และทำให้ลูกค้าเกิดความพึงพอใจสูงสุดทั้งด้านคุณภาพและจริยธรรม 

(ข้อเสีย)

ขาดการบริหารทางด้านความเสี่ยงสายงานการบริหารสินเชื่อ

 

เป็นผลิตภัณฑ์ที่สนองตอบความต้องการของผู้บริโภคที่ต้องการสินเชื่อเงินสด และยังมีรถไว้ใช้งาน โดยนำรถยนต์ที่เป็นกรรมสิทธิ์ของตนเองมาทำเช่าซื้อรถยนต์มือสองและโอนกรรมสิทธิ์เป็นของธนาคารธนชาต โดยมีข้อผูกพันในการผ่อนชำระเป็นรายเดือน และเมื่อลูกค้าได้ชำระค่างวดจนครบถ้วนตามสัญญาแล้ว กรรมสิทธิ์การเป็นเจ้าของรถจะกลับคืนเป็นของลูกค้า

จุดเด่นของผลิตภัณฑ์

 1.อัตราดอกเบี้ยต่ำ

2.ให้ยอดจัดเช่าซื้อสูง เหมาะสมกับสภาพรถยนต์แต่ละยี่ห้อ

3.ระยะเวลาการผ่อนชำระนานสูงสุด 60 เดือน (5ปี)

4.ขั้นตอนไม่ยุ่งยากและอนุมัติผลรวดเร็ว

5.สามารถให้บริการได้ทั่วประเทศที่ธนาคารธนชาตทุกสาขา

ช่องทางการชำระเงิน

1.ชำระที่เคาน์เตอร์ ธนาคารธนชาตทุกสาขา

2.ชำระโดยการหักอัตโนมัติผ่านบัญชีธนาคารธนชาต (Direct Debit)

3.ชำระผ่านตู้ ATM ธนาคารธนชาต

4.ชำระที่เคาน์เตอร์ธนาคารกรุงไทย ธนาคารออมสิน ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร หรือ ธนาคารนครหลวงไทย

5.ชำระที่เคาน์เตอร์ไปรษณีย์ไทยทั่วประเทศ (Pay At Post)

จากที่กล่าวมานี้จึงทำให้ธนาคารธนชาตเป็นธนาคารที่น่าไว้วางใจในการปล่อยสินเชื่อ รถยนต์และเป็นธนาคารที่มีความเจริญเติบโตโดยรวดเร็วมีความ ว่องไวและมีเสถียรภาพสูง

 

 

นางสาวน้ำฝน เพาะจะโปะ

 

นางสาวน้ำฝน  เพาะจะโปะ  รหัสนักศึกษา 50473010009  

 

โปรแกรมวิชาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

 

หารูป  L/C ,  L/G , P/C , T/R , Avalled 

1.  เลตเตอร์ออฟเครดิต : Letter  of  Credit  (L/C)

 

 

2.  หนังสือค้ำประกัน  :  Letter  of  Guarantee (L/G)

 

 

- หนังสือค้ำประกันยื่นซองประกวดราคา (bid  bond)

 

-หนังสือค้ำประกันการดำเนินโครงการตามสัญญา (performance  bond)

 

3.  แพคกิ้งเครดิต  :  Packing  Credit  (P/C)

 

4.  ทรัสต์รีซีท  :  Trust  Receipt  (T/R) 

 

5.  การรับรองและอาวัลตั๋ว  :  Avalled  / Accepted  Bills

 

นางสาวนิรมล สายวงษ์คำ โปรแกรมเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ รหัสนักศึกษา 50473010005

1โครงสร้างองค์กรธนาคารออมสิน

2โครงสร้างองค์กรธนาคารกรุงเทพ

3โครงสร้างองค์กรธนาคารกรุงไทย

4โครงสร้างองค์กรธนาคารกรุงศรีอยุธยา

5โครงสร้างองค์กรธนาคารกสิกรไทย

6โครงสร้างองค์กรธนาคารเกียรตินาคิน  

7โครงสร้างองค์กรธนาคารซี ไอ เอ็ม บี ไทย 

8โครงสร้างองค์กรธนาคารไทยพาณิชย์

9โครงสร้างองค์กรธนาคารธนชาติ

10โครงสร้างองค์กรธนาคารนครหลวงไทย

 

 

 

 

 

 

นางสาวนิรมล สายวงษ์คำ โปรแกรมเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ รหัสนักศึกษา 50473010005

11โครงสร้างองค์กรธนาคารไทยเครดิตเพื่อรายย่อย จำกัด

12โครงสร้างองค์กรธนาคารเมกะ

13โครงสร้างองค์กรธนาคารแลนด์แอนด์เฮ้าส์

14โครงสร้างองค์กรธนาคารสินเอเชีย

15โครงสร้างองค์กรธนาคารพัฒนาวิสาหกิจ

16โครงสร้างองค์กรธนาคารเพื่อการนำเข้าและการส่งออกแห่งประเทศไทย

17โครงสร้างองค์กรธนาคารอาคารสงเคราะห์

18โครงสร้างองค์กรธนาคารทิสโก้

19โครงสร้างองค์กรธนาคารแห่งประเทศไทย

20ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร

ธุรกิจที่ข้าพเจ้าเลือกทำคือ ธุรกิจอัญมณีและเครื่องประดับ ธนาคารที่เลือกให้มาสนับสนุนคือ ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดย่อม    

ซึ่งในปีพ.ศ.2507คณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบโครงการเงินกู้เพื่อส่งเสริมอุตสาหกรรมขนาดย่อมตามที่สภาพัฒนาการเศรษฐกิจแห่งชาติเสนอ และได้มีการจัดตั้งสำนักงานเงินกู้เพื่อส่งเสริมอุตสาหกรรม ขนาดย่อมขึ้นเป็นหน่วยงาน ภายใต้การกำกับดูแลของกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม เพื่อทำหน้าที่ให้การสนับสนุนทางการเงิน แก่ธุรกิจอุตสาหกรรมขนาดย่อม และในเวลาต่อมาได้เปลี่ยนชื่อ เป็นสำนักงานธนกิจอุตสาหกรรมขนาดย่อม (สธอ.) แต่ เนื่องจาก สธอ. มีฐานะเป็นหน่วยงานราชการในการดำเนินงาน จึงมีข้อจำกัดในเรื่องแหล่งเงินทุนที่จะใช้ต้องอาศัย จากงบประมาณแผ่นดินเพียงแหล่งเดียว การอำนวยสินเชื่อต่างๆ ถือหลักปฏิบัติเช่นเดียวกับหน่วยงานราชการทั่วไปทำให้ขาด ความคล่องตัวในการดำเนินงาน และนอกจากนี้ธนาคารนี้มีการให้สินเชื่อสำหรับผู้ที่ทำธุรกิจอัญมณีและเครื่องประโดยเฉพาะเพื่อให้ผู้ประกอบการธุรกิจอัญมณีและเครื่องประดับสามารถนำอัญมณีแท้มาเป็นหลักประกันในการขอสินเชื่อเพื่อเป็นเงินทุนหมุนเวียนระยะสั้นเสริมสภาพคล่องในกิจการโดยมีกลุ่มธุรกิจเป้าหมายคือผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในกลุ่มธุรกิจเกี่ยวกับอัญมณีและเครื่องประดับ เช่น ผู้นำเข้า ผู้เผา ผู้เจียระไน ผู้ผลิต ผู้จำหน่าย ผู้ส่งออกเครื่องประดับที่ทำจากอัญมณีแท้ทางธนาคารได้กำหนด

คุณสมบัติผู้กู้  เป็นผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมที่เป็นสมาชิกของสมาคมใดสมาคมหนึ่ง คือ สมาคมผู้ค้าอัญมณีไทยและเครื่องประดับ หรือสมาคมผู้ผลิตอัญมณีและเครื่องประดับไทย หรือสมาคมผู้ค้าอัญมณีและเครื่องประดับจันทบุรี และสมาคมที่ผู้ประกอบการเป็นสมาชิกให้การรับรองและเป็นเจ้าของอัญมณีที่จะนำมาจำนำเป็นหลักประกันการขอเงินกู้

วงเงินสินเชื่อต่อราย  เพื่อให้ผู้ประกอบการธุรกิจอัญมณีและเครื่องประดับสามารถนำอัญมณีแท้มาเป็นหลักประกันในการขอสินเชื่อเพื่อเป็นเงินทุนหมุนเวียนระยะสั้นเสริมสภาพคล่องในกิจการ

ประเภทสินเชื่อ   สัญญาเบิกเงินทุนหมุนเวียน (P/N) อายุการใช้วงเงินคราวละ 1 ปี ทบทวนวงเงินทุกปี โดยผู้กู้ออกตั๋วสัญญาใช้เงิน (P/N) ระยะสั้น  ระยะเวลาครบกำหนดตามตั๋วสัญญาใช้เงิน (P/N) ไม่เกิน   3 เดือน หรือ 90 วัน

อัตราดอกเบี้ย  คิดส่วนลดในอัตรา MLR ต่อปี  โดยให้หักส่วนลด (Discount) ทันทีที่มีการเบิกจ่ายเงินกู้  
หลักประกัน  จำนำอัญมณีที่รับเป็นหลักประกัน (ตามประกาศของธนาคารมีจำนวน 48 ชนิด)

  • เป็นอัญมณีที่ผ่านการตรวจสอบและรับรองจากสถาบันวิจัยและพัฒนาอัญมณีและเครื่องประดับแห่งชาติ (องค์การมหาชน) (GIT) และมีบริษัทประเมินอัญมณี จำกัด เป็นผู้ประเมินราคาอัญมณี
  • มูลค่าคิดเป็นหลักประกัน ตั้งแต่ร้อยละ 30 - 50  ของราคาที่บริษัท ประเมินอัญมณี จำกัด ประเมินราคา
  • ต้องมีผู้ค้ำประกันที่เป็นบุคคลธรรมดา (ไม่จำกัดอายุสูงสุด) หรือนิติบุคคลค้ำประกันเต็มวงเงิน หรือค้ำประกันเป็นครั้ง ๆ เต็มวงเงินตามตั๋วสัญญาใช้เงิน (P/N) ที่กู้ในแต่ละครั้ง โดยสามารถค้ำประกันผู้กู้ได้หลายราย มีเงื่อนไขดังนี้
    • ให้มีเงินฝากของผู้ค้ำประกันเป็นประกันเต็มจำนวนตามตั๋ว P/N  หรือ
    • ให้มีหนังสือค้ำประกันการชำระหนี้จากธนาคารหรือสถาบันการเงินอื่นที่เชื่อถือได้เต็มจำนวน  หรือ
    •  ให้พิจารณาอนุมัติวงเงินการค้ำประกันและ/หรือวงเงินอาวัลตั๋วสัญญาใช้เงินของผู้กู้ให้กับผู้ค้ำประกันเพื่อสามารถค้ำประกัน/อาวัลตั๋วสัญญาใช้เงินให้ผู้กู้ได้หลายรายและ/หรือหลายครั้งภายในวงเงินรวมที่ธนาคารอนุมัติโดยไม่มีหรือมีหลักประกันตามเกณฑ์ธนาคารเป็นประกัน เช่น ที่ดิน ที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้าง สิ่งปลูกสร้าง ฯลฯ เป็นหลักประกันโดยอาจมีราคาประเมินต่ำกว่าวงเงินค้ำประกันรวมก็ได้ หรือมีเงินฝาก หรือหนังสือค้ำประกัน ค้ำประกันเป็นบางส่วน ของวงเงินค้ำประกันรวม

เงื่อนไขพิเศษ  การยื่นขอวงเงินกู้/ค้ำประกัน ลูกค้าทั่วประเทศยื่นขอวงเงินกู้/ค้ำประกันได้ที่ฝ่ายสินเชื่อ 3

การจำนำอัญมณีและเก็บรักษาที่เป็นหลักประกัน ให้ฝ่ายพิธีการสินเชื่อเป็นผู้ดำเนินการร่วมกับบริษัท ประเมินอัญมณี จำกัด

 

อัตราดอกเบี้ยเงินกู้และส่วนลด

 

 

ประเภทอัตราดอกเบี้ยเงินกู้
และส่วนลด

อัตราดอกเบี้ย
(ร้อยละต่อปี )

ระยะเวลาประกาศ

อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ขั้นต่ำ ( MLR ) ( MINIMUM LOAN RATE )

7

ตั้งแต่วันที่ 2 มีนาคม 2552 เป็นต้นไปจนกว่าจะมีประกาศเปลี่ยนแปลง

อัตราดอกเบี้ยเงินให้กู้ยืมตามโครงการสินเชื่อ Fast Track

 

ตั้งแต่วันที่ 15 ธันวาคม 2548 เป็นต้นไปหรือ จนกว่าจะมีการเปลี่ยนแปลง

1. สำหรับผู้ขอกู้ทั่วไป

12.00

2. สำหรับผู้ขอกู้ที่มีใบรับรองผ่านการอบรมจากหน่วยงานพันธมิตรของธนาคาร

8.00

อัตราดอกเบี้ยและส่วนลดเครดิตการค้า ( MFR ) ( MINIMUM FACTORING RATE )

7.50

ตั้งแต่วันที่ 24 เมษายน 2552 เป็นต้นไปหรือ จนกว่าจะมีการเปลี่ยนแปลง

อัตราดอกเบี้ยขั้นต่ำ สำหรับการให้สินเชื่อลิสซิ่ง ( MINIMUM LEASING RATE : MLSR )

7.25

ตั้งแต่วันที่ 24 เมษายน 2552 เป็นต้นไปหรือ จนกว่าจะมีการเปลี่ยนแปลง

อัตราดอกเบี้ยขั้นต่ำ ( FLAT RATE )สำหรับการให้สินเชื่อเช่าซื้อ ( MINIMUM HIRE-PURCHASE RATE : MHR )

3.75

ตั้งแต่วันที่ 24 เมษายน 2552 เป็นต้นไปหรือ จนกว่าจะมีการเปลี่ยนแปลง

อัตราดอกเบี้ยลูกค้าเพื่อการส่งออก สำหรับการให้สินเชื่อเพื่อการส่งออกของลูกค้า รายย่อย ในวงเงิน ไม่เกิน 15 ล้านบาท และเป็นไป ตามเงื่อนไขที่ธนาคารฯ กำหนด

เท่ากับอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ขั้นต่ำ (MLR)

ตั้งแต่วันที่ 24 เมษายน 2552 เป็นต้นไปหรือ จนกว่าจะมีการเปลี่ยนแปลง

อาจารย์ค่ะ

ข้อความที่ 115 คือข้อความของนางสาวนิรมล สายวงษ์คำ

โปรแกรมเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

รหัสนักศึกษา 50473010005

นางสาวพรพิมล พรหหมผาบ 50473010056 เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

โครงสร้างองค์กรธนาคารกรุงศรีอยุธยา

 

 

 

 

 

 

 

 

โครงสร้างองค์กรธนาคารกรุงไทย จำกัด  (มหาชน)

 

 

 

 

 

 

 

 

โครงสร้างองค์กรธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด  (มหาชน)

 

 

 

 

 

 

 

 

โครงสร้างองค์กรธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน)

 

 

 

 

 

 

 

 

โครงสร้างองค์กรธนาคารกสิกรไทย จำกัด  (มหาชน) 

 

 

 

 

 

 

 

 

โครงสร้างองค์กรธนาคารออมสิน

 

 

 

 

 

 

 

 

โครงสร้างองค์กรธนาคารนครหลวง

 

 

 

 

 

 

 

 

 คณะกรรมการทหารไทย จำกัด  (มหาชน)

รายนาม 

 

 

 

 

ตำแหน่ง 

 

 

 

 

นางเสาวนีย์ กมลบุตร

 

 

 

 

ประธานกรรมการ

 

 

 

 

พลเอก อนุพงษ์ เผ่าจินดา

 

 

 

 

กรรมการ

 

 

 

 

นายวิจิตร สุพินิจ

 

 

 

 

กรรมการ / กรรมการอิสระ

 

 

 

 

นายฟิลลิป จี.เจ.อี.โอ. ดามัส

 

 

 

 

กรรมการ

 

 

 

 

นายอวิรุทธ์ วงศ์พุทธพิทักษ์

 

 

 

 

กรรมการ / กรรมการอิสระ

 

 

 

 

นายกฤษฏา อุทยานิน

 

 

 

 

กรรมการ

 

 

 

 

นายวิลเล็ม เฟรดเดอริค นาเจล

 

 

 

 

กรรมการ

 

 

 

 

นายธารา ธีรธนากร

 

 

 

 

กรรมการ / กรรมการอิสระ

 

 

 

 

นายวอน นิเจล ริกเตอร์

 

 

 

 

กรรมการ

 

 

 

 

นายอมร อัศวานันท์

 

 

 

 

กรรมการ

 

 

 

 

นายคริสโตเฟอร์ จอห์น คิง

 

 

 

 

กรรมการ / กรรมการอิสระ

 

 

 

 

นายบุญทักษ์ หวังเจริญ

 

 

 

 

กรรมการ / ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

 

 

 

 

 

รายนาม 

 

 

 

 

ตำแหน่ง 

 

 

 

 

นายวิจิตร สุพินิจ

 

 

 

 

ประธานกรรมการ

 

 

 

 

นายอวิรุทธ์ วงศ์พุทธพิทักษ์

 

 

 

 

กรรมการ

 

 

 

 

นายคริสโตเฟอร์ จอห์น คิง

 

 

 

 

กรรมการ

 

 

 

 

 

รายนาม 

 

 

 

 

ตำแหน่ง 

 

 

 

 

นายฟิลลิป จี.เจ.อี.โอ. ดามัส

 

 

 

 

ประธานกรรมการ

 

 

 

 

นายกฤษฏา อุทยานิน

 

 

 

 

กรรมการ

 

 

 

 

นายวอน นิเจล ริกเตอร์

 

 

 

 

กรรมการ

 

 

 

 

นายอมร อัศวานันท์

 

 

 

 

กรรมการ

 

 

 

 

นายบุญทักษ์ หวังเจริญ

 

 

 

 

กรรมการ

 

 

 

 

 

รายนาม 

 

 

 

 

ตำแหน่ง 

 

 

 

 

นายกฤษฏา อุทยานิน

 

 

 

 

ประธานกรรมการ

 

 

 

 

นายวิลเล็ม เฟรดเดอริค นาเจล

 

 

 

 

กรรมการ

 

 

 

 

นายอมร อัศวานันท์

 

 

 

 

กรรมการ

 

 

 

 

นายบุญทักษ์ หวังเจริญ

 

 

 

 

กรรมการ

 

 

 

 

นายบาร์ท เอฟ.เอ็ม. เฮลเลแมนส์

 

 

 

 

กรรมการ

 

 

 

 

 

รายนาม 

 

 

 

 

ตำแหน่ง 

 

 

 

 

นายอวิรุทธ์ วงศ์พุทธพิทักษ์

 

 

 

 

ประธานกรรมการ

 

 

 

 

นายฟิลลิป จี.เจ.อี.โอ. ดามัส

 

 

 

 

กรรมการ

 

 

 

 

นายกฤษฏา อุทยานิน

 

 

 

 

กรรมการ

 

 

 

 

นายคริสโตเฟอร์ จอห์น คิง

 

 

 

 

กรรมการ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

รายนาม 

 

 

 

 

ตำแหน่ง 

 

 

 

 

นายวิลเล็ม เฟรดเดอริค นาเจล

 

 

 

 

ประธานกรรมการ

 

 

 

 

นายธารา ธีรธนากร

 

 

 

 

กรรมการ

 

 

 

 

นายอมร อัศวานันท์

 

 

 

 

กรรมการ

 

 

 

 

นายบุญทักษ์ หวังเจริญ

 

 

 

 

กรรมการ

 

 

 

 

นายบาร์ท เอฟ.เอ็ม. เฮลเลแมนส์

 

 

 

 

กรรมการ

 

 

 

 

 

 

 

 

  โครงสร้างธนาคารธนชาต

 

 

 

  

 

 

โครงสร้างองค์กรธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร 

 

 

 

 

 

 

 

 

ผังโครงสร้างองค์กรธนาคาร C.I.M.B

 

 

 

 

โครงสร้างองค์กรธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย

 

 

 

 

 

 

 

โครงสร้างธนาคารอาคารสงเคราะห์ 

 

 

 

 

โครงสร้างธนาคารแห่งประเทศไทย

 

 

 

 

  โครงสร้างธนาคารทิสโก้  

 

 

 

 

 

โครงสร้างธนาคารเกียรตินาคิน

 

 

 

 

โครงสร้างองค์กรธนาคารออมสิน

 

 

 

 ธุรกิจที่ดิฉันเลือกทำ  คือ ธุรกิจด้านการผลิตเพื่อการส่งออก (เฟอร์นิเจอร์ภายในบ้าน)ประเภทที่เป็นไม้สัก ธนาคารที่เลือกให้มาสนับสนุนธุรกิจ คือ ธนาคารเพื่อการสงออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย

 

เหตุผลที่เลือกธนาคาร EXIM BANK  เพราะ  ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย มีงานบริการด้านต่าง ๆ เพื่อสำหรับการส่งออกและนำเข้าโดยเฉพาะ  และทางธุรกิจของเราก็ประกอบธุรกิจการผลิตสินค้าเพื่อส่งออกประเภท  เฟอร์นิเจอร์ภายในบ้าน (ไม้สัก)

 

            โดยธนาคารมีงานบริการด้านต่าง ๆที่มาสนับสนุนธุรกิจของดิฉัน  เช่น สินเชื่อเพื่อขยายกำลังการผลิต  สินเชื่อเพื่อผู้ผลิตเพื่อผู้ส่งออก  และสินเชื่อเพื่อสนับสนุนการขยายเครื่องจักร

 
  1. 1.              สินเชื่อเพื่อขยายกำลังการผลิต=  เป็นสินเชื่อระยะกลาง-ยาวเพื่อให้ผู้ส่งออกนำเงินไปใช้ในการขยายกำลังผลิตของกิจการ เช่น การลงทุนขยายโรงงาน การซื้อเครื่องจักรเพิ่มเติม และการลงทุนในสินทรัพย์ถาวรอื่นๆ รวมทั้งการสร้างโรงงานใหม่ภายในประเทศ ทั้งนี้ต้องเป็นกิจการที่ผลิตสินค้าเพื่อส่งออกเป็นส่วนใหญ่ หรือเป็นกิจการที่มีรายได้เป็นเงินตราต่างประเทศ หรือเป็นกิจการที่ผลิตสินค้าทดแทนการนำเข้า ซึ่งเป็นกิจการที่ดำเนินการอยู่แล้วหรือเป็นกิจการที่จัดตั้งขึ้นใหม่

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ระยะเวลา

 

 

 

 

 

 

 

 

 

          2-5 ปี โดยมีกำหนดชำระคืนตามความสามารถในการหารายได้ของกิจการ
หมายเหตุ กรณีที่ผู้ส่งออกต้องการเปิด L/C หรือ DL/C เพื่อสั่งซื้อเครื่องจักร ธสน. สามารถเปิด L/C หรือ DL/C ให้ได้ภายในวงเงินสินเชื่อเพื่อขยายกำลังผลิต

 

  1. 2.              สินเชื่อเพื่อผู้ผลิตเพื่อผู้ส่งออก = เป็นวงเงินหมุนเวียนที่ให้กู้เป็นสกุลเงินบาทสำหรับผู้ส่งออกทางอ้อม (ผู้ผลิตเพื่อผู้ส่งออก) เพื่อนำเงินไปใช้ในการจัดเตรียมสินค้าทั้งในช่วงก่อนและหลังการส่งมอบสินค้า โดยสามารถนำเอกสารการสั่งซื้อที่ได้รับจากผู้ส่งออก และ/หรือ สำเนาใบกำกับสินค้าที่มีการเซ็นรับสินค้าแล้วมาขอกู้เงินจากธนาคารได้ รวมถึงการนำเข้าวัตถุดิบมาผลิตให้แก่ผู้ส่งออก

 

 

            โดยการบริการด้านการให้สินเชื่อเพื่อขยายกำลังการผลิตและสินเชื่อผู้ผลิตเพื่อผู้ส่งออก  ระยะเวลาการชำระเงินคืนนั้น  ทางธนาคารให้ชำระคืนตามความสามารถในการหารายได้ของผู้ผลิตที่ส่งออกสินค้าไปยังต่างประเทศแต่บางกรณีรายได้ที่ได้มานั้นอาจจะไม่พอต่อการชำระคืนตามงวด  เพราะอาจเนื่องมาจากภาวะเศรษฐกิจในช่วงนั้น  ทำให้การดำเนินธุรกิจเป็นไปได้อย่างราบรื่น

 

 

 

สิ่งที่ทางธนาคารควรจะปรับปรุงคือ  -  กรณีการที่ทางผู้ผลิตขอสินเชื่อเพื่อสนับสนุนการขยายเครื่องจักรนั้นที่ทางธนาคารได้มีการให้ผู้ผลิตผ่อนชำระภายในระยะเวลา 7 ปี  เห็นควรว่าระยะเวลา อาจเร็วเกินไป ในการชำระหนี้  เพราะเครื่องจักรแต่ละตัวนั้นราคาค่อนข้างสูง  และในสมัยนี้เทคโนโลยีทันสมัยขึ้นมามากขึ้น  คู่แข่งขันเพิ่มขึ้น  และธุรกิจที่ทำการผลิตเหมือนกันก็มีมาก ดังนั้นผู้ประกอบการแต่ละคนก็ต้องหาเครื่องจักรใหม่ ๆ เข้ามาแทนที่เพื่อให้ได้สินค้าที่แตกต่างจากคู่แข่งและปริมาณมากกว่า

 

         จึงอยากให้ทางธนาคารขยายเวลาในการผ่อนชำระเงินในด้านการขอสินเชื่อเพื่อสนับสนุนการขยายเครื่องจักรออกไปอีก  และลดอัตราดอกเบี้ยลงอีกสักนิดเพื่อให้ผู้ผลิตได้สามารถมีอำนาจในการชำระคืนเงินสม่ำเสมอ

 

 

 

..................................................................................................................................................................

 

หารูป  L/C ,  L/G , P/C , T/R , Avalled 

 

1. T/R

 

 

2.หนังสือค้ำประกัน L/G

 

 

3.P/C

4. L/C

 

5.Avalled

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ศิรินันท์ กาญจนพันธุ์วงศ์ 50473010001 เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

1. Letter of Guarantee : L/G

2.Letter of Credit

 

3. Accepted Bills

4.Packing Credit

 

5. Trust Receipt

 

 

ศิรินันทื กาญจนพันธุ์วงศ์ 50473010001 เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

1. ธนาคารไทยพาณิชย์

2. ธนาคารกรุงเทพ

3.ธนาคารกสิกรไทย

4.ธนาคารกรุงศรีอยุธยา

5.ธนาคารกรุงไทย

6.ธนาคารเกียรตินาคิน

7.ธนาคารนครหลวง

นายณัฐพงศ์ พงศ์กิดาการ
โครงสร้างธนาคารแห่งประเทศไทย
 
โครงสร้างธนาคารไทยพาณิชย์
 
โครงสร้างธนาคารธนชาต
    
โครงสร้างธนาคารกรุงเทพ
    
โครงสร้างธนาคารกรุงศรีอยุธยา

โครงสร้างธนาคารกรุงไทย
 
โครงสร้างธนาคารกสิกรไทย

โครงสร้างธนาคารออมสิน

โครงสร้างธนาคารนครหลวงไทย
  
โครงสร้างเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร

โครงสร้างธนาคารซีไอเอ็มบีไทย

โครงสร้างธนาคารอาคารสงเคราะห์

โครงสร้างธนาคารทิสโก้

โครงสร้างธนาคารเกียรตินาคิน

โครงสร้างธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย
ศิรินันท์ กาญจนพันธุ์วงศ์ 50473010001 เศรษฐศาสตร์

8. ธนาคารธนชาต

9.ธนาคารออมสิน

10. ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย

11.ธนาคาร C.I.M.B.

12.ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร

13.ธนาคารทิสโก้

14.ธนาคารอาคารสงเคราะห์

15.ธนาคารแห่งประเทศไทย

 

 

 

ศิรินันท์ กาญจนพันธุ์วงศ์ 50473010001 เศรษฐศสตร์ธุรกิจ

16. Land and House

17. ธนาคารสินเอเชีย

18.Exim Bank

ธุรกิจของดิฉัน คือ ธุรกิจรถยนต์มือสอง(เต็นท์รถ) ดิฉันเลือกธนาคารเกียรตินาคินเข้ามาสนับสนุนเนื่องจากธนาคารเกียตินาคินมีความเชี่ยวชาญทางด้านสินเชื่อเช่าซื้อรถยนต์ และสินเชื่อสำหรับผู้ประกอบการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์เป็นหลัก มีรายได้ส่วนมากจากสินเชื่อเช่าซื้อรถยนต์โดยมีรายได้ 3.19 หมื่อนล้านบาทมากที่สุดของสินเชื่อทั้งหมด เนื่องจากธนาคารดำเนินนโยบายต้องการทำธุรกรรมทางการเงินเฉพาะด้านที่ธนาคารมีความชำนาญมากที่สุด

ข้อเสียที่ควรปรับปรุง

      ธนาคารเกียรตินาคินเป็นธนาคารที่มีขนาดและจำนวนสาขาไม่มาก ซึ่งอาจมีสาเหตุมาจากเป็นธนาคารน้องใหม่ที่เปลี่ยนมาจากบริษัมเงินทุน จึงควรมีการปรับปรุงเพิ่มสาขามากขึ้น และทางด้านการตลาด การที่ธนาคารมีนโยบายที่แตกต่างจากธนาคารพาณิชย์อื่นๆอาจทำให้ธนาคารไม่เป็นที่รู้จักของบุคคลทั่วไป

นายณัฐพงศ์ พงศ์กิดาการ

นายณัฐพงศ์ พงศ์กิดาการ รหัสนักศึกษา 50473010024
เอก เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ
               ธุรกิจที่ผมเลือกนั้น  คือ ธุรกิจด้านสื่อสารการโฆษณาและการแสดงและธนาคารที่ผมเลือกนั้น คือ ธนาคารกรุงศรีอยุธยา เพราะว่า ธนคารกรุงศรีอยุธยา นั้น มีโครงสร้างที่แข็งแรงและมีค่าธรรมเนียมที่ถูก เพราะว่า ธนาคารกรุงศรีนั้นได้มีการปรับแผนเพื่อรองรับความเสี่ยงทางการเมือง ซึ่งธุรกิจของผมนั้นต้องการความแน่นอนด้านความมั่นคง เพราะว่าธุรกิจของผมนั้นเป็นธุรกิจที่ต้องมีเงินหนุนเวียนอยู่ตลอดเวลาและการที่ค่าธรรมเนียมถูกนั้นก็จะช่วยเซฟค่าใช้จ่ายได้ด้วย ซึ่งถ้าธนาคารนั้นไม่แข็งแกร่งหรือไม่มีผู้ระดมเงินทุนมามากนักก็คงไม่ดีนัก
               ส่วนซึ่งที่ธนาคารต้องปรับปรุงนั้น คือ อัตราดอกเบี้ยที่ยังต่ำเกินไปและตู้ ATM ที่มีอยู่น้อยไม่สามารถรองรับการ จ่าย ถอน โอนของลูกค้าในยามที่จำเป็ฯจะต้องใช้เงินในขณะนั้นเลนที่เดียว

นายเกียรติชัย เกียรติสูงส่ง

รหัสนักศึกษา 50473010045

เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

โครงสร้างธนาคารแห่งประเทศไทย

มีแต่โครงสร้างตอนต้น ปี 2540 ค่ะ ส่วนของปัจจุบันไม่มี URL ไม่สามารถ COPY ได้ค่ะ

โครงสร้างธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย

โครงสร้างธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร

โครงสร้างธนาคารอาคารสงเคราะห์

โครงสร้างธนาคารกรุงไทย

โครงสร้างธนาคารกรุงเทพ

โครงสร้างธนาคารกรุงศรีอยุธยา

โครงสร้างธนาคารกสิกรไทย

โครงสร้างธนาคารเกียรตินาคิน

โครงสร้างธนาคารออมสิน

โครงสร้างธนาคารซีไอเอ็มบี ไทย

โครงสร้างธนาคารไทยพาณิชย์

โครงสร้างการบริหารงาน

โครงสร้างธนาคารธนชาต

โครงสร้างธนาคารนครหลวงไทย

โครงสร้างธนาคารทิสโก้

ธุรกิจที่ดิฉันเลือกทำ คือ ธุรกิจด้านอสังหาริมทรัพย์ (บ้านและที่ดิน) ธนาคารที่เลือกให้มาสนับสนุนธุรกิจ คือ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำกัด (มหาชน)

เหตุที่เลือกธนาคารนี้ เพราะว่า ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำกัด (มหาชน) เกิดจากแนวคิดของบริษัทแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทควอลิตี้เฮ้าส์ จำกัด (มหาชน) ซึ่งทั้ง 2 บริษัทนี้เป็นบริษัทที่ได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและได้ดำเนินธุรกิจด้านการพัฒนาและบริหารโครงสร้างอสังหาริมทรัพย์ โดยมีส่วนแบ่งการตลาดรวมเป็นอันดับหนึ่ง จึงมีความน่าเชื่อถือที่จะร่วมทำธุรกรรมด้วย อีกทั้งยังมีผู้เชี่ยวชาญและผู้มีความรู้ในการให้ข้อมูลเกี่ยวกับข้อสงสัยในการประกอบธุรกิจด้านอสังหาริมทรัพย์

ธนาคารมีการพิจาณาในด้านสินเชื่อเน้นไปที่เงินกู้เพื่อการเคหะของสินเชื่อโดยรวมทั้งหมด 60% และ40% จะเป็นสินเชื่อประเภทเอสเอ็มอี เนื่องจากว่าในส่วนของสินเชื่อเคหะมีข้อดีตรงที่มีหลักประกันที่ชัดเจน และทางธนาคารแห่งประเทศไทยก็ให้ความสนใจในเรื่องนี้เป็นสำคัญ เพราะถือว่าเป็นฐานเงินทุนที่มีประสิทธิภาพสูง

การปล่อยสินเชื่อรายย่อยอื่นคงมีแต่จะเป็นส่วนน้อย เป็นองค์ประกอบ เพราะเรา LH BANK จะเน้นการปล่อยสินเชื่อบ้านและที่ดินให้กับลูกค้ารายย่อย แต่ละล็อตที่ปล่อยไปถึงจุดๆหนึ่งจะนำมารวมกันขายออกไปและนำเงินที่ได้มาปล่อยสินเชื่อใหม่ ทำให้ธนาคารนั้นไม่มีลูกหนี้มาก สินทรัพย์ไม่โตมาก เพราะเป็นที่ธนาคารที่มีรายได้จาการปล่อยสินเชื่อให้ลูกค้า

โดยได้ค่าฟีในการบุ๊คให้ลูกค้าและนำมาขายอีกที ดังนั้นจะมีรายได้เรื่องของค่าฟีและการติดตามเก็บหนี้ลูกค้าให้ แต่สินเชื่อในตัวงบดุลไม่สูงตามเพราะการนำหนี้ไปขาย สินเชื่อบ้านเป็นสินเชื่อที่แน่นอนตรงที่มีระยะเวลาที่ยาวนาน เป็น 10 ถึง 20 ปีดังนั้นความเสี่ยงก็ไม่มากนัก

จากเหตุผลที่กล่าวมาข้างต้น จึงสรุปได้ว่า ถ้าดิฉันจะประกอบธุรกิจด้านอสังหาริมทรัพย์ ดิฉันควรจะเลือกธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำกัด (มหาชน) เพราะเป็นธนาคารที่จัดตั้งขึ้นมาสำหรับด้านนี้โดยเฉพาะ เนื่องจากได้เล็งเห็นว่าประเทศไทยควรมีสถาบันการเงินที่เป็นทางเลือกใหม่ให้กับผู้บริโภค และได้ผ่านการยอมรับจากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยแล้ว

สิ่งที่ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำกัด (มหาชน) ควรจะปรับปรุง ก็คือ การขยายสาขาให้มีมากยิ่งขึ้น เนื่องจากตอนนี้จะเห็นได้ว่านักธุรกิจส่วนใหญ่หันมาประกอบธุรกิจทางด้านอสังหาริมทรัพย์มากขึ้น สังเกตได้จากคอนโดย่านต่างๆที่ก่อสร้างขึ้นมาอย่างรวดเร็ว ถ้าธนาคารขยายสาขามากกว่านี้ก็จะทำให้รองรับ และ ให้ความสะดวกสบายกับผู้ประกอบการธุรกิจในด้านอสังหาริมทรัพย์มากยิ่งขึ้น

นายณัฐพงศ์ พงศ์กิดาการ

นายณัฐพงศ์ พงศ์กิดาการ รหัสนักศึกษา 50473010024
เอก เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ
1.เลตเตอร์ออฟเครดิต LETTER OF CREDIT (L/C)

2.หนังสือคัประกัน LETTER OF GUARANTEE(L/G)

3.เครดิตบรรจุ PACKING CREDIT(P/C)

4.ทรัสต์รีสีตTRUST RECEIPT(T/R)

อัครวัฒน์ พฤกษชาติเจริญ รหัส 50473010046

ธุรกิจที่ผมคิดไว้ คือ ธุรกิจอุสาหกรรมแปรรูป เช่น ตัดเย็บเสื้อผ้า ที่ผมเลือกธนาคารกสิกรไทย เข้ามาสนับสนุนเพราะธนาคารกสิกรไทยมี ความเชี่ยวชาญทางด้านสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม(SMEs) เป็นหลัก มีรายได้ส่วนมากจากสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม(SMEs) โดยมีรายได้เป็นจำนวนหลายหมื่นล้านบาทมากที่สุดของสินเชื่อทั้งหมด เนื่องจากธนาคารดำเนินนโยบายต้องการทำธุรกรรมทางการเงินเฉพาะด้านที่ธนาคาร มีความชำนาญมากที่สุด และยังมีจุดเด่นตรงที่เป็นหนึ่งในด้านประชาสัมพันธ์และอนุมัติสินเชื่อเร็ว

ข้อเสียที่ควรปรับปรุง
          ธนาคารกสิกรไทยเป็นธนาคารที่มีขนาดชั้นต้นๆที่คนรู้จัก ดังนั้นควรจะระวังหนี้สูญ ดังนั้นควรพิจารณาลูกค้าให้ดูและรอบคอบ

โครงสร้างธนาคาร

โครงสร้างองค์กรธนาคารเมกะ

โครงสร้างองค์กรธนาคารแลนด์แอนด์เฮ้าส์

โครงสร้างองค์กรธนาคารสินเอเชีย

โครงสร้างองค์กรธนาคารพัฒนาวิสาหกิจ

โครงสร้างองค์กรธนาคารเพื่อการนำเข้าและการส่งออกแห่งประเทศ ไทย

โครงสร้างองค์กรธนาคารอาคารสงเคราะห์

โครงสร้างองค์กรธนาคารทิสโก้

โครงสร้างองค์กรธนาคารแห่งประเทศไทย

ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร

โครงสร้างธนาคาร แห่งประเทศไทย

โครงสร้างธนาคาร พัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย

 

โครงสร้างธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร

 

โครงสร้างธนาคาร อาคารสงเคราะห์ 

 

โครงสร้างธนาคาร กรุงไทย 

 

โครงสร้างธนาคาร กรุงเทพ

 

โครงสร้างธนาคาร กรุงศรีอยุธยา

โครงสร้างธนาคาร กสิกรไทย

 

โครงสร้างธนาคาร เกียรตินาคิน

 

 

โครงสร้างธนาคารออมสิน

 

โครงสร้างธนาคาร ซีไอเอ็มบี ไทย

 

โครงสร้างธนาคาร ไทยพาณิชย์

โครงสร้างการบริหารงาน

 

โครงสร้างธนาคาร ธนชาต

 

โครงสร้างธนาคาร นครหลวงไทย

โครงสร้างธนาคาร ทิสโก้

 

วรนาถ สาธิตนิมิต 50473010047

วรนาถ สาธิตนิมิต 50473010047 เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

 MY STUDENTS , IN CASE OF YOU ARE BUSINESS MAN , YOU WILL CONTACT MANY COMMERCIAL BANKS ALL TIME. SO ALL OF YOU MUST KNOW ABOUT SERVICES AND ORGANIZATION CHART OF THOSE BANKS IN ORDER TO SUPPORT YOUR FIRMS.     

   YOUR ASSIGNMENT FOR THIS WEEK :

     1. SEARCH ORGANIZATION CHART ALL COMMERCIAL BANKS AND COMMENT WHY YOU CHOOSE THAT BANK TO SUPPORT YOUR BUSINESS.

      2. THAT BANK SHOULD IMPROVE WHAT SERVICES  TO MEET YOUR SATISFACTION . WHY ? 

      SEND THIS INDIVIDUAL ASSIGNMENT TO ME  IN MY BLOG AND PAPERS  NEXT WEEK.

CIMB Bank

 

SME Bank

ธ.ก.ส.

ธนาคารเกียรตินาคิน

ธนาคารไทยพาณิชย์

ธนาคารกรุงเทพ

ธนาคารกรุงไทย

ธนาคารกรุงศรีอยุธยา

ธนาคารกสิกรไทย

ธนาคารนครหลวงไทย

 

ธุรกิจที่ผมเลือก คือ ธุรกิจด้านอสังหาริมทรัพย์ (บ้านและที่ดิน) ธนาคารที่เลือกให้มาสนับสนุนธุรกิจ คือ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำกัด (มหาชน)

เหตุที่เลือกธนาคารนี้ เพราะว่า ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำกัด (มหาชน) เกิดจากแนวคิดของบริษัทแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทควอลิตี้เฮ้าส์ จำกัด (มหาชน) ซึ่งทั้ง 2 บริษัทนี้เป็นบริษัทที่ได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและได้ดำเนินธุรกิจด้านการพัฒนาและบริหารโครงสร้างอสังหาริมทรัพย์ โดยมีส่วนแบ่งการตลาดรวมเป็นอันดับหนึ่ง จึงมีความน่าเชื่อถือที่จะร่วมทำธุรกรรมด้วย อีกทั้งยังมีผู้เชี่ยวชาญและผู้มีความรู้ในการให้ข้อมูลเกี่ยวกับข้อสงสัยในการประกอบธุรกิจด้านอสังหาริมทรัพย์

ธนาคารมีการพิจาณาในด้านสินเชื่อเน้นไปที่เงินกู้เพื่อการเคหะของสินเชื่อโดยรวมทั้งหมด 60% และ40% จะเป็นสินเชื่อประเภทเอสเอ็มอี เนื่องจากว่าในส่วนของสินเชื่อเคหะมีข้อดีตรงที่มีหลักประกันที่ชัดเจน และทางธนาคารแห่งประเทศไทยก็ให้ความสนใจในเรื่องนี้เป็นสำคัญ เพราะถือว่าเป็นฐานเงินทุนที่มีประสิทธิภาพสูง

การปล่อยสินเชื่อรายย่อยอื่นคงมีแต่จะเป็นส่วนน้อย เป็นองค์ประกอบ เพราะเรา LH BANK จะเน้นการปล่อยสินเชื่อบ้านและที่ดินให้กับลูกค้ารายย่อย แต่ละล็อตที่ปล่อยไปถึงจุดๆหนึ่งจะนำมารวมกันขายออกไปและนำเงินที่ได้มาปล่อยสินเชื่อใหม่ ทำให้ธนาคารนั้นไม่มีลูกหนี้มาก สินทรัพย์ไม่โตมาก เพราะเป็นที่ธนาคารที่มีรายได้จาการปล่อยสินเชื่อให้ลูกค้า

โดยได้ค่าฟีในการบุ๊คให้ลูกค้าและนำมาขายอีกที ดังนั้นจะมีรายได้เรื่องของค่าฟีและการติดตามเก็บหนี้ลูกค้าให้ แต่สินเชื่อในตัวงบดุลไม่สูงตามเพราะการนำหนี้ไปขาย สินเชื่อบ้านเป็นสินเชื่อที่แน่นอนตรงที่มีระยะเวลาที่ยาวนาน เป็น 10 ถึง 20 ปีดังนั้นความเสี่ยงก็ไม่มากนัก

จากเหตุผลที่กล่าวมาข้างต้น จึงสรุปได้ว่า ถ้าดิฉันจะประกอบธุรกิจด้านอสังหาริมทรัพย์ ดิฉันควรจะเลือกธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำกัด (มหาชน) เพราะเป็นธนาคารที่จัดตั้งขึ้นมาสำหรับด้านนี้โดยเฉพาะ เนื่องจากได้เล็งเห็นว่าประเทศไทยควรมีสถาบันการเงินที่เป็นทางเลือกใหม่ให้กับผู้บริโภค และได้ผ่านการยอมรับจากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยแล้ว

สิ่งที่ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำกัด (มหาชน) ควรจะปรับปรุง ก็คือ การขยายสาขาให้มีมากยิ่งขึ้น เนื่องจากตอนนี้จะเห็นได้ว่านักธุรกิจส่วนใหญ่หันมาประกอบธุรกิจทางด้านอสังหาริมทรัพย์มากขึ้น สังเกตได้จากคอนโดย่านต่างๆที่ก่อสร้างขึ้นมาอย่างรวดเร็ว ถ้าธนาคารขยายสาขามากกว่านี้ก็จะทำให้รองรับ และ ให้ความสะดวกสบายกับผู้ประกอบการธุรกิจในด้านอสังหาริมทรัพย์มากยิ่งขึ้น

อัครวัฒน์ พฤกษชาติเจริญ รหัส 50473010046

นายอัครวัฒน์ พฤกษชาติเจริญ

รหัส 50473010046

1.เลตเตอร์ออฟเครดิต LETTER OF CREDIT (L/C)


 

 

2.หนังสือคัประกัน LETTER OF GUARANTEE(L/G)

 

 

หนังสือค้ำประกันยื่นซองประกวดราคา (bid  bond)

 

หนังสือค้ำประกันการดำเนินโครงการตามสัญญา (performance  bond)

 

3.เครดิตบรรจุ PACKING CREDIT(P/C)


 

4.ทรัสต์รีสีตTRUST RECEIPT(T/R)

 

5.  การรับรองและอาวัลตั๋ว  :  Avalled  / Accepted  Bills

วรนาถ สาธิตนิมิต 50473010047 เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

 เลตเตอร์ออฟเครดิต Letter of Credit : L/C

หนังสือค้ำประกัน Letter of Guarantee : L/G

แพคกิ้งเครดิต Packing Credit : P/C

ทรัสต์รีซีท Trust Receipt : T/R

การรับรองและอาวัลตั๋ว  :  Avalled  / Accepted  Bills

โครงสร้างธนาคารในประเทศไทย

1. ธนาคารไทยพาณิชย์

2. ธนาคารกรุงเทพ

3.ธนาคารกสิกรไทย

4.ธนาคารกรุงศรีอยุธยา

5.ธนาคารกรุงไทย

6.ธนาคารเกียรตินาคิน

7.ธนาคารนครหลวง

8. ธนาคารธนชาต

9.ธนาคารออมสิน

10. ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย

11.ธนาคาร C.I.M.B.

12.ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร

13.ธนาคารทิสโก้

14.ธนาคารอาคารสงเคราะห์

15.ธนาคารแห่งประเทศไทย

16. ธนาคารLand and House

17. ธนาคารสินเอเชีย

ธุรกิจที่ดิฉันเลือก  คือ  ธุรกิจอัญมณีและเครื่องประดับ  เลือกธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย  เพราะว่าธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมนี้สนับสนุนการทำธุรกิจ  ประเภทของสินเชื่อ คือ  สัญญาเบิกเงินทุนหมุนเวียน (P/N) อายุการใช้วงเงินคราวละ 1 ปี ทบทวนวงเงินทุกปี โดยผู้กู้ออกตั๋วสัญญาใช้เงิน (P/N) ระยะสั้น  ระยะเวลาครบกำหนดตามตั๋วสัญญาใช้เงิน (P/N) ไม่เกิน   3 เดือน หรือ 90 วัน  ในปีพ.ศ.2507คณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบโครงการเงินกู้เพื่อส่งเสริมอุตสาหกรรมขนาดย่อมตามที่สภาพัฒนาการเศรษฐกิจแห่งชาติเสนอ และได้มีการจัดตั้งสำนักงานเงินกู้เพื่อส่งเสริมอุตสาหกรรม ขนาดย่อมขึ้นเป็นหน่วยงาน ภายใต้การกำกับดูแลของกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม เพื่อทำหน้าที่ให้การสนับสนุนทางการเงิน แก่ธุรกิจอุตสาหกรรมขนาดย่อม และในเวลาต่อมาได้เปลี่ยนชื่อ เป็นสำนักงานธนกิจอุตสาหกรรมขนาดย่อม (สธอ.) แต่ เนื่องจาก สธอ. มีฐานะเป็นหน่วยงานราชการในการดำเนินงาน จึงมีข้อจำกัดในเรื่องแหล่งเงินทุนที่จะใช้ต้องอาศัย จากงบประมาณแผ่นดินเพียงแหล่งเดียว การอำนวยสินเชื่อต่างๆ ถือหลักปฏิบัติเช่นเดียวกับหน่วยงานราชการทั่วไปทำให้ขาด ความคล่องตัวในการดำเนินงาน

        ในปี พ.ศ. 2534 รัฐบาลได้ตราพระราชบัญญัติบรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมขนาดย่อมและปรับสถานะของ สธอ.เป็น บรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมขนาดย่อม (บอย.) มีฐานะเป็นนิติบุคคล มีทุนจดทะเบียนเริ่มแรก 300 ล้านบาท และให้ บอย. สามารถระดมทุนและเงินกู้ได้ทั้งจากภายในและภายนอกประเทศ

        ในปี พ.ศ. 2543 รัฐบาลมีนโยบายให้ บอย. เป็นกลไกสำคัญในการช่วยเหลือวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม อันเป็นรากฐานของระบบเศรษฐกิจ บอย. ได้รับการเพิ่มทุนจากกระทรวงการคลัง อีก2,500 ล้านบาท

         ในปี พ.ศ. 2545 มีพระราชบัญญัติธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย พ.ศ.2545 ปรับสถานะของ บอย. เป็น ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อมแห่งประเทศไทย(ธพว. หรือ SME BANK) ภายใต้การกำกับการดูแลของกระทรวงการคลังและกระทรวงอุตสาหกรรมเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2545 โดยมีวัตถุประสงค์ “เพื่อประกอบธุรกิจอันเป็นการพัฒนา ส่งเสริม ช่วยเหลือ และสนับสนุนการจัดตั้ง การดำเนินงาน การขยาย หรือการปรับปรุงวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม โดยการให้สินเชื่อค้ำประกันร่วมลงทุนให้คำปรึกษาแนะนำหรือให้บริการที่จำเป็นอื่นตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัตินี้” 

      ธนาคารเอสเอ็มอีนี้ให้ความช่วยเหลือในทุกขั้นตอนของการธุรกิจ ลงทุนในธุรกิจใหม่ที่แตกต่างไปจากธุรกิจเดิมโดยสิ้นเชิง ( Conglomerate Diversification) เพื่อกระจายความเสี่ยงของการลงทุน  มุ่งเน้นลูกค้าเฉพาะกลุ่ม ( Focus Strategy) เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าเฉพาะกลุ่ม ทำให้กิจการสามารถตั้งราคาสินค้าได้สูงขึ้น

       การวิเคราะห์อุตสาหกรรมของธนาคารเอสเอ็มอี  ภาพรวมของอุตสาหกรรม
      •  แนวโน้มการเติบโตของอุตสาหกรรม
      •  มาตรฐานในการประกอบการในอุตสาหกรรม ( เช่น ต้องได้รับการรับรองมาตรฐาน ISO, QS, GMP, H A CCP ฯลฯ ) ตลอดจน Benchmark อื่น ๆ ที่สำคัญในอุตสาหกรรม
      •  นโยบายสนับสนุนจากภาครัฐ

 

สิ่งที่ธนาคารควรได้รับการปรับปรุงเพิ่มขึ้น คือ ให้สินเชื่อไม่พอผู้ประกอบการเอสเอ็มอี ไม่ว่ารายย่อย รายกลาง ส่วนหนึ่งประสบปัญหาเพราะไม่รู้ เอสเอ็มอี แบงก์ จึงได้จัดตั้งฝ่ายพัฒนาผู้ประกอบการและองค์ความรู้ เพื่อช่วยเหลือผู้ประกอบการโดยตรง ทั้งในส่วนของศึกษาแผนการเงิน แนะนำช่วยเหลือการตลาด จัดหาเครือข่าย หรือแม้แต่ช่วยประสานงานกับพันธมิตร 

 

 

หารูป  L/C ,  L/G , P/C , T/R , Avalled 

1.  เลตเตอร์ออฟเครดิต : Letter  of  Credit  (L/C)

 

2.  หนังสือค้ำประกัน  :  Letter  of  Guarantee (L/G)

3. แพคกิ้งเครดิต  :  Packing  Credit  (P/C)

4.  ทรัสต์รีซีท  :  Trust  Receipt  (T/R) 

5.  การรับรองและอาวัลตั๋ว  :  Avalled  / Accepted  Bills

นางสาว ศิรินภา คำมา รหัส 50473010003 เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

นางสาว ศิรินภา  คำมา

รหัสนักศึกษา 50473010003

เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

ธนาคารกรุงศรีอยุธยา

ธนาคารอาคารสงเคราะห์

 

ธนาคารออมสิน

 

ธนาคารนครหลวงไทย

 

 

ธนาคารกรุงเทพ 

 

 

ธนาคารกรุงไทย 

 

ธนาคารไทยพาณิชย์

 

ธนาคารธนชาต

 

ธนาคารเกษตรและสหกรณ์การเกษตร

 

ธนาคารซีไอเอ็มบีไทย

 

ธนาคารทิสโก้

 

ธนาคารกสิกรไทย

 

ธนาคารเกียรตินาคิน

 

ธนาคารแห่งประเทศไทย

 

ธนาคารสินเอเชีย

 

ธนาคารแลนด์แอนด์เฮ้าส์

ธุรกิจที่สนใจ คือ ธุรกิจการส่งออก(ผลิตภัณฑ์สินค้าOTOP) เครื่องแต่งกาย เครื่องประดับ ธนาคารที่เลือกมาสนันสนุนธุรกิจ คือ ธนาคารไทยพาณิชย์

   เกี่ยวกับการบริการของธนาคารในเรื่องของสินเชื่อด้านการค้าต่างประเทศ
    บริการสินเชื่อเพื่อการนำเข้า (Trust Receipts: T/R)
    บริการให้สินเชื่อแก่ผู้นำเข้าที่มีการซื้อสินค้าจากต่างประเทศ โดยลูกค้าสามารถติดต่อขอ ทำสัญญา T/R กับธนาคารและรับเอกสารสิทธิ เพื่อออกสินค้าและจำหน่าย เพื่อนำเงิน มาชำระหนี้ค่าสินค้าให้แก่ธนาคาร
    บริการออกหนังสือค้ำประกันให้กับบริษัทเรือ (Shipping Guarantee)
    บริการออกหนังสือค้ำประกันต่อบริษัทที่รับขนส่งสินค้าหรือ บริษัทเรือเพื่อขอให้บริษัทที่รับขนสินค้าส่งมอบสินค้าตามที่ระบุไว้ในสำเนา Bill of Lading ให้กับลูกค้าในกรณีที่สินค้า มาถึงจุดหมายปลายทางก่อน ที่ธนาคารจะได้รับเอกสารและลูกค้ามีความประสงค์ จะรับสินค้าไปก่อน
    บริการสินเชื่อเพื่อการส่งออก (Packing Credit: P/C)
    บริการสินเชื่อระยะสั้นที่ธนาคารสนับสนุนแก่ผู้ส่งออกและ/หรือผู้ผลิตสินค้า เพื่อการส่งออก เพื่อส่งเสริมการส่งสินค้าไปจำหน่ายยังต่างประเทศ สามารถกู้ได้ ทั้งเงินบาท และเงินสกุล ตราต่างประเทศ
    บริการเรียกเก็บ/รับซื้อตั๋วเงินสินค้าออกภายใต้ L/C (Export Bills under Letter of Credit)
    บริการรับตรวจเอกสารที่ผู้ส่งออกจัดทำ หรือรวบรวมขึ้นตามคำสั่ง ใน L/C เพื่อส่งเอกสารไปเรียกเก็บเงินจากผู้ซื้อในต่างประเทศ
    บริการส่งตั๋ว/รับซื้อตั๋วเงินเพื่อเรียกเก็บยัง ต่างประเทศ (Export Bills for Collection)
    บริการส่งเอกสารไปเรียกเก็บเงินยังต่างประเทศตามคำสั่งของลูกค้า รวมทั้งติดตามการ เรียกเก็บเงินตามชนิดของตั๋วที่ลูกค้ายื่นเอกสารผ่านธนาคาร เพื่อส่งไปเรียกเก็บเงินยังผู้ซื้อ ในต่างประเทศ

____________________________________________________________________________

นางสาว ศิรินภา คำมา รหัส 50473010003 เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

นางสาว ศิรินภา  คำมา

รหัสนักศึกษา  50473010003

โปรแกรมวิชา เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ  

 

1.  เลตเตอร์ออฟเครดิต : Letter  of  Credit  (L/C)

 

 

2.  หนังสือค้ำประกัน  :  Letter  of  Guarantee (L/G)

     2.1หนังสือค้ำประกันยื่นซองประกวดราคา (bid  bond)

     2.2 หนังสือค้ำประกันการดำเนินโครงการตามสัญญา (performance  bond)

 

3.  แพคกิ้งเครดิต  :  Packing  Credit  (P/C)

 

4.  ทรัสต์รีซีท  :  Trust  Receipt  (T/R) 

 

5.  การรับรองและอาวัลตั๋ว  :  Avalled  / Accepted  Bills

 

______________________________________________________

นางสาว สุภาพร มูลจันทร์ รหัส 50473010020 เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

นางสาว สุภาพร  มูลจันทร์

รหัสนักศึกษา 50473010020

เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

 

ธนาคารแลนด์แอนด์เฮ้าส์

 

ธนาคารสินเอเชีย

ธนาคารแห่งประเทศไทย

 

ธนาคารเกียรตินาคิน

 

ธนาคารกสิกรไทย

 

ธนาคารทิสโก้

ธนาคารซีไอเอ็มบีไทย

 

ธนาคารเกษตรและสหกรณ์การเกษตร

 

ธนาคารธนชาต

 

ธนาคารไทยพาณิชย์

 

ธนาคารกรุงไทย 

 

ธนาคารกรุงเทพ 

 

ธนาคารนครหลวงไทย

 

ธนาคารออมสิน

 

ธนาคารอาคารสงเคราะห์

 

ธนาคารกรุงศรีอยุธยา

ธุรกิจที่สนใจ คือ ธุรกิจ แฟรนไชส์ เซเว่นอีเลฟเว่น  ธนาคารที่เลือกมาสนับสนุน คือ ธนาคารไทยพาณิชย์

ไทยพาณิชย์สนับสนุนสินเชื่อแฟรนไชส์ เซเว่นอีเลฟเว่น หนุนผู้ประกอบการไทยเริ่มต้นธุรกิจของตัวเอง

 บมจ. ซีพี ออลล์ ผู้บริหารเซเว่น อีเลฟเว่น ร้านอิ่มสะดวกของคนไทย จับมือ 3 ธนาคารไทย ได้แก่ ไทยพาณิชย์, กสิกรไทย, และนครหลวงไทย จัดบริการสินเชื่อพิเศษแก่ธุรกิจแฟรนไชส์เซเว่น อีเลฟ-เว่น หนุนผู้ประกอบการรายย่อยของไทยเริ่มต้นธุรกิจอย่างมั่นคง ผลักดันตลาดค้าปลีก 2553 โตต่อเนื่อง

               คุณก่อศักดิ์ ไชยรัศมีศักดิ์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บมจ. ซีพี ออลล์ ผู้บริหารเซเว่น อีเลฟเว่น ร้านอิ่มสะดวกของคนไทย กล่าวว่า บริษัทมีนโยบายจะขยายสาขาให้เพียงพอต่อความต้องการของผู้บริโภคโดยใช้ระบบแฟรนไชส์ เพื่อให้ผู้ประกอบการคนไทยมีโอกาสเป็นเจ้าของธุรกิจค้าปลีกสมัยใหม่ที่คุ้มค่าต่อการลงทุน โดยตั้งเป้าว่าในปี 2556 จะขยายสาขาร้านเซเว่น อีเลฟเว่น ในประเทศไทยเป็น 7,000 สาขา และเพิ่มสัดส่วนสาขาของร้านแฟรนไชซี่เป็น 59% จากปัจจุบันมีจำนวนสาขาทั้งหมด 5,300 สาขา แบ่งเป็นสาขาของร้านแฟรนไชซี่ 47% ล่าสุดจึงได้ลงนามความร่วมมือกับธนาคารไทยรายใหญ่ 3 แห่ง ได้แก่ ธนาคารไทยพาณิชย,์ธนาคารกสิกรไทย และธนาคารนครหลวงไทย จัดบริการสินเชื่อพิเศษเพื่อช่วยสนับสนุนผู้ประกอบการแฟรนไชส์เซเว่น อีเลฟเว่น สามารถดำเนินธุรกิจได้อย่างเต็มที่

คุณกรรณิกา ชลิตอาภรณ์ กรรมการผู้จัดการใหญ่ ธนาคารไทยพาณิชย์ กล่าวว่า ธนาคารมีนโยบายปล่อยสินเชื่อให้แก่ผู้ประกอบการรายเล็กเพิ่มมากขึ้น เพื่อรองรับการขยายตัวทางธุรกิจให้สามารถเติบโตได้อย่างสอดคล้องกับสภาวะการฟื้นตัวด้านเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ ธนาคารจึงมีความยินดีอย่างยิ่งที่ได้เป็นพันธมิตรกับซีพี ออลล์ ในการนำเสนอสินเชื่อธุรกิจแฟรนไชส์เซเว่น อีเลฟเว่น ซึ่งถือเป็นการส่งเสริมให้ผู้ประกอบการรายย่อยของไทยได้เริ่มต้นธุรกิจของตนเอง และเติบโตเป็นรากฐานสำคัญทางเศรษฐกิจของประเทศ โดยความร่วมมือในครั้งนี้จะทำให้ผู้ประกอบการได้รับองค์ความรู้ในการบริหารธุรกิจจากทางเซเว่น อีเลฟเว่น และได้รับการสนับสนุนบริการทางการเงินที่ครบวงจรจากธนาคารไทยพาณิชย์ด้วย

               ด้าน นายประสาร ไตรรัตน์วรกุล กรรมการผู้จัดการ ธนาคารกสิกรไทย เปิดเผยว่า ธนาคารกสิกรไทย เป็นผู้นำในการให้บริการและเงินทุนแก่เอสเอ็มอี โดยที่ผ่านมาได้ออกบริการสนับสนุนธุรกิจเริ่มต้นกสิกไทย (K-SME Start-up Solutions) เพื่อสนับสนุนผู้ประกอบธุรกิจตั้งแต่เริ่มต้นกิจการทั้งด้านเงินทุนและองค์ความรู้ ดังนั้นการเข้าร่วมโครงการสินเชื่อเพื่อผู้ประกอบการร้านค้าเซเว่น อีเลฟเว่น จะเป็นโอกาสให้ผู้สนใจธุรกิจค้าปลีกได้เริ่มต้นเป็นเจ้าของร้านเซเว่น อีเลฟเว่น ซึ่งเป็นร้านสะดวกซื้อชั้นนำระดับโลกที่ประสบความสำเร็จอย่างสูงสุดในปัจุบัน เป็นธุรกิจที่มีศักยภาพโอกาสเติบโตสูง เนื่องจากเป็นร้านค้าที่ได้รับความนิยม และมีรูปแบบการบริหารจัดการที่เป็นมาตรฐานจากบริษัท ซีพี ออลล์ ในขณะที่ธนาคารกสิกรไทยก็พร้อมที่จะสนับสนุนด้านเงินทุนแก่นักธุรกิจที่สนใจจะเปิดร้านเซเว่น อีเลฟเว่น ด้วยอัตราดอกเบี้ยต่ำ ผ่อนนานถึง 10 ปี โดยผู้ขอกู้จะทราบผลการพิจารณาเบื้องต้นภายใน 3 วัน และได้รับเงินภายใน 7 วัน ทั้งนี้ธนาคารตั้งเป้าปล่อยกู้ในปีแรกไว้ 300 ล้านบาท

              ด้าน นายชัยวัฒน์ อุทัยวรรณ์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ ธนาคารนครหลวงไทย จำกัด (มหาชน) กล่าวว่า ธนาคารมีวิสัยทัศน์ในการเป็นหุ้นส่วนทางธุรกิจโดยให้บริการทางการเงินอย่างครบวงจรและยั่งยืนบนพื้นฐานของความสัมพันธ์และความผูกพันระหว่างธนาคารกับลูกค้า ในโอกาสนี้ผู้ประกอบการร้านเซเว่น อีเลฟเว่น ที่ขอรับสินเชื่อจากธนาคารจึงมั่นใจได้ว่าจะได้รับคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญทั้งด้านการเงิน การตลาด ตลอดจนการบริหารความเสี่ยงให้สอดคล้องกับสภาวการณ์ด้านเศรษฐกิจ

 นอกจากการสนับสนุนสินเชื่อในครั้งนี้แล้ว ในปีที่ผ่านมา ธนาคารยังจัดสินเชื่อเคหะนครหลวงไทยสำหรับผู้ประกอบการร้านเซเว่น อีเลฟเว่น ที่ซื้อหรือรีไฟแนนซ์อาคารพาณิชย์ตลอดจนที่อยู่อาศัยทุกประเภท โดยจะได้รับสิทธิพิเศษด้านอัตราดอกเบี้ยและค่าธรรมเนียมจากธนาคาร อันเป็นการยืนยันให้เห็นถึงความพยายามในการให้บริการทางการเงินอย่างครบวงจรของธนาคาร

นางสาว สุภาพร มูลจันทร์ รหัส 50473010020 เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

นางสาว สุภาพร  มูลจันทร์

รหัสนักศึกษา  50473010020

โปรแกรมวิชา เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ  

 

1.  เลตเตอร์ออฟเครดิต : Letter  of  Credit  (L/C)

2.  หนังสือค้ำประกัน  :  Letter  of  Guarantee (L/G)

 

    2.1หนังสือค้ำประกันยื่นซองประกวดราคา (bid  bond)

  2.2 หนังสือค้ำประกันการดำเนินโครงการตามสัญญา (performance  bond)

 

3.  แพคกิ้งเครดิต  :  Packing  Credit  (P/C)

 

4.  ทรัสต์รีซีท  :  Trust  Receipt  (T/R) 

 

5.  การรับรองและอาวัลตั๋ว  :  Avalled  / Accepted  Bills

นางสาวณัฐธิดา สมยศ รหัส 50473010022 โปรแกรมเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

 

ธนาคารกรุงศรีอยุธยา

ธนาคารอาคารสงเคราะห์

ธนาคารออมสิน

ธนาคารแลนด์แอนด์เฮ้าส์

 

ธนาคารสินเอเชีย

ธนาคารแห่งประเทศไทย

 

ธนาคารเกียรตินาคิน

 

ธนาคารกสิกรไทย

 

ธนาคารทิสโก้

ธนาคารซีไอเอ็มบีไทย

 

ธนาคารเกษตรและสหกรณ์การเกษตร

 

ธนาคารธนชาต

 

ธนาคารไทยพาณิชย์

 

ธนาคารกรุงไทย 

 

ธนาคารกรุงเทพ 

 

ธนาคารนครหลวงไทย

ธนาคารที่เลือกมารองรับธุรกิจ คือ ธนาคารกสิกรไทย จำกัด มหาชน เพราะ ตอนนี้ธนาคารกสิกรได้ให้การสนันสนุนธุรกิจ SME ให้ดอกเบี้ยที่ถูกและรวดเร็วในการดำเนินการ  ข้อที่อยากให้ทำการปรับปรุง คือ อนุมัติให้กู้ 100% ดอกเบี้ยต่ำลง

1.  เลตเตอร์ออฟเครดิต : Letter  of  Credit  (L/C)

2.  หนังสือค้ำประกัน  :  Letter  of  Guarantee (L/G)

 

    2.1หนังสือค้ำประกันยื่นซองประกวดราคา (bid  bond)

  2.2 หนังสือค้ำประกันการดำเนินโครงการตามสัญญา (performance  bond)

 

3.  แพคกิ้งเครดิต  :  Packing  Credit  (P/C)

 

4.  ทรัสต์รีซีท  :  Trust  Receipt  (T/R) 

 

5.  การรับรองและอาวัลตั๋ว  :  Avalled  / Accepted  Bills

นางสาวณัฎฐาทิพย์ วงค์จันทร์คำ รหัส 50473010019 โปรแกรมเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

1.  เลตเตอร์ออฟเครดิต : Letter  of  Credit  (L/C)

 

 

2.  หนังสือค้ำประกัน  :  Letter  of  Guarantee (L/G)

     2.1หนังสือค้ำประกันยื่นซองประกวดราคา (bid  bond)

     2.2 หนังสือค้ำประกันการดำเนินโครงการตามสัญญา (performance  bond)

 

3.  แพคกิ้งเครดิต  :  Packing  Credit  (P/C)

 

4.  ทรัสต์รีซีท  :  Trust  Receipt  (T/R) 

 

5.  การรับรองและอาวัลตั๋ว  :  Avalled  / Accepted  Bills

ธนาคารแลนด์แอนด์เฮ้าส์

 

ธนาคารสินเอเชีย

ธนาคารแห่งประเทศไทย

 

ธนาคารเกียรตินาคิน

 

ธนาคารกสิกรไทย

 

ธนาคารทิสโก้

ธนาคารซีไอเอ็มบีไทย

 

ธนาคารเกษตรและสหกรณ์การเกษตร

 

ธนาคารธนชาต

 

ธนาคารไทยพาณิชย์

 

ธนาคารกรุงไทย 

 

ธนาคารกรุงเทพ 

 

ธนาคารนครหลวงไทย

 

ธนาคารออมสิน

 

ธนาคารอาคารสงเคราะห์

 

ธนาคารกรุงศรีอยุธยา

ธนาคารออมสิน เหตุผลที่เลือกธนาคารออมสินเพราะ ดอกเบี้ยถูก ข้อเสียของธนาคารนี้ คือ เปิดสาขาน้อย

 

นางสาว ฐิรดา สันทาลุนัย 50473010052 เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

 

ธนาคารที่ดิฉันเลือกคือ ธนาคารไทยพาณิชย์ เพราะดิฉันทำธุรกิจเกี่ยวกับคอนโดมิเนียม

และธนาคารได้มีการสนับสนุนด้านการเงินทางด้านอสังหาริมทรัพย์ โดยมีดอกเบี้ยพิเศษ คิดในอัตราที่ต่ำ และให้

วงเงินค่อนข้างสูง ดิฉันจึงเลือกธนาคารไทยพาณิชย์เป็นธนาคารที่จะสนับสนุนธุรกิจของดิฉัน

 

นางสาวประภัสสร จันทะวงษา รหัส 50473010031 โปรแกรมเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

ธนาคารไทยพาณิชย์

ธนาคารกรุงไทย 

ธนาคารกรุงเทพ 

ธนาคารนครหลวงไทย

ธนาคารออมสิน

ธนาคารอาคารสงเคราะห์

ธนาคารกรุงศรีอยุธยา

ธนาคารแลนด์แอนด์เฮ้าส์

 

ธนาคารสินเอเชีย

ธนาคารแห่งประเทศไทย

 

ธนาคารเกียรตินาคิน

 

ธนาคารกสิกรไทย

 

ธนาคารทิสโก้

ธนาคารซีไอเอ็มบีไทย

 

ธนาคารเกษตรและสหกรณ์การเกษตร

 

ธนาคารธนชาต

ธนาคารไทยพาณิชย์ เพราะมีการเปิดสาขามาก สะดวกในการทำธุรกรรม ข้อเสียของธนาคารนี้ คือ ลดดอกเบี้ยในการกู้ยืม.

 

1.  เลตเตอร์ออฟเครดิต : Letter  of  Credit  (L/C)

 

 

2.  หนังสือค้ำประกัน  :  Letter  of  Guarantee (L/G)

     2.1หนังสือค้ำประกันยื่นซองประกวดราคา (bid  bond)

     2.2 หนังสือค้ำประกันการดำเนินโครงการตามสัญญา (performance  bond)

 

3.  แพคกิ้งเครดิต  :  Packing  Credit  (P/C)

 

4.  ทรัสต์รีซีท  :  Trust  Receipt  (T/R) 

 

5.  การรับรองและอาวัลตั๋ว  :  Avalled  / Accepted  Bills

นางสาว ฐิรดา สันทาลุนัย50473010052

1.เลตเตอร์ออฟเครดิต LETTER OF CREDIT (L/C)


4.  ทรัสต์รีซีท  :  Trust  Receipt  (T/R) 

5.  การรับรองและอาวัลตั๋ว  :  Avalled  / Accepted  Bills

 

จุฬารัตน์ เชื้อนิล

ธุรกิจของดิฉันคือ ธุรกิจอสังหาร ธนาคารที่ดิฉันเลือกคือธนาคารกสิกรเนื่องจากธนาคารกสิกรเป็นธนาคารที่สนับสนุนในเรื่องโมษณาและปล่อยเงินกู้ในอัตราดอกเบี้ยที่ถูกและยังให้การสนับสนุนเรื่องการโมษณา เหตุผลที่ดิฉันเลือกธนาคารกสิกรเนื่องจากการบริการของธนาคารเป็นวงเงินกู้แบบมีกำหนดระยะเวลา คิดดอกเบี้ยต่ำกว่าเงินกู้ประเภทอื่น และมีอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ให้เลือกได้หลายแบบ ผ่อนชำระได้นานสูงสุดถึง 30 ปี เป็นเงินกู้เพื่อการซื้อที่อยู่อาศัยประเภทบ้านและที่ดิน,ทาวน์เฮ้าส์,อาคารพาณิชย์,ห้อง ชุด, ที่ดินเปล่า รวมทั้งการปลูกสร้าง ต่อเติมหรือปรับปรุงที่อยู่อาศัย ตลอดจนรับโอนสินเชื่อที่อยู่อาศัยจากธนาคารหรือสถาบันการเงินอื่น โดยมีหลักทรัพย์คือที่อยู่อาศัย จำนองเป็นหลักประกัน

ธนาคารอยุธยา

 

ธนาคารอาคารสงเคราะห์

 

ธนาคารออมสิน

ธนาคารธนชาติ

ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย

 

ธนาคาร C.I.M.B.

ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร

ธนาคารทิสโก้

ธนาคารอาคารสงเคราะห์

 

ธนาคารแห่งประเทศไทย

Land and House

Exim Bank

นาย กิตติวิทย์ ตั้งมงคลเลิศ 50473010025 เศรษฐศาสตร์

ธนาคารธนชาต

 

ธนาคารไทยพาณิชย์

 

ธนาคารกรุงไทย 

 

ธนาคารกรุงเทพ 

 

ธนาคารนครหลวงไทย

 

ธนาคารออมสิน

นางสาวสุรัตนา ศรีกระภา รหัส50473010032 โปรแกรมเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

ธนาคารเกษตรและสหกรณ์การเกษตร

 

ธนาคารธนชาต

 

ธนาคารไทยพาณิชย์

 

ธนาคารกรุงไทย 

 

ธนาคารกรุงเทพ 

 

ธนาคารนครหลวงไทย

 

ธนาคารออมสิน

 

ธนาคารอาคารสงเคราะห์

 

ธนาคารกรุงศรีอยุธยา

ธนาคารแลนด์แอนด์เฮ้าส์

 

ธนาคารสินเอเชีย

ธนาคารแห่งประเทศไทย

 

ธนาคารเกียรตินาคิน

 

ธนาคารกสิกรไทย

 

ธนาคารทิสโก้

ธนาคารซีไอเอ็มบีไทย

ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร เพราะ เป็นธนาคารที่ส่งเสริมธุรกิจขนาดย่อมทางด้านการเกษตรทำให้ง่ายต่อการขอกู้และเป็นเงินทุนหมุนเวียนให้เกษตกร ข้อเสียธุรกิจอื่นไม่สามารถกู้ได้

1.  เลตเตอร์ออฟเครดิต : Letter  of  Credit  (L/C)

 

 

2.  หนังสือค้ำประกัน  :  Letter  of  Guarantee (L/G)

     2.1หนังสือค้ำประกันยื่นซองประกวดราคา (bid  bond)

     2.2 หนังสือค้ำประกันการดำเนินโครงการตามสัญญา (performance  bond)

 

3.  แพคกิ้งเครดิต  :  Packing  Credit  (P/C)

 

4.  ทรัสต์รีซีท  :  Trust  Receipt  (T/R) 

 

5.  การรับรองและอาวัลตั๋ว  :  Avalled  / Accepted  Bills

นาย กิตติวิทย์ ตั้งมงคลเลิศ 50473010025 เศรษฐศาสตร์

นาย กิตติวิทย์  ตั้งมงคลเลิศ

50473010025  เศรษฐศาสตร์

 

1.  เลตเตอร์ออฟเครดิต : Letter  of  Credit  (L/C)

 

 

2.  หนังสือค้ำประกัน  :  Letter  of  Guarantee (L/G)

     2.1หนังสือค้ำประกันยื่นซองประกวดราคา (bid  bond)

     2.2 หนังสือค้ำประกันการดำเนินโครงการตามสัญญา (performance  bond)

 

3.  แพคกิ้งเครดิต  :  Packing  Credit  (P/C)

 

4.  ทรัสต์รีซีท  :  Trust  Receipt  (T/R) 

 

5.  การรับรองและอาวัลตั๋ว  :  Avalled  / Accepted  Bills

จุฬารัตน์ เชื้อนิล

ธนาคารไทยพานิชย์

ธนาคารกรุงเทพ

ธนาคารกสิกรไทย

ธนาคารกรุงไทย

ธนาคารเกียรตินาคิน

ธนาคารนครหลวง

นาย กิตติวิทย์ ตั้งมงคลเลิศ 50473010025 เศรษฐศาสตร์

นายกิตติวิทย์ ตั้งมงคลเลิศ

50473010025 เศรษฐศาสตร์

ธุรกิจที่ผมเลือกคือ ธุรกิจสปา

ความสับสนวุ่นวาสยและการแข่งขันกันเกือบจะทุกๆด้านในกรดำเนินชีวิตเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้ผู้คนในปัจจุบันเกิดความเครียดในร่างกายและจิตใจขาดการบำบัดดูแล และเป็นจุดเริ่มต้นของความเจ็บป่วย

สปาเป็นหน่งในทางเลือกของคนที่รักและห่วงใยยสุขภาพของตนเองวิถีทางของสปาเป็นการใช้ธรรมชาติบำบัดเพื่อปรับสมดุลให้ร่างกาย และผ่อนคลายความตงเครียด ซ่งเป็นวิธีที่หลายคนเลือกใช้...แทนการบำบัดด้วยยารักษาโรค

เหตุนี้ทำให้ธุรกิจบริการด้านสุขภาพอย่าง "สปา" มีแนวโน้มของการเติบโตอย่างรวดเร็ว และเป็นธุรกิจที่นักลงทุนให้ความสนใจ เพราะกระแสความนิยมสปาส่งผลให้จำนวนผู้ใช้บริการเพิ่มมากข้น ซ่งผู้ใช้บริการสปา มีอยู๋ทุกหนแห่งทั่วโลก โดยไม่จำกัดเพศ วัย ระดับฐานะ ...เพราะใครๆต่างก็รักและห่วงใยสุขภาพของตนเองทุกคนต่างก็ปราถนาที่จะมีสุขภาพร่างกาย และสุขภาพจิตใจที่แข็งแรงสมบูรณ์กันทั้งนั้น

ธุรกิจสปาที่เกี่ยวข้องกับการเสริมสร้างและพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีข้น อย่าง ..."สปา" จงได้รับความสนใจทั้งจากผู้ใช้บริการและนักลงทุน

องค์ประกอบที่สำคัญของสปา

สปามีองค์ประกอบที่สามารถสัมผัสได้โดยผ่านประสาททั้ง 5 ดังนี้

1.รูป

จากสถานที่ที่มีการสร้างบรรยากาศให้มีความรื่น สงบ ก่อให้เกิดความรู้สกผ่อนคลายด้วยความสดชื่นจากธรรมชาติ เช่น บ่อน้ำพุร้อน มุมสงบของทะเล ป่าเขา หรือการตกแต่งสถานที่ให้มีบรรยากาศของความเป็นธรรมชาติ จะช่วยดงดูดความสนใจของผู้ใช้บริการ ดังจะเห็นได้จากโรงแรมหรือรีสอร์ทตามต่างจังหวัด ที่สร้างสุนทรียภาพด้วยการตกแต่งสถานบริการให้มีบรรยากาศที่สวยงาม ท่ามกลางความเงียบสงบ

2.รส

จากบริการด้านอาหารและเครื่องดื่มที่ได้จากธรรมชาติ ซง่มีคุณสมบัติช่วยขับสารพิษในร่างกายและเสริมสร้างสุขภาพควบคู่กันไป โดยใช้ศาสตร์แห่งการโ๓ชนาการ เช่น การให้คำแนะนำเกี่ยวกับอาหารแก่ผู้ใช้บริการที่มีปัญหาด้านสุขภาพ เป็นต้น

3.กลิ่น

จากการบำบัดด้วยพฤกษาธรรมชาติหรือสมุนไพร หรือการบำบัดด้วยสุคนธบำบัด (Aromatherapy) โดยการเลือกใช้น้ำมันหอมระเหยให้เหมาะกับอาการ เหมาะกับบุคคล เพราะกลิ่นน้ำมันหอมระเหยจะส่งผลต่ออารมณ์และความรู้สกที่แตกต่างกัน ทั้งนี้เพื่อสร้างความสมดุลในร่างกาย จิตใจ และอารมณ์ของผู้รับบริการ

4.เสียง

จากการนำเสียงต่างๆ เช่น เสียงเพลงบรรเลง เสียงน้ำตก เสียงนกร้อง หรือเสียงธรรมชาติอื่นๆ มาช่วยในการผ่อนคลาย เพื่อเพิ่มความรู้สกสัมผัสธรรมชาติ ซ่งคนโบราณเชื่อว่าเสียงมีพลังในการบำบัดโรค จงนำเสียงมาใช้ในการรักษาโรค หรืออาการเจ็บป่วยบางประการในสถานบริการสปาด้วย

5.สัมผัส

เป็นวิธีการบำบัดด้วยการนวดเพื่อผ่อนคลาย โดยให้ความใส่ใจต่อองค์ประกอบของความเป็นมนุษย์แบบองค์รวม ทั้งร่างกาย จิตใจ และอารมณ์ การบำบัดด้วยการนวดจะช่วยให้ระบบโลหิต กล้ามเนื้อ และระบบประสาทต่างๆ ทำงานได้อย่างมีประสทิธิภาพมากข้น ทั้งยังช่วยเสริมสวยสร้างพลังกาย พลังใจให้กับผู้รับบริการอีกด้วย

จุฬารัตน์ เชื้อนิล

 

Letter of Guarantee : L/G

Letter of Credit

Accepted Bills

Packing Credit

Trust Receipt

 

 

ธุรกิจที่ผมเลือกคือ  ธุรกิจนำเข้าสินค้าเพื่อส่งออกประเภทเครื่องสุขภัณฑ์ที่ใช้ในห้องน้ำ ธนาคารที่นำมาสนับสนุนธุรกิจคือ ธนาคารเพื่อการส่งออกแลนำเข้าแห่งประเทศไทย  (EXIM BANK)

                มีเหตุผลที่เลือกธนาคารนี้คือ  เป็นธนาคารที่ทำการให้บริการด้านการส่งออกและนำเข้าโดยตรง     ทางธนาคารมีการสนับสนุนเงินด้านการส่งออกโดยและนำเข้าสินค้าเพื่อส่งออกไปยังประเทศต่าง ๆ ที่ทำการส่งออก โดยผลตอบแทนที่ได้รับจะสอดคล้องกับระยะคืนเงินที่เราทำการขอสินเชื่อมา  และเราสามารถที่จะทำการผ่อนชำระได้ตามความสามารถที่เราได้ผลตอบแทนมาแต่ระยะเวลาในการชำระนั้นค่อนข้างที่จะสั้น แต่ทางธนาคารก็มีสินเชื่อประเภทสอนเชื่อเพื่อพัฒนาห้องปฏิบัติการตรวจสอบและวิเคราะห์คุณภาพของสินค้า  ทำให้ทางบริษัทสามารถที่จะมีสินค้าที่มีคุณภาพที่ดีก่อนที่จะส่งออกไปยังประเทศที่ทำการนำเข้าสินค้าของบริษัท  ทำให้บรัทมีความเชื่อมั่นในการขอสินเชื่อทางธนาคาร

บริการสนับสนุนการนำเข้าสินค้าเพื่อการส่งออก 

          เป็นบริการที่มีจุดมุ่งหมายในการรองรับการนำเข้าสินค้าจากผู้ขายในประเทศหนึ่ง เพื่อส่งออกต่อไปยังผู้ซื้อในอีกประเทศหนึ่ง ทั้งนี้ เพื่อเสริมโอกาสให้ประเทศไทยได้พัฒนาขึ้นเป็นศูนย์กลางการค้าในภูมิภาค ภายใต้บริการนี้ ธสน. จะเปิดให้ L/C เพื่อสั่งซื้อสินค้าจากประเทศผู้ขายสำหรับส่งออกต่อไปยังประเทศผู้ซื้อ โดย ธสน. จะให้สินเชื่อระยะสั้นที่มีกำหนดเวลาชำระคืนสอดคล้องกับกำหนดเวลาที่จะได้รับชำระเงินจากการส่งออก

 

 

การใช้วงเงิน

  • ธสน. กำหนดวงเงินในการนำเข้าเพื่อการส่งออก
  • ผู้ส่งออกสามารถขอให้ ธสน. เปิด L/C เพื่อนำเข้าสินค้าสำหรับการส่งออกตามคำสั่งซื้อ (P/O) หรือ L/C ที่ได้รับ
  • ระยะเวลาในการรับคืนภาระหนี้ในการนำเข้าสินค้าจะสอดคล้องกับระยะเวลาที่ได้รับชำระเงินจากการส่ง

สินเชื่อเพื่อพัฒนาห้องปฏิบัติการตรวจสอบและวิเคราะห์คุณภาพของสินค้าส่งออก 

เป็นสินเชื่อระยะกลาง-ยาวเพื่อสนับสนุนทางการเงินแก่ผู้ส่งออก ผู้ให้บริการแก่ผู้ส่งออก และผู้ผลิตสินค้าส่งออก เพื่อใช้ในการขยายหรือปรับปรุงประสิทธิภาพของห้องปฏิบัติการตรวจสอบและวิเคราะห์คุณภาพสินค้าเพื่อการส่งออก เช่น ห้องปฏิบัติการตรวจวิเคราะห์ทางจุลชีววิทยา (Microbiological LAB) ในโรงงานสำหรับผลิตภัณฑ์อาหารและเกษตร ห้องปฏิบัติการตรวจวิเคราะห์สารปนเปื้อนสำหรับผลิตภัณฑ์ของเล่นเด็ก เป็นต้น

ธนาคารแห่งประเทศไทย

ธนาคารกสิกรไทย

ธนาคารไทยพาณิชย์

ธนาคารกรุงไทย

ธนาคารอาคารสงเคราะห์

ธนาคารเกียรตินาคิน

ธนาคารศรีเอเชีย

 ธนาคารกรุงเทพ

ธนาคารนครหลวงไทย

ธนาคารทิสโก้ธนาคาร  

 ธนาคาร ธกส

ธนาคารธนชาติ

ธนาคารซีไอเอ็มบี

ธนาคาร LH แลนด์แอนด์เฮ้า

ธนาคารออมสิน

ธนาคารกรุงศรีอยุธยา

ให้หา L/C , P/C , Avalled , T/R , L/G

2. P/C

3.L/G

3.1 หนังสือค้ำประกันตามราคาประกวด

 

3.2หนังสือคำประกันการดำเนินโครงการตามสัญญา

4. Avalled

5. T/R

 

 

นายสัญชัย ภัทรพงศ์โอฬาร 50473010054 เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

อาจารย์ครับ ลำดับที่ 147  ชื่อ  นายสัญชัย  ภัทรพงศ์โอฬาร  50473010054  เศรษฐศาสตร์ธุรกิจนะครับ

นาสาวพรพิมล พรหมผาบ 50473010056 เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

เพิ่มเติมค่ะอาจารย์

โครงสร้างองค์กรธนาคารแลนด์แอนเฮ้า 

โครงสร้างองค์กรธนาคารศรีเอเชีย

 

นางสาวนิสา พจนาท รหัสนักศึกษา 50473010007
เอก เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ
ธนาคารแห่งประเทศไทย

 ธนาคารธนชาต

โครงสร้างธนาคารกรุงไทย

โครงสร้างธนาคารกสิกรไทย

โครงสร้างธนาคารกรุงศรีอยุธยา

โครงสร้างธนาคารกรุงเทพ

โครงสร้างธนาคารไทยพาณิชย์


 โครงสร้างธนาคารนครหลวงไทย

โครงสร้างธนาคารออมสิน

โครงสร้างธนาคารทิสโก้

โครงสร้างธนาคารเกียรตินาคิน

โครงสร้างธนาคารซีไอเอ็มบีไทย

โครงสร้างธนาคารอาคารสงเคราะห์

โครงสร้างเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร

ในปัจจุบันขมนเบเกอรี่ได้รับความนิยมแพร่หลายกลายมาเป็นอาหารหลักประจำ วัน มีการพัฒนารูปแบบของขนม ออกเป็นอาหารเช้า-กลางวัน-เย็น-เค้กและของหวานต่างๆ  และสามารถรับประทานร่วมกับชา กาแฟได้ด้วย ปัจจุบันขนมเบเกอรี่ ได้รับความนิยมไปทั่วโลก มีการพัฒนารูปแบบของขนมอย่างต่อเนื่อง ให้สามารถรับประทานได้ในทุกโอกาส ทุกเวลาและทุก

การเปิดร้านขายขนมเบเกอรี่มีมากขึ้น ตามมา สิ่งสำคัญของผู้ประกอบการ คือการรักษาร้านให้ดำ รงอยู่อย่างตลอดรอดฝั่งผู้ประกอบการ

จะต้องให้ความเอาใจใส่ในการรักษาคุณภาพและมาตรฐานของผลิตภัณฑ์ การพัฒนาสินค้าควบคู่ไปกับการสร้างเอกลักษณ์ให้กับตราสินค้า การใช้บรรจุภัณฑ์ที่สวยงามมีลูกเล่นให้สินค้ามีชีวิตชีวา รวมถึงการให้บริการที่สร้างความประทับใจให้กับลูกค้า การที่ผู้ประกอบการสามารถสร้างและรักษาคุณค่าของธุรกิจของตนเองไว้ได้อย่างเหนียวแน่น ถึงแม้ว่าจะเป็นขนาดกลางหรือขนาดเล็ก
          การเลือกธนาคารที่เหมาะกับการประกอบธุรกิจเบเกอรี่ คือ ธนาคารไทยพาณิชย์  เพราะ ธนาคารไทยพาณิชย์ มีนโยบายปล่อยสินเชื่อให้แก่ผู้ประกอบการรายเล็กเพิ่มมากขึ้น เพื่อรองรับการขยายตัวทางธุรกิจให้สามารถเติบโตได้อย่างสอดคล้องกับสภาวะการฟื้นตัวด้านเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ ในการนำเสนอสินเชื่อธุรกิจแฟรนไชส์เซเว่น อีเลฟเว่น ซึ่งถือเป็นการส่งเสริมให้ผู้ประกอบการรายย่อยของไทยได้เริ่มต้นธุรกิจของตนเอง และเติบโตเป็นรากฐานสำคัญทางเศรษฐกิจของประเทศ โดยความร่วมมือในครั้งนี้จะทำให้ผู้ประกอบการได้รับองค์ความรู้ในการบริหารธุรกิจจากทางเซเว่น อีเลฟเว่น และได้รับการสนับสนุนบริการทางการเงินที่ครบวงจรจากธนาคารไทยพาณิชย์ด้วย

           ส่วนที่ธนาคารต้องปรับปรุง คือ อัตราดอกเบี้ยที่ยังต่ำเกินไปและตู้ ATM ที่มีอยู่จำนวนสาขาน้อยไม่สามารถรองรับการบริการของลูกค้าในยามที่จำเป็นจะต้องใช้เงินในขณะนั้นเลยที่เดียว

นางสาวนิสา พจนาท รหัสนักศึกษา 50473010007
เอก เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ
เลตเตอร์ออฟเครดิต LETTER OF CREDIT

 เครดิตบรรจุPACKING CREDIT

หนังสือคัประกัน LETTER OF GUARANTEE

ทรัสต์รีสีตTRUST RECEIPT

นางสาวรัชนีกร นิยมทัศน์

นางสาวรัชนีกร นิยมทัศน์ รหัสนักศึกษา 50473010006
เอก เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ
โครงสร้างธนาคารออมสิน

โครงสร้างธนาคารไทยพาณิชย์

โครงสร้างธนาคารแห่งประเทศไทย

โครงสร้างธนาคารกรุงศรีอยุธยา

 โครงสร้างธนาคารธนชาต

โครงสร้างธนาคารกสิกรไทย

โครงสร้างธนาคารกรุงเทพ

โครงสร้างธนาคารนครหลวงไทย

โครงสร้างธนาคารกรุงไทย

โครงสร้างธนาคารอาคารสงเคราะห์

โครงสร้างธนาคารเกียรตินาคิน

โครงสร้างธนาคารทิสโก้

โครงสร้างธนาคารซีไอเอ็มบีไทย

ธนาคารที่เหมาะสมกับธุรกิจที่ทำ  ( ธุรกิจสปา )
                 ธุรกิจสปา  คือการที่ให้ลูกค้าเข้ามาใช้บริการเพื่อการบำบัดโรคต่างๆ  มิใช่เพียงเพื่อเข้ามาใช้บริการให้หายเครียดเพียงอย่างเดียว  นอกจากการบำบัดโรคเป็นหลักใหญ่แล้ว  ก็ใช้ในการเสริมความงามอีกได้ด้วยเช่นกัน  สปามิใช่ให้สวยหรู  หรือ พนักงานมีฝีมือเพียงอย่างเดี่ยว  แต่สิ่งหนึ่งที่อยู่เบื้องหลังอย่างแท้จริง  คือผลิตภัณฑ์สปา  ที่มีส่วนผสมของสมุนไพร  และดอกไม้หอม   ประเทศไทยเป็นเมืองเกษตร  ฉะนั้นการที่ภูมิประเทศและสิ่งแวดล้อมทำให้เรามีพืชสมุนไพรและดอกไม้หอมมากมาย  จีงเป็นสิ่งที่สร้างความภาคภูมิใจให้แก่คนไทย

            ธนาคารที่คิดว่าเหมาะสมกับธุรกิจสปาที่เลือก คือ ธนาคารเกียรตินาคิน  เหตุผลที่เลือกเพราะมีการกำหนดกลยุทธ์ที่ดี มีการจัดสายงานที่มีความเข้าใจง่ายไม่ยุ่งยากสับซ้อนและมีการเปิดเผยข้อมูลที่สำคัญทั้งข้อมูลทางการเงินและข้อมูลที่มิใช่ข้อมูลทางการเงินอย่างครบถ้วน  เป็นสายงานที่สามารถกระจายพนักงานได้อย่างทั่วถึง  ประชาชนที่มีความประสงค์ที่ต้องการขอสินเชื่อก็สามารถทำได้   เป็นธนาคารที่มีความน่าเชื่อถือและมีเงินทุนหมุนเวียนที่ดี   จึงเป็นเหตุผลที่เลือกธนาคารเกียรตินาคิน  ที่มีคุณสมบัติที่น่าพึงพอใจ สร้างความไว้วางใจให้ลูกค้า

สิ่งที่ควรปรับปรุง
เนื่องจาก ธนาคารเกียรตินาคิน เป็นธนาคารที่เปิดมาไม่นานทำให้มีจำนวนสาขาน้อย ธนาคารควรเพิ่มจำนวนสาขาให้มากขึ้นเพื่อให้เป็นที่รู้จัก แก่ประชาชน

นางสาวรัชนีกร นิยมทัศน์

นางสาวรัชนีกร นิยมทัศน์ รหัสนักศึกษา 50473010006
เอก เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ
หนังสือคัประกัน LETTER OF GUARANTEE

เลตเตอร์ออฟเครดิต LETTER OF CREDIT

ทรัสต์รีสีตTRUST RECEIPT

เครดิตบรรจุPACKING CREDIT


นายชัยนุกูล เสือเจริญ

นายชัยนุกูล เสือเจริญ รหัสนักศึกษา 50473010017
เอก เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ
โครงสร้างธนาคารกสิกรไทย

โครงสร้างธนาคารนครหลวงไทย

โครงสร้างธนาคารธนชาต

โครงสร้างธนาคารแห่งประเทศไทย




โครงสร้างธนาคารกรุงศรีอยุธยา

โครงสร้างธนาคารไทยพาณิชย์

โครงสร้างธนาคารกรุงเทพ





โครงสร้างธนาคารออมสิน

โครงสร้างธนาคารทิสโก้

โครงสร้างธนาคารอาคารสงเคราะห์

โครงสร้างธนาคารกรุงไทย

โครงสร้างธนาคารซีไอเอ็มบีไทย

โครงสร้างธนาคารเกียรตินาคิน

นายชัยนุกูล เสือเจริญ

นายชันนุกูล เสือเจริญ รหัสนักศึกษา 50473010017
เอก เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ
ธนาคารที่เหมาะสมกับธุรกิจที่ทำ  ( ธุรกิจร้านตัดผม )

          ธุรกิจร้านตัดผมเป็นการประกอบธุรกิจที่มีความเสี่ยง  ถ้าช่างตัดผมไม่มีความชำนาญหรือไม่เชี่ยวชาญพอ  อาจสร้างความไม่พึงพอใจให้แก่ลูกค้า จนเป็นเหตุให้เกิดการฟ้องร้องดำเนินคดีได้  ดังเช่นสถานการณ์ในปัจจุบันที่เป็นข่าว  ฉะนั้นการดำเนินธุรกิจไม่ว่าจะร้านตัดผม หรือธุรกิจใดๆ ควรมีจรรยาบรรณในการประกอบธุรกิจ

          ธนาคารที่คิดว่าเหมาะสมกับธุรกิจร้านตัดผมที่เลือกคือ  ธนาคารกรุงเทพ  เหตุผลเพราะธนาคารชี้ให้เห็นถึงความรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่ด้วยความระมัดระวังรอบคอบ มีความซื่อสัตย์สุจริต และการดำเนินกิจการของธนาคารให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์และข้อบังคับของธนาคาร จึงทำให้ประสบความสำเร็จในการดำเนินงานเป็นอย่างมาก และทำให้หน่วยงานธุรกิจมีความไว้วางใจ  มีความน่าเชื่อถือในหน่วยงานมากยิ่งขึ้น

สิ่งที่ควรปรับปรุง
ธนาคารกรุงเทพมีจำนวนสาขามากดังนั้นจึงควรปรับปรุงเรื่องการประสานงานเกี่ยวกับข้อมูลของลูกค้าซึ่งสามารถทำให้ลูกค้าสามารถใช้บริการได้ทุกสาขา

นายชัยนุกูล เสือเจริญ

 นายชัยนุกูล เสือเจริญ รหัสนักศึกษา 50473010017
เอก เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ
เครดิตบรรจุPACKING CREDIT

ทรัสต์รีสีตTRUST RECEIPT

เลตเตอร์ออฟเครดิต LETTER OF CREDIT

หนังสือคัประกัน LETTER OF GUARANTEE

นางสาวอำพร ธนเสฎธากุล

นางสาวอำพร ธนเสฎธากุล รหัสนักศึกษา 50473010008
เอก เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ
โครงสร้างธนาคารไทยพาณิชย์

โครงสร้างธนาคารแห่งประเทศไทย

โครงสร้างธนาคารออมสิน

โครงสร้างธนาคารกรุงเทพ

โครงสร้างธนาคารธนชาต

โครงสร้างธนาคารกสิกรไทย

โครงสร้างธนาคารกรุงไทย

โครงสร้างธนาคารกรุงศรีอยุธยา

โครงสร้างธนาคารเกียรตินาคิน

โครงสร้างธนาคารซีไอเอ็มบีไทย

โครงสร้างธนาคารอาคารสงเคราะห์

โครงสร้างธนาคารนครหลวงไทย

โครงสร้างธนาคารทิสโก้

ธุรกิจร้านอาหารขวัญดำเนินฯเลือกธนาคารไทยพาณิชย์เหตุผล  คือ 

ธนาคารไทยพาณิชย์เหมาะสมกับธุรกิจร้านอาหารขวัญดำเนินฯเพราะการเพิ่มช่องทางการให้บริการที่สามารถเข้าถึงลูกค้าได้อย่างรวดเร็วและครอบคลุม เช่น Internet Banking และรถ Mobile ปรับปรุงการบริหารโครงการลงทุน  เพื่อเน้นการสร้างมูลค่าเพิ่มและให้ผลตอบแทนการลงทุนที่คุ้มค่าสนับสนุนสินเชื่อเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตแก่ประชาชนและชุมชนระดับฐานราก รวมทั้งการให้สินเชื่อต่อยอดสำหรับลูกค้าชั้นดีที่มีวินัย และมีความต้องการเงินทุนเพื่อขยายกิจการการส่งเสริมทักษะด้านต่าง ๆ เช่น การประกอบอาชีพ การบริหารจัดการ เป็นต้น ให้แก่ลูกค้า ชุมชน และประชาชนทั่วไป ร่วมกับหน่วยงานภาครัฐ  การจัดกิจกรรมส่งเสริมการตลาดสินค้าชุมชน เป็นการผลักดันให้ผลผลิตของชุมชนมีตลาดกว้างขึ้น

สิ่งที่ธนาคารควรปรับปรุง คือ ให้สินเชื่อไม่พอผู้ประกอบการเอสเอ็มอี ไม่ว่ารายย่อย รายกลาง
จึงควรจัดตั้งฝ่ายพัฒนาผู้ประกอบการและองค์ความรู้ เพื่อช่วยเหลือผู้ประกอบการโดยตรง ทั้งในส่วนของศึกษาแผนการเงิน จัดหาเครือข่าย 

นางสาวอำพร ธนเสฎธากุล

นางสาวอำพร ธนเสฎธากุล รหัสนักศึกษา 50473010008
เอก เศรษศาสตร์ธุรกิจ
หนังสือคัประกัน LETTER OF GUARANTEE

ทรัสต์รีสีตTRUST RECEIPT

เลตเตอร์ออฟเครดิต LETTER OF CREDIT

เครดิตบรรจุPACKING CREDIT

นางสาวปวิตรา คลังทอง รหัสนักศึกษา 50473010035 โปรแกรมเศรษศาสตร์ธุรกิจ

แผนผังโครงสร้างองค์กรธนาคาร กสิกรไทย

แผนผังโครงสร้างองค์กรธนาคาร ไทยพาณิชย์

 

แผนผังโครงสร้างองค์กรธนาคาร กรุงเทพ

แผนผังโครงสร้างองค์กรธนาคารกรุงไทย

แผนผังโครงสร้างองค์กรธนาคาร นครหลวงไทย

แผนผังโครงสร้างองค์กรธนาคารออมสิน

แผนผังโครงสร้างองค์กรธนาคาร กรุงศรีอยุธยา

แผนผังโครงสร้างธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร

แผนผังโครงสร้างองค์กรธนาคารอาคารสงเคราะห์

โครงสร้างธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย

แผนผังโครงสร้างองค์กรธนาคาร ซีไอเอ็มบี  ไทย 

แผนผังโครงสร้างองค์กรธนาคารธนชาต

แผนผังโครงสร้างองค์กรธนาคารทิสโก้

แผนผังโครงสร้างองค์กรธนาคาร เกียรตินาคิน

 

แผนผังโครงสร้างองค์กรธนาคารแห่งประเทศไทย

ธุรกิจที่เลือก  คือ ธุรกิจค้าขาย (ข้าวสาร) ซึ่งธนาคารที่เลือกเพื่อที่จะมาสนับสนุนธุรกิจ  คือ  ธนาคารออมสิน  เหตุผลที่เลือกเพราะ

1.ธนาคารออมสิน ให้ความสำคัญกับลูกค้ารายย่อย มุ่งดำเนินการเพื่อตอบสนองความต้องการของ ลูกค้า  ประชาชน รัฐบาล และพนักงาน  โดยเน้นการให้บริการทางการเงินอย่างทั่วถึง โดยเฉพาะประชาชนระดับฐานรากของประเทศ

2.จะเน้นให้สินเชื่อเพื่อพัฒนาชนบท พัฒนาผู้ประกอบการรายย่อย โดยจะมีรูปแบบของสินเชื่อและชนิดการฝากเงินรายย่อยมากมาย โครงการธนาคารเพื่อประชาชนโดยให้สินเชื่อระยะสั้นแก่ผู้ประกอบการรายย่อย ซึ่งปล่อยเงินกู้ได้ง่ายกว่าธนาคารของเอกชนบางแห่ง (ให้ประชาชนมาเป็นหนี้ในระบบ ที่สามารถตรวจสอบได้  เพื่อหลีกเลี่ยงการเป็นหนี้นอกระบบ  และการเก็บดอกเบี้ยตามความเป็นจริง)

3.ให้บริการรูปแบบเงินฝากที่หลายหลายรูปแบบ  รวมทั้งส่งเสริมทั้งด้านการออมและการลงทุน ทั้งยังอำนวยบริการเฉพาะด้านที่หลากหลาย เช่น หน่วยให้บริการเรือเคลื่อนที่ธนาคารออมสินสาขา
ปากคลองตลาด กรุงเทพฯ เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกและจูงใจให้ประชาชนที่อยู่ริมฝั่งแม่น้ำลำคลองได้หันมาออมทรัพย์กันมากขึ้น 

การปรับปรุงบริการด้านต่างๆ

1. ควรมีการบริการด้านการให้สินเชื่อของประชาชนทั่วไปในด้านต่างๆเพิ่มมากขึ้น   และยังขาดสายงานด้านธุรกิจตลาดทุนจึงควรเพิ่มสายงานด้านนี้

2. ระบบการจัดการยังไม่ค่อยดีเท่าที่ควรไม่ดี สู้ธนาคารอื่นไม่ได้ การใช้บริการกับทางธนาคารส่วนใหญ่ต้องใช้เวลานานมาก  เช่น  การฝากเงิน  การถอนเงิน  การเปิดบัญชี  เป็นต้น

3.การให้บริการบางอย่าง  ยังช้าและล้าสมัยอยู่  เช่น  สมุดหายแจ้งแล้วต้องรออีกหลายวัน จึงทำให้ไม่สามารถจะถอนได้  รวมลูกค้าที่มาใช้บริการมีจำนวนมากแต่ระบบการจัดการยังไม่ดี  ทำให้เสียเวลามากขึ้นอีก

---------------------------------------------------------------------------------

ตัวอย่าง   Trust  Receipt (T/R)

 

ตัวอย่าง  Packing  Credit (P/C)


 

ตัวอย่าง  Letter  of  Credit (L/C)

 

ตัวอย่าง  Letter  of  Guarantee  (L/G)

ตัวอย่าง  Avalled

การรับรองและอาวัลตั๋ว  :  Avalled  / Accepted  Bills

นางสาวปัทมา พิมพ์ศรี 50473010034 เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

โครงสร้างธนาคารแห่งประเทศไทย

โครงสร้างธนาคารกรุงศรีอยุธยา

โครงสร้างธนาคารซีไอเอ็มบีไทย

โครงสร้างธนาคารนครหลวงไทย

โครงสร้างธนาคารกรุงเทพ

โครงสร้างธนาคารออมสิน

โครงสร้างธนาคารไทยพาณิชย์

โครงสร้างธนาคารอาคารสงเคราะห์

โครงสร้างธนาคารธนชาต

โครงสร้างธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย 

 

โครงสร้างธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร

โครงสร้างธนาคารกสิกรไทย

โครงสร้างธนาคารทิสโก้

โครงสร้างธนาคารเกียรตินาคิน

โจทย์  หารูป  L/C ,  L/G , P/C , T/R , Avalled 

  1. เลตเตอร์ออฟเครดิต : Letter  of  Credit  (L/C)

2.  หนังสือค้ำประกัน  :  Letter  of  Guarantee (L/G)

3. แพคกิ้งเครดิต  :  Packing  Credit  (P/C)

4.  ทรัสต์รีซีท  :  Trust  Receipt  (T/R) 

5.  การรับรองและอาวัลตั๋ว  :  Avalled  / Accepted  Bills

นางสาวปัทมา พิมพ์ศรี รหัส 50473010034 เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

ธุรกิจที่เลือก คือ ธุรกิจโลจิสติกส์ซึ่งธนาคารที่เลือกเพื่อที่จะมาสนับสนุนธุรกิจ คือ ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่ประเทศไทย

เหตุผลที่เลือกเพราะ เป็นธนาคารที่ช่วยเหลือด้านการเงินแก่ผู้ประกอบการในกลุ่มธุรกิจโลจิสติกส์ที่ได้รับผลกระทบจากวิกฤตเศรษฐกิจ และที่สำคัญเป็นเงินทุนหมุนเวียนในการดำเนินกิจการ

กลุ่มเป้าหมาย

ผู้ประกอบการ SMEs ในกลุ่มธุรกิจโลจิสติกส์เป้าหมาย ได้แก่

-กลุ่มธุรกิจผู้รับจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ -กลุ่มธุรกิจผู้รับจัดการขนส่งสินค้าทางน้ำ

-กลุ่มธุรกิจตัวแทนขนส่งสินค้าทางอากาศ

-กลุ่มธุรกิจการขนส่งสินค้าทางถนน

-กลุ่มธุรกิจตัวแทนออกของรับอนุญาต

-กลุ่มธุรกิจโลจิสติกส์อื่นๆ ตามที่กระทรวงพาณิชย์กำหนด

ภาพรวมของอุตสาหกรรม ; แนวโน้มการเติบโตของอุตสาหกรรม & มาตรฐานในการประกอบการในอุตสาหกรรมที่ดีตลอดจน Benchmark อื่นๆที่สำคัญในอุตสาหกรรม นโยบายสนับสนุนจากภาครัฐ (ถ้ามี)

มีการวิเคราะห์สถานการณ์ (SWOT A nalysis)

จุดแข็งของกิจการ : ปัจจัยภายในที่ทำให้กิจการมีความได้เปรียบในการแข่งขันเมื่อเปรียบเทียบกับคู่แข่งหลัก / คู่แข่งรอง

จุดอ่อนของกิจการ : ปัจจัยภายในที่ทำให้กิจการมีความเสียเปรียบในการแข่งขันเมื่อเปรียบเทียบกับคู่แข่งหลัก / คู่แข่งรอง

โอกาสของธุรกิจ : ปัจจัยภายนอกที่จะเสริมให้กิจการเติบโตต่อไปในอนาคต

อุปสรรคของธุรกิจ : ปัจจัยภายนอกที่จะทำให้กิจการไม่รุ่งเรือง หรือเติบโตช้า

โครงสร้างธนาคารแห่งประเทศไทย

โครงสร้างธนาคารกรุงศรีอยุธยา

โครงสร้างธนาคารซีไอเอ็มบีไทย

โครงสร้างธนาคารนครหลวงไทย

โครงสร้างธนาคารกรุงเทพ

โครงสร้างธนาคารออมสิน

โครงสร้างธนาคารไทยพาณิชย์

โครงสร้างธนาคารอาคารสงเคราะห์

โครงสร้างธนาคารธนชาต

โครงสร้างธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย 

 

โครงสร้างธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร

 

โครงสร้างธนาคารกสิกรไทย

โครงสร้างธนาคารทิสโก้

โครงสร้างธนาคารเกียรตินาคิน

โจทย์  หารูป  L/C ,  L/G , P/C , T/R , Avalled 

  1. เลตเตอร์ออฟเครดิต : Letter  of  Credit  (L/C)

2.  หนังสือค้ำประกัน  :  Letter  of  Guarantee (L/G)

3. แพคกิ้งเครดิต  :  Packing  Credit  (P/C)

4.  ทรัสต์รีซีท  :  Trust  Receipt  (T/R) 

5.  การรับรองและอาวัลตั๋ว  :  Avalled  / Accepted  Bills

ธุรกิจร้านสายไฮดรอลิกรัศมีจักรกลเลือกธนาคารไทยพาณิชย์เหตุผล  คือ   

ธนาคารไทยพาณิชย์เหมาะสมกับธุรกิจร้านอาหารขวัญดำเนินฯเพราะการเพิ่มช่องทางการให้บริการที่สามารถเข้าถึงลูกค้าได้อย่างรวดเร็วและครอบคลุม เช่น Internet Banking และรถ Mobile ปรับปรุงการบริหารโครงการลงทุน  เพื่อเน้นการสร้างมูลค่าเพิ่มและให้ผลตอบแทนการลงทุนที่คุ้มค่าสนับสนุนสินเชื่อเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตแก่ประชาชนและชุมชนระดับฐานราก รวมทั้งการให้สินเชื่อต่อยอดสำหรับลูกค้าชั้นดีที่มีวินัย และมีความต้องการเงินทุนเพื่อขยายกิจการการส่งเสริมทักษะด้านต่าง ๆ เช่น การประกอบอาชีพ การบริหารจัดการ เป็นต้น ให้แก่ลูกค้า ชุมชน และประชาชนทั่วไป ร่วมกับหน่วยงานภาครัฐ  การจัดกิจกรรมส่งเสริมการตลาดสินค้าชุมชน เป็นการผลักดันให้ผลผลิตของชุมชนมีตลาดกว้างขึ้น

สิ่งที่ธนาคารควรปรับปรุง คือ ให้สินเชื่อไม่พอผู้ประกอบการเอสเอ็มอี ไม่ว่ารายย่อย รายกลาง
จึงควรจัดตั้งฝ่ายพัฒนาผู้ประกอบการและองค์ความรู้ เพื่อช่วยเหลือผู้ประกอบการโดยตรง ทั้งในส่วนของศึกษาแผนการเงิน จัดหาเครือข่าย

 

 

นางสาว ชมพูนุช  เอี่ยมจันทร์

รหัส 50473010038 เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

โครงสร้างธนาคารแห่งประเทศไทย

โครงสร้างธนาคารกรุงศรีอยุธยา

โครงสร้างธนาคารซีไอเอ็มบีไทย

โครงสร้างธนาคารนครหลวงไทย

โครงสร้างธนาคารกรุงเทพ

โครงสร้างธนาคารออมสิน

โครงสร้างธนาคารไทยพาณิชย์

โครงสร้างธนาคารอาคารสงเคราะห์

โครงสร้างธนาคารธนชาต

โครงสร้างธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย 

 

โครงสร้างธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร

 

โครงสร้างธนาคารกสิกรไทย

โครงสร้างธนาคารทิสโก้

โครงสร้างธนาคารเกียรตินาคิน

โจทย์  หารูป  L/C ,  L/G , P/C , T/R , Avalled 

  1. เลตเตอร์ออฟเครดิต : Letter  of  Credit  (L/C)

2.  หนังสือค้ำประกัน  :  Letter  of  Guarantee (L/G)

3. แพคกิ้งเครดิต  :  Packing  Credit  (P/C)

4.  ทรัสต์รีซีท  :  Trust  Receipt  (T/R) 

5.  การรับรองและอาวัลตั๋ว  :  Avalled  / Accepted  Bills

ธุรกิจร้านสายไฮดรอลิกรัศมีจักรกลเลือกธนาคารไทยพาณิชย์เหตุผล  คือ   

ธนาคารไทยพาณิชย์เหมาะสมกับธุรกิจร้านอาหารขวัญดำเนินฯเพราะการเพิ่มช่องทางการให้บริการที่สามารถเข้าถึงลูกค้าได้อย่างรวดเร็วและครอบคลุม เช่น Internet Banking และรถ Mobile ปรับปรุงการบริหารโครงการลงทุน  เพื่อเน้นการสร้างมูลค่าเพิ่มและให้ผลตอบแทนการลงทุนที่คุ้มค่าสนับสนุนสินเชื่อเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตแก่ประชาชนและชุมชนระดับฐานราก รวมทั้งการให้สินเชื่อต่อยอดสำหรับลูกค้าชั้นดีที่มีวินัย และมีความต้องการเงินทุนเพื่อขยายกิจการการส่งเสริมทักษะด้านต่าง ๆ เช่น การประกอบอาชีพ การบริหารจัดการ เป็นต้น ให้แก่ลูกค้า ชุมชน และประชาชนทั่วไป ร่วมกับหน่วยงานภาครัฐ  การจัดกิจกรรมส่งเสริมการตลาดสินค้าชุมชน เป็นการผลักดันให้ผลผลิตของชุมชนมีตลาดกว้างขึ้น

สิ่งที่ธนาคารควรปรับปรุง คือ ให้สินเชื่อไม่พอผู้ประกอบการเอสเอ็มอี ไม่ว่ารายย่อย รายกลาง
จึงควรจัดตั้งฝ่ายพัฒนาผู้ประกอบการและองค์ความรู้ เพื่อช่วยเหลือผู้ประกอบการโดยตรง ทั้งในส่วนของศึกษาแผนการเงิน จัดหาเครือข่าย

นางสาว พานุมาศ อุตตะรถ

รหัส 50473010050 เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

โครงสร้างธนาคารแห่งประเทศไทย

โครงสร้างธนาคารกรุงศรีอยุธยา

โครงสร้างธนาคารซีไอเอ็มบีไทย

โครงสร้างธนาคารนครหลวงไทย

โครงสร้างธนาคารกรุงเทพ

โครงสร้างธนาคารออมสิน

โครงสร้างธนาคารไทยพาณิชย์

โครงสร้างธนาคารอาคารสงเคราะห์

โครงสร้างธนาคารธนชาต

โครงสร้างธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย 

 

โครงสร้างธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร

 

โครงสร้างธนาคารกสิกรไทย

โครงสร้างธนาคารทิสโก้

โครงสร้างธนาคารเกียรตินาคิน

โจทย์  หารูป  L/C ,  L/G , P/C , T/R , Avalled 

  1. เลตเตอร์ออฟเครดิต : Letter  of  Credit  (L/C)

2.  หนังสือค้ำประกัน  :  Letter  of  Guarantee (L/G)

3. แพคกิ้งเครดิต  :  Packing  Credit  (P/C)

4.  ทรัสต์รีซีท  :  Trust  Receipt  (T/R) 

5.  การรับรองและอาวัลตั๋ว  :  Avalled  / Accepted  Bills

ธุรกิจร้านฟรุ๊ตตี้เลือกธนาคาร ออมสิน เหตุผล  คือ   

ธนาคารออมสินเหมาะสมกับธุรกิจร้านฟรุ๊ตตี้เพราะการเพิ่มช่องทางการให้บริการที่สามารถเข้าถึงลูกค้าได้อย่างรวดเร็วและครอบคลุม เช่น Internet Banking และรถ Mobile ปรับปรุงการบริหารโครงการลงทุน  เพื่อเน้นการสร้างมูลค่าเพิ่มและให้ผลตอบแทนการลงทุนที่คุ้มค่าสนับสนุนสินเชื่อเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตแก่ประชาชนและชุมชนระดับฐานราก รวมทั้งการให้สินเชื่อต่อยอดสำหรับลูกค้าชั้นดีที่มีวินัย และมีความต้องการเงินทุนเพื่อขยายกิจการการส่งเสริมทักษะด้านต่าง ๆ เช่น การประกอบอาชีพ การบริหารจัดการ เป็นต้น ให้แก่ลูกค้า ชุมชน และประชาชนทั่วไป ร่วมกับหน่วยงานภาครัฐ  การจัดกิจกรรมส่งเสริมการตลาดสินค้าชุมชน เป็นการผลักดันให้ผลผลิตของชุมชนมีตลาดกว้างขึ้น

สิ่งที่ธนาคารควรปรับปรุง คือ ให้สินเชื่อไม่พอผู้ประกอบการเอสเอ็มอี ไม่ว่ารายย่อย รายกลาง
จึงควรจัดตั้งฝ่ายพัฒนาผู้ประกอบการและองค์ความรู้ เพื่อช่วยเหลือผู้ประกอบการโดยตรง ทั้งในส่วนของศึกษาแผนการเงิน จัดหาเครือข่าย

เกียรติชัย เกียรติสูงส่ง

นายเกียรติชัย เกียรติสูงส่ง  

คณะวิทยาการจัดการ โปรแกรมเศรษฐศาสตร์

รหัสนักศึกษา 50473010045

 

ธุรกืจที่ผมเลือก
                 ธุรกิจสปา  คือการที่ให้ลูกค้าเข้ามาใช้บริการเพื่อการบำบัดโรคต่างๆ  มิใช่เพียงเพื่อเข้ามาใช้บริการให้หายเครียดเพียงอย่างเดียว  นอกจากการบำบัดโรคเป็นหลักใหญ่แล้ว  ก็ใช้ในการเสริมความงามอีกได้ด้วยเช่นกัน  สปามิใช่ให้สวยหรู  หรือ พนักงานมีฝีมือเพียงอย่างเดี่ยว  แต่สิ่งหนึ่งที่อยู่เบื้องหลังอย่างแท้จริง  คือผลิตภัณฑ์สปา  ที่มีส่วนผสมของสมุนไพร  และดอกไม้หอม   ประเทศไทยเป็นเมืองเกษตร  ฉะนั้นการที่ภูมิประเทศและสิ่งแวดล้อมทำให้เรามีพืชสมุนไพรและดอกไม้หอมมากมาย  จีงเป็นสิ่งที่สร้างความภาคภูมิใจให้แก่คนไทย

            ธนาคารที่คิดว่าเหมาะสมกับธุรกิจสปาที่เลือก คือ ธนาคารเกียรตินาคิน  เหตุผลที่เลือกเพราะมีการกำหนดกลยุทธ์ที่ดี มีการจัดสายงานที่มีความเข้าใจง่ายไม่ยุ่งยากสับซ้อนและมีการเปิดเผยข้อมูลที่สำคัญทั้งข้อมูลทางการเงินและข้อมูลที่มิใช่ข้อมูลทางการเงินอย่างครบถ้วน  เป็นสายงานที่สามารถกระจายพนักงานได้อย่างทั่วถึง  ประชาชนที่มีความประสงค์ที่ต้องการขอสินเชื่อก็สามารถทำได้   เป็นธนาคารที่มีความน่าเชื่อถือและมีเงินทุนหมุนเวียนที่ดี   จึงเป็นเหตุผลที่เลือกธนาคารเกียรตินาคิน  ที่มีคุณสมบัติที่น่าพึงพอใจ สร้างความไว้วางใจให้ลูกค้า

สิ่งที่ควรปรับปรุง
เนื่องจาก ธนาคารเกียรตินาคิน เป็นธนาคารที่เปิดมาไม่นานทำให้มีจำนวนสาขาน้อย ธนาคารควรเพิ่มจำนวนสาขาให้มากขึ้นเพื่อให้เป็นที่รู้จัก แก่ประชาชน

 

แผนผังโครงสร้างองค์กรธนาคาร กสิกรไทย

แผนผังโครงสร้างองค์กรธนาคาร ไทยพาณิชย์

 

แผนผังโครงสร้างองค์กรธนาคาร กรุงเทพ

แผนผังโครงสร้างองค์กรธนาคารกรุงไทย

แผนผังโครงสร้างองค์กรธนาคาร นครหลวงไทย

แผนผังโครงสร้างองค์กรธนาคารออมสิน

แผนผังโครงสร้างองค์กรธนาคาร กรุงศรีอยุธยา

แผนผังโครงสร้างธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร

แผนผังโครงสร้างองค์กรธนาคารอาคารสงเคราะห์

โครงสร้างธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย

แผนผังโครงสร้างองค์กรธนาคาร ซีไอเอ็มบี  ไทย 

แผนผังโครงสร้างองค์กรธนาคารธนชาต

แผนผังโครงสร้างองค์กรธนาคารทิสโก้

แผนผังโครงสร้างองค์กรธนาคาร เกียรตินาคิน

 

แผนผังโครงสร้างองค์กรธนาคารแห่งประเทศไทย

 

ตัวอย่าง   Trust  Receipt (T/R)

 

ตัวอย่าง  Packing  Credit (P/C)


 

ตัวอย่าง  Letter  of  Credit (L/C)

 

ตัวอย่าง  Letter  of  Guarantee  (L/G)

ตัวอย่าง  Avalled

การรับรองและอาวัลตั๋ว  :  Avalled  / Accepted  Bills

นางสาว ญาณิศา แสงเพชร

รหัส 50473010051 เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

โครงสร้างธนาคารแห่งประเทศไทย

โครงสร้างธนาคารกรุงศรีอยุธยา

โครงสร้างธนาคารซีไอเอ็มบีไทย

โครงสร้างธนาคารนครหลวงไทย

โครงสร้างธนาคารกรุงเทพ

โครงสร้างธนาคารออมสิน

โครงสร้างธนาคารไทยพาณิชย์

โครงสร้างธนาคารอาคารสงเคราะห์

โครงสร้างธนาคารธนชาต

โครงสร้างธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย 

 

โครงสร้างธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร

 

โครงสร้างธนาคารกสิกรไทย

โครงสร้างธนาคารทิสโก้

โครงสร้างธนาคารเกียรตินาคิน

โจทย์  หารูป  L/C ,  L/G , P/C , T/R , Avalled 

  1. เลตเตอร์ออฟเครดิต : Letter  of  Credit  (L/C)

2.  หนังสือค้ำประกัน  :  Letter  of  Guarantee (L/G)

3. แพคกิ้งเครดิต  :  Packing  Credit  (P/C)

4.  ทรัสต์รีซีท  :  Trust  Receipt  (T/R) 

5.  การรับรองและอาวัลตั๋ว  :  Avalled  / Accepted  Bills

ธุรกิจร้านเบอร์เกอร์รี่เลือกธนาคาร ออมสิน เหตุผล  คือ   

ธนาคารออมสินเหมาะสมกับธุรกิจร้านเพราะการเพิ่มช่องทางการให้บริการที่สามารถเข้าถึงลูกค้าได้อย่างรวดเร็วและครอบคลุม เช่น Internet Banking และรถ Mobile ปรับปรุงการบริหารโครงการลงทุน  เพื่อเน้นการสร้างมูลค่าเพิ่มและให้ผลตอบแทนการลงทุนที่คุ้มค่าสนับสนุนสินเชื่อเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตแก่ประชาชนและชุมชนระดับฐานราก รวมทั้งการให้สินเชื่อต่อยอดสำหรับลูกค้าชั้นดีที่มีวินัย และมีความต้องการเงินทุนเพื่อขยายกิจการการส่งเสริมทักษะด้านต่าง ๆ เช่น การประกอบอาชีพ การบริหารจัดการ เป็นต้น ให้แก่ลูกค้า ชุมชน และประชาชนทั่วไป ร่วมกับหน่วยงานภาครัฐ  การจัดกิจกรรมส่งเสริมการตลาดสินค้าชุมชน เป็นการผลักดันให้ผลผลิตของชุมชนมีตลาดกว้างขึ้น

สิ่งที่ธนาคารควรปรับปรุง คือ ให้สินเชื่อไม่พอผู้ประกอบการเอสเอ็มอี ไม่ว่ารายย่อย รายกลาง
จึงควรจัดตั้งฝ่ายพัฒนาผู้ประกอบการและองค์ความรู้ เพื่อช่วยเหลือผู้ประกอบการโดยตรง ทั้งในส่วนของศึกษาแผนการเงิน จัดหาเครือข่าย

นางสาว ชมพูนุช เอี่ยมจันทร์

รหัส 50473010038 เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

โครงสร้างธนาคารแห่งประเทศไทย

โครงสร้างธนาคารกรุงศรีอยุธยา

โครงสร้างธนาคารซีไอเอ็มบีไทย

โครงสร้างธนาคารนครหลวงไทย

โครงสร้างธนาคารกรุงเทพ

โครงสร้างธนาคารออมสิน

โครงสร้างธนาคารไทยพาณิชย์

โครงสร้างธนาคารอาคารสงเคราะห์

โครงสร้างธนาคารธนชาต

โครงสร้างธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย 

 

โครงสร้างธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร

 

โครงสร้างธนาคารกสิกรไทย

โครงสร้างธนาคารทิสโก้

โครงสร้างธนาคารเกียรตินาคิน

โจทย์  หารูป  L/C ,  L/G , P/C , T/R , Avalled 

  1. เลตเตอร์ออฟเครดิต : Letter  of  Credit  (L/C)

2.  หนังสือค้ำประกัน  :  Letter  of  Guarantee (L/G)

3. แพคกิ้งเครดิต  :  Packing  Credit  (P/C)

4.  ทรัสต์รีซีท  :  Trust  Receipt  (T/R) 

5.  การรับรองและอาวัลตั๋ว  :  Avalled  / Accepted  Bills

ธุรกิจร้านเบอร์เกอร์รี่เลือกธนาคาร กรุงไทย เหตุผล  คือ   

ธนาคารกรุงไทยเหมาะสมกับธุรกิจร้านเพราะการเพิ่มช่องทางการให้บริการที่สามารถเข้าถึงลูกค้าได้อย่างรวดเร็วและครอบคลุม เช่น Internet Banking และรถ Mobile ปรับปรุงการบริหารโครงการลงทุน  เพื่อเน้นการสร้างมูลค่าเพิ่มและให้ผลตอบแทนการลงทุนที่คุ้มค่าสนับสนุนสินเชื่อเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตแก่ประชาชนและชุมชนระดับฐานราก รวมทั้งการให้สินเชื่อต่อยอดสำหรับลูกค้าชั้นดีที่มีวินัย และมีความต้องการเงินทุนเพื่อขยายกิจการการส่งเสริมทักษะด้านต่าง ๆ เช่น การประกอบอาชีพ การบริหารจัดการ เป็นต้น ให้แก่ลูกค้า ชุมชน และประชาชนทั่วไป ร่วมกับหน่วยงานภาครัฐ  การจัดกิจกรรมส่งเสริมการตลาดสินค้าชุมชน เป็นการผลักดันให้ผลผลิตของชุมชนมีตลาดกว้างขึ้น

สิ่งที่ธนาคารควรปรับปรุง คือ ให้สินเชื่อไม่พอผู้ประกอบการเอสเอ็มอี ไม่ว่ารายย่อย รายกลาง
จึงควรจัดตั้งฝ่ายพัฒนาผู้ประกอบการและองค์ความรู้ เพื่อช่วยเหลือผู้ประกอบการโดยตรง ทั้งในส่วนของศึกษาแผนการเงิน จัดหาเครือข่าย

นางสาวเหมือนฝัน คำใจดี รหัส 50473010049 สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

LETTER OF CREDIT

PACKING CREDIT

LETTER OF GUARANTEE

TRUST RECEIPT

 

น.ส. ลัดดา วงษ์สวาท

                                        

น.ส. ลัดดา   วงษ์สวาท

รหัส  50473010060

โปรแกรม เศรษศสาตร์

 

                                   ตราสารทางการเงิน

1. Trust  Receipt (T/R)

 

2.  Packing  Credit (P/C)


 

 3. Letter  of  Credit ( L/C )


4. Letter   of  Guarantee    (L/G)


5.  Avalled  / Accepted  Bills

 

 

                                แผนผังโครงสร้างองค์กร ธนาคาร

แผนผังโครงสร้างธนาคารอาคารสงเคราะห์

เเผนผังโครงสร้างธนาคารธนชาต

แผนผังโครงสร้างธนาคารเกียรตินาคิน

 

แผนผังโครงสร้างธนาคารกสิกรไทย

แผนผังโครงสร้างธนาคารกรุงไทย

แผนผังโครงสร้างธนาคารกรุงศรีอยุธยา

แผนผังโครงสร้างธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย 

 

 

แผนผังโครงสร้างธนาคารนครหลวงไทย

แผนผังโครงสร้างธนาคารกรุงเทพ

 

แผนผังโครงสร้างธนาคารออมสิน

แผนผังโครงสร้างธนาคารไทยพาณิชย์

 

แผนผังโครงสร้างธนาคารซีไอเอ็มบีไทย

แผนผังโครงสร้างธนาคารแห่งประเเทศไทย

 

ธุรกิจที่เลือก  คือ  การทำร้านอาหารเพื่อสุขภาพ

       ในปัจจุบัน  รูปแบบการดำเนินชีวิตของผู้คนเปลี่ยนแปลงไป อีกทั้งเวลากลายเป็นข้อจำกัดในการดำเนินชีวิต  ทำให้พฤติกรรมต่างๆในเเต่ละวันต้องปรับเปลี่ยนให้เหมาะสม  เหตุนี้ด้วยความที่เเนวโน้มของร้านอาหารเพื่อสุขภาพได้รับความนิยมสูงขึ้น  เพื่อตอบสนองความต้องการผู้บริโภคทุกเพศทุกวัย  จึงเล็งเห็นช่องทางในการนำเสนอร้านอาหารเพื่อสุขภาพที่สมบูรณ์แบบ

          ในการลงทุน  อาจต้องจัดหาเงินทุนโดยการออกหุ้นสามัญและขอกู้เงินจากธนาคารโดยเลือก ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย (SME)  เพราะ   มีการบริการที่ดี และเป็นธนาคารที่เหมาะสำหรับผู้ประกอบธุรกิจ ให้คำปรึกษาในการประกอบธุรกิจ 
1. ดำเนินธุรกิจด้านการให้คำปรึกษาด้านการเงินและการลงทุน 
2. บริการรับเขียนแผนธุรกิจเพื่อขอรับการสนับสนุนด้านสินเชื่อโครงการธุรกิจ     
3. บริการ รับเขียนแผนธุรกิจเพื่อหาผู้ร่วมทุนโครงการธุรกิจ                                  4. บริการ รับเขียนแผนธุรกิจเพื่อขอเงินทุนหมุนเวียนโครงการ                               5. บริการ รับเขียนแผนวิเคราะห์โครงการเพื่อศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการลงทุน
6. บริการ รับเขียนแผนปรับโครงสร้างหนี้กิจการ (Refinance) ยื่นต่อสถาบันการเงิน
8. สถาบันการเงิน งานออกแบบ รับเหมาก่อสร้าง ขออนุญาติ
9. บริการ วิเคราะห์งบการเงินเพื่อการบริหาร การศึกษาความเป็นไปได้ทางการเงินและการลงทุน
10. บริการ ที่ปรึกษาทางการเงิน ที่ปรึกษาด้านการเงิน และการบัญชี บัญชี การวางระบบบัญชี รับทำบัญชี ตรวจสอบบัญชี สอบบัญชี การควบคุมภายใน ตรวจสอบภายใน สำนักงานบัญชี ฯ
11. บริการ ที่ปรึกษาธุรกิจ ที่ปรึกษาด้านการตลาด แผนการตลาด วางแผนการตลาด วางแผนกลยุทธ์ แผนการโฆษณาและประชาสัมพันธ์ กิจกรรมทางการตลาด ทุกประเภทฯ Hot !!
12. บริการ งานวิจัย วิจัยตลาด วิจัยธุรกิจ และวิจัยผลิตภัณฑ์ ที่ปรึกษางานวิจัย ที่ปรึกษาโครงการวิจัย จัดทำวิจัย ทำวิจัย วิจัย วิเคราะห์ค่าสถิติ                             13. บริการ ที่ปรึกษาด้านกฎหมาย/ว่าคดีความ ทำคดีและธุรกรรมด้านกฎหมาย
14. บริการ ประเมินราคาทรัพย์สิน ทุกประเภทเพื่อประเมินมูลค่าทรัพย์สิน, เพื่อเป็นหลักทรัพย์จำนอง,เพื่อการซื้อขาย,เพื่อทราบมูลค่าทรัพย์สินที่ถือครอง,เพื่อแจกแจงทรัพย์สินและ การลงทุน ฯ
15. บริการ รับเขียนแผนธุรกิจโครงการนักศึกษาทุกสถาบันฯ (พิเศษ) Hot !!
16. บริการ รับวางแผนธุรกิจเข้าสู่ระบบธุรกิจแฟรนไชส์ New !
17. บริการ รับเขียนคู่มือระบบธุรกิจแฟรนไชส์ New !
18. ที่ปรึกษา ธุรกิจเว็บไซต์ เว็บธุรกิจ เว็บวาไรตี้ เว็บช็อปปิ้ง ฯ ออกแบบเว็บไซต์ วางแผนงานการตลาด โครงสร้างธุรกิจเว็บไซต์ ดูแลพัฒนาระบบการจัดการเว็บไซต์ ฯ

วัตถุประสงค์เพื่อที่จะเป็นแนวทางให้แก่ผู้ประกอบการหรือผู้ที่ต้องการลงทุนในธุรกิจแต่ไม่ทราบว่าจะเริ่มต้นอย่างไร โดยเฉพาะการขาดเงินทุนหมุนเวียนเพื่อประกอบกิจการหรือเริ่มต้นกิจการใหม่ การวางแผนธุรกิจ การบริหาทีมงานพร้อมให้คำปรึกษาแก่ท่าน ด้วยคุณภาพและมีประสบการณ์โดยตรง จะให้บริการด้วยความซื่อสัตย์สุจริต เที่ยงตรง  เพื่อให้ธุรกิจของท่านประสบผลสำเร็จ 

ประโยชน์ที่สถานประกอบการจะได้รับ
1. เป็นเครื่องมือที่ดีสำหรับผู้ประกอบการในการเปลี่ยนความคิดที่เป็นนามธรรมให้เป็นโอกาสทางธุรกิจ
2. สถานประกอบการมีแนวทางดำเนินงานที่ชัดเจน และ สอดคล้องกับ วิสัยทัศน์ และเป้าหมายขององค์กร
3. สถานประกอบการมีข้อมูลเพื่อเสนอให้ผู้กู้ หรือสถาบันการเงินต่างๆ เพื่อขอกู้เงินมาลงทุนประกอบธุรกิจ
4. สถานประกอบการมีโอกาสทบทวนธุรกิจอยู่เสมอ โดยพิจารณามุมมองและปัจจัยทุกๆด้านที่เป็นสิ่งแวดล้อมทางธุรกิจทำให้สามารถลดความเสี่ยงในการดำเนินธุรกิจ
5. เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการเตรียมความพร้อมในการทำธุรกิจ หรือปรับปรุงธุรกิจให้สามารถแข่งขันได้

เเต่สิ่งที่ธนาคารควรปรับปรุง  คือ  เพื่อให้ได้รับความพึงพอใจสูงสุดควรมีการอนุมัติสินเชื่อ    ตลอดจนเงินกู้โดยให้มีรายละเอียดข้อบังคับที่เหมาะสมเเก่ผู้ประกอบการในหลายรูปแบบ



        

นางสาวเหมือนฝัน คำใจดี รหัส 50473010049 สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

(เพิ่มเติม)

โครงสร้างธนาคารแห่งประเทศไทย

 

โครงสร้างธนาคารออมสิน

 

 

โครงสร้างธนาคารไทยพาณิชย์

 

 

โครงสร้างธนาคารกรุงศรีอยุธยา

 

 

โครงสร้างธนาคารธนชาต

 

 

โครงสร้างธนาคารกสิกรไทย

 

 

โครงสร้างธนาคารกรุงเทพ

 

 

 

โครงสร้างธนาคารนครหลวงไทย

 

 

โครงสร้างธนาคารกรุงไทย

 

 

โครงสร้างธนาคารอาคารสงเคราะห์

 

โครงสร้างธนาคารเกียรตินาคิน

 

โครงสร้างธนาคารทิสโก้

 

 

โครงสร้างธนาคารซีไอเอ็มบีไทย

 

ธุรกิจร้านอาหาร(สกุลเงิน)เลือกธนาคารไทยพาณิชย์เหตุผล  คือ   

ธนาคารไทยพาณิชย์เหมาะสมกับธุรกิจร้านอาหาร(สกุลเงิน)เพราะการเพิ่มช่องทางการให้บริการที่สามารถเข้าถึงลูกค้าได้อย่างรวดเร็วและครอบคลุม เช่น Internet Banking และรถ Mobile ปรับปรุงการบริหารโครงการลงทุน  เพื่อเน้นการสร้างมูลค่าเพิ่มและให้ผลตอบแทนการลงทุนที่คุ้มค่าสนับสนุนสินเชื่อเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตแก่ประชาชนและชุมชนระดับฐานราก รวมทั้งการให้สินเชื่อต่อยอดสำหรับลูกค้าชั้นดีที่มีวินัย และมีความต้องการเงินทุนเพื่อขยายกิจการการส่งเสริมทักษะด้านต่าง ๆ เช่น การประกอบอาชีพ การบริหารจัดการ เป็นต้น ให้แก่ลูกค้า ชุมชน และประชาชนทั่วไป ร่วมกับหน่วยงานภาครัฐ  การจัดกิจกรรมส่งเสริมการตลาดสินค้าชุมชน เป็นการผลักดันให้ผลผลิตของชุมชนมีตลาดกว้างขึ้น

สิ่งที่ธนาคารควรปรับปรุง คือ ให้สินเชื่อไม่พอผู้ประกอบการเอสเอ็มอี ไม่ว่ารายย่อย รายกลาง
จึงควรจัดตั้งฝ่ายพัฒนาผู้ประกอบการและองค์ความรู้ เพื่อช่วยเหลือผู้ประกอบการโดยตรง ทั้งในส่วนของศึกษาแผนการเงิน จัดหาเครือข่าย

 

 

นางสาวอำพร ธนเสฎธากุล.

นางสาวอำพร  ธนเสฎธากุล.รหัสนักศึกษา  50473010008

โปรแกรมวิชาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

...............................................................................

1.บริษัท เจ้าพระยาประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ชื่อบริษัท/COMPANIES
สำนักงานใหญ่/HEAD OFFICE
บริษัท เจ้าพระยาประกันภัย จำกัด (มหาชน)
3675 อาคารกรุงไทยแทรคเตอร์ ชั้น 4 - 5 ถนนพระราม 4
ข.พระโขนง เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110
โทร. : 0-2261-9955, 0-2661-3355
โทรสาร : 0-2261-3775

นายชำนาญ เมธปรีชากุล ผู้อำนวยการใหญ่

2.บริษัทเอเชียประกันภัย 1950 จำกัด

ที่อยู่ บริษัทเอเชียประกันภัย 1950 จำกัด ศูนย์บริการนนทบุรี (หมู่บ้านประชานิเวศน์3) 16 หมู่บ้านประชานิเวศน์3 ซอย 8 ถ.สามัคคี ต.ท่าทราย อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000
โทร. 086-316-4989
โทรสาร 02-952-0499

นายจุลพยัพ ศรีกาญจนา ประธานคณะกรรมการบริษัทเอเชียประกันภัย

3.บริษัท เทเวศประกันภัย จำกัด (มหาชน)

 
สำนักงานใหญ่ บริษัท เทเวศประกันภัย จำกัด (มหาชน)
ที่อยู่ 97, 99 อาคารเทเวศประกันภัย ถนนราชดำเนินกลาง เขตพระนคร กรุงเทพ 10200
โทรศัพท์ 0-2670-4444
แฟกซ์ 0-2629-1080

นายอนันต์ เกษเกษมสุข กรรมการผู้จัดการ

4.บริษัท อาคเนย์ประกันภัย จำกัด

ชื่อบริษัท/COMPANIES
สำนักงานใหญ่/HEAD OFFICE
บริษัท อาคเนย์ประกันภัย จำกัด
315 ชั้น G - ชั้น 3 อาคารอาคเนย์ประกันภัย ถนนสีลม
ข.บางรัก เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500
โทร. : 0-2631-1331, 0-2267-7777
โทรสาร : 0-2237-7409

เจริญ  สิริวัฒนภักดี ประธานกรรมการ

5.บริษัท วิริยะประกันภัย จำกัด

บริษัท วิริยะประกันภัย จำกัด เลขที่ 121/17-20 อาคารอาร์เอส ทาวเวอร์ (ชั้น 6 )ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400
โทร.0-2641-3500 ต่อ 1609, 6115
โทรสาร 02-641-3593
นายแพทย์บุณยรักษ์ วิสุทธิผล ประธานกรรมการบริหาร

6.บริษัท ฟินิกซ์ประกันภัย (ประเทศไทย)

338 อาคารปรีชาคอมเพล็กซ์ อาคาร A ชั้น 6 – 8 ซอยรัชดาภิเษก 20
ถนนรัชดาภิเษก แขวงสามเสนนอก เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10320 โทร 0-2290-0544

นายวัฒนชัย ขาวดี ผู้บริหารบริษัท

7.บริษัท ประกันภัยศรีเมือง จำกัด 

ชื่อบริษัท/COMPANIES
สำนักงานใหญ่/HEAD OFFICE
บริษัท ประกันภัยศรีเมือง จำกัด 
195 อาคารเอ็มไพร์ทาวเวอร์ ชั้น 40 ถนนสาทรใต้
ข.ยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120
โทร. : 0-2686-8888-9
โทรสาร : 0-2686-8601-2

นายแพทย์ชาตรี ดวงเนตร ประธานคณะผู้บริหาร

8.บริษัท เอ็ม เอส ไอ จี ประกันภัย (ประเทศไทย) จำกัด

ชื่อบริษัท/COMPANIES
สำนักงานใหญ่/HEAD OFFICE
บริษัท เอ็ม เอส ไอ จี ประกันภัย (ประเทศไทย) จำกัด
(ชื่อเดิม บริษัท อวีว่า ประกันภัย (ไทย) จำกัด)
908 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่
ข.บางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10320
โทร. : 0-2318-8318, 0-2319-1199
โทรสาร : 0-2318-8550, 0-2319-1166

 นายอรรณพ พรธิติ กรรมการผู้อำนวยการใหญ่และประธาน

9.บริษัท มิตรแท้ประกันภัย จำกัด 

บริษัท มิตรแท้ประกันภัย จำกัด 

สำนักงานใหญ่เลขที่ 295  ถนนสี่พระยา

แขวงสี่พระยา   เขตบางรัก  กทมฯ 10500

นายสุระ จันทร์ศรีชวาลา ประธานกรรมการบริษัท

10.บริษัท ประกันคุ้มภัย จำกัด (มหาชน)

ชื่อบริษัท/COMPANIES
สำนักงานใหญ่/HEAD OFFICE
บริษัท ประกันคุ้มภัย จำกัด (มหาชน)
26/5-6 ชั้น 1, 26/10-11 ชั้น 4, 26/16-17 ชั้น 6, และ 26/18-19
ชั้น 6 อาคารอรกานต์ ข.ลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
โทร. : 0-2254-8490, 0-2254-7850-9
โทรสาร : 0-2253-3701, 0-2253-4222

หลวงประเจิดอักษรลักษณ์ เป็นประธานคณะกรรมการ

นายณัฐพงศ์ พงศ์กิดาการ

นายณัฐพงศ์ พงศ์กิดาการ รหัสนักศึกษา 50473010024
เอก เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ
1. บริษัท กมลประกัยภัย จำกัด (มหาชน)
สำนักงานใหญ่ : 361 ถ.บอนด์สตรีท เมืองทองธานี 3 ต.บางพูด อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี 11120

นายมนัส บินมะฮมุด ประธานกรรมการบริหาร และกรรมการผู้จัดการใหญ่
2. บริษัท กรุงเทพประกันชีวิต จำกัด
สำนักงานใหญ่ : 23/115-121 รอยัลซิตี้อเวนิว 21 ถนนพระราม 9 แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10320

นายชัย โสภณพนิช ประธานกรรมการและกรรมการผู้อำนวยการใหญ่
3. บริษัท กรุงเทพพาณิชประกันภัย จำกัด
สำนักงานใหญ่ : 208 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

ไพบูรณ์ พานิชชีวะ ประธานกรรมการ
4. บริษัท กลางคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ จำกัด
สำนักงานใหญ่ : เลขที่ 44/1 อาคารรุ่งโรจน์ธนกุล ชั้น 11 ถนนรัชดาภิเษก
แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310

ริชชาร์ด มุชชี่ ประธานกรรมการและกรรมการผู้จัดการใหญ่
5. บริษัท คอมไบด์ อินชัวรันส์ (ประเทศไทย) จำกัด
สำนักงานใหญ่ : 587 ชั้น 18-19 อาคารวิริยะถาวร ถนนสุทธิสารวินิจฉัย ข.ดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400

6. บริษัท คิวบีอีประกันภัย จำกัด
สำนักงานใหญ่ : ชั้น 15 อาคารอื้อจือเหลียง เลขที่ 968 ถนนพระราม 4 แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานครฯ 10500

เลน เบลเซลประธานบริษัท
7. บริษัท คูเนียประกันภัย (ประเทศไทย) จำกัด
สำนักงานใหญ่ : 195 อาคารเอ็มไพร์ทาวเวอร์ ชั้น 39 ถนนสาทรใต้ เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร 10120

นายชุติพนธ์ สิงหะสุริยะ กรรมการผู้จัดการ
8. บริษัท จรัญประกันภัย จำกัด (มหาชน)
สำนักงานใหญ่ : อาคารจรัญประกันภัย เลขที่ 401 ถนนรัชดาภิเษก แขวงสามเสนนอก เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310

นายโสภณ กล้วยไม้ ณ อยุธยา
9. บริษัท เจ้าพระยาประกันภัย จำกัด (มหาชน)
สำนักงานใหญ่ : 3675 อาคารกรุงไทยแทรคเตอร์ ถนนพระราม 4 แขวงพระโขนง เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110

นายชำนาญ เมธปรีชากุล ผู้อำนวยการใหญ่
10. บริษัท ไชน่าอินชัวรันส์ (ไทย) จำกัด
สำนักงานใหญ่ : 36/68-69 อาคารพี.เอส.ทาวเวอร์ ชั้น 20 ถนนอโศก ข.คลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110

นาย ลี ยง ซัน ประธานกรรมการ

รายชื่อบริษัทประกันชีวิต  บริษัทประกันภัย  โลโก้  ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่  และสถานที่ตั้ง

 

1.บริษัท กรุงเทพประกันชีวิต จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  :  นายชัย โสภณพนิช

สถานที่ตั้ง  :  23/115 ซอยสุขุมวิท 21 ถนนพระราม9แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10320

2.บริษัท กรุงไทย - แอกซ่า ประกันชีวิต จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : บิมาล บาลาซิงกัม

สถานที่ตั้ง  :  87 แคปปิตอล ทาวเวอร์ ชั้น 24, 25 ถนนวิทยุแขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

3.บริษัท เจริญโภคภัณฑ์ประกันชีวิต จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : นพดล ศิริจงดี

สถานที่ตั้ง  :  313 อาคารซี.พี.ทาวเวอร์ ชั้น 24 ถนนสีลมแขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

4.บริษัท ทีพีไอ ประกันชีวิต จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  :   นายมนัส สุขสมาน

สถานที่ตั้ง  :  177/1 อาคารบางกอกสหประกันภัย สุรวงศ์ แขวงสุริยวงศ์ เขตบางรัก กทม 10500

5.บริษัท บางกอก สหประกันชีวิต จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : ชัย  อัสสเมทางกูร

สถานที่ตั้ง  :  177/1 อาคารบางกอกสหประกันภัย ถนนสุรวงศ์ แขวงสุริยวงศ์ เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500

6.บริษัท ไทยประกันชีวิต จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : นายวานิช ไชยวรรณ

สถานที่ตั้ง  :  123 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400

7.บริษัท ฟินันซ่าประกันชีวิต จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : นางสาวสุภา   ปิยะจิตติ

สถานที่ตั้ง  : 2032 อาคารฟินันซ่าประกันชีวิต ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ บางกะปิ ห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310

8.บริษัท ไทยพาณิชย์นิวยอร์คไลฟ์ประกันชีวิต จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : คุณหญิงชฎา วัฒนศิริธรรม

สถานที่ตั้ง  :  1060 อาคาร 1 ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด(มหาชน) ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400

9.บริษัท ไทยคาร์ดิฟ ประกันชีวิต จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : 

สถานที่ตั้ง  :  31/11,36/59-62 อาคารพีเอสทาวเวอร์ ชั้น G และชั้น 18 ถนนสุขุมวิท 21 คลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

10.บริษัท ไทยสมุทรประกันชีวิต จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : นางดัยนา บุนนาค

สถานที่ตั้ง  : 170/74-83 อาคารโอเชี่ยนทาวเวอร์ 1 ชั้น 24-28 ถนนรัชดาภิเษก ข.คลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110

11.บริษัท ธนชาตประกันชีวิต จำกัด in Thailand

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : นพดล  เรืองจินดา

สถานที่ตั้ง  :  231 อาคารธนชาติประกันชีวิต ถนนราชดำริ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

12.บริษัท อยุธยา อลิอันซ์ ซี.พี. ประกันชีวิต จำกัด (มหาชน)

กรรมการผู้จัดการใหญ่  :  สตีเฟ่น แอปเปิ้ลยาร์ด

สถานที่ตั้ง  :  898 อาคารเพลินจิตทาวเวอร์ ชั้น6 โซนเอ,ชั้น16-18 ถนนเพลินจิต ข.ลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330


13.บริษัท เจนเนอราลี่ ประกันชีวิต (ไทยแลนด์) จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : กลุ่มครอบครัวตันติพิพัฒน์พงศ์

สถานที่ตั้ง  :  87/2 ยูนิต 1603-5 อาคาร ซีอาร์ซี ทาวเวอร์ ออลซีซั่นส์เพลส ชั้น16 ถนนวิทยุ ข.ลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

14.บริษัท พรูเด็นเชียล ประกันชีวิต (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน)

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : บูรพา  อัตถากร

สถานที่ตั้ง  :82 อาคารแสงทองธานี ชั้น 28, 30-31 ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

15.บริษัท เมืองไทยประกันชีวิต จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : นายโพธิพงษ์ ล่ำซำ

สถานที่ตั้ง  :  250 ถนนรัชดาภิเษก ข.ห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10320

16.บริษัท แมนูไลฟ์ ประกันชีวิต (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน)

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : มร.คริสโตเฟอร์ เตียว

สถานที่ตั้ง  : 364/30 ถนนศรีอยุธยา ข.ถนนพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400

17.บริษัท สยามซัมซุง ประกันชีวิต จำกัด

 

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : มนัส  ลีวีระพันธุ์

สถานที่ตั้ง  : 2922/222-227 อาคารชาญอิสระ 2 ชั้น 15 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310

18.บริษัท สยามประกันชีวิต จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  :  คุณชิน โสภณพนิช  

สถานที่ตั้ง  :  75/72-73 ซอยสุขุมวิท 19 (วัฒนา) ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110

19.บริษัท สหประกันชีวิต จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : ดร.ศุภชัย ศรีศุภอักษร

สถานที่ตั้ง  : เลขที่ 411 อาคาร U Tower ชั้น 4-5 ถ.ศรีนครินทร์ แขวงสวนหลวง กรุงเทพฯ 10250

20.บริษัท อเมริกันอินเตอร์แนชชั่นแนล แอสชัวรันส์ จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : 

สถานที่ตั้ง  : 181 ถนนสุรวงศ์ ข.บางรัก เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

21.บริษัท อาคเนย์ประกันชีวิต จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : พล.ต.อ.สนอง วัฒนวรางกูร

สถานที่ตั้ง  :  315 ถนนสีลม ข.สีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

22.บริษัท เอซ ไลฟ์ แอสชัวรันซ์ จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : เบรทท์ เอ คลิงเลอร์  

สถานที่ตั้ง  :  169 อาคารธนาคารนครหลวงไทย สาขาสุทธิสาร ชั้น 3-6 ถนนสุทธิสารวินิจฉัย แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กทม.10400

23.บริษัท แอ๊ดวานซ์ ไลฟ์ แอสชัวรันส์ จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : นายริชาร์ด แอนดรู สปริงค์.

สถานที่ตั้ง  :  2 อาคารเพลินจิตเซ็นเตอร์ ชั้น 5 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ

24.บริษัท ไอเอ็นจี ประกันชีวิต จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : นายชี ชอง

สถานที่ตั้ง  :130-132 อาคารสินธร ทาวเวอร์ 3 ชั้น 16 และ ชั้น 29 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

25.บริษัท กมลประกันภัย จำกัด (มหาชน)

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : นายเสรี สุวรรณภานนท์

สถานที่ตั้ง  :  361 ถ.บอนด์สตรีท เมืองทองธานี 3 ต.บางพูด อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี 11120

26.บริษัท กรุงไทยพานิชประกันภัย จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  :  คุณ บุญทรง ศรีเฟื่องฟุ้ง

สถานที่ตั้ง  : 208 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

 

 

 

 

 

27.บริษัท กลางคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : ร้อยโทสุชาย  เชาว์วิศิษฐ

สถานที่ตั้ง  :เลขที่ 44/1 อาคารรุ่งโรจน์ธนกุล ชั้น 11 ถนนรัชดาภิเษก
แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310

28.บริษัท คอมไบด์ อินชัวรันส์ (ประเทศไทย) จำกัด 

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : ไบรอัน มัลลานี  

สถานที่ตั้ง  :587 ชั้น 18-19 อาคารวิริยะถาวร ถนนสุทธิสารวินิจฉัย ข.ดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400

29.บริษัท คูเนีย ประกันภัย (ประเทศไทย) จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : นายพงศ์ทวี ก้าวสัมพันธ์

สถานที่ตั้ง  : 195 อาคารเอ็มไพร์ทาวเวอร์ ชั้น 39 ถนนสาทรใต้ เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร 10120

30.บริษัท จรัญประกันภัย จำกัด (มหาชน)

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : นายโสภณ กล้วยไม้ ณ อยุธยา

สถานที่ตั้ง  :อาคารจรัญประกันภัย เลขที่ 401 ถนนรัชดาภิเษก แขวงสามเสนนอก เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310

31.บริษัท เจ้าพระยาประกันภัย จำกัด (มหาชน)

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : นายชำนาญ เมธปรีชากุล

สถานที่ตั้ง  :3675 อาคารกรุงไทยแทรคเตอร์ ถนนพระราม 4 แขวงพระโขนง เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110

32.บริษัท มิตรแท้ประกันภัย จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : คุณสุขเทพ จันทร์ศรีชวาลา

สถานที่ตั้ง  :295 ถนนสี่พระยา แขวงสี่พระยา เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

 

นางสาวน้ำฝน เพาะจะโปะ

รายชื่อบริษัทประกันชีวิต  บริษัทประกันภัย  โลโก้  ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่  และสถานที่ตั้ง

 1.บริษัท กรุงเทพประกันชีวิต จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  :  นายชัย โสภณพนิช

สถานที่ตั้ง  :  23/115 ซอยสุขุมวิท 21 ถนนพระราม9แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10320

2.บริษัท กรุงไทย - แอกซ่า ประกันชีวิต จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : บิมาล บาลาซิงกัม

สถานที่ตั้ง  :  87 แคปปิตอล ทาวเวอร์ ชั้น 24, 25 ถนนวิทยุแขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

3.บริษัท เจริญโภคภัณฑ์ประกันชีวิต จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : นพดล ศิริจงดี

สถานที่ตั้ง  :  313 อาคารซี.พี.ทาวเวอร์ ชั้น 24 ถนนสีลมแขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

4.บริษัท ทีพีไอ ประกันชีวิต จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  :   นายมนัส สุขสมาน

สถานที่ตั้ง  :  177/1 อาคารบางกอกสหประกันภัย สุรวงศ์ แขวงสุริยวงศ์ เขตบางรัก กทม 10500

5.บริษัท บางกอก สหประกันชีวิต จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : ชัย  อัสสเมทางกูร

สถานที่ตั้ง  :  177/1 อาคารบางกอกสหประกันภัย ถนนสุรวงศ์ แขวงสุริยวงศ์ เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500

6.บริษัท ไทยประกันชีวิต จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : นายวานิช ไชยวรรณ

สถานที่ตั้ง  :  123 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400

7.บริษัท ฟินันซ่าประกันชีวิต จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : นางสาวสุภา   ปิยะจิตติ

สถานที่ตั้ง  : 2032 อาคารฟินันซ่าประกันชีวิต ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ บางกะปิ ห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310

8.บริษัท ไทยพาณิชย์นิวยอร์คไลฟ์ประกันชีวิต จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : คุณหญิงชฎา วัฒนศิริธรรม

สถานที่ตั้ง  :  1060 อาคาร 1 ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด(มหาชน) ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400

9.บริษัท ไทยคาร์ดิฟ ประกันชีวิต จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : 

สถานที่ตั้ง  :  31/11,36/59-62 อาคารพีเอสทาวเวอร์ ชั้น G และชั้น 18 ถนนสุขุมวิท 21 คลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

10.บริษัท ไทยสมุทรประกันชีวิต จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : นางดัยนา บุนนาค

สถานที่ตั้ง  : 170/74-83 อาคารโอเชี่ยนทาวเวอร์ 1 ชั้น 24-28 ถนนรัชดาภิเษก ข.คลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110

11.บริษัท ธนชาตประกันชีวิต จำกัด in Thailand

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : นพดล  เรืองจินดา

สถานที่ตั้ง  :  231 อาคารธนชาติประกันชีวิต ถนนราชดำริ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

12.บริษัท อยุธยา อลิอันซ์ ซี.พี. ประกันชีวิต จำกัด (มหาชน)

กรรมการผู้จัดการใหญ่  :  สตีเฟ่น แอปเปิ้ลยาร์ด

สถานที่ตั้ง  :  898 อาคารเพลินจิตทาวเวอร์ ชั้น6 โซนเอ,ชั้น16-18 ถนนเพลินจิต ข.ลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330


13.บริษัท เจนเนอราลี่ ประกันชีวิต (ไทยแลนด์) จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : กลุ่มครอบครัวตันติพิพัฒน์พงศ์

สถานที่ตั้ง  :  87/2 ยูนิต 1603-5 อาคาร ซีอาร์ซี ทาวเวอร์ ออลซีซั่นส์เพลส ชั้น16 ถนนวิทยุ ข.ลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

14.บริษัท พรูเด็นเชียล ประกันชีวิต (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน)

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : บูรพา  อัตถากร

สถานที่ตั้ง  :82 อาคารแสงทองธานี ชั้น 28, 30-31 ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

15.บริษัท เมืองไทยประกันชีวิต จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : นายโพธิพงษ์ ล่ำซำ

สถานที่ตั้ง  :  250 ถนนรัชดาภิเษก ข.ห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10320

16.บริษัท แมนูไลฟ์ ประกันชีวิต (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน)

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : มร.คริสโตเฟอร์ เตียว

สถานที่ตั้ง  : 364/30 ถนนศรีอยุธยา ข.ถนนพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400

17.บริษัท สยามซัมซุง ประกันชีวิต จำกัด

 

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : มนัส  ลีวีระพันธุ์

สถานที่ตั้ง  : 2922/222-227 อาคารชาญอิสระ 2 ชั้น 15 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310

18.บริษัท สยามประกันชีวิต จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  :  คุณชิน โสภณพนิช  

สถานที่ตั้ง  :  75/72-73 ซอยสุขุมวิท 19 (วัฒนา) ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110

19.บริษัท สหประกันชีวิต จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : ดร.ศุภชัย ศรีศุภอักษร

สถานที่ตั้ง  : เลขที่ 411 อาคาร U Tower ชั้น 4-5 ถ.ศรีนครินทร์ แขวงสวนหลวง กรุงเทพฯ 10250

20.บริษัท อเมริกันอินเตอร์แนชชั่นแนล แอสชัวรันส์ จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : 

สถานที่ตั้ง  : 181 ถนนสุรวงศ์ ข.บางรัก เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

21.บริษัท อาคเนย์ประกันชีวิต จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : พล.ต.อ.สนอง วัฒนวรางกูร

สถานที่ตั้ง  :  315 ถนนสีลม ข.สีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

22.บริษัท เอซ ไลฟ์ แอสชัวรันซ์ จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : เบรทท์ เอ คลิงเลอร์  

สถานที่ตั้ง  :  169 อาคารธนาคารนครหลวงไทย สาขาสุทธิสาร ชั้น 3-6 ถนนสุทธิสารวินิจฉัย แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กทม.10400

23.บริษัท แอ๊ดวานซ์ ไลฟ์ แอสชัวรันส์ จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : นายริชาร์ด แอนดรู สปริงค์.

สถานที่ตั้ง  :  2 อาคารเพลินจิตเซ็นเตอร์ ชั้น 5 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ

24.บริษัท ไอเอ็นจี ประกันชีวิต จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : นายชี ชอง

สถานที่ตั้ง  :130-132 อาคารสินธร ทาวเวอร์ 3 ชั้น 16 และ ชั้น 29 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

25.บริษัท กมลประกันภัย จำกัด (มหาชน)

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : นายเสรี สุวรรณภานนท์

สถานที่ตั้ง  :  361 ถ.บอนด์สตรีท เมืองทองธานี 3 ต.บางพูด อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี 11120

26.บริษัท กรุงไทยพานิชประกันภัย จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  :  คุณ บุญทรง ศรีเฟื่องฟุ้ง

สถานที่ตั้ง  : 208 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

นายณัฐพงศ์ พงศ์กิดาการ

นายณัฐพงศ์ พงศ์กิดาการ รหัสนักศึกษา 50473010024
เอก เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ
11. บริษัท ไทยเศรษฐกิจประกันภัย จำกัด (มหาชน)
สำนักงานใหญ่ : 160 อาคารไทยเศรษฐกิจ ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500


12. บริษัท ชับบ์ประกันภัย (ประเทศไทย) จำกัด
สำนักงานใหญ่ : 52 ธนิยะ พลาซ่า ชั้น 16 ถนนสีลม ข.สุริยวงศ์ เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

13. บริษัท ทิพยประกันภัย จำกัด (มหาชน)
สำนักงานใหญ่ : 63/2 ถ.พระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310

สมใจนึก เองตระกูล ประธานกรรมการ
14. บริษัท เทเวศประกันภัย จำกัด (มหาชน)
สำนักงานใหญ่ : 97 และ 99 อาคารเทเวศประกันภัย ถนนราชดำเนินกลาง แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200

นายอนัน เกษเกษมสุข กรรมการผู้จัดการ
15. บริษัท ซิกน่าประกันภัย จำกัด (มหาชน)
สำนักงานใหญ่ : 598 อาคารคิวเฮ้าส์เพลินจิต ชั้น 7,10 ถ.เพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

นายสตีเวน ลีนอฟคอฟ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรทการ
16. บริษัท ไทยประกันภัย จำกัด (มหาชน)
สำนักงานใหญ่ : 34/3 อาคารไทยประกันภัย ซอยหลังสวน ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

นายกวี อังศวานนท์ ประธานกรรมการ
17. บริษัท ไทยประกันสุขภาพ จำกัด
สำนักงานใหญ่ : 121/89 อาคารอาร์เอส ทาวเวอร์ ถนนรัชดาภิเษก เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400

คุณวรางค์ เสรฐภักดี กรรมการผู้จัดการ
18. บริษัท ไทยพัฒนาประกันภัย จำกัด
สำนักงานใหญ่ : 34 ซ.สุขุมวิท 4 (นานาใต้) ถ.สุขุมวิท เขตคลองเตย แขวงคลองเตย กทม. 10110

คุญไพศาล คุนผลิน กรรมการผู้อำนวยการ
19. บริษัท ไทยรับประกันภัยต่อ จำกัด (มหาชน)
สำนักงานใหญ่ : 223/1 ซอยร่วมฤดี ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

นายสุรชัย ศิริวัลลภ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร
20. บริษัท ไทยศรีประกันภัย จำกัด
สำนักงานใหญ่ : 126/2 อาคารไทยศรีประกันภัย, ถนนกรุงธนบุรี, คลองสาน, กรุงเทพฯ 10600

นายนที พานิชชีวะ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร



นายณัฐพงศ์ พงศ์กิดาการ

นายณัฐพงศ์ พงศ์กิดาการ รหัสนักศึกษา 50473010024
เอก เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ
21. บริษัท ไทยสมุทรประกันภัย จำกัด
สำนักงานใหญ่ : 170/74-83 อาคารโอเชี่ยนทาวเวอร์ 1 ชั้น 24-28 ถนนรัชดาภิเษก ข.คลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110

นางดัยนา บุนนาด กรรมการผู้จัดการใหญ่
22. บริษัท ธนชาตประกันภัย จำกัด
สำนักงานใหญ่ : ชั้น 10 อาคารกลาสเฮาส์ เลขที่ 1 สุขุมวิท 25 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110

นายนพดล เรืองจินดา กรรมการผู้จัดการใหญ่
23. บริษัท ธนสินประกันภัย จำกัด
สำนักงานใหญ่ : 900/11-1336 ถนนพระราม 3 แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร

นายศุภชัย ศรีศุภอักษร ประธานกรรมการบริหาร
24. บริษัท นวกิจประกันภัย จำกัด (มหาชน)
สำนักงานใหญ่ : 100/48-55 ชั้น 25-27 อาคารสาธรนครทาวเวอร์ เลขที่ 90/3-6 ชั้น 1
อาคารสาธรธานี สาธรธานีคอมเพล็กซ์ ถนนสาธรเหนือ
แขวงสีลม เขตบางรัก กทม. 10500

นายปิติพงศ์ พิศาลบุตร กรรมการผู้อำนวยการ
25. บริษัท นำสินประกันภัย จำกัด (มหาชน)
สำนักงานใหญ่ : เลขที่ 767 ถ.กรุงเทพ-นนทบุรี เขตบางซื่อ กรุงเทพฯ 10800

นายสมบุญ ฟูศรีบุญ กรรมการผู้อำนวยการ
26. บริษัท นิวอินเดียแอสชัวรันส์ จำกัด
สำนักงานใหญ่ : 65/142-143 อาคารชำนาญเพ็ญชาติ ชั้น 17 ถนนพระราม 9
ข.ห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310

นายเทพชโยติ มิตรา คณะกรรมการบริษัท
27. บริษัท นิวแฮมพ์เชอร์อินชัวรันส์ ประเทศไทย
สำนักงานใหญ่ : 181/19 ถนนสุรวงศ์ ข.สุริยวงศ์ เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

มร.สตีเวน บาร์น็ต กรมมการผู้จัดการและประธานคณะผู้บริหาร

นางสาวพรพิมล พรหหมผาบ 50473010056 เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

1.บริษัทวิริยะประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 121/7 14-27 อาคารอาร์ เอส ทาวเวอร์ ถนนรรัชดาภิเษก เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400

กรรมการผู้จัดการคือ สุรชัย วังยายฉิม

2.บริษัทกรุงเทพประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 25 ถนนสาทรใต้ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120

กรรมการผู้จัดการ คือ นายชัย โสภณพนิช

3.บริษัทเอเชียประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ เลขที่ 183 อาคารรีเจ้นท์เฮาส์ ชั้น 12 ถนนราชดำริ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

กรรมการผู้จัดการ คือ นายนิค จันทรวิทุร

4. บริษัทอาคเนย์ประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ  315 ถนนสีลม ข.สีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

กรรมการผู้จัดการ คือ พล.ต.อ.สนอง วัฒนวรางกู

5. บริษัทอลิอันซ์ ซีพี ประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 898 อาคารเพลินจิตทาวเวอร์ ชั้น6 โซนเอ,ชั้น16-18 ถนนเพลินจิต ข.ลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

กรรมการผู้จัดการ คือ นายปกิต เอี่ยมโอภาส ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่

6. บริษัทไทยประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ คือ อาคารไทยประกันภัย 34/3 ซอยหลังสวน ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

กรรมการผู้จัดการ คือ นางสาวพณิตา ตู้จินดา

7.บริษัทเมืองไทยประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 250 ถนนรัชดาภิเษก ข.ห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10320

กรรมการผู้จัดการ คือ คุณนวลพรรณ ล่ำซำ

8. บริษัทแอกซ่าประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ อาคารลุมพินีทาวเวอร์ ชั้น 23 1168/67 ถ.พระราม4 แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร จ.กรุงเทพมหานคร 10120

กรรมการผู้จัดการ คือ นายกี่เดช อนันต์ศิริประภา

9.บริษัทไทยพาณิชย์สามัคคีประกันภัย

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 2/4 อาคารไทยพาณิชย์สามัคคีประกันภัย ชั้น 12 อาคารนอร์ธปาร์ค
ข.ทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร 10210

กรรมการผู้จัดการ คือ นายจิรวุฒิ บุญศิริ

10.บริษัทแอลเอ็มจี ประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญคือ ชั้น 14, 15, 17 อาคารจัสมินซิตี้ เลขที่ 2 ซอยสุขุมวิท 23 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110 Tel (02) 661-6000

กรรมการผู้จัดการ คือ นายปิยัพะฒน์ วนอุกกฤษฎ์

11.บริษัทเทเวศประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 97, 99 อาคารเทเวศประกันภัย ถนนราชดำเนินกลาง เขตพระนคร กรุงเทพ 10200

กรรมการผู้จัดการ คือ นายอนันต์ เกษเกษมสุข

12.บริษัททิพยประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหย่ คือ 63/2 ถ.พระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310

กรรมการผู้จัดการใหญ่ คือ นายมารุต สิมะเสถียร

13.บริษัทกมลประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 361 ถ.บอนด์สตรีท เมืองทองธานี 3 ต.บางพูด อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี 11120

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นายเสรี สุวรรณภานนท์

14.บริษัทมิตรแท้ประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 295 ถนนสี่พระยา ข.สี่พระยา เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายอนันต์ เกษเกษมกิจ

15.บริษัทเอ็มเอสไอจีประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 1908 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายอรรณพ พรธิติ

16.บริษัทธนชาติประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ เลขที่ 900 อาคารต้นสนทาวเวอร์ ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายนพดล เรืองจินดา

17.บริษัทสินมั่นคงประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ เลขที่ 313 ถนนศรีนครินทร์ แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 10240 เบอร์โทร. 0-2378-7000

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ คุณอิสระ วงศ์รุ่ง

18.บริษัทคูเนียประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 195 อาคารเอ็มไพร์ทาวเวอร์ ชั้น 39 ถนนสาทรใต้ เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร 10120

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายพงศ์ทวี ก้าวสัมพันธ์

20.บริษัทประกันภัยไทยวิวัฒน์ จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ อาคารประกันภัยไทยวิวัฒน์ เลขที่ 71 ถ.ดินแดง แขวงสามเสนใน เขตพญาไท จ.กรุงเทพมหานคร 10400

กรรมการผู้จัดการใหญ่ คือ นายจีรพันธ์ อัศวะธนกุล

21.บริษัทฟินิกซ์ ประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 338 อาคารปรีชาคอมเพล็กซ์ อาคาร A ชั้น 6 – 8 ซอยรัชดาภิเษก20  ถนนรัชดาภิเษก แขวงสามเสนนอก เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 1032

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายวัฒนชัย ขาวดี

22.บริษัทเจ้าพระยาประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 3675 อาคารกรุงไทยแทรคเตอร์ ถนนพระราม 4 แขวงพระโขนง เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายชำนาญ เมธปรีชากุล

23.บริษัท

นางสาวพรพิมล พรหหมผาบ 50473010056 เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

 

เพิ่มเติม บริษัทประกันภัย

23.บริษัทซิกน่าประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ อาคารคิวเฮ้าส์เพลินจิต ชั้น 7 598 ถนนเพลินจิต เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายยุทธชัย เตยะราชกุล

24.บริษัทคอมไบด์ประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 587 ชั้น 18-19 อาคารวิริยะถาวร ถนนสุทธิสารวินิจฉัย
ข.ดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ กฤษณะ กฤตมโนรถ

25.บริษัทธนสินประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 900/11-13,36 อาคารเอสวีโอเอทาวเวอร์ ชั้น G,15-17
ถ.พระราม 3 ข.บางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร 10120

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายสุรศักดิ์ เกียรติกำจรยศ.

26.บริษัทจรัญประกันภัย จำกัด

 

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 401 ถนนรัชดาภิเษก แขวงสามเสนนอก เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10320

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นาย สมพล ไชยเชาวน์

27.บริษัทไทยพัฒนาประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 34 ซอยสุขุมวิท 4 ถนนสุขุมวิท เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ คุณไพศาล คุนผลิน

28.บริษัทนำสินประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ เลขที่ 767 ถ.กรุงเทพ-นนทบุรี เขตบางซื่อ กรุงเทพฯ 10800

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ วันชัย วัฒนามานนท์

29.บริษัทไทยศรีประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 126/2 ถนนกรุงธนบุรี  คลองสาน กรุงเทพฯ 10600

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ คุณชาติชาย พานิชชีวะ

30.บริษัทไทยเศรษฐกิจประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 160 อาคาร ไทยเศรษฐกิจ ถนนสาทรเหนือ บางรัก กรุงเทพฯ 10500

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายพุทธิพงษ์ ด่านบุญสุต

31.บริษัท นิวแฮมพ์เชอร์อินชัวรันส์ ประเทศไทย

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 181/19 ถนนสุรวงศ์ ข.สุริยวงศ์ เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

กรรมการผู้จัดการ คือ มร.สตีเวน บาร์น็ต

32.บริษัท นิวอินเดียแอสชัวรันส์ จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ65/142-143 อาคารชำนาญเพ็ญชาติ ชั้น 17 ถนนพระราม 9
ข.ห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายเทพชโยติ มิตรา

33.บริษัทไทยประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ อาคารไทยประกันภัย 34/3 ซอยหลังสวน ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ คุณสมบัติ อนันตลาโภชัย

34.บริษัทอินทรประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ364/29 ถนนศรีอยุธยา ข.ถนนพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายสุชาติ ไตรศิริเวทวัฒน์

 

 

 

 

นางสาวพรพิมล พรหหมผาบ 50473010056 เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

บริษัทประกันชีวิต

1.บริษัทกรุงไทย - แอกซ่า ประกันชีวิต

 ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 2034/116-117, 136, 138-143 อาคารอิตัลไทยทาวเวอร์ ชั้น 27, 32-33  ถ.เพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ มร.ไมค์ แพล็กซ์ตัน

2.บริษัทกรุงเทพประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ  23/115-121 รอยัลซิตี้อเวนิว ซอยศูนย์วิจัย ถนนพระราม 9 เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  คุณชัย โสภณพนิช

3. บริษัท บางกอก สหประกันภัย

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 175-177 ถนนสุรวงศ์  เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  ประชัย เลี่ยวไพรัตน์

4. บริษัทฟีนันซ่า ประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 2032 ถ.เพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ   เขต ห้วย ขวาง กรุงเทพฯ 10310

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ สุนทร บุญสาย

5.บริษัทไทยประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ  ๑๒๓ ถ.รัชดาภิเษก ดินแดง กรุงเทพฯ ๑๐๔๐๐

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  ไชย ไชยวรรณ

6.บริษัทไทยพาณิชย์นิวยอล์คไลฟ์ 

 

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ  1060 ดินแดง ตัดใหม่  เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นายโดนอลด์ คาร์ดี

7. บริษัทไทยคาร์ดิฟ ประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ  31/11,36/59-62 อาคารพีเอสทาวเวอร์ ชั้น G และชั้น 18 ถนนสุขุมวิท 21 คลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

กรรมการผู้จัดการใหญ่ คือ  นาย วิญญู ไชยวรรณ

8. บริษัทไทยรีประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ  223/1 ซอยร่วมฤดี ถนนวิทยุ ข.ลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นายสุรชัย ศิริวัลลภ

9.บริษัทไทยสมุทรประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ  เลขที่ 170/74-83 อาคารโอเชี่ยนทาวเวอร์ 1 ถนนรัชดาภิเษก เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นางนุสรา บัญญัติปิยพจน์

10.บริษัทธนชาติประกันชีวิต

 

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ  231 อาคารธนชาติประกันชีวิต ถนนราชดำริ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ ดร.ชาติชัย พาราสุข

11.บริษัทอยุธยา  อลิอัน  ซีพี

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 898 อาคารเพลินจิตทาวเวอร์ ชั้น 2, 6 ถนนเพลินจิต กรุงเทพฯ 10330

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายสตีเฟ่น แอบเปิ้ลยาร์ด

12.บริษัทเจนเนอราลี่  ประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ ชั้น 16 ยูนิต 1602-1605 อาคาร ซีอาร์ซี ทาวเวอร์ ออลซีซั่นส์ เพลส  87/2 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

กรรมการผู้จัดการใหญ่่คือ นายคีธ แอนดรูว์ บรูคส์

13.บริษัทพรูเด็นเชียล  ประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ  82 อาคารแสงทองธานี ชั้น 28, 30-31 ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500.

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายบินายัค ดัตตา

14.บริษัทเมืองไทยประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 250 ถนนรัชดาภิเษก ห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10320

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นายสาระ ล่ำซำ

15.บริษัท เอซ ไลฟ์  แอสชัวรันซ์

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ เลขที่ 130-132 อาคารสินธร ทาวเวอร์ 1 ชั้น 11-12
ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายริชาร์ด แอนดรู สปริงค์์

16.บริษัทแมกซ์ประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 169 สุทธิสาร แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กทม 10400

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นายพีระพงศ์ อุ่นจิตต์

17.บริษัท สยามซัมซุง ประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 2922/240-241 ชั้น 15 อาคารชาญอิสระ 2 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ ห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10320.

ผู้บริหารคือ  นายเยิน ฮี คัง

18.บริษัทสยามประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ  75/72-73 อาคารโอเชี่ยนทาวเวอร์ 2 ชั้น 30 สุขมวิท 19 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110.

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นางรัชนี เองปัญญาเลิศ

19.บริษัทสหประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ คือ เลขที่ 411 อาคาร U Tower ชั้น 4-5 ถ.ศรีนครินทร์ แขวงสวนหลวง กรุงเทพฯ 10250

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นายสหพล สังข์เมฆ

20.บริษัทอาคเนย์ประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญคือ  315 ถนนสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายโชติพัฒน์ พีชานนท์

21.บริษัท แอ๊ดวานซ์ ไลฟ์ แอสชัวรันส์ จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ อาคารเพลินจิตเซ็นเตอร์ ชั้น 5 เลขที่ 2 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110.

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นายเชาว์พันธู์ พันธ์ทอง

22.บริษัท ไอเอ็นจี ประกันชีวิต จำกัด

นางสาวแสงระวี ศรีราปราน 50473010002 เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

บริษัทประกันชีวิต 

1.บริษัท กรุงเทพประกันชีวิต จำกัด

Bangkok Life Assurance Co., Ltd.

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 23/115 ซอยสุขุมวิท 21 ถนนพระราม9 แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10320

กรรมการผู้จัดการใหญ่ คุณชัย โสภณพนิช

2.บริษัท กรุงไทย - แอกซ่า ประกันชีวิต จำกัด

Krungthai Axa Life Insurance Co., Ltd.

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 87 แคปปิตอล ทาวเวอร์ ชั้น 24, 25 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

กรรมการผู้จัดการใหญ่ มร.ไมค์ แพล็กซ์ตัน

3.บริษัท เจริญโภคภัณฑ์ประกันชีวิต จำกัด

Charoen Pokphand Life Assurance Co., Ltd.

 

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 313 อาคารซี.พี.ทาวเวอร์ ชั้น 24 ถนนสีลม แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

กรรมการผู้จัดการใหญ่ นพดล ศิริจงดี

4.บริษัท ทีพีไอ ประกันชีวิต จำกัด
TPI Life Insurance Co., Ltd.

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 192/4 หมู่ที่ 1 ต.คลองตำหรุ อ.เมืองชลบุรี จ.ชลบุรี 20000

กรรมการผู้จัดการใหญ่ นายศิลปิน บูรณศิลปิน

5.บริษัท ไทยประกันชีวิต จำกัด
Thai Life Insurance Co., Ltd.

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 123 ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10326

กรรมการผู้จัดการใหญ่  คุณไชย ไชยวรรณ

6.บริษัท ไทยพาณิชย์ประกันชีวิต จำกัด (มหาชน)
Siam Commercial Life Assurance Public Co., Ltd.

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 1060 อาคาร 1 ธนาคารไทยพาณิชย์ ชั้น 4-10 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400

กรรมการผู้จัดการใหญ่ นายโดนอลด์ คาร์ดี

7.บริษัท ไทยสมุทรพาณิชย์ประกันภัย จำกัด
The Ocean Insurance Co., Ltd.

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 163 ซอยอาคารไทยสมุทร ถนนสุรวงศ์ แขวงวังใหม่ เขตปุทมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

กรรมการผู้จัดการใหญ่ นางดัยนา บุนนาค

8.บริษัท เมืองไทยประกันชีวิต จำกัด
Muang Thai Life Assurance Co., Ltd.

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 250 ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10320

กรรมการผู้จัดการใหญ่  นายสาระ ล่ำซำ

9.บริษัท สยามซัมซุง ประกันชีวิต จำกัด
Siam Samsung Life Assurance Co., Ltd.

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 2922/240-241 อาคารชาญอิสระ 2 ชั้น 18 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310

กรรมการผู้จัดการใหญ่ นาย เยิน ฮี คัง

10.บริษัท สยามประกันชีวิต จำกัด
Siam Life Insurance Co., Ltd.

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 75/72-73 ซอยสุขุมวิท 19 (วัฒนา) ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110

กรรมการผู้จัดการใหญ่ นายริชาร์ด แอนดรู สปริงค์

11.บริษัท สหประกันชีวิต จำกัด
Saha Life Insurance Co., Ltd.

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 13 ชั้น 2 อาคาร น.ม.ส. ถนนพิชัย แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300

กรรมการผู้จัดการใหญ่ นายสหพล สังข์เมฆ

12.บริษัท อเมริกันอินเตอร์แนชชั่นแนล แอสชัวรันส์ จำกัด
American International Assurance Co., Ltd.

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 181/19 ถนนสุรวงศ์ แขวงบางรัก เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

กรรมการผู้จัดการใหญ่

13.บริษัท อาคเนย์ประกันภัย จำกัด
South East Insurance Co., Ltd.

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 315 ถนนสีลม แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

กรรมการผู้จัดการใหญ่ นายโชติพัฒน์ พีชานนท์

14.บริษัท แอ๊ดวานซ์ แอสชัวรันส์ จำกัด
Advance Assurance Co., Ltd.

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 187/3 หมู่ที่ 1 ต.บางวัว อ.บางปะกง จ.ฉะเชิงเทรา 24130

กรรมการผู้จัดการใหญ่ นายเชาว์พันธู์ พันธ์ทอง

15.บริษัท โอสถสภาประกันชีวิต จำกัด
Osotspa Life Assurance Co., Ltd.

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 621/1 หมู่ที่ 11 ถนนมะลิวัลย์ ต.บ้านเป็ด อ.เมืองขอนแก่น จ.ขอนแก่น 40000

กรรมการผู้จัดการใหญ่ คุณพิพัฒน์ เทพย์ปฏิพัธน์

17.บริษัทอยุธยา  อลิอัน  ซีพี

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 898 อาคารเพลินจิตทาวเวอร์ ชั้น 2, 6 ถนนเพลินจิต กรุงเทพฯ 10330

กรรมการผู้จัดการใหญ่ นายสตีเฟ่น แอบเปิ้ลยาร์ด

18.บริษัท พรภัทรประกันชีวิต จำกัด
Pornpat Life Assurance Co., Ltd.

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 79/29 อาคารไพร์มเสตท ชั้น 3 ถนนศรีนครินทร์แขวงหนองบอน เขตประเวศ กรุงเทพมหานคร 10260

กรรมการผู้จัดการใหญ่ พราฟร์ ชาห์

 

บริษัทประกันภัย

19.บริษัท วิริยะประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ เลขที่ 121/7, 121/14-23, 121/25-28, 121/104 ชั้น 2-6 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดงเขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400

กรรมการผู้จัดการใหญ่  ดร.สุรชัย วังยายฉิม

20.บริษัท กรุงเทพ ประกันภัย จำกัด

นางสาวแสงระวี ศรีราปราน 50473010002 เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

บริษัทประกันภัย

20.บริษัทมิตรแท้ประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่

295 ถนนสี่พระยา ข.สี่พระยา เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายอนันต์ เกษเกษมกิจ

21.บริษัทอินทรประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ364/29 ถนนศรีอยุธยา ข.ถนนพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายสุชาติ ไตรศิริเวทวัฒน์

 22.บริษัทไทยเศรษฐกิจประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 160 อาคาร ไทยเศรษฐกิจ ถนนสาทรเหนือ บางรัก กรุงเทพฯ 10500

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายพุทธิพงษ์ ด่านบุญสุต

23..บริษัทนำสินประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ เลขที่ 767 ถ.กรุงเทพ-นนทบุรี เขตบางซื่อ กรุงเทพฯ 10800

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ วันชัย วัฒนามานนท์

24.บริษัทเจ้าพระยาประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 3675 อาคารกรุงไทยแทรคเตอร์ ถนนพระราม 4 แขวงพระโขนง เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายชำนาญ เมธปรีชากุล

25.บริษัทฟินิกซ์ ประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 338 อาคารปรีชาคอมเพล็กซ์ อาคาร A ชั้น 6 – 8 ซอยรัชดาภิเษก20  ถนนรัชดาภิเษก แขวงสามเสนนอก เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 1032

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายวัฒนชัย ขาวดี

26.บริษัท กรุงเทพ ประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 25 อาคารกรุงเทพประกันภัย สารท เขต สาทร จังหวัด กรุงเทพฯ  10120

กรรมการผู้จัดการใหญ่ คุณชัยวัฒน์ ศรีวีระสกุล

27.บริษัท สินมั่นคง ประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ เลขที่ 313 ถนนศรีนครินทร์ แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 10240

กรรมการผู้จัดการใหญ่ นายเรืองเดช ดุษฎีสุรพจน์

28.บริษัท ประกันภัยศรีเมือง จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 195 อาคารเอ็มไพร์ทาวเวอร์ ชั้น 40 ถนนสาทรใต้ ยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120

กรรมการผู้จัดการใหญ่ โยอิจิ ทามากาคิ

29.บริษัท ประกันภัยไทยวิวัฒน์ จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 71 อาคารประกันภัยไทยวิวัฒน์ ถ.ดินแดง แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400

กรรมการผู้จัดการใหญ่ นายจีรพันธ์ อัศวะธนกุล

30.บริษัท เอเชีย ประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ เลขที่ 183 อาคารรีเจ้นท์เฮาส์ ชั้น 12 ถนนราชดำริ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

กรรมการผู้จัดการใหญ่ นายนิค จันทรวิทุร

31.บริษัท เทเวศร์ ประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 97, 99 อาคารเทเวศประกันภัย ถนนราชดำเนินกลาง เขตพระนคร กรุงเทพ 10200

กรรมการผู้จัดการใหญ่ นายอนันต์ เกษเกษมสุข

 32.บริษัท สินทรัพย์ ประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 492-494 ถ.รัชดาภิเษก สามเสนนอก ห้วยขวาง กทม. 10310

กรรมการผู้จัดการใหญ่ วันเพ็ญ เซ่งไพเราะห์

 33.บริษัท ประกันคุ้มภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 26/5-6 ชั้น 1, 26/10-11 ชั้น 4, 26/16-17 ชั้น 6, และ 26/18-19 ชั้น 6 อาคารอรกานต์ ข.ลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

กรรมการผู้จัดการใหญ่  คุณยงยุทธ บวรวนิชยกูร

 

 

นายสัญชัย ภัทรพงศ์โอฬาร 50473010054 เอกเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

1.บริษัทวิริยะประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 121/7 14-27 อาคารอาร์ เอส ทาวเวอร์ ถนนรรัชดาภิเษก เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400

กรรมการผู้จัดการคือ สุรชัย วังยายฉิม

2.บริษัทกรุงเทพประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 25 ถนนสาทรใต้ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120

กรรมการผู้จัดการ คือ นายชัย โสภณพนิช

3.บริษัทเอเชียประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ เลขที่ 183 อาคารรีเจ้นท์เฮาส์ ชั้น 12 ถนนราชดำริ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

กรรมการผู้จัดการ คือ นายนิค จันทรวิทุร

4. บริษัทอาคเนย์ประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ  315 ถนนสีลม ข.สีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

กรรมการผู้จัดการ คือ พล.ต.อ.สนอง วัฒนวรางกู

5. บริษัทอลิอันซ์ ซีพี ประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 898 อาคารเพลินจิตทาวเวอร์ ชั้น6 โซนเอ,ชั้น16-18 ถนนเพลินจิต ข.ลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

กรรมการผู้จัดการ คือ นายปกิต เอี่ยมโอภาส ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่

6. บริษัทไทยประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ คือ อาคารไทยประกันภัย 34/3 ซอยหลังสวน ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

กรรมการผู้จัดการ คือ นางสาวพณิตา ตู้จินดา

7.บริษัทเมืองไทยประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 250 ถนนรัชดาภิเษก ข.ห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10320

กรรมการผู้จัดการ คือ คุณนวลพรรณ ล่ำซำ

8. บริษัทแอกซ่าประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ อาคารลุมพินีทาวเวอร์ ชั้น 23 1168/67 ถ.พระราม4 แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร จ.กรุงเทพมหานคร 10120

กรรมการผู้จัดการ คือ นายกี่เดช อนันต์ศิริประภา

9.บริษัทไทยพาณิชย์สามัคคีประกันภัย

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 2/4 อาคารไทยพาณิชย์สามัคคีประกันภัย ชั้น 12 อาคารนอร์ธปาร์ค
ข.ทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร 10210

กรรมการผู้จัดการ คือ นายจิรวุฒิ บุญศิริ

10.บริษัทแอลเอ็มจี ประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญคือ ชั้น 14, 15, 17 อาคารจัสมินซิตี้ เลขที่ 2 ซอยสุขุมวิท 23 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110 Tel (02) 661-6000

กรรมการผู้จัดการ คือ นายปิยัพะฒน์ วนอุกกฤษฎ์

11.บริษัทเทเวศประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 97, 99 อาคารเทเวศประกันภัย ถนนราชดำเนินกลาง เขตพระนคร กรุงเทพ 10200

กรรมการผู้จัดการ คือ นายอนันต์ เกษเกษมสุข

12.บริษัททิพยประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหย่ คือ 63/2 ถ.พระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310

กรรมการผู้จัดการใหญ่ คือ นายมารุต สิมะเสถียร

13.บริษัทกมลประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 361 ถ.บอนด์สตรีท เมืองทองธานี 3 ต.บางพูด อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี 11120

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นายเสรี สุวรรณภานนท์

14.บริษัทมิตรแท้ประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 295 ถนนสี่พระยา ข.สี่พระยา เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายอนันต์ เกษเกษมกิจ

15.บริษัทเอ็มเอสไอจีประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 1908 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายอรรณพ พรธิติ

16.บริษัทธนชาติประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ เลขที่ 900 อาคารต้นสนทาวเวอร์ ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายนพดล เรืองจินดา

17.บริษัทสินมั่นคงประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ เลขที่ 313 ถนนศรีนครินทร์ แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 10240 เบอร์โทร. 0-2378-7000

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ คุณอิสระ วงศ์รุ่ง

18.บริษัทคูเนียประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 195 อาคารเอ็มไพร์ทาวเวอร์ ชั้น 39 ถนนสาทรใต้ เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร 10120

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายพงศ์ทวี ก้าวสัมพันธ์

19.บริษัทประกันภัยไทยวิวัฒน์ จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ อาคารประกันภัยไทยวิวัฒน์ เลขที่ 71 ถ.ดินแดง แขวงสามเสนใน เขตพญาไท จ.กรุงเทพมหานคร 10400

กรรมการผู้จัดการใหญ่ คือ นายจีรพันธ์ อัศวะธนกุล

20.บริษัทฟินิกซ์ ประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 338 อาคารปรีชาคอมเพล็กซ์ อาคาร A ชั้น 6 – 8 ซอยรัชดาภิเษก20  ถนนรัชดาภิเษก แขวงสามเสนนอก เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 1032

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายวัฒนชัย ขาวดี

21.บริษัทเจ้าพระยาประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 3675 อาคารกรุงไทยแทรคเตอร์ ถนนพระราม 4 แขวงพระโขนง เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายชำนาญ เมธปรีชากุล

22

นายสัญชัย ภัทรพงศ์โอฬาร 50473010054 เอกเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

22.บริษัทซิกน่าประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ อาคารคิวเฮ้าส์เพลินจิต ชั้น 7 598 ถนนเพลินจิต เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายยุทธชัย เตยะราชกุล

23.บริษัทคอมไบด์ประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 587 ชั้น 18-19 อาคารวิริยะถาวร ถนนสุทธิสารวินิจฉัย
ข.ดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ กฤษณะ กฤตมโนรถ

24.บริษัทธนสินประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 900/11-13,36 อาคารเอสวีโอเอทาวเวอร์ ชั้น G,15-17
ถ.พระราม 3 ข.บางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร 10120

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายสุรศักดิ์ เกียรติกำจรยศ.

25.บริษัทจรัญประกันภัย จำกัด

 

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 401 ถนนรัชดาภิเษก แขวงสามเสนนอก เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10320

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นาย สมพล ไชยเชาวน์

26.บริษัทไทยพัฒนาประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 34 ซอยสุขุมวิท 4 ถนนสุขุมวิท เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ คุณไพศาล คุนผลิน

27.บริษัทนำสินประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ เลขที่ 767 ถ.กรุงเทพ-นนทบุรี เขตบางซื่อ กรุงเทพฯ 10800

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ วันชัย วัฒนามานนท์

28.บริษัทไทยศรีประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 126/2 ถนนกรุงธนบุรี  คลองสาน กรุงเทพฯ 10600

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ คุณชาติชาย พานิชชีวะ

29.บริษัทไทยเศรษฐกิจประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 160 อาคาร ไทยเศรษฐกิจ ถนนสาทรเหนือ บางรัก กรุงเทพฯ 10500

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายพุทธิพงษ์ ด่านบุญสุต

30.บริษัท นิวแฮมพ์เชอร์อินชัวรันส์ ประเทศไทย

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 181/19 ถนนสุรวงศ์ ข.สุริยวงศ์ เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

กรรมการผู้จัดการ คือ มร.สตีเวน บาร์น็ต

31.บริษัท นิวอินเดียแอสชัวรันส์ จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ65/142-143 อาคารชำนาญเพ็ญชาติ ชั้น 17 ถนนพระราม 9
 เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายเทพชโยติ มิตรา

32.บริษัทไทยประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ อาคารไทยประกันภัย 34/3 ซอยหลังสวน ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ คุณสมบัติ อนันตลาโภชัย

33.บริษัทอินทรประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ364/29 ถนนศรีอยุธยา ข.ถนนพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายสุชาติ ไตรศิริเวทวัฒน์

 

บริษัทประกันชีวิต

1.บริษัทกรุงไทย - แอกซ่า ประกันชีวิต

 ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 2034/116-117, 136, 138-143 อาคารอิตัลไทยทาวเวอร์ ชั้น 27, 32-33  ถ.เพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ มร.ไมค์ แพล็กซ์ตัน

2.บริษัทกรุงเทพประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ  23/115-121 รอยัลซิตี้อเวนิว ซอยศูนย์วิจัย ถนนพระราม 9 เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  คุณชัย โสภณพนิช

3. บริษัท บางกอก สหประกันภัย

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 175-177 ถนนสุรวงศ์  เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  ประชัย เลี่ยวไพรัตน์

4. บริษัทฟีนันซ่า ประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 2032 ถ.เพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ   เขต ห้วย ขวาง กรุงเทพฯ 10310

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ สุนทร บุญสาย

5.บริษัทไทยประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ  ๑๒๓ ถ.รัชดาภิเษก ดินแดง กรุงเทพฯ ๑๐๔๐๐

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  ไชย ไชยวรรณ

6.บริษัทไทยพาณิชย์นิวยอล์คไลฟ์ 

 

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ  1060 ดินแดง ตัดใหม่  เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นายโดนอลด์ คาร์ดี

7. บริษัทไทยคาร์ดิฟ ประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ  31/11,36/59-62 อาคารพีเอสทาวเวอร์ ชั้น G และชั้น 18 ถนนสุขุมวิท 21 คลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

กรรมการผู้จัดการใหญ่ คือ  นาย วิญญู ไชยวรรณ

8. บริษัทไทยรีประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ  223/1 ซอยร่วมฤดี ถนนวิทยุ ข.ลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นายสุรชัย ศิริวัลลภ

9.บริษัทไทยสมุทรประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ  เลขที่ 170/74-83 อาคารโอเชี่ยนทาวเวอร์ 1 ถนนรัชดาภิเษก เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นางนุสรา บัญญัติปิยพจน์

10.บริษัทธนชาติประกันชีวิต

 

นายสัญชัย ภัทรพงศ์โอฬาร 50473010054 เอกเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

10.บริษัทธนชาติประกันชีวิต

 

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ  231 อาคารธนชาติประกันชีวิต ถนนราชดำริ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ ดร.ชาติชัย พาราสุข

11.บริษัทอยุธยา  อลิอัน  ซีพี

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 898 อาคารเพลินจิตทาวเวอร์ ชั้น 2, 6 ถนนเพลินจิต กรุงเทพฯ 10330

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายสตีเฟ่น แอบเปิ้ลยาร์ด

12.บริษัทเจนเนอราลี่  ประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ ชั้น 16 ยูนิต 1602-1605 อาคาร ซีอาร์ซี ทาวเวอร์ ออลซีซั่นส์ เพลส  87/2 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

กรรมการผู้จัดการใหญ่่คือ นายคีธ แอนดรูว์ บรูคส์

13.บริษัทพรูเด็นเชียล  ประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ  82 อาคารแสงทองธานี ชั้น 28, 30-31 ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500.

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายบินายัค ดัตตา

14.บริษัทเมืองไทยประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 250 ถนนรัชดาภิเษก ห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10320

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นายสาระ ล่ำซำ

15.บริษัท เอซ ไลฟ์  แอสชัวรันซ์

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ เลขที่ 130-132 อาคารสินธร ทาวเวอร์ 1 ชั้น 11-12
ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายริชาร์ด แอนดรู สปริงค์์

16.บริษัทแมกซ์ประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 169 สุทธิสาร แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กทม 10400

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นายพีระพงศ์ อุ่นจิตต์

17.บริษัท สยามซัมซุง ประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 2922/240-241 ชั้น 15 อาคารชาญอิสระ 2 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ ห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10320.

ผู้บริหารคือ  นายเยิน ฮี คัง

18.บริษัทสยามประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ  75/72-73 อาคารโอเชี่ยนทาวเวอร์ 2 ชั้น 30 สุขมวิท 19 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110.

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นางรัชนี เองปัญญาเลิศ

19.บริษัทสหประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ คือ เลขที่ 411 อาคาร U Tower ชั้น 4-5 ถ.ศรีนครินทร์ แขวงสวนหลวง กรุงเทพฯ 10250

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นายสหพล สังข์เมฆ

20.บริษัทอาคเนย์ประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญคือ  315 ถนนสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายโชติพัฒน์ พีชานนท์

21.บริษัท แอ๊ดวานซ์ ไลฟ์ แอสชัวรันส์ จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ อาคารเพลินจิตเซ็นเตอร์ ชั้น 5 เลขที่ 2 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110.

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นายเชาว์พันธู์ พันธ์ทอง

นางสาวจันทกานต์ ศรีมาวรรณ์

นางสาวจันทกานต์  ศรีมาวรรณ์ 

รหัสนักศึกษา  50473010040 

คณะวิทยาการจัดการ  โปรแกรมวิชา เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ  ปี 4

 

หารายชื่อบริษัทประกันชีวิต  บริษัทประกันภัย  โลโก้  ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่  สถานที่ตั้งโดยสังเขป

1. บริษัทเทเวศประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 97, 99 อาคารเทเวศประกันภัย ถนนราชดำเนินกลาง เขตพระนคร กรุงเทพ 10200

กรรมการผู้จัดการ คือ นายอนันต์ เกษเกษมสุข

2. บริษัททิพยประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหย่ คือ 63/2 ถ.พระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310

กรรมการผู้จัดการใหญ่ คือ นายมารุต สิมะเสถียร

3. บริษัทกมลประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 361 ถ.บอนด์สตรีท เมืองทองธานี 3 ต.บางพูด อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี 11120

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นายเสรี สุวรรณภานนท์

4. บริษัทมิตรแท้ประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 295 ถนนสี่พระยา ข.สี่พระยา เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายอนันต์ เกษเกษมกิจ

5. บริษัทเอ็มเอสไอจีประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 1908 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายอรรณพ พรธิติ

6. บริษัทธนชาติประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ เลขที่ 900 อาคารต้นสนทาวเวอร์ ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายนพดล เรืองจินดา

7. บริษัทสินมั่นคงประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ เลขที่ 313 ถนนศรีนครินทร์ แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 10240 เบอร์โทร. 0-2378-7000

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ คุณอิสระ วงศ์รุ่ง

8. บริษัทคูเนียประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 195 อาคารเอ็มไพร์ทาวเวอร์ ชั้น 39 ถนนสาทรใต้ เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร 10120

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายพงศ์ทวี ก้าวสัมพันธ์

9. บริษัทประกันภัยไทยวิวัฒน์ จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ อาคารประกันภัยไทยวิวัฒน์ เลขที่ 71 ถ.ดินแดง แขวงสามเสนใน เขตพญาไท จ.กรุงเทพมหานคร 10400

กรรมการผู้จัดการใหญ่ คือ นายจีรพันธ์ อัศวะธนกุล

10. บริษัทวิริยะประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 121/7 14-27 อาคารอาร์ เอส ทาวเวอร์ ถนนรรัชดาภิเษก เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400

กรรมการผู้จัดการคือ สุรชัย วังยายฉิม

11. บริษัทกรุงเทพประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 25 ถนนสาทรใต้ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120

กรรมการผู้จัดการ คือ นายชัย โสภณพนิช

12. บริษัทเอเชียประกันภัย จำกัด (มหาชน)

 

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ เลขที่ 183 อาคารรีเจ้นท์เฮาส์ ชั้น 12 ถนนราชดำริ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

กรรมการผู้จัดการ คือ นายนิค จันทรวิทุร

13. บริษัทอาคเนย์ประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ  315 ถนนสีลม ข.สีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

กรรมการผู้จัดการ คือ พล.ต.อ.สนอง วัฒนวรางกู

14. บริษัทอลิอันซ์ ซีพี ประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 898 อาคารเพลินจิตทาวเวอร์ ชั้น6 โซนเอ,ชั้น16-18 ถนนเพลินจิต ข.ลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

กรรมการผู้จัดการ คือ นายปกิต เอี่ยมโอภาส ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่

15. บริษัทไทยประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ คือ อาคารไทยประกันภัย 34/3 ซอยหลังสวน ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

กรรมการผู้จัดการ คือ นางสาวพณิตา ตู้จินดา

16. บริษัทเมืองไทยประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 250 ถนนรัชดาภิเษก ข.ห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10320

กรรมการผู้จัดการ คือ คุณนวลพรรณ ล่ำซำ

17. บริษัทแอกซ่าประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ อาคารลุมพินีทาวเวอร์ ชั้น 23 1168/67 ถ.พระราม4 แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร จ.กรุงเทพมหานคร 10120

กรรมการผู้จัดการ คือ นายกี่เดช อนันต์ศิริประภา

18. บริษัทไทยพาณิชย์สามัคคีประกันภัย

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 2/4 อาคารไทยพาณิชย์สามัคคีประกันภัย ชั้น 12 อาคารนอร์ธปาร์ค ข.ทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร 10210

กรรมการผู้จัดการ คือ นายจิรวุฒิ บุญศิริ

19. บริษัทแอลเอ็มจี ประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญคือ ชั้น 14, 15, 17 อาคารจัสมินซิตี้ เลขที่ 2 ซอยสุขุมวิท 23 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110 Tel (02) 661-6000

กรรมการผู้จัดการ คือ นายปิยัพะฒน์ วนอุกกฤษฎ์

20. บริษัทฟินิกซ์ ประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 338 อาคารปรีชาคอมเพล็กซ์ อาคาร A ชั้น 6 – 8 ซอยรัชดาภิเษก20  ถนนรัชดาภิเษก แขวงสามเสนนอก เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 1032

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายวัฒนชัย ขาวดี

21. บริษัทเจ้าพระยาประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ทำไมงานชอบขึ้นไม่ครบอ่ะคะ

งั้นต้องทำใหม่อีกแล้ว

นางสาวจันทกานต์ ศรีมาวรรณ์

นางสาวจันทกานต์  ศรีมาวรรณ์ 

รหัสนักศึกษา  50473010040 

คณะวิทยาการจัดการ  โปรแกรมวิชา เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ  ปี 4

(ต่อจากของเดิมนะคะ)

21. บริษัทเจ้าพระยาประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 3675 อาคารกรุงไทยแทรคเตอร์ ถนนพระราม 4 แขวงพระโขนง เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายชำนาญ เมธปรีชากุล

22. บริษัทซิกน่าประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ อาคารคิวเฮ้าส์เพลินจิต ชั้น 7 598 ถนนเพลินจิต เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายยุทธชัย เตยะราชกุล

23. บริษัทคอมไบด์ประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 587 ชั้น 18-19 อาคารวิริยะถาวร ถนนสุทธิสารวินิจฉัย
ข.ดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ กฤษณะ กฤตมโนรถ

24. บริษัทธนสินประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 900/11-13,36 อาคารเอสวีโอเอทาวเวอร์ ชั้น G,15-17
ถ.พระราม 3 ข.บางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร 10120

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายสุรศักดิ์ เกียรติกำจรยศ

25. บริษัทจรัญประกันภัย จำกัด

 

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 401 ถนนรัชดาภิเษก แขวงสามเสนนอก เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10320

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นาย สมพล ไชยเชาวน์

 

นางสาวจันทกานต์ ศรีมาวรรณ์

นางสาวจันทกานต์  ศรีมาวรรณ์

รหัสนักศึกษา  50473010040 

คณะวิทยาการจัดการ  โปรแกรมวิชาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ  ปี 4

(ต่อจากของเดิมค่ะ)

26. บริษัทไทยพัฒนาประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 34 ซอยสุขุมวิท 4 ถนนสุขุมวิท เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ คุณไพศาล คุนผลิน

27. บริษัทนำสินประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ เลขที่ 767 ถ.กรุงเทพ-นนทบุรี เขตบางซื่อ กรุงเทพฯ 10800

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ วันชัย วัฒนามานนท์

28. บริษัทไทยศรีประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 126/2 ถนนกรุงธนบุรี  คลองสาน กรุงเทพฯ 10600

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ คุณชาติชาย พานิชชีวะ

29. บริษัทไทยเศรษฐกิจประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 160 อาคาร ไทยเศรษฐกิจ ถนนสาทรเหนือ บางรัก กรุงเทพฯ 10500

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายพุทธิพงษ์ ด่านบุญสุต

30. บริษัท นิวแฮมพ์เชอร์อินชัวรันส์ ประเทศไทย

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 181/19 ถนนสุรวงศ์ ข.สุริยวงศ์ เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

กรรมการผู้จัดการ คือ มร.สตีเวน บาร์น็ต

31. บริษัท นิวอินเดียแอสชัวรันส์ จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ65/142-143 อาคารชำนาญเพ็ญชาติ ชั้น 17 ถนนพระราม 9
ข.ห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายเทพชโยติ มิตรา

32. บริษัทอินทรประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ364/29 ถนนศรีอยุธยา ข.ถนนพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายสุชาติ ไตรศิริเวทวัฒน์

33. บริษัท ชับบ์ประกันภัย (ประเทศไทย) จำกัด

สำนักงานใหญ่  52 ธนิยะ พลาซ่า ชั้น 16 ถนนสีลม ข.สุริยวงศ์ เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

34. บริษัท ไทยประกันสุขภาพ จำกัด

สำนักงานใหญ่  121/89 อาคารอาร์เอส ทาวเวอร์ ถนนรัชดาภิเษก เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400

กรรมการผู้จัดการ  คุณวรางค์ เสรฐภักดี

35. บริษัท ไทยรับประกันภัยต่อ จำกัด (มหาชน)

สำนักงานใหญ่  223/1 ซอยร่วมฤดี ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร  นายสุรชัย ศิริวัลลภ

36. บริษัท นวกิจประกันภัย จำกัด (มหาชน)

สำนักงานใหญ่  100/48-55 ชั้น 25-27 อาคารสาธรนครทาวเวอร์ เลขที่ 90/3-6 ชั้น 1
อาคารสาธรธานี สาธรธานีคอมเพล็กซ์ ถนนสาธรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กทม. 10500

กรรมการผู้อำนวยการ  นายปิติพงศ์ พิศาลบุตร

37. บริษัท ประกันภัยศรีเมือง จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 195 อาคารเอ็มไพร์ทาวเวอร์ ชั้น 40 ถนนสาทรใต้ ยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120

กรรมการผู้จัดการใหญ่ โยอิจิ ทามากาคิ

38. บริษัท สินทรัพย์ ประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 492-494 ถ.รัชดาภิเษก สามเสนนอก ห้วยขวาง กทม. 10310

กรรมการผู้จัดการใหญ่ วันเพ็ญ เซ่งไพเราะห์

39. บริษัท ประกันคุ้มภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 26/5-6 ชั้น 1, 26/10-11 ชั้น 4, 26/16-17 ชั้น 6, และ 26/18-19 ชั้น 6 อาคารอรกานต์ ข.ลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

กรรมการผู้จัดการใหญ่  คุณยงยุทธ บวรวนิชยกูร

นางสาวจันทกานต์ ศรีมาวรรณ์

นางสาวจันทกานต์  ศรีมาวรรณ์  

รหัสนักศึกษา  50473010040 

คณะวิทยาการจัดการ  โปรแกรมวิชาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ  ปี 4

 

บริษัทประกันชีวิต

1. บริษัท พรภัทรประกันชีวิต จำกัด
Pornpat Life Assurance Co., Ltd.

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 79/29 อาคารไพร์มเสตท ชั้น 3 ถนนศรีนครินทร์แขวงหนองบอน เขตประเวศ กรุงเทพมหานคร 10260

กรรมการผู้จัดการใหญ่ พราฟร์ ชาห์

2. บริษัท โอสถสภาประกันชีวิต จำกัด
Osotspa Life Assurance Co., Ltd.

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 621/1 หมู่ที่ 11 ถนนมะลิวัลย์ ต.บ้านเป็ด อ.เมืองขอนแก่น จ.ขอนแก่น 40000

กรรมการผู้จัดการใหญ่ คุณพิพัฒน์ เทพย์ปฏิพัธน์

3. บริษัท อเมริกันอินเตอร์แนชชั่นแนล แอสชัวรันส์ จำกัด
American International Assurance Co., Ltd.

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 181/19 ถนนสุรวงศ์ แขวงบางรัก เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

4. บริษัทไทยรีประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ  223/1 ซอยร่วมฤดี ถนนวิทยุ ข.ลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นายสุรชัย ศิริวัลลภ

5. บริษัทแมกซ์ประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 169 สุทธิสาร แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กทม 10400

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นายพีระพงศ์ อุ่นจิตต์

6. บริษัท ไอเอ็นจี ประกันชีวิต  จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : นายชี ชอง

สถานที่ตั้ง  :130-132 อาคารสินธร ทาวเวอร์ 3 ชั้น 16 และ ชั้น 29 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

7. บริษัท เอซ ไลฟ์ แอสชัวรันซ์ จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : เบรทท์ เอ คลิงเลอร์  

สถานที่ตั้ง  :  169 อาคารธนาคารนครหลวงไทย สาขาสุทธิสาร ชั้น 3-6 ถนนสุทธิสารวินิจฉัย แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กทม.10400

8. บริษัท แอ๊ดวานซ์ ไลฟ์ แอสชัวรันส์ จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : นายริชาร์ด แอนดรู สปริงค์.

สถานที่ตั้ง  :  2 อาคารเพลินจิตเซ็นเตอร์ ชั้น 5 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ

9. บริษัท อาคเนย์ประกันชีวิต จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : พล.ต.อ.สนอง วัฒนวรางกูร

สถานที่ตั้ง  :  315 ถนนสีลม ข.สีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

10. บริษัท พรูเด็นเชียล ประกันชีวิต (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน)

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : บูรพา  อัตถากร

สถานที่ตั้ง  :82 อาคารแสงทองธานี ชั้น 28, 30-31 ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

11. บริษัท เมืองไทยประกันชีวิต จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : นายโพธิพงษ์ ล่ำซำ

สถานที่ตั้ง  :  250 ถนนรัชดาภิเษก ข.ห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10320

12. บริษัท แมนูไลฟ์ ประกันชีวิต (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน)

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : มร.คริสโตเฟอร์ เตียว

สถานที่ตั้ง  : 364/30 ถนนศรีอยุธยา ข.ถนนพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400

13. บริษัท สยามซัมซุง ประกันชีวิต จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : มนัส  ลีวีระพันธุ์

สถานที่ตั้ง  : 2922/222-227 อาคารชาญอิสระ 2 ชั้น 15 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310

14. บริษัท สยามประกันชีวิต จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  :  คุณชิน โสภณพนิช  

สถานที่ตั้ง  :  75/72-73 ซอยสุขุมวิท 19 (วัฒนา) ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110

15. บริษัท สหประกันชีวิต จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : ดร.ศุภชัย ศรีศุภอักษร

สถานที่ตั้ง  : เลขที่ 411 อาคาร U Tower ชั้น 4-5 ถ.ศรีนครินทร์ แขวงสวนหลวง กรุงเทพฯ 10250

16. บริษัท ฟินันซ่าประกันชีวิต จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : นางสาวสุภา   ปิยะจิตติ

สถานที่ตั้ง  : 2032 อาคารฟินันซ่าประกันชีวิต ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ บางกะปิ ห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310

17. บริษัท ไทยพาณิชย์นิวยอร์คไลฟ์ประกันชีวิต จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : คุณหญิงชฎา วัฒนศิริธรรม

สถานที่ตั้ง  :  1060 อาคาร 1 ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด(มหาชน) ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400

18.  บริษัท ไทยคาร์ดิฟ ประกันชีวิต จำกัด

สถานที่ตั้ง  :  31/11,36/59-62 อาคารพีเอสทาวเวอร์ ชั้น G และชั้น 18 ถนนสุขุมวิท 21 คลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

19. บริษัท ไทยสมุทรประกันชีวิต จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : นางดัยนา บุนนาค

สถานที่ตั้ง  : 170/74-83 อาคารโอเชี่ยนทาวเวอร์ 1 ชั้น 24-28 ถนนรัชดาภิเษก ข.คลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110

20. บริษัท ธนชาตประกันชีวิต จำกัด in Thailand

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : นพดล  เรืองจินดา

สถานที่ตั้ง  :  231 อาคารธนชาติประกันชีวิต ถนนราชดำริ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

21. บริษัท อยุธยา อลิอันซ์ ซี.พี. ประกันชีวิต จำกัด (มหาชน)

กรรมการผู้จัดการใหญ่  :  สตีเฟ่น แอปเปิ้ลยาร์ด

สถานที่ตั้ง  :  898 อาคารเพลินจิตทาวเวอร์ ชั้น6 โซนเอ,ชั้น16-18 ถนนเพลินจิต ข.ลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

22. บริษัท เจนเนอราลี่ ประกันชีวิต (ไทยแลนด์) จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : กลุ่มครอบครัวตันติพิพัฒน์พงศ์

สถานที่ตั้ง  :  87/2 ยูนิต 1603-5 อาคาร ซีอาร์ซี ทาวเวอร์ ออลซีซั่นส์เพลส ชั้น16 ถนนวิทยุ ข.ลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

23. บริษัท กรุงเทพประกันชีวิต จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  :  นายชัย โสภณพนิช

สถานที่ตั้ง  :  23/115 ซอยสุขุมวิท 21 ถนนพระราม9แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10320

24. บริษัท กรุงไทย - แอกซ่า ประกันชีวิต จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : บิมาล บาลาซิงกัม

สถานที่ตั้ง  :  87 แคปปิตอล ทาวเวอร์ ชั้น 24, 25 ถนนวิทยุแขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

25. บริษัท เจริญโภคภัณฑ์ประกันชีวิต จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : นพดล ศิริจงดี

สถานที่ตั้ง  :  313 อาคารซี.พี.ทาวเวอร์ ชั้น 24 ถนนสีลมแขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

26. บริษัท ทีพีไอ ประกันชีวิต จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  :   นายมนัส สุขสมาน

สถานที่ตั้ง  :  177/1 อาคารบางกอกสหประกันภัย สุรวงศ์ แขวงสุริยวงศ์ เขตบางรัก กทม 10500

27. บริษัท บางกอก สหประกันชีวิต จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : ชัย  อัสสเมทางกูร

สถานที่ตั้ง  :  177/1 อาคารบางกอกสหประกันภัย ถนนสุรวงศ์ แขวงสุริยวงศ์ เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500

28. บริษัท ไทยประกันชีวิต จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : นายวานิช ไชยวรรณ

สถานที่ตั้ง  :  123 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400

 

น.ส.จุฬารัตน์ เชื้อนิล

1. บริษัทเทเวศประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ase64,/9j/4AAQSkZJRgABAQAAAQABAAD/2wCEAAkGBhAPERQUEBQQFRUVGBYYERgVGRYYFxkSHSAVIBYVHh8aHCghHhovHBseIC8iLyctLC4sGiExNTAtNSk3LCkBCQoKDQwOGg8OGTUkHyA1NTUyNSw2NjU1Li4pLzUsLyo1MSwpNi8sLCwxMjUtLC0sLDUpLzUvLywpLyw2LSwsLP/AABEIAFEAUQMBIgACEQEDEQH/xAAbAAABBQEBAAAAAAAAAAAAAAAAAQMFBgcEAv/EADsQAAIBAgQDBgIGCQUAAAAAAAECAwARBAUSIQYTMQcUQVFhkTJxFRcigZPRIzVCU2RzocLwJDNygtL/xAAbAQABBQEBAAAAAAAAAAAAAAACAAEDBAUHBv/EACkRAAIBAwMDBAEFAAAAAAAAAAECAAMEERIhMQUTURUiQVMUJIGR0fH/2gAMAwEAAhEDEQA/ANflltawHQeFN94PkvtS4jqPkKarmXUup3dO6qKlQgAy4iKVjneD5L7CjvB8l9hTdFZ/q979hh9tY53g+S+wo7wfJfYU3RS9XvfsMXbWOd4PkvsKO8HyX2FN0UvV737DF218RzvJ8l9qdw0uprED2rmp7BfGK0Om9Tu6l1TR6hIJgOihTHLD0ooorpcpRrEdR8hTVO4nqPkKZvXJ+qoxvKhA+ZfQ+0RaKQmkvWZ228STInqikoBp+0/iLIi0V5vQGpdp+MRZE9U/gvjFRea5zBhE14iRY1va7X3PkANzT/DucwYsczDurpci4v8AEOo3ArX6Xa1luKVUqdOob/EidhgjMkKKKK6piUsCUbthlZcBdSQdcW4JB/a8RVBgw8s2SNNzZAYMQ7HdrsCsS6b3uLXvV+7Y4y2XmwJs8Ra3gN9z6Vn+QZkJMmx2GVWLIRKSNxoJiHgbgjTc+Fqz6GnsFlxkVRnjjbMZs6v2jeX8UTx5ROvNk1NOkcZLG6xldUlidwNvT4q5+zvMZvpLDAyS2ZirAsxBXSxsb+GwqvYSOWfRh47ku91A3OtgBf2F/erFPiky3OS5UlIJfhHUrp07X+d+vStq5tbZKdaioBeoGPx4wJCrMSpPxO/NMXIM/wBOt9PeoRYM1rHl3Fr1N5lwDmuLxTST4hFjZjujvdYh8ICgAA29aq/FmK7tnUkrqbJNHJboWUBDtf5EX9K1TNuN4MNhIcU6SlJtOhV06hqBYXubdB515bqNW4tltvw0Ul0C8A7/ANyygVi2o/MyriHLp8px0apiJGP2HRtwbEkaWF7Hx9Den+Lp58XnEkHNZRzhFHu2lFG1wAfUn5k1y8U599LY6NsPFIP9tEU2LsQbk2G3j/SmOPUeLM8Ve6kyFl/4sNj7GvR2dIO1MXAAq9s545yJXY844zPfGOTRYYx8rGrigdQYBgzIw6n4jYH7ulbH2XIBgMLYKLpc2Frkk3J9fWsYzDhR4cugxZD3kdtY8Fj25Rtba9jvfoRWhdkXGqyGDA8sgxxv9vUCCF36Wv0NVb2l3reitF9fbf3HYcZztJKZwx1DkTTKKNJ9aWptRh4EoXHPaV9HYkQd3En6NG1FyvW+1gPSq79eH8Gv4h/81FdtP6xH8iL+6qFWrQ6RZVaYd6YyeZVaq4bGZpUXbBCh1Jl8Ct5qwB9wt69T9sccljJgIWt01Nqt8rrWZ0qdRUzdIsV95p8QRVfjM1D68f4RPxT+VN4jtpjkFpMDEwHg73APyK1PZhhdeZjCDB4d8K8amQ8pV0H7ZLCQDrsNva1cWIgw2GwkHKmgQWm0FsKmIMoVvs7n4bdPv9K8mtz0/wBoFvueN+M58cHaW8PudUjMP2yRR7x4CBD4lGCn+i0mI7ZYpLGTAQPbYamDWHiBda6sqyiDNocJiHWFWw8jrjgqqoZFuwuFta9gP+x8qku+YeXBRYi+Hw/Nkks3dUmugZ9KabbbAG/p60dW6sFcfp/dnB3Ox8ed8ZjBXxzIoduIAH+jS3h+kNreH7NWLgPtN+kcWIO7rHdWbUHLfD4WtUNkLxNChljSGaWYnmvhFeOdb2VQB8G3lYjf501wPljYbiF42ESnluwEQIQKyqygA7jY1Zt/wKjuiUQrKMj+cZgnWMZM1uw/wUUlFSbw5hvbT+sR/Ii/uqhVsHaV2fZhj8YJcNGjJyo1uXVftC99iaqn1O5x+5j/ABY/zr0drcUloqC28qOpLSlWq98L8CYfGYQSPK0cr85YySNHOV41jU7dCWtTP1O5x+5j/Fj/ADrsTs1z8RckC0W50CaPTe6m/XzUH7hRXFdHXCOBEqkHcS1ZjwzI0ckT47MGlKA8oOgIsqswAbTzFvcEhtvWm+FOHHMuMw/esdHFheSIQjhRZ1dmBJW3UdahpOEOKWVlaSUq+zg4hNxYDz8halPCPFNgOZLZQVUc9NlIsR18tqyPxaWnTqWTaj4kjl/Z9qnxEaYrEiOaFXlUMpJnl1lUdlGlxa7X2vqp7h7gzE93gWLGzxHkFpYg4HKmLEKwFr6CQ4t5r7QD8BcSMkSEsVhKtCOfHZGX4CN+o8PKvU/A3ErszuzFmTlMedHcxXvo2PS+9G1Cmw9zL/m0YE+JMYHL7TTqmKzVVhOI55crGkk0YS8gkK6VDeR8LHpUd2elPp5tDSMOXJ9qSRZWY6V1HWoswv09KQ8J8UllcyyalBVTz0uFNrjr6D2qZ4E4NzWHMhiswAa6MrOZFdibAKNvlb7qQpUqSsQRuMbRZJxNItRS7ef9aKzsmTxukoooY0WkoopxFENLRRQjiEIlKKKKGNFNA6H/ADypKKkWMeY7RRRTxp//2Q==

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 97, 99 อาคารเทเวศประกันภัย ถนนราชดำเนินกลาง เขตพระนคร กรุงเทพ 10200

กรรมการผู้จัดการ คือ นายอนันต์ เกษเกษมสุข

2. บริษัททิพยประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหย่ คือ 63/2 ถ.พระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310

กรรมการผู้จัดการใหญ่ คือ นายมารุต สิมะเสถียร

3. บริษัทกมลประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 361 ถ.บอนด์สตรีท เมืองทองธานี 3 ต.บางพูด อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี 11120

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นายเสรี สุวรรณภานนท์

4. บริษัทมิตรแท้ประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 295 ถนนสี่พระยา ข.สี่พระยา เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายอนันต์ เกษเกษมกิจ

5. บริษัทเอ็มเอสไอจีประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 1908 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายอรรณพ พรธิติ

6. บริษัทธนชาติประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ เลขที่ 900 อาคารต้นสนทาวเวอร์ ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายนพดล เรืองจินดา

7. บริษัทสินมั่นคงประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ เลขที่ 313 ถนนศรีนครินทร์ แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 10240 เบอร์โทร. 0-2378-7000

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ คุณอิสระ วงศ์รุ่ง

8. บริษัทคูเนียประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 195 อาคารเอ็มไพร์ทาวเวอร์ ชั้น 39 ถนนสาทรใต้ เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร 10120

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายพงศ์ทวี ก้าวสัมพันธ์

9. บริษัทประกันภัยไทยวิวัฒน์ จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ อาคารประกันภัยไทยวิวัฒน์ เลขที่ 71 ถ.ดินแดง แขวงสามเสนใน เขตพญาไท จ.กรุงเทพมหานคร 10400

กรรมการผู้จัดการใหญ่ คือ นายจีรพันธ์ อัศวะธนกุล

10. บริษัทวิริยะประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 121/7 14-27 อาคารอาร์ เอส ทาวเวอร์ ถนนรรัชดาภิเษก เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400

กรรมการผู้จัดการคือ สุรชัย วังยายฉิม

11. บริษัทกรุงเทพประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 25 ถนนสาทรใต้ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120

กรรมการผู้จัดการ คือ นายชัย โสภณพนิช

12. บริษัทเอเชียประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ เลขที่ 183 อาคารรีเจ้นท์เฮาส์ ชั้น 12 ถนนราชดำริ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

กรรมการผู้จัดการ คือ นายนิค จันทรวิทุร

13. บริษัทอาคเนย์ประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ  315 ถนนสีลม ข.สีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

กรรมการผู้จัดการ คือ พล.ต.อ.สนอง วัฒนวรางกู

14. บริษัทอลิอันซ์ ซีพี ประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 898 อาคารเพลินจิตทาวเวอร์ ชั้น6 โซนเอ,ชั้น16-18 ถนนเพลินจิต ข.ลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

กรรมการผู้จัดการ คือ นายปกิต เอี่ยมโอภาส ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่

15. บริษัทไทยประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ คือ อาคารไทยประกันภัย 34/3 ซอยหลังสวน ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

กรรมการผู้จัดการ คือ นางสาวพณิตา ตู้จินดา

16. บริษัทเมืองไทยประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 250 ถนนรัชดาภิเษก ข.ห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10320

กรรมการผู้จัดการ คือ คุณนวลพรรณ ล่ำซำ

17. บริษัทแอกซ่าประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ อาคารลุมพินีทาวเวอร์ ชั้น 23 1168/67 ถ.พระราม4 แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร จ.กรุงเทพมหานคร 10120

กรรมการผู้จัดการ คือ นายกี่เดช อนันต์ศิริประภา

18. บริษัทไทยพาณิชย์สามัคคีประกันภัย

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 2/4 อาคารไทยพาณิชย์สามัคคีประกันภัย ชั้น 12 อาคารนอร์ธปาร์ค ข.ทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร 10210

กรรมการผู้จัดการ คือ นายจิรวุฒิ บุญศิริ

19. บริษัทแอลเอ็มจี ประกันภัย จำกัด (มหาชน)

หารายชื่อบริษัทประกันชีวิต  บริษัทประกันภัย  โลโก้  ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่  สถานที่ตั้งโดยสังเขป

บริษัทเจ้าพระยาประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 3675 อาคารกรุงไทยแทรคเตอร์ ถนนพระราม 4 แขวงพระโขนง เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายชำนาญ เมธปรีชากุล

บริษัทซิกน่าประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ อาคารคิวเฮ้าส์เพลินจิต ชั้น 7 598 ถนนเพลินจิต เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายยุทธชัย เตยะราชกุล

บริษัทคอมไบด์ประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 587 ชั้น 18-19 อาคารวิริยะถาวร ถนนสุทธิสารวินิจฉัย
ข.ดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ กฤษณะ กฤตมโนรถ

บริษัทธนสินประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 900/11-13,36 อาคารเอสวีโอเอทาวเวอร์ ชั้น G,15-17
ถ.พระราม 3 ข.บางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร 10120

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายสุรศักดิ์ เกียรติกำจรยศ

บริษัทจรัญประกันภัย จำกัด

 

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 401 ถนนรัชดาภิเษก แขวงสามเสนนอก เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10320

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นาย สมพล ไชยเชาวน์

บริษัทเทเวศประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 97, 99 อาคารเทเวศประกันภัย ถนนราชดำเนินกลาง เขตพระนคร กรุงเทพ 10200

กรรมการผู้จัดการ คือ นายอนันต์ เกษเกษมสุข

บริษัททิพยประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหย่ คือ 63/2 ถ.พระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310

กรรมการผู้จัดการใหญ่ คือ นายมารุต สิมะเสถียร

บริษัทกมลประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 361 ถ.บอนด์สตรีท เมืองทองธานี 3 ต.บางพูด อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี 11120

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นายเสรี สุวรรณภานนท์

บริษัทมิตรแท้ประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 295 ถนนสี่พระยา ข.สี่พระยา เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายอนันต์ เกษเกษมกิจ

บริษัทเอ็มเอสไอจีประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 1908 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายอรรณพ พรธิติ

บริษัทธนชาติประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ เลขที่ 900 อาคารต้นสนทาวเวอร์ ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายนพดล เรืองจินดา

บริษัทสินมั่นคงประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ เลขที่ 313 ถนนศรีนครินทร์ แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 10240 เบอร์โทร. 0-2378-7000

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ คุณอิสระ วงศ์รุ่ง

บริษัทคูเนียประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 195 อาคารเอ็มไพร์ทาวเวอร์ ชั้น 39 ถนนสาทรใต้ เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร 10120

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายพงศ์ทวี ก้าวสัมพันธ์

บริษัทประกันภัยไทยวิวัฒน์ จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ อาคารประกันภัยไทยวิวัฒน์ เลขที่ 71 ถ.ดินแดง แขวงสามเสนใน เขตพญาไท จ.กรุงเทพมหานคร 10400

กรรมการผู้จัดการใหญ่ คือ นายจีรพันธ์ อัศวะธนกุล

บริษัทวิริยะประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 121/7 14-27 อาคารอาร์ เอส ทาวเวอร์ ถนนรรัชดาภิเษก เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400

กรรมการผู้จัดการคือ สุรชัย วังยายฉิม

 บริษัทกรุงเทพประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 25 ถนนสาทรใต้ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120

กรรมการผู้จัดการ คือ นายชัย โสภณพนิช

 บริษัทเอเชียประกันภัย จำกัด (มหาชน)

 

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ เลขที่ 183 อาคารรีเจ้นท์เฮาส์ ชั้น 12 ถนนราชดำริ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

กรรมการผู้จัดการ คือ นายนิค จันทรวิทุร

 บริษัทอาคเนย์ประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ  315 ถนนสีลม ข.สีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

กรรมการผู้จัดการ คือ พล.ต.อ.สนอง วัฒนวรางกู

 บริษัทอลิอันซ์ ซีพี ประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 898 อาคารเพลินจิตทาวเวอร์ ชั้น6 โซนเอ,ชั้น16-18 ถนนเพลินจิต ข.ลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

กรรมการผู้จัดการ คือ นายปกิต เอี่ยมโอภาส ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่

 บริษัทไทยประกันภัย จำกัด (มหาชน)

นางสาวณัฎฐาทิพย์ วงค์จันทร์คำ รหัส 50473010019 โปรแกรมเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

หารายชื่อบริษัทประกันชีวิต  บริษัทประกันภัย  โลโก้  ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่  สถานที่ตั้งโดยสังเขป

บริษัทเจ้าพระยาประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 3675 อาคารกรุงไทยแทรคเตอร์ ถนนพระราม 4 แขวงพระโขนง เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายชำนาญ เมธปรีชากุล

บริษัทซิกน่าประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ อาคารคิวเฮ้าส์เพลินจิต ชั้น 7 598 ถนนเพลินจิต เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายยุทธชัย เตยะราชกุล

บริษัทคอมไบด์ประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 587 ชั้น 18-19 อาคารวิริยะถาวร ถนนสุทธิสารวินิจฉัย
ข.ดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ กฤษณะ กฤตมโนรถ

บริษัทธนสินประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 900/11-13,36 อาคารเอสวีโอเอทาวเวอร์ ชั้น G,15-17
ถ.พระราม 3 ข.บางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร 10120

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายสุรศักดิ์ เกียรติกำจรยศ

บริษัทจรัญประกันภัย จำกัด

 

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 401 ถนนรัชดาภิเษก แขวงสามเสนนอก เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10320

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นาย สมพล ไชยเชาวน์

บริษัทเทเวศประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 97, 99 อาคารเทเวศประกันภัย ถนนราชดำเนินกลาง เขตพระนคร กรุงเทพ 10200

กรรมการผู้จัดการ คือ นายอนันต์ เกษเกษมสุข

บริษัททิพยประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหย่ คือ 63/2 ถ.พระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310

กรรมการผู้จัดการใหญ่ คือ นายมารุต สิมะเสถียร

บริษัทกมลประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 361 ถ.บอนด์สตรีท เมืองทองธานี 3 ต.บางพูด อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี 11120

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นายเสรี สุวรรณภานนท์

บริษัทมิตรแท้ประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 295 ถนนสี่พระยา ข.สี่พระยา เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายอนันต์ เกษเกษมกิจ

บริษัทเอ็มเอสไอจีประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 1908 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายอรรณพ พรธิติ

บริษัทธนชาติประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ เลขที่ 900 อาคารต้นสนทาวเวอร์ ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายนพดล เรืองจินดา

บริษัทสินมั่นคงประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ เลขที่ 313 ถนนศรีนครินทร์ แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 10240 เบอร์โทร. 0-2378-7000

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ คุณอิสระ วงศ์รุ่ง

บริษัทคูเนียประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 195 อาคารเอ็มไพร์ทาวเวอร์ ชั้น 39 ถนนสาทรใต้ เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร 10120

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายพงศ์ทวี ก้าวสัมพันธ์

บริษัทประกันภัยไทยวิวัฒน์ จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ อาคารประกันภัยไทยวิวัฒน์ เลขที่ 71 ถ.ดินแดง แขวงสามเสนใน เขตพญาไท จ.กรุงเทพมหานคร 10400

กรรมการผู้จัดการใหญ่ คือ นายจีรพันธ์ อัศวะธนกุล

บริษัทวิริยะประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 121/7 14-27 อาคารอาร์ เอส ทาวเวอร์ ถนนรรัชดาภิเษก เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400

กรรมการผู้จัดการคือ สุรชัย วังยายฉิม

 บริษัทกรุงเทพประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 25 ถนนสาทรใต้ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120

กรรมการผู้จัดการ คือ นายชัย โสภณพนิช

 บริษัทเอเชียประกันภัย จำกัด (มหาชน)

 

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ เลขที่ 183 อาคารรีเจ้นท์เฮาส์ ชั้น 12 ถนนราชดำริ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

กรรมการผู้จัดการ คือ นายนิค จันทรวิทุร

 บริษัทอาคเนย์ประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ  315 ถนนสีลม ข.สีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

กรรมการผู้จัดการ คือ พล.ต.อ.สนอง วัฒนวรางกู

 บริษัทอลิอันซ์ ซีพี ประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 898 อาคารเพลินจิตทาวเวอร์ ชั้น6 โซนเอ,ชั้น16-18 ถนนเพลินจิต ข.ลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

กรรมการผู้จัดการ คือ นายปกิต เอี่ยมโอภาส ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่

 บริษัทไทยประกันภัย จำกัด (มหาชน)

นางสาวณัฐธิดา สมยศ รหัส 50473010022 โปรแกรมเศรษฐศาสตร์ธรกิจ

หารายชื่อบริษัทประกันชีวิต  บริษัทประกันภัย  โลโก้  ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่  สถานที่ตั้งโดยสังเขป

บริษัท ชับบ์ประกันภัย (ประเทศไทย) จำกัด

สำนักงานใหญ่  52 ธนิยะ พลาซ่า ชั้น 16 ถนนสีลม ข.สุริยวงศ์ เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

 บริษัท ไทยประกันสุขภาพ จำกัด

สำนักงานใหญ่  121/89 อาคารอาร์เอส ทาวเวอร์ ถนนรัชดาภิเษก เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400

กรรมการผู้จัดการ  คุณวรางค์ เสรฐภักดี

บริษัท ไทยรับประกันภัยต่อ จำกัด (มหาชน)

สำนักงานใหญ่  223/1 ซอยร่วมฤดี ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร  นายสุรชัย ศิริวัลลภ

 บริษัท นวกิจประกันภัย จำกัด (มหาชน)

สำนักงานใหญ่  100/48-55 ชั้น 25-27 อาคารสาธรนครทาวเวอร์ เลขที่ 90/3-6 ชั้น 1
อาคารสาธรธานี สาธรธานีคอมเพล็กซ์ ถนนสาธรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กทม. 10500

กรรมการผู้อำนวยการ  นายปิติพงศ์ พิศาลบุตร

บริษัท ประกันภัยศรีเมือง จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 195 อาคารเอ็มไพร์ทาวเวอร์ ชั้น 40 ถนนสาทรใต้ ยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120

กรรมการผู้จัดการใหญ่ โยอิจิ ทามากาคิ

บริษัท สินทรัพย์ ประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 492-494 ถ.รัชดาภิเษก สามเสนนอก ห้วยขวาง กทม. 10310

กรรมการผู้จัดการใหญ่ วันเพ็ญ เซ่งไพเราะห์

 บริษัท ประกันคุ้มภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 26/5-6 ชั้น 1, 26/10-11 ชั้น 4, 26/16-17 ชั้น 6, และ 26/18-19 ชั้น 6 อาคารอรกานต์ ข.ลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

กรรมการผู้จัดการใหญ่  คุณยงยุทธ บวรวนิชยกูร

บริษัทฟินิกซ์ ประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 338 อาคารปรีชาคอมเพล็กซ์ อาคาร A ชั้น 6 – 8 ซอยรัชดาภิเษก20  ถนนรัชดาภิเษก แขวงสามเสนนอก เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 1032

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายวัฒนชัย ขาวดี

บริษัทเจ้าพระยาประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 3675 อาคารกรุงไทยแทรคเตอร์ ถนนพระราม 4 แขวงพระโขนง เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายชำนาญ เมธปรีชากุล

บริษัทซิกน่าประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ อาคารคิวเฮ้าส์เพลินจิต ชั้น 7 598 ถนนเพลินจิต เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายยุทธชัย เตยะราชกุล

บริษัทคอมไบด์ประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 587 ชั้น 18-19 อาคารวิริยะถาวร ถนนสุทธิสารวินิจฉัย
ข.ดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ กฤษณะ กฤตมโนรถ

บริษัทธนสินประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 900/11-13,36 อาคารเอสวีโอเอทาวเวอร์ ชั้น G,15-17
ถ.พระราม 3 ข.บางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร 10120

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายสุรศักดิ์ เกียรติกำจรยศ

บริษัทจรัญประกันภัย จำกัด

 

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 401 ถนนรัชดาภิเษก แขวงสามเสนนอก เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10320

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นาย สมพล ไชยเชาวน์

บริษัทเทเวศประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 97, 99 อาคารเทเวศประกันภัย ถนนราชดำเนินกลาง เขตพระนคร กรุงเทพ 10200

กรรมการผู้จัดการ คือ นายอนันต์ เกษเกษมสุข

บริษัททิพยประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหย่ คือ 63/2 ถ.พระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310

กรรมการผู้จัดการใหญ่ คือ นายมารุต สิมะเสถียร

บริษัทกมลประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 361 ถ.บอนด์สตรีท เมืองทองธานี 3 ต.บางพูด อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี 11120

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นายเสรี สุวรรณภานนท์

บริษัทมิตรแท้ประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 295 ถนนสี่พระยา ข.สี่พระยา เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายอนันต์ เกษเกษมกิจ

บริษัทเอ็มเอสไอจีประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 1908 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายอรรณพ พรธิติ

บริษัทธนชาติประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ เลขที่ 900 อาคารต้นสนทาวเวอร์ ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายนพดล เรืองจินดา

บริษัทสินมั่นคงประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ เลขที่ 313 ถนนศรีนครินทร์ แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 10240 เบอร์โทร. 0-2378-7000

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ คุณอิสระ วงศ์รุ่ง

บริษัทคูเนียประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 195 อาคารเอ็มไพร์ทาวเวอร์ ชั้น 39 ถนนสาทรใต้ เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร 10120

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายพงศ์ทวี ก้าวสัมพันธ์

บริษัทประกันภัยไทยวิวัฒน์ จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ อาคารประกันภัยไทยวิวัฒน์ เลขที่ 71 ถ.ดินแดง แขวงสามเสนใน เขตพญาไท จ.กรุงเทพมหานคร 10400

กรรมการผู้จัดการใหญ่ คือ นายจีรพันธ์ อัศวะธนกุล

บริษัทวิริยะประกันภัย จำกัด (มหาชน)

นางสาวณัฐธิดา สมยศ รหัส 50473010022 โปรแกรมเศรษฐศาสตร์ธรกิจ

หารายชื่อบริษัทประกันชีวิต  บริษัทประกันภัย  โลโก้  ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่  สถานที่ตั้งโดยสังเขป

บริษัท ชับบ์ประกันภัย (ประเทศไทย) จำกัด

สำนักงานใหญ่  52 ธนิยะ พลาซ่า ชั้น 16 ถนนสีลม ข.สุริยวงศ์ เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

 บริษัท ไทยประกันสุขภาพ จำกัด

สำนักงานใหญ่  121/89 อาคารอาร์เอส ทาวเวอร์ ถนนรัชดาภิเษก เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400

กรรมการผู้จัดการ  คุณวรางค์ เสรฐภักดี

บริษัท ไทยรับประกันภัยต่อ จำกัด (มหาชน)

สำนักงานใหญ่  223/1 ซอยร่วมฤดี ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร  นายสุรชัย ศิริวัลลภ

 บริษัท นวกิจประกันภัย จำกัด (มหาชน)

สำนักงานใหญ่  100/48-55 ชั้น 25-27 อาคารสาธรนครทาวเวอร์ เลขที่ 90/3-6 ชั้น 1
อาคารสาธรธานี สาธรธานีคอมเพล็กซ์ ถนนสาธรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กทม. 10500

กรรมการผู้อำนวยการ  นายปิติพงศ์ พิศาลบุตร

บริษัท ประกันภัยศรีเมือง จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 195 อาคารเอ็มไพร์ทาวเวอร์ ชั้น 40 ถนนสาทรใต้ ยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120

กรรมการผู้จัดการใหญ่ โยอิจิ ทามากาคิ

บริษัท สินทรัพย์ ประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 492-494 ถ.รัชดาภิเษก สามเสนนอก ห้วยขวาง กทม. 10310

กรรมการผู้จัดการใหญ่ วันเพ็ญ เซ่งไพเราะห์

 บริษัท ประกันคุ้มภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 26/5-6 ชั้น 1, 26/10-11 ชั้น 4, 26/16-17 ชั้น 6, และ 26/18-19 ชั้น 6 อาคารอรกานต์ ข.ลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

กรรมการผู้จัดการใหญ่  คุณยงยุทธ บวรวนิชยกูร

บริษัทฟินิกซ์ ประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 338 อาคารปรีชาคอมเพล็กซ์ อาคาร A ชั้น 6 – 8 ซอยรัชดาภิเษก20  ถนนรัชดาภิเษก แขวงสามเสนนอก เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 1032

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายวัฒนชัย ขาวดี

บริษัทเจ้าพระยาประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 3675 อาคารกรุงไทยแทรคเตอร์ ถนนพระราม 4 แขวงพระโขนง เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายชำนาญ เมธปรีชากุล

บริษัทซิกน่าประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ อาคารคิวเฮ้าส์เพลินจิต ชั้น 7 598 ถนนเพลินจิต เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายยุทธชัย เตยะราชกุล

บริษัทคอมไบด์ประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 587 ชั้น 18-19 อาคารวิริยะถาวร ถนนสุทธิสารวินิจฉัย
ข.ดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ กฤษณะ กฤตมโนรถ

บริษัทธนสินประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 900/11-13,36 อาคารเอสวีโอเอทาวเวอร์ ชั้น G,15-17
ถ.พระราม 3 ข.บางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร 10120

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายสุรศักดิ์ เกียรติกำจรยศ

บริษัทจรัญประกันภัย จำกัด

 

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 401 ถนนรัชดาภิเษก แขวงสามเสนนอก เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10320

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นาย สมพล ไชยเชาวน์

บริษัทเทเวศประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 97, 99 อาคารเทเวศประกันภัย ถนนราชดำเนินกลาง เขตพระนคร กรุงเทพ 10200

กรรมการผู้จัดการ คือ นายอนันต์ เกษเกษมสุข

บริษัททิพยประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหย่ คือ 63/2 ถ.พระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310

กรรมการผู้จัดการใหญ่ คือ นายมารุต สิมะเสถียร

บริษัทกมลประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 361 ถ.บอนด์สตรีท เมืองทองธานี 3 ต.บางพูด อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี 11120

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นายเสรี สุวรรณภานนท์

บริษัทมิตรแท้ประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 295 ถนนสี่พระยา ข.สี่พระยา เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายอนันต์ เกษเกษมกิจ

บริษัทเอ็มเอสไอจีประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 1908 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายอรรณพ พรธิติ

บริษัทธนชาติประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ เลขที่ 900 อาคารต้นสนทาวเวอร์ ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายนพดล เรืองจินดา

บริษัทสินมั่นคงประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ เลขที่ 313 ถนนศรีนครินทร์ แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 10240 เบอร์โทร. 0-2378-7000

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ คุณอิสระ วงศ์รุ่ง

บริษัทคูเนียประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 195 อาคารเอ็มไพร์ทาวเวอร์ ชั้น 39 ถนนสาทรใต้ เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร 10120

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายพงศ์ทวี ก้าวสัมพันธ์

บริษัทประกันภัยไทยวิวัฒน์ จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ อาคารประกันภัยไทยวิวัฒน์ เลขที่ 71 ถ.ดินแดง แขวงสามเสนใน เขตพญาไท จ.กรุงเทพมหานคร 10400

กรรมการผู้จัดการใหญ่ คือ นายจีรพันธ์ อัศวะธนกุล

บริษัทวิริยะประกันภัย จำกัด (มหาชน)

นางสาวณัฐธิดา สมยศ รหัส 50473010022 โปรแกรมเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

หารายชื่อบริษัทประกันชีวิต  บริษัทประกันภัย  โลโก้  ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่  สถานที่ตั้งโดยสังเขป

บริษัท ชับบ์ประกันภัย (ประเทศไทย) จำกัด

สำนักงานใหญ่  52 ธนิยะ พลาซ่า ชั้น 16 ถนนสีลม ข.สุริยวงศ์ เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

 บริษัท ไทยประกันสุขภาพ จำกัด

สำนักงานใหญ่  121/89 อาคารอาร์เอส ทาวเวอร์ ถนนรัชดาภิเษก เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400

กรรมการผู้จัดการ  คุณวรางค์ เสรฐภักดี

บริษัท ไทยรับประกันภัยต่อ จำกัด (มหาชน)

สำนักงานใหญ่  223/1 ซอยร่วมฤดี ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร  นายสุรชัย ศิริวัลลภ

 บริษัท นวกิจประกันภัย จำกัด (มหาชน)

สำนักงานใหญ่  100/48-55 ชั้น 25-27 อาคารสาธรนครทาวเวอร์ เลขที่ 90/3-6 ชั้น 1
อาคารสาธรธานี สาธรธานีคอมเพล็กซ์ ถนนสาธรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กทม. 10500

กรรมการผู้อำนวยการ  นายปิติพงศ์ พิศาลบุตร

บริษัท ประกันภัยศรีเมือง จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 195 อาคารเอ็มไพร์ทาวเวอร์ ชั้น 40 ถนนสาทรใต้ ยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120

กรรมการผู้จัดการใหญ่ โยอิจิ ทามากาคิ

บริษัท สินทรัพย์ ประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 492-494 ถ.รัชดาภิเษก สามเสนนอก ห้วยขวาง กทม. 10310

กรรมการผู้จัดการใหญ่ วันเพ็ญ เซ่งไพเราะห์

 บริษัท ประกันคุ้มภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 26/5-6 ชั้น 1, 26/10-11 ชั้น 4, 26/16-17 ชั้น 6, และ 26/18-19 ชั้น 6 อาคารอรกานต์ ข.ลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

กรรมการผู้จัดการใหญ่  คุณยงยุทธ บวรวนิชยกูร

บริษัทฟินิกซ์ ประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 338 อาคารปรีชาคอมเพล็กซ์ อาคาร A ชั้น 6 – 8 ซอยรัชดาภิเษก20  ถนนรัชดาภิเษก แขวงสามเสนนอก เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 1032

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายวัฒนชัย ขาวดี

บริษัทเจ้าพระยาประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 3675 อาคารกรุงไทยแทรคเตอร์ ถนนพระราม 4 แขวงพระโขนง เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายชำนาญ เมธปรีชากุล

บริษัทซิกน่าประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ อาคารคิวเฮ้าส์เพลินจิต ชั้น 7 598 ถนนเพลินจิต เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายยุทธชัย เตยะราชกุล

บริษัทคอมไบด์ประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 587 ชั้น 18-19 อาคารวิริยะถาวร ถนนสุทธิสารวินิจฉัย
ข.ดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ กฤษณะ กฤตมโนรถ

บริษัทธนสินประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 900/11-13,36 อาคารเอสวีโอเอทาวเวอร์ ชั้น G,15-17
ถ.พระราม 3 ข.บางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร 10120

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายสุรศักดิ์ เกียรติกำจรยศ

บริษัทจรัญประกันภัย จำกัด

 

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 401 ถนนรัชดาภิเษก แขวงสามเสนนอก เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10320

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นาย สมพล ไชยเชาวน์

บริษัทเทเวศประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 97, 99 อาคารเทเวศประกันภัย ถนนราชดำเนินกลาง เขตพระนคร กรุงเทพ 10200

กรรมการผู้จัดการ คือ นายอนันต์ เกษเกษมสุข

บริษัททิพยประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหย่ คือ 63/2 ถ.พระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310

กรรมการผู้จัดการใหญ่ คือ นายมารุต สิมะเสถียร

บริษัทกมลประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 361 ถ.บอนด์สตรีท เมืองทองธานี 3 ต.บางพูด อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี 11120

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นายเสรี สุวรรณภานนท์

บริษัทมิตรแท้ประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 295 ถนนสี่พระยา ข.สี่พระยา เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายอนันต์ เกษเกษมกิจ

บริษัทเอ็มเอสไอจีประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 1908 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายอรรณพ พรธิติ

บริษัทธนชาติประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ เลขที่ 900 อาคารต้นสนทาวเวอร์ ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายนพดล เรืองจินดา

บริษัทสินมั่นคงประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ เลขที่ 313 ถนนศรีนครินทร์ แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 10240 เบอร์โทร. 0-2378-7000

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ คุณอิสระ วงศ์รุ่ง

บริษัทคูเนียประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 195 อาคารเอ็มไพร์ทาวเวอร์ ชั้น 39 ถนนสาทรใต้ เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร 10120

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายพงศ์ทวี ก้าวสัมพันธ์

บริษัทประกันภัยไทยวิวัฒน์ จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ อาคารประกันภัยไทยวิวัฒน์ เลขที่ 71 ถ.ดินแดง แขวงสามเสนใน เขตพญาไท จ.กรุงเทพมหานคร 10400

กรรมการผู้จัดการใหญ่ คือ นายจีรพันธ์ อัศวะธนกุล

บริษัทวิริยะประกันภัย จำกัด (มหาชน)

นางสาวประภัสสร จันทะวงษา รหัส 50473010031 โปรแกรมเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

หารายชื่อบริษัทประกันชีวิต  บริษัทประกันภัย  โลโก้  ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่  สถานที่ตั้งโดยสังเขป

บริษัทไทยพาณิชย์สามัคคีประกันภัย

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 2/4 อาคารไทยพาณิชย์สามัคคีประกันภัย ชั้น 12 อาคารนอร์ธปาร์ค ข.ทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร 10210

กรรมการผู้จัดการ คือ นายจิรวุฒิ บุญศิริ

บริษัทแอลเอ็มจี ประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญคือ ชั้น 14, 15, 17 อาคารจัสมินซิตี้ เลขที่ 2 ซอยสุขุมวิท 23 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110 Tel (02) 661-6000

กรรมการผู้จัดการ คือ นายปิยัพะฒน์ วนอุกกฤษฎ์

บริษัทไทยพัฒนาประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 34 ซอยสุขุมวิท 4 ถนนสุขุมวิท เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ คุณไพศาล คุนผลิน

บริษัทนำสินประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ เลขที่ 767 ถ.กรุงเทพ-นนทบุรี เขตบางซื่อ กรุงเทพฯ 10800

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ วันชัย วัฒนามานนท์

บริษัทไทยศรีประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 126/2 ถนนกรุงธนบุรี  คลองสาน กรุงเทพฯ 10600

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ คุณชาติชาย พานิชชีวะ

บริษัทไทยเศรษฐกิจประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 160 อาคาร ไทยเศรษฐกิจ ถนนสาทรเหนือ บางรัก กรุงเทพฯ 10500

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายพุทธิพงษ์ ด่านบุญสุต

บริษัท นิวแฮมพ์เชอร์อินชัวรันส์ ประเทศไทย

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 181/19 ถนนสุรวงศ์ ข.สุริยวงศ์ เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

กรรมการผู้จัดการ คือ มร.สตีเวน บาร์น็ต

บริษัท นิวอินเดียแอสชัวรันส์ จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ65/142-143 อาคารชำนาญเพ็ญชาติ ชั้น 17 ถนนพระราม 9
ข.ห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายเทพชโยติ มิตรา

บริษัทอินทรประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ364/29 ถนนศรีอยุธยา ข.ถนนพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายสุชาติ ไตรศิริเวทวัฒน์

บริษัท ชับบ์ประกันภัย (ประเทศไทย) จำกัด

สำนักงานใหญ่  52 ธนิยะ พลาซ่า ชั้น 16 ถนนสีลม ข.สุริยวงศ์ เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

 บริษัท ไทยประกันสุขภาพ จำกัด

สำนักงานใหญ่  121/89 อาคารอาร์เอส ทาวเวอร์ ถนนรัชดาภิเษก เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400

กรรมการผู้จัดการ  คุณวรางค์ เสรฐภักดี

บริษัท ไทยรับประกันภัยต่อ จำกัด (มหาชน)

สำนักงานใหญ่  223/1 ซอยร่วมฤดี ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร  นายสุรชัย ศิริวัลลภ

 บริษัท นวกิจประกันภัย จำกัด (มหาชน)

สำนักงานใหญ่  100/48-55 ชั้น 25-27 อาคารสาธรนครทาวเวอร์ เลขที่ 90/3-6 ชั้น 1
อาคารสาธรธานี สาธรธานีคอมเพล็กซ์ ถนนสาธรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กทม. 10500

กรรมการผู้อำนวยการ  นายปิติพงศ์ พิศาลบุตร

บริษัท ประกันภัยศรีเมือง จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 195 อาคารเอ็มไพร์ทาวเวอร์ ชั้น 40 ถนนสาทรใต้ ยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120

กรรมการผู้จัดการใหญ่ โยอิจิ ทามากาคิ

บริษัท สินทรัพย์ ประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 492-494 ถ.รัชดาภิเษก สามเสนนอก ห้วยขวาง กทม. 10310

กรรมการผู้จัดการใหญ่ วันเพ็ญ เซ่งไพเราะห์

 บริษัท ประกันคุ้มภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 26/5-6 ชั้น 1, 26/10-11 ชั้น 4, 26/16-17 ชั้น 6, และ 26/18-19 ชั้น 6 อาคารอรกานต์ ข.ลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

กรรมการผู้จัดการใหญ่  คุณยงยุทธ บวรวนิชยกูร

บริษัทฟินิกซ์ ประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 338 อาคารปรีชาคอมเพล็กซ์ อาคาร A ชั้น 6 – 8 ซอยรัชดาภิเษก20  ถนนรัชดาภิเษก แขวงสามเสนนอก เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 1032

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายวัฒนชัย ขาวดี

บริษัทเจ้าพระยาประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 3675 อาคารกรุงไทยแทรคเตอร์ ถนนพระราม 4 แขวงพระโขนง เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายชำนาญ เมธปรีชากุล

บริษัทซิกน่าประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ อาคารคิวเฮ้าส์เพลินจิต ชั้น 7 598 ถนนเพลินจิต เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายยุทธชัย เตยะราชกุล

บริษัทคอมไบด์ประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 587 ชั้น 18-19 อาคารวิริยะถาวร ถนนสุทธิสารวินิจฉัย
ข.ดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ กฤษณะ กฤตมโนรถ

บริษัทธนสินประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 900/11-13,36 อาคารเอสวีโอเอทาวเวอร์ ชั้น G,15-17
ถ.พระราม 3 ข.บางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร 10120

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายสุรศักดิ์ เกียรติกำจรยศ

บริษัทจรัญประกันภัย จำกัด

 

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 401 ถนนรัชดาภิเษก แขวงสามเสนนอก เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10320

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นาย สมพล ไชยเชาวน์

บริษัทเทเวศประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 97, 99 อาคารเทเวศประกันภัย ถนนราชดำเนินกลาง เขตพระนคร กรุงเทพ 10200

กรรมการผู้จัดการ คือ นายอนันต์ เกษเกษมสุข

บริษัททิพยประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหย่ คือ 63/2 ถ.พระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310

กรรมการผู้จัดการใหญ่ คือ นายมารุต สิมะเสถียร

บริษัทกมลประกันภัย จำกัด (มหาชน)

นางสาวสุรัตนา ศรีกระภา รหัส 50473010032 โปรแกรมเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

หารายชื่อบริษัทประกันชีวิต  บริษัทประกันภัย  โลโก้  ชื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่  สถานที่ตั้งโดยสังเขป

บริษัทคอมไบด์ประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 587 ชั้น 18-19 อาคารวิริยะถาวร ถนนสุทธิสารวินิจฉัย
ข.ดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ กฤษณะ กฤตมโนรถ

บริษัทธนสินประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 900/11-13,36 อาคารเอสวีโอเอทาวเวอร์ ชั้น G,15-17
ถ.พระราม 3 ข.บางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร 10120

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายสุรศักดิ์ เกียรติกำจรยศ

บริษัทจรัญประกันภัย จำกัด

 

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 401 ถนนรัชดาภิเษก แขวงสามเสนนอก เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10320

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นาย สมพล ไชยเชาวน์

บริษัทเทเวศประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 97, 99 อาคารเทเวศประกันภัย ถนนราชดำเนินกลาง เขตพระนคร กรุงเทพ 10200

กรรมการผู้จัดการ คือ นายอนันต์ เกษเกษมสุข

บริษัททิพยประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหย่ คือ 63/2 ถ.พระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310

กรรมการผู้จัดการใหญ่ คือ นายมารุต สิมะเสถียร

บริษัทไทยพาณิชย์สามัคคีประกันภัย

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 2/4 อาคารไทยพาณิชย์สามัคคีประกันภัย ชั้น 12 อาคารนอร์ธปาร์ค ข.ทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร 10210

กรรมการผู้จัดการ คือ นายจิรวุฒิ บุญศิริ

บริษัทแอลเอ็มจี ประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญคือ ชั้น 14, 15, 17 อาคารจัสมินซิตี้ เลขที่ 2 ซอยสุขุมวิท 23 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110 Tel (02) 661-6000

กรรมการผู้จัดการ คือ นายปิยัพะฒน์ วนอุกกฤษฎ์

บริษัทไทยพัฒนาประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 34 ซอยสุขุมวิท 4 ถนนสุขุมวิท เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ คุณไพศาล คุนผลิน

บริษัทนำสินประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ เลขที่ 767 ถ.กรุงเทพ-นนทบุรี เขตบางซื่อ กรุงเทพฯ 10800

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ วันชัย วัฒนามานนท์

บริษัทไทยศรีประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 126/2 ถนนกรุงธนบุรี  คลองสาน กรุงเทพฯ 10600

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ คุณชาติชาย พานิชชีวะ

บริษัทไทยเศรษฐกิจประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 160 อาคาร ไทยเศรษฐกิจ ถนนสาทรเหนือ บางรัก กรุงเทพฯ 10500

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายพุทธิพงษ์ ด่านบุญสุต

บริษัท นิวแฮมพ์เชอร์อินชัวรันส์ ประเทศไทย

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 181/19 ถนนสุรวงศ์ ข.สุริยวงศ์ เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

กรรมการผู้จัดการ คือ มร.สตีเวน บาร์น็ต

บริษัท นิวอินเดียแอสชัวรันส์ จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ65/142-143 อาคารชำนาญเพ็ญชาติ ชั้น 17 ถนนพระราม 9
ข.ห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายเทพชโยติ มิตรา

บริษัทอินทรประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ364/29 ถนนศรีอยุธยา ข.ถนนพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายสุชาติ ไตรศิริเวทวัฒน์

บริษัท ชับบ์ประกันภัย (ประเทศไทย) จำกัด

สำนักงานใหญ่  52 ธนิยะ พลาซ่า ชั้น 16 ถนนสีลม ข.สุริยวงศ์ เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

 บริษัท ไทยประกันสุขภาพ จำกัด

สำนักงานใหญ่  121/89 อาคารอาร์เอส ทาวเวอร์ ถนนรัชดาภิเษก เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400

กรรมการผู้จัดการ  คุณวรางค์ เสรฐภักดี

บริษัท ไทยรับประกันภัยต่อ จำกัด (มหาชน)

สำนักงานใหญ่  223/1 ซอยร่วมฤดี ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร  นายสุรชัย ศิริวัลลภ

 บริษัท นวกิจประกันภัย จำกัด (มหาชน)

สำนักงานใหญ่  100/48-55 ชั้น 25-27 อาคารสาธรนครทาวเวอร์ เลขที่ 90/3-6 ชั้น 1
อาคารสาธรธานี สาธรธานีคอมเพล็กซ์ ถนนสาธรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กทม. 10500

กรรมการผู้อำนวยการ  นายปิติพงศ์ พิศาลบุตร

บริษัท ประกันภัยศรีเมือง จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 195 อาคารเอ็มไพร์ทาวเวอร์ ชั้น 40 ถนนสาทรใต้ ยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120

กรรมการผู้จัดการใหญ่ โยอิจิ ทามากาคิ

บริษัท สินทรัพย์ ประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 492-494 ถ.รัชดาภิเษก สามเสนนอก ห้วยขวาง กทม. 10310

กรรมการผู้จัดการใหญ่ วันเพ็ญ เซ่งไพเราะห์

 บริษัท ประกันคุ้มภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 26/5-6 ชั้น 1, 26/10-11 ชั้น 4, 26/16-17 ชั้น 6, และ 26/18-19 ชั้น 6 อาคารอรกานต์ ข.ลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

กรรมการผู้จัดการใหญ่  คุณยงยุทธ บวรวนิชยกูร

บริษัทฟินิกซ์ ประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 338 อาคารปรีชาคอมเพล็กซ์ อาคาร A ชั้น 6 – 8 ซอยรัชดาภิเษก20  ถนนรัชดาภิเษก แขวงสามเสนนอก เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 1032

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายวัฒนชัย ขาวดี

บริษัทเจ้าพระยาประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 3675 อาคารกรุงไทยแทรคเตอร์ ถนนพระราม 4 แขวงพระโขนง เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายชำนาญ เมธปรีชากุล

บริษัทซิกน่าประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ อาคารคิวเฮ้าส์เพลินจิต ชั้น 7 598 ถนนเพลินจิต เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายยุทธชัย เตยะราชกุล

 

นางสาวนิสา  พจนาท.  รหัส  50473010007

เอกเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

1.  บริษัท บางกอก สหประกันชีวิต จำกัด

 

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : ชัย  อัสสเมทางกูร

สถานที่ตั้ง  :  177/1 อาคารบางกอกสหประกันภัย ถนนสุรวงศ์ แขวงสุริยวงศ์ เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500

2.บริษัท เจนเนอราลี่ ประกันชีวิต (ไทยแลนด์) จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : กลุ่มครอบครัวตันติพิพัฒน์พงศ์

สถานที่ตั้ง  :  87/2 ยูนิต 1603-5 อาคาร ซีอาร์ซี ทาวเวอร์ ออลซีซั่นส์เพลส ชั้น16 ถนนวิทยุ ข.ลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

3.บริษัท สยามประกันชีวิต จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  :  คุณชิน โสภณพนิช  

สถานที่ตั้ง  :  75/72-73 ซอยสุขุมวิท 19 (วัฒนา) ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110

4.บริษัท ไทยประกันชีวิต จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : นายวานิช ไชยวรรณ

สถานที่ตั้ง  :  123 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400

 5.บริษัท ธนชาตประกันชีวิต จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : นพดล  เรืองจินดา

สถานที่ตั้ง  :  231 อาคารธนชาติประกันชีวิต ถนนราชดำริ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

6.บริษัท สหประกันชีวิต จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : ดร.ศุภชัย ศรีศุภอักษร

สถานที่ตั้ง  : เลขที่ 411 อาคาร U Tower ชั้น 4-5 ถ.ศรีนครินทร์ แขวงสวนหลวง กรุงเทพฯ 10250

7.บริษัท อยุธยา อลิอันซ์ ซี.พี. ประกันชีวิต จำกัด (มหาชน)

กรรมการผู้จัดการใหญ่  :  สตีเฟ่น แอปเปิ้ลยาร์ด

สถานที่ตั้ง  :  898 อาคารเพลินจิตทาวเวอร์ ชั้น6 โซนเอ,ชั้น16-18 ถนนเพลินจิต

ข.ลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

8.บริษัท แมนูไลฟ์ ประกันชีวิต (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน)

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : มร.คริสโตเฟอร์ เตียว

สถานที่ตั้ง  : 364/30 ถนนศรีอยุธยา ข.ถนนพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400

9.บริษัท เมืองไทยประกันชีวิต จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : นายโพธิพงษ์ ล่ำซำ

สถานที่ตั้ง  :  250 ถนนรัชดาภิเษก ข.ห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10320

10.บริษัท อาคเนย์ประกันชีวิต จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : พล.ต.อ.สนอง วัฒนวรางกูร

สถานที่ตั้ง  :  315 ถนนสีลม ข.สีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

11.บริษัท ไทยพาณิชย์นิวยอร์คไลฟ์ประกันชีวิต จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : คุณหญิงชฎา วัฒนศิริธรรม

สถานที่ตั้ง  :  1060 อาคาร 1 ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด(มหาชน) ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400

12.บริษัท เอซ ไลฟ์ แอสชัวรันซ์ จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : เบรทท์ เอ คลิงเลอร์  

สถานที่ตั้ง  :  169 อาคารธนาคารนครหลวงไทย สาขาสุทธิสาร ชั้น 3-6 ถนนสุทธิสารวินิจฉัย แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กทม.10400

13.บริษัท พรูเด็นเชียล ประกันชีวิต (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน)

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : บูรพา  อัตถากร

สถานที่ตั้ง  :82 อาคารแสงทองธานี ชั้น 28, 30-31 ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

14.บริษัท แอ๊ดวานซ์ ไลฟ์ แอสชัวรันส์ จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : นายริชาร์ด แอนดรู สปริงค์.

สถานที่ตั้ง  :  2 อาคารเพลินจิตเซ็นเตอร์ ชั้น 5 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ

15.บริษัท ไอเอ็นจี ประกันชีวิต  จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : นายชี ชอง

สถานที่ตั้ง  :130-132 อาคารสินธร ทาวเวอร์ 3 ชั้น 16 และ ชั้น 29 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

16.บริษัท นวกิจประกันภัย จำกัด (มหาชน)

สำนักงานใหญ่  100/48-55 ชั้น 25-27 อาคารสาธรนครทาวเวอร์ เลขที่ 90/3-6 ชั้น 1
อาคารสาธรธานี สาธรธานีคอมเพล็กซ์ ถนนสาธรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กทม. 10500

กรรมการผู้อำนวยการ  นายปิติพงศ์ พิศาลบุตร

17.บริษัท ชับบ์ประกันภัย (ประเทศไทย) จำกัด

สำนักงานใหญ่  52 ธนิยะ พลาซ่า ชั้น 16 ถนนสีลม ข.สุริยวงศ์ เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

18.บริษัท นิวอินเดียแอสชัวรันส์ จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ65/142-143 อาคารชำนาญเพ็ญชาติ ชั้น 17 ถนนพระราม 9
ข.ห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายเทพชโยติ มิตรา

19.บริษัท นิวแฮมพ์เชอร์อินชัวรันส์ ประเทศไทย

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 181/19 ถนนสุรวงศ์ ข.สุริยวงศ์ เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

กรรมการผู้จัดการ คือ มร.สตีเวน บาร์น็ต

20.บริษัท ไทยรับประกันภัยต่อ จำกัด (มหาชน)

สำนักงานใหญ่  223/1 ซอยร่วมฤดี ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร  นายสุรชัย ศิริวัลลภ

นางสาว ฐิรดา สันทาลุนัย 50473010052
บริษัท กมลประกันภัย จำกัด (มหาชน)
361 ถ.บอนด์สตรีท เมืองทองธานี 3 ต.บางพูด อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี 11120
โทร :. 0-2502-2999  แฟกซ์ : 0-2502-2933
เว็บไซต์ http://www.kamolinsurance.com  อีเมล์: [email protected]
บริษัท กรุงเทพประกันภัย จำกัด (มหาชน)
25 ถนนสาธรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120
โทร : 0-2285-8888, 0-2677-3777 แฟกซ์ : 0-2677-3737-8
เว็บไซต์ : http://www.bki.co.th/  อีเมล์ : [email protected]

บริษัท กลางคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ จำกัด
44/1 อาคารรุ่งโรจน์ธนกุล ชั้น 11 ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310
โทร : 0-2643-0280-92 แฟกซ์ : 0-2643-0293-94
เว็บไซต์ : www.rvp.co.th  อีเมล์ : [email protected]

บริษัท กรุงไทยพานิชประกันภัย จำกัด
208 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
โทร : 0-2651-5500, 0-2302-0111  แฟกซ์ : 0-2651-5511
เว็บไซต์ : http://www.kpi.co.th/  อีเมล์ : [email protected]
 
บริษัท คอมไบด์อินชัวรันส์ (ประเทศไทย) จำกัด
587 ชั้น 18-19 อาคารวิริยะถาวร ถนนสุทธิสารวินิจฉัย แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400
โทร : 0-2274-9797  แฟกซ์ : 0-2274-9794
เว็บไซต์ http://www.combined.co.th อีเมล์: [email protected]
 
บริษัท คิวบีอี ประกันภัย (ประเทศไทย) จำกัด
968 อาคารอื้อจือเหลียง ชั้น 15 ถนนพระราม 4 แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500
โทร : 0-2238-0999  แฟกซ์ : 0-2238-0836
เว็บไซต์ : http://www.qbe.co.th/  อีเมล์ : [email protected]
 
บริษัท คูเนีย ประกันภัย(ประเทศไทย)จำกัด
849 อาคารวรวัฒน์ ชั้น 9-10 ถนนสีลม แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500
โทร : 0-2635-1555  แฟกซ์ : 0-2635-1298-9
เว็บไซต์ :http://www.kurnia.co.th/ อีเมล์ : -
 
บริษัท จรัญประกันภัย จำกัด (มหาชน)
401 ถนนรัชดาภิเษก แขวงสามเสนนอก เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10320
โทร : 0-2276-1024  แฟกซ์ : 0-2275-4919
เว็บไซต์ : http://www.charaninsurance.com   อีเมล์ : -
 
บริษัท เจนเนอราลี่ ประกันภัย (ไทยแลนด์) จำกัด
บริษัท เจนเนอราลี่ ประกันภัย (ไทยแลนด์) จำกัด
87/2 ยูนิต 1601-2 อาคารซีอาร์ซี ทาวเวอร์ ออลซีซั่นเพลส ชั้น16 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
โทร : 0-2685-3828  แฟกซ์ : 0-2685-3830
เว็บไซต์ : http://www.generali.co.th/  อีเมล์ : [email protected]
 
บริษัท เจ้าพระยาประกันภัย จำกัด
3675 อาคารกรุงไทยแทรคเตอร์ ชั้น 4 - 5 ถนนพระราม 4 แขวงพระโขนง เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110
โทร : 0-2261-9955, 0-2661-3355  แฟกซ์ : 0-2261-3775
เว็บไซต์ :http://www.cpyins.com/  อีเมล์ : [email protected]
     
บริษัท ชับบ์ประกันภัย (ประเทศไทย) จำกัด
52 ธนิยะ พลาซ่า ชั้น 16 ถนนสีลม แขวงสุริยวงศ์ เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500
โทร : 0-2231-2640 - 50  แฟกซ์ : 0-2231-2654
เว็บไซต์ : http://www.chubb.com/  อีเมล์ : -
 
บริษัท ไชน่าอินชัวรันส์ (ไทย) จำกัด
บริษัท ไชน่าอินชัวรันส์ (ไทย) จำกัด
36/68-69 อาคารพี.เอส.ทาวเวอร์ ชั้น 20 ถนนอโศก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110
โทร : 0-2259-3718 - 9, 0-2261-3680 - 9  แฟกซ์ : 0-2259-1402, 0-2261-3690
เว็บไซต์ :
-   อีเมล์ : -
 
บริษัท ซิกน่า ประกันภัย จำกัด (มหาชน)
598 อาคารคิวเฮ้าส์เพลินจิต ชั้น 7,10 ถ.เพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
โทร : 0-2651-5995  แฟกซ์ : 0-2650-9600
เว็บไซต์ : http://www.cigna.com/  อีเมล์ : -
 
บริษัท ทิพยประกันภัย จำกัด (มหาชน)
63/2 ถนนพระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10320
โทร : 0-2248-0059  แฟกซ์ : 0-2248-7849 - 50
เว็บไซต์ :http://www.dhipaya.co.th อีเมล์ : [email protected]
 
บริษัท เทเวศประกันภัย จำกัด (มหาชน)
99 ถนนราชดำเนินกลาง แขวงวัดบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร 10200
โทร : 0-2670-4444  แฟกซ์ : 0-2280-0399
เว็บไซต์ : http://www.deves.co.th/  อีเมล์ : [email protected]
 
นางสาวเหมือนฝัน คำใจดี รหัส 50473010049 สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

นางสาวเหมือนฝัน   คำใจดี

รหัส 50473010049

สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

 

บริษัทประกันชีวิต 

1.บริษัท กรุงเทพประกันชีวิต จำกัด

Bangkok Life Assurance Co., Ltd.

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 23/115 ซอยสุขุมวิท 21 ถนนพระราม9 แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10320

กรรมการผู้จัดการใหญ่ คุณชัย โสภณพนิช

 

2.บริษัท กรุงไทย - แอกซ่า ประกันชีวิต จำกัด

Krungthai Axa Life Insurance Co., Ltd.

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 87 แคปปิตอล ทาวเวอร์ ชั้น 24, 25 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

กรรมการผู้จัดการใหญ่ มร.ไมค์ แพล็กซ์ตัน

 

3.บริษัท เจริญโภคภัณฑ์ประกันชีวิต จำกัด

Charoen Pokphand Life Assurance Co., Ltd.

 

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 313 อาคารซี.พี.ทาวเวอร์ ชั้น 24 ถนนสีลม แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

กรรมการผู้จัดการใหญ่ นพดล ศิริจงดี

 

4.บริษัท ทีพีไอ ประกันชีวิต จำกัด
TPI Life Insurance Co., Ltd.

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 192/4 หมู่ที่ 1 ต.คลองตำหรุ อ.เมืองชลบุรี จ.ชลบุรี 20000

กรรมการผู้จัดการใหญ่ นายศิลปิน บูรณศิลปิน

 

5.บริษัท ไทยประกันชีวิต จำกัด
Thai Life Insurance Co., Ltd.

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 123 ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10326

กรรมการผู้จัดการใหญ่  คุณไชย ไชยวรรณ

 

6.บริษัท ไทยพาณิชย์ประกันชีวิต จำกัด (มหาชน)
Siam Commercial Life Assurance Public Co., Ltd.

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 1060 อาคาร 1 ธนาคารไทยพาณิชย์ ชั้น 4-10 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400

กรรมการผู้จัดการใหญ่ นายโดนอลด์ คาร์ดี

 

7.บริษัท ไทยสมุทรพาณิชย์ประกันภัย จำกัด
The Ocean Insurance Co., Ltd.

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 163 ซอยอาคารไทยสมุทร ถนนสุรวงศ์ แขวงวังใหม่ เขตปุทมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

กรรมการผู้จัดการใหญ่ นางดัยนา บุนนาค

 

8.บริษัท เมืองไทยประกันชีวิต จำกัด
Muang Thai Life Assurance Co., Ltd.

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 250 ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10320

กรรมการผู้จัดการใหญ่  นายสาระ ล่ำซำ

 

9.บริษัท สยามซัมซุง ประกันชีวิต จำกัด
Siam Samsung Life Assurance Co., Ltd.

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 2922/240-241 อาคารชาญอิสระ 2 ชั้น 18 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310

กรรมการผู้จัดการใหญ่ นาย เยิน ฮี คัง

 

10.บริษัท สยามประกันชีวิต จำกัด
Siam Life Insurance Co., Ltd.

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 75/72-73 ซอยสุขุมวิท 19 (วัฒนา) ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110

กรรมการผู้จัดการใหญ่ นายริชาร์ด แอนดรู สปริงค์

 

11.บริษัท สหประกันชีวิต จำกัด
Saha Life Insurance Co., Ltd.

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 13 ชั้น 2 อาคาร น.ม.ส. ถนนพิชัย แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300

กรรมการผู้จัดการใหญ่ นายสหพล สังข์เมฆ

 

12.บริษัท อเมริกันอินเตอร์แนชชั่นแนล แอสชัวรันส์ จำกัด
American International Assurance Co., Ltd.

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 181/19 ถนนสุรวงศ์ แขวงบางรัก เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

 

 

13.บริษัท อาคเนย์ประกันภัย จำกัด
South East Insurance Co., Ltd.

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 315 ถนนสีลม แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

กรรมการผู้จัดการใหญ่ นายโชติพัฒน์ พีชานนท์

 

14.บริษัท แอ๊ดวานซ์ แอสชัวรันส์ จำกัด
Advance Assurance Co., Ltd.

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 187/3 หมู่ที่ 1 ต.บางวัว อ.บางปะกง จ.ฉะเชิงเทรา 24130

กรรมการผู้จัดการใหญ่ นายเชาว์พันธู์ พันธ์ทอง

 

15.บริษัท โอสถสภาประกันชีวิต จำกัด
Osotspa Life Assurance Co., Ltd.

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 621/1 หมู่ที่ 11 ถนนมะลิวัลย์ ต.บ้านเป็ด อ.เมืองขอนแก่น จ.ขอนแก่น 40000

กรรมการผู้จัดการใหญ่ คุณพิพัฒน์ เทพย์ปฏิพัธน์

 

16.บริษัทอยุธยา  อลิอัน  ซีพี

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 898 อาคารเพลินจิตทาวเวอร์ ชั้น 2, 6 ถนนเพลินจิต กรุงเทพฯ 10330

กรรมการผู้จัดการใหญ่ นายสตีเฟ่น แอบเปิ้ลยาร์ด

 

17.บริษัท พรภัทรประกันชีวิต จำกัด
Pornpat Life Assurance Co., Ltd.

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 79/29 อาคารไพร์มเสตท ชั้น 3 ถนนศรีนครินทร์แขวงหนองบอน เขตประเวศ กรุงเทพมหานคร 10260

กรรมการผู้จัดการใหญ่ พราฟร์ ชาห์

 

บริษัทประกันภัย

18.บริษัท วิริยะประกันภัย จำกัด

นางสาวปวิตรา คลังทอง รหัส 50473010035 โปรแกรมเศรษศาสตร์ธุรกิจ

บริษัทประกันชีวิต 

บริษัท เมืองไทยประกันชีวิต จำกัด
Muang Thai Life Assurance Co., Ltd.

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่        : 250 ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10320

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : นายสาระ ล่ำซำ

บริษัท กรุงไทย - แอกซ่า ประกันชีวิต จำกัด

Krungthai Axa Life Insurance Co., Ltd.

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่       : 87 แคปปิตอล ทาวเวอร์ ชั้น 24, 25 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : มร.ไมค์ แพล็กซ์ตัน

บริษัท เจริญโภคภัณฑ์ประกันชีวิต จำกัด

Charoen Pokphand Life Assurance Co., Ltd.

 

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่       : 313 อาคารซี.พี.ทาวเวอร์ ชั้น 24 ถนนสีลม แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นพดล ศิริจงดี

บริษัท ทีพีไอ ประกันชีวิต จำกัด
TPI Life Insurance Co., Ltd.

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่       : 192/4 หมู่ที่ 1 ต.คลองตำหรุ อ.เมืองชลบุรี จ.ชลบุรี 20000

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายศิลปิน บูรณศิลปิน

บริษัท กรุงเทพประกันชีวิต จำกัด

Bangkok Life Assurance Co., Ltd.

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่          : 23/115 ซอยสุขุมวิท 21 ถนนพระราม9 แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10320

กรรมการผู้จัดการใหญ่    : คุณชัย โสภณพนิช

บริษัท ไทยประกันชีวิต จำกัด
Thai Life Insurance Co., Ltd.

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่       :123 ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10326

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : คุณไชย ไชยวรรณ

บริษัท ไทยพาณิชย์ประกันชีวิต จำกัด (มหาชน)

Siam Commercial Life Assurance Public Co., Ltd.

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่       :1060 อาคาร 1 ธนาคารไทยพาณิชย์ ชั้น 4-10 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายโดนอลด์ คาร์ดี

บริษัท ไทยสมุทรพาณิชย์ประกันภัย จำกัด
The Ocean Insurance Co., Ltd.

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่       : 163 ซอยอาคารไทยสมุทร ถนนสุรวงศ์ แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นางดัยนา บุนนาค

บริษัท สยามซัมซุง ประกันชีวิต จำกัด
Siam Samsung Life Assurance Co., Ltd.

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่       : 2922/240-241 อาคารชาญอิสระ 2 ชั้น 18 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นาย เยิน ฮี คัง

บริษัท สยามประกันชีวิต จำกัด
Siam Life Insurance Co., Ltd.

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่       : 75/72-73 ซอยสุขุมวิท 19 (วัฒนา) ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : นายริชาร์ด แอนดรู สปริงค์

บริษัท สหประกันชีวิต จำกัด
Saha Life Insurance Co., Ltd.

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่       : 13 ชั้น 2 อาคาร น.ม.ส. ถนนพิชัย แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายสหพล สังข์เมฆ

บริษัท อเมริกันอินเตอร์แนชชั่นแนล แอสชัวรันส์ จำกัด
American International Assurance Co., Ltd.

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่       : 181/19 ถนนสุรวงศ์ แขวงบางรัก เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

กรรมการผู้จัดการใหญ่

บริษัท อาคเนย์ประกันภัย จำกัด
South East Insurance Co., Ltd.

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่       : 315 ถนนสีลม แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายโชติพัฒน์ พีชานนท์

บริษัท แอ๊ดวานซ์ แอสชัวรันส์ จำกัด
Advance Assurance Co., Ltd.

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่       : 187/3 หมู่ที่ 1 ต.บางวัว อ.บางปะกง จ.ฉะเชิงเทรา 24130

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : นายเชาว์พันธู์ พันธ์ทอง

บริษัท โอสถสภาประกันชีวิต จำกัด
Osotspa Life Assurance Co., Ltd.

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่       : 621/1 หมู่ที่ 11 ถนนมะลิวัลย์ ต.บ้านเป็ด อ.เมืองขอนแก่น จ.ขอนแก่น 40000

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : คุณพิพัฒน์ เทพย์ปฏิพัธน์

บริษัทอยุธยา  อลิอัน  ซีพี

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่       : 898 อาคารเพลินจิตทาวเวอร์ ชั้น 2, 6 ถนนเพลินจิต กรุงเทพฯ 10330

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายสตีเฟ่น แอบเปิ้ลยาร์ด

บริษัท พรภัทรประกันชีวิต จำกัด
Pornpat Life Assurance Co., Ltd.

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่       : 79/29 อาคารไพร์มเสตท ชั้น 3 ถนนศรีนครินทร์แขวงหนองบอน เขตประเวศ กรุงเทพมหานคร 10260

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : พราฟร์ ชาห์

 

บริษัทประกันภัย

บริษัท ประกันคุ้มภัย จำกัด

นางสาวเหมือนฝัน คำใจดี รหัส 50473010049 เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

(เพิ่มเติมจากด้านบน)

 

บริษัทประกันภัย

18.บริษัท วิริยะประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ เลขที่ 121/7, 121/14-23, 121/25-28, 121/104 ชั้น 2-6 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดงเขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400

กรรมการผู้จัดการใหญ่  ดร.สุรชัย วังยายฉิม

 

19.บริษัท กรุงเทพ ประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 25 ถนนสาทรใต้ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120

กรรมการผู้จัดการ คือ นายชัย โสภณพนิช

 

20.บริษัทมิตรแท้ประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่

295 ถนนสี่พระยา ข.สี่พระยา เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500 

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายอนันต์ เกษเกษมกิจ

 

21.บริษัทอินทรประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ364/29 ถนนศรีอยุธยา ข.ถนนพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายสุชาติ ไตรศิริเวทวัฒน์

 

 22.บริษัทไทยเศรษฐกิจประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 160 อาคาร ไทยเศรษฐกิจ ถนนสาทรเหนือ บางรัก กรุงเทพฯ 10500

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายพุทธิพงษ์ ด่านบุญสุต

 

23.บริษัทนำสินประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ เลขที่ 767 ถ.กรุงเทพ-นนทบุรี เขตบางซื่อ กรุงเทพฯ 10800

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ วันชัย วัฒนามานนท์

 

24.บริษัทเจ้าพระยาประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 3675 อาคารกรุงไทยแทรคเตอร์ ถนนพระราม 4 แขวงพระโขนง เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายชำนาญ เมธปรีชากุล

 

25.บริษัทฟินิกซ์ ประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 338 อาคารปรีชาคอมเพล็กซ์ อาคาร A ชั้น 6 – 8 ซอยรัชดาภิเษก20  ถนนรัชดาภิเษก แขวงสามเสนนอก เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 1032

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายวัฒนชัย ขาวดี

 

26.บริษัท กรุงเทพ ประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 25 อาคารกรุงเทพประกันภัย สารท เขต สาทร จังหวัด กรุงเทพฯ  10120

กรรมการผู้จัดการใหญ่ คุณชัยวัฒน์ ศรีวีระสกุล

 

27.บริษัท สินมั่นคง ประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ เลขที่ 313 ถนนศรีนครินทร์ แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 10240

กรรมการผู้จัดการใหญ่ นายเรืองเดช ดุษฎีสุรพจน์

 

28.บริษัท ประกันภัยศรีเมือง จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 195 อาคารเอ็มไพร์ทาวเวอร์ ชั้น 40 ถนนสาทรใต้ ยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120

กรรมการผู้จัดการใหญ่ โยอิจิ ทามากาคิ

 

29.บริษัท ประกันภัยไทยวิวัฒน์ จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 71 อาคารประกันภัยไทยวิวัฒน์ ถ.ดินแดง แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400

กรรมการผู้จัดการใหญ่ นายจีรพันธ์ อัศวะธนกุล

 

30.บริษัท เอเชีย ประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ เลขที่ 183 อาคารรีเจ้นท์เฮาส์ ชั้น 12 ถนนราชดำริ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

กรรมการผู้จัดการใหญ่ นายนิค จันทรวิทุร

 

31.บริษัท เทเวศร์ ประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 97, 99 อาคารเทเวศประกันภัย ถนนราชดำเนินกลาง เขตพระนคร กรุงเทพ 10200

กรรมการผู้จัดการใหญ่ นายอนันต์ เกษเกษมสุข

 

 32.บริษัท สินทรัพย์ ประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 492-494 ถ.รัชดาภิเษก สามเสนนอก ห้วยขวาง กทม. 10310

กรรมการผู้จัดการใหญ่ วันเพ็ญ เซ่งไพเราะห์

 

 33.บริษัท ประกันคุ้มภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 26/5-6 ชั้น 1, 26/10-11 ชั้น 4, 26/16-17 ชั้น 6, และ 26/18-19 ชั้น 6 อาคารอรกานต์ ข.ลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

กรรมการผู้จัดการใหญ่  คุณยงยุทธ บวรวนิชยกูร

นางสาวปวิตรา คลังทอง รหัส 50473010035 โปรแกรมเศรษศาสตร์ธุรกิจ

บริษัทประกันภัย

บริษัท ประกันคุ้มภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 26/5-6 ชั้น 1, 26/10-11 ชั้น 4, 26/16-17 ชั้น 6, และ 26/18-19 ชั้น 6 อาคารอรกานต์ ข.ลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

กรรมการผู้จัดการใหญ่  คุณยงยุทธ บวรวนิชยกูร

บริษัท วิริยะประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ เลขที่ 121/7, 121/14-23, 121/25-28, 121/104 ชั้น 2-6 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดงเขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400

กรรมการผู้จัดการใหญ่  ดร.สุรชัย วังยายฉิม

บริษัทมิตรแท้ประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่

295 ถนนสี่พระยา ข.สี่พระยา เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500 

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายอนันต์ เกษเกษมกิจ

บริษัทอินทรประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ364/29 ถนนศรีอยุธยา ข.ถนนพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายสุชาติ ไตรศิริเวทวัฒน์

 บริษัทไทยเศรษฐกิจประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 160 อาคาร ไทยเศรษฐกิจ ถนนสาทรเหนือ บางรัก กรุงเทพฯ 10500

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายพุทธิพงษ์ ด่านบุญสุต

บริษัทนำสินประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ เลขที่ 767 ถ.กรุงเทพ-นนทบุรี เขตบางซื่อ กรุงเทพฯ 10800

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ วันชัย วัฒนามานนท์

บริษัทเจ้าพระยาประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 3675 อาคารกรุงไทยแทรคเตอร์ ถนนพระราม 4 แขวงพระโขนง เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายชำนาญ เมธปรีชากุล

บริษัทฟินิกซ์ ประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 338 อาคารปรีชาคอมเพล็กซ์ อาคาร A ชั้น 6 – 8 ซอยรัชดาภิเษก20  ถนนรัชดาภิเษก แขวงสามเสนนอก เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 1032

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายวัฒนชัย ขาวดี

บริษัท กรุงเทพ ประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 25 อาคารกรุงเทพประกันภัย สารท เขต สาทร จังหวัด กรุงเทพฯ  10120

กรรมการผู้จัดการใหญ่ คุณชัยวัฒน์ ศรีวีระสกุล

บริษัท สินมั่นคง ประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ เลขที่ 313 ถนนศรีนครินทร์ แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 10240

กรรมการผู้จัดการใหญ่ นายเรืองเดช ดุษฎีสุรพจน์

บริษัท ประกันภัยศรีเมือง จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 195 อาคารเอ็มไพร์ทาวเวอร์ ชั้น 40 ถนนสาทรใต้ ยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120

กรรมการผู้จัดการใหญ่ โยอิจิ ทามากาคิ

บริษัท ประกันภัยไทยวิวัฒน์ จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 71 อาคารประกันภัยไทยวิวัฒน์ ถ.ดินแดง แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400

กรรมการผู้จัดการใหญ่ นายจีรพันธ์ อัศวะธนกุล

บริษัท เอเชีย ประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ เลขที่ 183 อาคารรีเจ้นท์เฮาส์ ชั้น 12 ถนนราชดำริ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

กรรมการผู้จัดการใหญ่ นายนิค จันทรวิทุร

บริษัท เทเวศร์ ประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 97, 99 อาคารเทเวศประกันภัย ถนนราชดำเนินกลาง เขตพระนคร กรุงเทพ 10200

กรรมการผู้จัดการใหญ่ นายอนันต์ เกษเกษมสุข

บริษัท สินทรัพย์ ประกันภัย จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 492-494 ถ.รัชดาภิเษก สามเสนนอก ห้วยขวาง กทม. 10310

กรรมการผู้จัดการใหญ่ วันเพ็ญ เซ่งไพเราะห์

ศิรินันท์ กาญจนพันธุ์วงศ์

บริษัทประกันชีวิต

1.

บริษัท กรุงเทพประกันชีวิต จำกัด
23/115-121 รอยัลซิตี้อเวนิว 21 ถนนพระราม 9 แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10320
โทร : 0-2203-0055, 0-2641-5599 แฟกซ์ : 0-2203-0044, 0-2641-5566 อีเมล์ : [email protected]

เว็บไซต์ : http://www.bla.co.th

กรรมการผู้จัดการใหญ่ คุณชาญ วรรธนะกุล

2.

บริษัท กรุงไทย-แอกซ่า ประกันชีวิต จำกัด
87/1 แคปปิตอล ทาวเวอร์ ชั้น 24-25 ออลซีซั่นส์ เพลส ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330
โทร : 0-723-4000 แฟกซ์ : 0-2723-4032-33
อีเมล์ : - เว็บไซต์ : http://www.krungthai-axa.co.th

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ มร.ไมค์ แพล็กซ์ตัน

3.

 

บริษัท บางกอก สหประกันชีวิต จำกัด
177/1 อาคารบางกอกสหประกันภัย ถนนสุรวงศ์ แขวงสุริยวงศ์ เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500
โทร : 0-2634-7323-30 แฟกซ์ : 0-2634-7331
อีเมล์ : [email protected] เว็บไซต์ : http://www.builife.com

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  ประชัย เลี่ยวไพรัตน์

4.บริษัท โตเกียวมารีน ประกันชีวิต (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน)

ชั้นที่ 26 อาคารเอ็มไพร์ ทาวเวอร์ เลขที่ 195 ถนน สาทรใต้ แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120
โทร : 02-670-1400 แฟกซ์ : 0-2670-1401
อีเมล์ : - เว็บไซต์ : http://www.tokiomarinelife.co.th/

5.บริษัท ไทยประกันชีวิต จำกัด


123 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400
โทร : 0-2247-0247 แฟกซ์ : 0-2249-9946
อีเมล์ : [email protected] เว็บไซต์ : http://www.thailife.com

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  ไชย ไชยวรรณ

6.บริษัท ฟินันซ่าประกันชีวิต จำกัด


2032 อาคารฟินันซ่าประกันชีวิต ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ บางกะปิ ห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310
โทร : 0-2632-5000 แฟกซ์ : 0-2632-5500
อีเมล์ : [email protected] เว็บไซต์ : http://www.finansalife.com

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ สุนทร บุญสาย

7.บริษัท ไทยพาณิชย์นิวยอร์คไลฟ์ประกันชีวิต จำกัด


1060 อาคาร 1 ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด(มหาชน) ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400
โทร : 0-2655-3000 แฟกซ์ : 0-2256-1666
อีเมล์ : [email protected] เว็บไซต์ : http://www.scnyl.com

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นายโดนอลด์ คาร์ดี

8.บริษัท ไทยคาร์ดิฟ ประกันชีวิต จำกัด


31/11,36/59-62 อาคารพีเอสทาวเวอร์ ชั้น G และชั้น 18 ถนนสุขุมวิท 21 คลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110
โทร : 0-2645-8500 แฟกซ์ : 0-2645-8585
อีเมล์ : - เว็บไซต์ : http://www.thaicardif.com

กรรมการผู้จัดการใหญ่ คือ  นาย วิญญู ไชยวรรณ

9.บริษัท ไทยรีประกันชีวิต จำกัด


223/1 ซอยร่วมฤดี ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
โทร : 0-2256-6822 แฟกซ์ : 0-2256-6565
อีเมล์ : [email protected] เว็บไซต์ : http://www.thaire.co.th

 กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นายสุรชัย ศิริวัลลภ

10. บริษัท ไทยสมุทรประกันชีวิต จำกัด


170/74-83 อาคารโอเชี่ยนทาวเวอร์ 1 ชั้น 24-28 ถนนรัชดาภิเษก ข.คลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110
โทร : 0-2261-2300 แฟกซ์ : 0-2261-3344
อีเมล์ : [email protected] เว็บไซต์ : http://www.oli.co.th

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นางนุสรา บัญญัติปิยพจน์

11.บริษัท ธนชาตประกันชีวิต จำกัด


231 อาคารธนชาติประกันชีวิต ถนนราชดำริ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330
โทร : 0-2256-6822 แฟกซ์ : 0-2256-6565
อีเมล์ : [email protected] เว็บไซต์ : http://www.thanachartlife.co.th

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ ดร.ชาติชัย พาราสุข

12.บริษัท อยุธยา อลิอันซ์ ซี.พี. ประกันชีวิต จำกัด (มหาชน)


898 อาคารเพลินจิตทาวเวอร์ ชั้น6 โซนเอ,ชั้น16-18 ถนนเพลินจิต ข.ลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
โทร : 0-2305-7000 แฟกซ์ : 0-2263-0313
อีเมล์ : [email protected] เว็บไซต์ : http://www.aacp.co.th

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายสตีเฟ่น แอบเปิ้ลยาร์ด

13.บริษัท เจนเนอราลี่ ประกันชีวิต (ไทยแลนด์) จำกัด


87/2 ยูนิต 1603-5 อาคาร ซีอาร์ซี ทาวเวอร์ ออลซีซั่นส์เพลส ชั้น16 ถนนวิทยุ ข.ลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
โทร : 0-2685-3828 แฟกซ์ : 0-2685-3829
อีเมล์ : - เว็บไซต์ : http://www.generalithailand.com

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายคีธ แอนดรูว์ บรูคส์

14.บริษัท พรูเด็นเชียล ประกันชีวิต (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน)


82 อาคารแสงทองธานี ชั้น 28, 30-31 ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500
โทร : 0-2639-9500 แฟกซ์ : 0-2639-9699, 0-2639-9700
อีเมล์ : - เว็บไซต์ : http://www.prudential.co.th

 กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายบินายัค ดัตตา

15.บริษัท เมืองไทยประกันชีวิต จำกัด


250 ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10320
โทร : 0-2276-1025, 0-2274-9400 แฟกซ์ : 0-2276-1997-8
อีเมล์ : - เว็บไซต์ : http://www.muangthai.co.th

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นายสาระ ล่ำซำ

ศิรินันท์ กาญจนพันธุ์วงศ์

16.บริษัท แมนูไลฟ์ ประกันชีวิต (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน)

364/30 ถนนศรีอยุธยา ข.ถนนพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400
โทร : 0-2245-2491-7, 0-2246-7650-99 แฟกซ์ : 0-2248-5391
อีเมล์ : - เว็บไซต์ : http://www.manulife.co.th

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : มร.คริสโตเฟอร์ เตียว

17. บริษัท สยามซัมซุง ประกันชีวิต จำกัด

2922/222-227 อาคารชาญอิสระ 2 ชั้น 15 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310
โทร : 0-2308-2245 แฟกซ์ : 0-2308-2269
อีเมล์ : [email protected] เว็บไซต์ : http://www.siamsamsung.co.th

ผู้บริหารคือ  นายเยิน ฮี  คัง

18.  บริษัท สยามประกันชีวิต จำกัด


75/72-73 ซอยสุขุมวิท 19 (วัฒนา) ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110
โทร : 0-2260-5536-43 แฟกซ์ : 0-2260-5561
อีเมล์ : - เว็บไซต์ : http://www.siamlife.co.th

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นางรัชนี เองปัญญาเลิศ

19.บริษัท สหประกันชีวิต จำกัด


เลขที่ 411 อาคาร U Tower ชั้น 4-5 ถ.ศรีนครินทร์ แขวงสวนหลวง กรุงเทพฯ 10250
โทร : 02-731-7799 แฟกซ์ : 02-731-7727,02-731-7728
อีเมล์ : - เว็บไซต์ : http://www.ulife.in.th/

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นายสหพล สังข์เมฆ

20.บริษัท อเมริกันอินเตอร์แนชชั่นแนล แอสชัวรันส์ จำกัด (ประเทศไทย)


181 ถนนสุรวงศ์ ข.บางรัก เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500
โทร : 0-2634-8888 แฟกซ์ : 0-2236-6452
อีเมล์ : [email protected]

 เว็บไซต์ : http://www.aia.co.th/

21.บริษัท อาคเนย์ประกันชีวิต จำกัด

 
315 ถนนสีลม ข.สีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500
โทร : 0-2631-1331 แฟกซ์ : 0-2236-7614
อีเมล์ : [email protected] เว็บไซต์ : http://www.southeastlife.com

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายโชติพัฒน์ พีชานนท์

22.บริษัท เอซ ไลฟ์ แอสชัวรันซ์ จำกัด

169 อาคารธนาคารนครหลวงไทย สาขาสุทธิสาร ชั้น 3-6 ถนนสุทธิสารวินิจฉัย แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กทม.10400
โทร : 0-2615-6860 แฟกซ์ : 0-2615-6878
อีเมล์ : - เว็บไซต์ : http://www.acelife.co.th
กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายริชาร์ด แอนดรู สปริงค์

 

23. บริษัท แอ๊ดวานซ์ ไลฟ์ แอสชัวรันส์ จำกัด


2 อาคารเพลินจิตเซ็นเตอร์ ชั้น 5 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ
โทร : 0-2648-3600 แฟกซ์ : 0-2648-5555
อีเมล์ : - เว็บไซต์ : http://www.alife.co.th

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นายเชาว์พันธู์ พันธ์ทอง

24.บริษัท ไอเอ็นจี ประกันชีวิต จำกัด


130-132 อาคารสินธร ทาวเวอร์ 3 ชั้น 16 และ ชั้น 29 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
โทร : 0-2632-6222 แฟกซ์ : 0-2263-3898, 0-2263-3899
อีเมล์ : - เว็บไซต์ : http://www.inglife.co.th
กรรมการผู้จัดการใหญ่  : นายชี ชอง

นางสาว ศิรินภา คำมา รหัส 50473010003 เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

นางสาว ศิรินภา คำมา

รหัสนักศึกษา 50473010003

โปรแกรมวิชาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

 

บริษัทประกันชีวิต

1.บริษัทอยุธยา อลิอัน ซีพี

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 898 อาคารเพลินจิตทาวเวอร์ ชั้น 2, 6 ถนนเพลินจิต กรุงเทพฯ 10330

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายสตีเฟ่น แอบเปิ้ลยาร์ด

2.บริษัทเจนเนอราลี่ ประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : ชั้น 16 ยูนิต 1602-1605 อาคาร ซีอาร์ซี ทาวเวอร์ ออลซีซั่นส์ เพลส 87/2 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

กรรมการผู้จัดการใหญ่่ : นายคีธ แอนดรูว์ บรูคส์

3.บริษัทพรูเด็นเชียล ประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 82 อาคารแสงทองธานี ชั้น 28, 30-31 ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500.

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายบินายัค ดัตตา

4.บริษัทเมืองไทยประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 250 ถนนรัชดาภิเษก ห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10320

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายสาระ ล่ำซำ

5.บริษัท เอซ ไลฟ์ แอสชัวรันซ์

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : เลขที่ 130-132 อาคารสินธร ทาวเวอร์ 1 ชั้น 11-12

ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายริชาร์ด แอนดรู สปริงค์์

6.บริษัทแมกซ์ประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 169 สุทธิสาร แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กทม 10400

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายพีระพงศ์ อุ่นจิตต์

7.บริษัท สยามซัมซุง ประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 2922/240-241 ชั้น 15 อาคารชาญอิสระ 2 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ ห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10320.

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายเยิน ฮี คัง

8.บริษัทสยามประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 75/72-73 อาคารโอเชี่ยนทาวเวอร์ 2 ชั้น 30 สุขมวิท 19 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110.

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นางรัชนี เองปัญญาเลิศ

9.บริษัทสหประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : เลขที่ 411 อาคาร U Tower ชั้น 4-5 ถ.ศรีนครินทร์ แขวงสวนหลวง กรุงเทพฯ 10250

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายสหพล สังข์เมฆ

10.บริษัทอาคเนย์ประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 315 ถนนสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายโชติพัฒน์ พีชานนท์

11.บริษัท แอ๊ดวานซ์ ไลฟ์ แอสชัวรันส์ จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : อาคารเพลินจิตเซ็นเตอร์ ชั้น 5 เลขที่ 2 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110.

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายเชาว์พันธู์ พันธ์ทอง

12.บริษัทกรุงไทย - แอกซ่า ประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 2034/116-117, 136, 138-143 อาคารอิตัลไทยทาวเวอร์ ชั้น 27, 32-33 ถ.เพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : มร.ไมค์ แพล็กซ์ตัน

13.บริษัทกรุงเทพประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 23/115-121 รอยัลซิตี้อเวนิว ซอยศูนย์วิจัย ถนนพระราม 9 เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ คุณชัย โสภณพนิช

14. บริษัท บางกอก สหประกันภัย

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 175-177 ถนนสุรวงศ์ เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ ประชัย เลี่ยวไพรัตน์

15. บริษัทฟีนันซ่า ประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 2032 ถ.เพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขต ห้วย ขวาง กรุงเทพฯ 10310

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ สุนทร บุญสาย

16.บริษัทไทยประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ ๑๒๓ ถ.รัชดาภิเษก ดินแดง กรุงเทพฯ ๑๐๔๐๐

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ ไชย ไชยวรรณ

17.บริษัทไทยพาณิชย์นิวยอล์คไลฟ์

 ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 1060 ดินแดง ตัดใหม่ เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายโดนอลด์ คาร์ดี

18. บริษัทไทยคาร์ดิฟ ประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 31/11,36/59-62 อาคารพีเอสทาวเวอร์ ชั้น G และชั้น 18 ถนนสุขุมวิท 21 คลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

กรรมการผู้จัดการใหญ่ คือ นาย วิญญู ไชยวรรณ

19. บริษัทไทยรีประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 223/1 ซอยร่วมฤดี ถนนวิทยุ ข.ลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายสุรชัย ศิริวัลลภ

20.บริษัทไทยสมุทรประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ เลขที่ 170/74-83 อาคารโอเชี่ยนทาวเวอร์ 1 ถนนรัชดาภิเษก เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นางนุสรา บัญญัติปิยพจน์

21.บริษัทธนชาติประกันชีวิต

 

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 231 อาคารธนชาติประกันชีวิต ถนนราชดำริ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ ดร.ชาติชัย พาราสุข

บริษัทประกันภัย

1.บริษัทมิตรแท้ประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่

295 ถนนสี่พระยา ข.สี่พระยา เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายอนันต์ เกษเกษมกิจ

2.บริษัทอินทรประกันภัย จำกัด

ศิรินันท์ กาญจนพันธุ์วงศ์

ต่อจากเดิม

1.บริษัท กมลประกันภัย จำกัด (มหาชน)


361 ถ.บอนด์สตรีท เมืองทองธานี 3 ต.บางพูด อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี 11120
โทร :. 0-2502-2999  แฟกซ์ : 0-2502-2933
เว็บไซต์ http://www.kamolinsurance.com  อีเมล์: [email protected]

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นายเสรี สุวรรณภานนท์

 

2.บริษัท กรุงเทพประกันภัย จำกัด (มหาชน)

25 ถนนสาธรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120
โทร : 0-2285-8888, 0-2677-3777 แฟกซ์ : 0-2677-3737-8
เว็บไซต์ : http://www.bki.co.th/  อีเมล์ : [email protected]

กรรมการผู้จัดการใหญ่ นายชัย โสภณพนิช

 

3. บริษัท กรุงไทยพานิชประกันภัย จำกัด


208 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
โทร : 0-2651-5500, 0-2302-0111  แฟกซ์ : 0-2651-5511
เว็บไซต์ : http://www.kpi.co.th/  อีเมล์ : [email protected]

 กรรมการผู้จัดการใหญ่ คุณ กีรติ พานิชชีวะ

4. บริษัท คอมไบด์อินชัวรันส์ (ประเทศไทย) จำกัด


587 ชั้น 18-19 อาคารวิริยะถาวร ถนนสุทธิสารวินิจฉัย แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400
โทร : 0-2274-9797  แฟกซ์ : 0-2274-9794
เว็บไซต์ http://www.combined.co.th

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ กฤษณะ กฤตมโนรถ

5. บริษัท คิวบีอี ประกันภัย (ประเทศไทย) จำกัด


968 อาคารอื้อจือเหลียง ชั้น 15 ถนนพระราม 4 แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500
โทร : 0-2238-0999  แฟกซ์ : 0-2238-0836
เว็บไซต์ : http://www.qbe.co.th/  อีเมล์ : [email protected]

Frank O’Halloran, Chief Executive Officer

6. บริษัท คูเนีย ประกันภัย(ประเทศไทย)จำกัด

849 อาคารวรวัฒน์ ชั้น 9-10 ถนนสีลม แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500
โทร : 0-2635-1555  แฟกซ์ : 0-2635-1298-9
เว็บไซต์ :http://www.kurnia.co.th/ 

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายพงศ์ทวี ก้าวสัมพันธ์

7. บริษัท จรัญประกันภัย จำกัด (มหาชน)


401 ถนนรัชดาภิเษก แขวงสามเสนนอก เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10320
โทร : 0-2276-1024  แฟกซ์ : 0-2275-4919
เว็บไซต์ : http://www.charaninsurance.com   

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นาย สมพล ไชยเชาวน์

8. บริษัท เจนเนอราลี่ ประกันภัย (ไทยแลนด์) จำกัด


87/2 ยูนิต 1601-2 อาคารซีอาร์ซี ทาวเวอร์ ออลซีซั่นเพลส ชั้น16 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
โทร : 0-2685-3828  แฟกซ์ : 0-2685-3830
เว็บไซต์ : http://www.generali.co.th/  อีเมล์ : [email protected]

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายคีธ แอนดรูว์ บรูคส์

9. บริษัท เจ้าพระยาประกันภัย จำกัด


3675 อาคารกรุงไทยแทรคเตอร์ ชั้น 4 - 5 ถนนพระราม 4 แขวงพระโขนง เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110
โทร : 0-2261-9955, 0-2661-3355  แฟกซ์ : 0-2261-3775
เว็บไซต์ :http://www.cpyins.com/  อีเมล์ : [email protected]

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายชำนาญ เมธปรีชากุล

10. บริษัท ชับบ์ประกันภัย (ประเทศไทย) จำกัด

52 ธนิยะ พลาซ่า ชั้น 16 ถนนสีลม แขวงสุริยวงศ์ เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500
โทร : 0-2231-2640 - 50  แฟกซ์ : 0-2231-2654
เว็บไซต์ : http://www.chubb.com/  อีเมล์ :

11. บริษัท ไชน่าอินชัวรันส์ (ไทย) จำกัด


36/68-69 อาคารพี.เอส.ทาวเวอร์ ชั้น 20 ถนนอโศก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110
โทร : 0-2259-3718 - 9, 0-2261-3680 - 9  แฟกซ์ : 0-2259-1402, 0-2261-3690

กรรมการผู้จัดการใหญ่นายสุจิตร พู่จิตร์กานนท์

12. บริษัท ซิกน่า ประกันภัย จำกัด (มหาชน)


598 อาคารคิวเฮ้าส์เพลินจิต ชั้น 7,10 ถ.เพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
โทร : 0-2651-5995  แฟกซ์ : 0-2650-9600

เว็บไซต์ : http://www.cigna.com/  อีเมล์ : -

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายยุทธชัย เตยะราชกุล

13.บริษัท ทิพยประกันภัย จำกัด (มหาชน)


63/2 ถนนพระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10320
โทร : 0-2248-0059  แฟกซ์ : 0-2248-7849 - 50
เว็บไซต์ :http://www.dhipaya.co.th อีเมล์ : [email protected]

กรรมการผู้จัดการใหญ่ คือ นายมารุต สิมะเสถียร

14. บริษัท เทเวศประกันภัย จำกัด (มหาชน)


99 ถนนราชดำเนินกลาง แขวงวัดบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร 10200
โทร : 0-2670-4444  แฟกซ์ : 0-2280-0399
เว็บไซต์ : http://www.deves.co.th/  อีเมล์ : [email protected]

กรรมการผู้จัดการ คือ นายอนันต์ เกษเกษมสุข

15. บริษัท ไทยประกันภัย จำกัด (มหาชน)


34/3 อาคารรวมทนุไทย ซอยหลังสวน ถนนเพลินจิต แขวงลุมพีนี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
โทร : 0-2652-2880  แฟกซ์ : 0-2652-2870-2
เว็บไซต์ : http://www.thaiins.com/  อีเมล์ : [email protected]

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ คุณสมบัติ อนันต์ลาโภชัย

ศิรินันท์ กาญจนพันธุ์วงศ์

ต่อจากเดิม

16. บริษัท ไทยประกันสุขภาพ จำกัด


121/89 อาคารอาร์.เอส.ทาวเวอร์ ชั้น 31 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400
โทร : 0-2642-3100  แฟกซ์ : 0-2642-3130
เว็บไซต์ : http://www.thaihealth.co.th/  อีเมล์ : [email protected]

กรรมการผู้จัดการ  คุณวรางค์ เสรฐภักดี

17. บริษัท ไทยพัฒนาประกันภัย จำกัด


34 ซ.สุขุมวิท 4 (นานาใต้) ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110
โทร : 0-2253-4141, 0-2253-4343, 0-2253-4646  แฟกซ์ : 0-2253-0550, 0-2253-0606
เว็บไซต์ : http://www.thaipat.co.th/  อีเมล์ : [email protected]

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ คุณไพศาล คุนผลิน

18. บริษัท ไทยพาณิชย์สามัคคีประกันภัย จำกัด (มหาชน)

2/4 อาคารไทยพาณิชย์สามัคคีประกันภัย ชั้น 12 อาคารนอร์ธปาร์ค แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร 10210
โทร : 0-2555-9100  แฟกซ์ : 0-2955-0150 - 1
เว็บไซต์ : http://www.scsmg.co.th/  อีเมล์ : [email protected]

กรรมการผู้จัดการ คือ นายจิรวุฒิ บุญศิริ

19. บริษัท ไทยรับประกันภัยต่อ จำกัด (มหาชน)

223/1ซอยร่วมฤดี ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
โทร : 0-2256-6822, 0-2651-4222  แฟกซ์ : 0-2256-6565, 0-2256-6832
เว็บไซต์ : http://www.thaire.co.th/  อีเมล์ : [email protected]

ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร  นายสุรชัย ศิริวัลลภ

20. บริษัท ไทยศรีประกันภัย จำกัด

126/2 ถนนกรุงธนบุรี แขวงบางลำภูล่าง เขตคลองสาน กรุงเทพมหานคร 10600
โทร : 0-2878-7111, 0-2860-8001  แฟกซ์ : 0-2439-4840
เว็บไซต์ : http://www.thaisri.com/  อีเมล์ : [email protected]

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ คุณชาติชาย พานิชชีวะ

21. บริษัท ไทยเศรษฐกิจประกันภัย จำกัด (มหาชน)


160 ถนนสาธรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500
โทร : 0-2630-9055, 0-2630-9111  แฟกซ์ : 0-2237-4621, 0-2237-4624
เว็บไซต์ : http://www.thai-setakij.com/  อีเมล์ : [email protected]

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายพุทธิพงษ์ ด่านบุญสุต

22. บริษัท ไทยสมุทรประกันภัย จำกัด

 170/74-83 อาคารโอเชี่ยนทาวเวอร์ 1 ถนนรัชดาภิเษก เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นางนุสรา บัญญัติปิยพจน์

 

23. บริษัท ธนชาตประกันภัย จำกัด

1 อาคารกลาสเฮ้าส์ ชั้น 10 ถนนสุขุมวิท 25 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110
โทร : 0-2661-7999  แฟกซ์ : 0-2665-7304
เว็บไซต์ : http://www.thanachartinsurance.com/  อีเมล์ : -

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายนพดล เรืองจินดา

 

24. บริษัท ธนสินประกันภัย จำกัด (มหาชน)


900/11-13,36 อาคารเอสวีโอเอทาวเวอร์ ชั้น G,15-17 ถ.พระราม 3 แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร 10120
โทร : 0-2685-1800  แฟกซ์ : 0-2685-1900
เว็บไซต์ : http://www.thanasin.co.th/ 

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายสุรศักดิ์ เกียรติกำจรยศ

25. บริษัท นวกิจประกันภัย จำกัด (มหาชน)

100/48-55 ชั้น 25-27 อาคารสาธรนครทาวเวอร์ เลขที่ 90/3-6 ชั้น 1 อาคารสาธรธานี สาธรธานีคอมเพล็กซ์ ถนนสาธรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กทม. 10500
โทร : 0-2636-7900  แฟกซ์ : 0-2636-7999
เว็บไซต์ : http://www.navakij.co.th/ 

 อีเมล์ : [email protected]

กรรมการผู้อำนวยการ  นายปิติพงศ์ พิศาลบุตร

26. บริษัท นำสินประกันภัย จำกัด (มหาชน)

767 ถนนกรุงเทพ-นนทบุรี แขวงบางซื่อ เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร 10800
โทร : 0-2911-4488, 0-2911-4567  แฟกซ์ : 0-2911-4477
http://www.namsengins.co.th/  อีเมล์ : -

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ วันชัย วัฒนามานนท์

27. บริษัท นิวอินเดียแอสชัวรันซ์ จำกัด


65/142-143 อาคารชำนาญเพ็ญชาติ ชั้น 17 ถนนพระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310
โทร : 0-2245-9988  แฟกซ์ : 0-2246-1351

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายเทพชโยติ มิตรา


28. บริษัท นิวแฮมพ์เชอร์ อินชัวรันส์ จำกัด


989 อาคารสยามทาวเวอร์ ชั้นที่ 21,22 และ 23 ถนนพระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
โทร : 0-2649-1000  แฟกซ์ : 0-2649-1140
กรรมการผู้จัดการ คือ มร.สตีเวน บาร์เน็ต

29. บริษัท บางกอกสหประกันภัย จำกัด (มหาชน)


175-177 ถนนสุรวงศ์ แขวงสุริยวงศ์ เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500
โทร : 0-2233-6920 - 9, 0-2238-4111  แฟกซ์ : 0-2237-1856
เว็บไซต์ : http://www.bui.co.th/  อีเมล์ : [email protected]

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  ประชัย เลี่ยวไพรัตน์

 

30. บริษัท บีที ประกันภัย จำกัด

44 อาคารไทยธนาคาร ชั้น 23 -24 ซอยหลังสวน ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
โทร : 0-2657-1700  แฟกซ์ : 0-2657-1666-7
กรรมการผู้จัดการใหญ่คุณสุรชัย จิตตรัตน์เสนีย์

บริษัทประกันชีวิต

1.

 

บริษัท กรุงเทพประกันชีวิต จำกัด
23/115-121 รอยัลซิตี้อเวนิว 21 ถนนพระราม 9 แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10320
โทร : 0-2203-0055, 0-2641-5599 แฟกซ์ : 0-2203-0044, 0-2641-5566 อีเมล์ : [email protected]

เว็บไซต์ : http://www.bla.co.th

กรรมการผู้จัดการใหญ่ คุณชาญ วรรธนะกุล

2.

บริษัท กรุงไทย-แอกซ่า ประกันชีวิต จำกัด
87/1 แคปปิตอล ทาวเวอร์ ชั้น 24-25 ออลซีซั่นส์ เพลส ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330
โทร : 0-723-4000 แฟกซ์ : 0-2723-4032-33
อีเมล์ : - เว็บไซต์ : http://www.krungthai-axa.co.th

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ มร.ไมค์ แพล็กซ์ตัน

3.

 

บริษัท บางกอก สหประกันชีวิต จำกัด
177/1 อาคารบางกอกสหประกันภัย ถนนสุรวงศ์ แขวงสุริยวงศ์ เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500
โทร : 0-2634-7323-30 แฟกซ์ : 0-2634-7331
อีเมล์ : [email protected] เว็บไซต์ : http://www.builife.com

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  ประชัย เลี่ยวไพรัตน์

4.บริษัท โตเกียวมารีน ประกันชีวิต (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน)

ชั้นที่ 26 อาคารเอ็มไพร์ ทาวเวอร์ เลขที่ 195 ถนน สาทรใต้ แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120
โทร : 02-670-1400 แฟกซ์ : 0-2670-1401
อีเมล์ : - เว็บไซต์ : http://www.tokiomarinelife.co.th/

5.บริษัท ไทยประกันชีวิต จำกัด


123 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400
โทร : 0-2247-0247 แฟกซ์ : 0-2249-9946
อีเมล์ : [email protected] เว็บไซต์ : http://www.thailife.com

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  ไชย ไชยวรรณ

6.บริษัท ฟินันซ่าประกันชีวิต จำกัด


2032 อาคารฟินันซ่าประกันชีวิต ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ บางกะปิ ห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310
โทร : 0-2632-5000 แฟกซ์ : 0-2632-5500
อีเมล์ : [email protected] เว็บไซต์ : http://www.finansalife.com

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ สุนทร บุญสาย

7.บริษัท ไทยพาณิชย์นิวยอร์คไลฟ์ประกันชีวิต จำกัด

 

1060 อาคาร 1 ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด(มหาชน) ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400
โทร : 0-2655-3000 แฟกซ์ : 0-2256-1666
อีเมล์ : [email protected] เว็บไซต์ : http://www.scnyl.com

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นายโดนอลด์ คาร์ดี

8.บริษัท ไทยคาร์ดิฟ ประกันชีวิต จำกัด


31/11,36/59-62 อาคารพีเอสทาวเวอร์ ชั้น G และชั้น 18 ถนนสุขุมวิท 21 คลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110
โทร : 0-2645-8500 แฟกซ์ : 0-2645-8585
อีเมล์ : - เว็บไซต์ : http://www.thaicardif.com

กรรมการผู้จัดการใหญ่ คือ  นาย วิญญู ไชยวรรณ

9.บริษัท ไทยรีประกันชีวิต จำกัด


223/1 ซอยร่วมฤดี ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
โทร : 0-2256-6822 แฟกซ์ : 0-2256-6565
อีเมล์ : [email protected] เว็บไซต์ : http://www.thaire.co.th

 กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นายสุรชัย ศิริวัลลภ

10. บริษัท ไทยสมุทรประกันชีวิต จำกัด


170/74-83 อาคารโอเชี่ยนทาวเวอร์ 1 ชั้น 24-28 ถนนรัชดาภิเษก ข.คลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110
โทร : 0-2261-2300 แฟกซ์ : 0-2261-3344
อีเมล์ : [email protected] เว็บไซต์ : http://www.oli.co.th

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นางนุสรา บัญญัติปิยพจน์

11.บริษัท ธนชาตประกันชีวิต จำกัด


231 อาคารธนชาติประกันชีวิต ถนนราชดำริ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330
โทร : 0-2256-6822 แฟกซ์ : 0-2256-6565
อีเมล์ : [email protected] เว็บไซต์ : http://www.thanachartlife.co.th

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ ดร.ชาติชัย พาราสุข

12.บริษัท อยุธยา อลิอันซ์ ซี.พี. ประกันชีวิต จำกัด (มหาชน)


898 อาคารเพลินจิตทาวเวอร์ ชั้น6 โซนเอ,ชั้น16-18 ถนนเพลินจิต ข.ลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
โทร : 0-2305-7000 แฟกซ์ : 0-2263-0313
อีเมล์ : [email protected] เว็บไซต์ : http://www.aacp.co.th

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายสตีเฟ่น แอบเปิ้ลยาร์ด

13.บริษัท เจนเนอราลี่ ประกันชีวิต (ไทยแลนด์) จำกัด


87/2 ยูนิต 1603-5 อาคาร ซีอาร์ซี ทาวเวอร์ ออลซีซั่นส์เพลส ชั้น16 ถนนวิทยุ ข.ลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
โทร : 0-2685-3828 แฟกซ์ : 0-2685-3829
อีเมล์ : - เว็บไซต์ : http://www.generalithailand.com

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายคีธ แอนดรูว์ บรูคส์

14.บริษัท พรูเด็นเชียล ประกันชีวิต (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน)


82 อาคารแสงทองธานี ชั้น 28, 30-31 ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500
โทร : 0-2639-9500 แฟกซ์ : 0-2639-9699, 0-2639-9700
อีเมล์ : - เว็บไซต์ : http://www.prudential.co.th

 กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายบินายัค ดัตตา

15.บริษัท เมืองไทยประกันชีวิต จำกัด


250 ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10320
โทร : 0-2276-1025, 0-2274-9400 แฟกซ์ : 0-2276-1997-8
อีเมล์ : - เว็บไซต์ : http://www.muangthai.co.th

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นายสาระ ล่ำซำ

ศิรินันท์ กาญจนพันธุ์วงศ์

ต่อจากเดิม

31. บริษัท บูพา ประกันสุขภาพ (ประเทศไทย)


38 อาคารคิวเฮ้าส์ ชั้น 9 ถนนคอนแวนต์ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500
โทร : 0-2234-7755  แฟกซ์ : 0-2234-5667
เว็บไซต์ : http://www.bupathailand.com/  อีเมล์ : [email protected]

กรรมการผู้จัดการใหญ่นายแอนดรู วอง

32. บริษัท ประกันคุ้มภัย จำกัด (มหาชน)

26/5-6 ชั้น 1, 26/10-11 ชั้น 4, 26/16-17 ชั้น 6, และ 26/18-19 ชั้น 6 อาคารอรกานต์ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
โทร : 0-2254-8490, 0-2254-7850-9 แฟกซ์ :0-2253-3701,0-2253-4222
เว็บไซต์ : http://www.safety.co.th/  อีเมล์ : [email protected]

กรรมการผู้จัดการใหญ่  คุณยงยุทธ บวรวนิชยกูร

 

 33. บริษัท ประกันภัยไทยวิวัฒน์ จำกัด (มหาชน)


71 ถนนดินแดง แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400
โทร : 0-2248-0900, 0-2248-2910, 0-2644-6400 แฟกซ์ : 0-2245-4575, 0-2248-4975
เว็บไซต์ : http://www.thaivivat.co.th/  อีเมล์ : [email protected]

กรรมการผู้จัดการใหญ่ คือ นายจีรพันธ์ อัศวะธนกุล

34. บริษัท โตเกียวมารีนศรีเมืองประกันภัย จำกัด


195 อาคารเอ็มไพร์ทาวเวอร์ ชั้น 40 ถนนสาทรใต้ แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120
โทร :0-2686-8888-9  แฟกซ์ : 0-2686-8601-2
เว็บไซต์ : http://www.srimuang.co.th/  อีเมล์ :[email protected]

กรรมการผู้จัดการใหญ่ โยอิจิ ทามากาคิ

35. บริษัท พระนครธนบุรีประกันภัย จำกัด


127/26 ชั้น 21 อาคารปัจธานีทาวเวอร์ ถนนนนทรี(รัชดาภิเษก)แขวงช่องนนทรี เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร 10120
โทร : 0-2295-3434  แฟกซ์ : 0-2295-3933
กรรมการผู้จัดการใหญ่นายไพฑูรย์ ตันธุวนิตย์

36. บริษัท พุทธธรรมประกันภัย จำกัด


9/81 ซ.รัชประชา 2 แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900
โทร : 0-2585-9009  แฟกซ์ : 0-2911-0991 -4
กรรมการผู้จัดการใหญ่นายฉัตรชัย เอียสกุล

37. บริษัท ไพบูลย์ประกันภัย จำกัด


123 ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10320
โทร : 0-2246-9635 - 54  แฟกซ์ : 0-2246-9660 - 1
เว็บไซต์ :http://www.paibooninsurance.com  

กรรมการผู้จัดการคุณ อาทร วงศ์ธนกุล

 

38. บริษัท ฟอลคอนประกันภัย จำกัด (มหาชน)

90/26-27 อาคารสาธรธานี 1 ชั้น 11 ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500
โทร : 0-2636-8118  แฟกซ์ : 0-2236-8119
เว็บไซต์ : http://www.falconinsurance.co.th/อีเมล์ :[email protected]

39. บริษัท ฟีนิกซ์ ประกันภัย (ประเทศไทย) จำกัด


4-4/1อาคารชโลบล ซ.พระรามเก้า 43 ถ.เสรี 4 แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร 10250
โทร : 0-2720-1400-4, 0-2718-3748-9, 0-2718-3944-5  แฟกซ์ : 0-2720-1128-29
เว็บไซต์ : http://www.phoenix-ins.co.th/  อีเมล์ : -

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายวัฒนชัย ขาวดี

40. บริษัท ภัทรประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ได้ควบรวมกับบริษัทเมืองไทยประกันภัย

252 อาคารภัทรประกันภัย รัชดา เขต/อำเภอ ห้วยขวางจังหวัด กรุงเทพฯ  10320

โทร 0-2290-3333

เว็บไซต์http://www.phatra.com

กรรมการผู้จัดการใหญ่นางกฤตยา ล่ำซำ

41. บริษัท มิตซุย สุมิโตโม อินชัวรันซ์ จำกัด สาขาประเทศไทย

175 ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10210
โทร : 0-2679-6165 - 87  แฟกซ์ : 0-2679-6209 - 12
เว็บไซต์ : http://www.ms-ins.co.th/  อีเมล์ : [email protected]

กรรมการผู้จัดการอาวุธโสนาย ยาซุฮิโระ อิมามูระ

42. บริษัท มิตรแท้ประกันภัย จำกัด


295 ถนนสี่พระยา แขวงสี่พระยา เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500
โทร : 0-2236-0035, 0-2236-8635 - 8, 0-2237-4646  แฟกซ์ : 0-2652-2870-2
เว็บไซต์ : http://www.mittare.com/  อีเมล์ : [email protected]

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายอนันต์ เกษเกษมกิจ

43. บริษัท เมืองไทยประกันภัย จำกัด
252 ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10320
โทร : 0-2290-3333  แฟกซ์ : 0-2665-4166
เว็บไซต์ : http://www.mtins.com/  อีเมล์ : [email protected]

กรรมการผู้จัดการ คือ คุณนวลพรรณ ล่ำซำ

44. บริษัท ลิเบอร์ตี้ประกันภัย จำกัด


1466 ถนนพัฒนาการ แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร 10250
โทร : 0-2322-3001 - 49  แฟกซ์ : 0-2321-7332
เว็บไซต์ : http://www.libertyinsurance.co.th/  อีเมล์ : info [email protected]

 

45. บริษัท วิริยะประกันภัย จำกัด

121/7, 121/14-23, 121/25-28, 121/104 ชั้น 2-6 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400
โทร :0-2239-1000, 0-2641-3500-79  แฟกซ์ : 0-2641-3500 ต่อหมายเลข 1495
เว็บไซต์ : http://www.viriyah.co.th/  อีเมล์ : [email protected]

กรรมการผู้จัดการคือ สุรชัย วังยายฉิม

นางสาว ชมพูนุช  เอี่ยมจันทร์

50473010038 เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

 

บริษัทประกันชีวิต

1.

 

บริษัท กรุงเทพประกันชีวิต จำกัด
23/115-121 รอยัลซิตี้อเวนิว 21 ถนนพระราม 9 แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10320
โทร : 0-2203-0055, 0-2641-5599 แฟกซ์ : 0-2203-0044, 0-2641-5566 อีเมล์ : [email protected]

เว็บไซต์ : http://www.bla.co.th

กรรมการผู้จัดการใหญ่ คุณชาญ วรรธนะกุล

2.

บริษัท กรุงไทย-แอกซ่า ประกันชีวิต จำกัด
87/1 แคปปิตอล ทาวเวอร์ ชั้น 24-25 ออลซีซั่นส์ เพลส ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330
โทร : 0-723-4000 แฟกซ์ : 0-2723-4032-33
อีเมล์ : - เว็บไซต์ : http://www.krungthai-axa.co.th

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ มร.ไมค์ แพล็กซ์ตัน

3.

 

บริษัท บางกอก สหประกันชีวิต จำกัด
177/1 อาคารบางกอกสหประกันภัย ถนนสุรวงศ์ แขวงสุริยวงศ์ เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500
โทร : 0-2634-7323-30 แฟกซ์ : 0-2634-7331
อีเมล์ : [email protected] เว็บไซต์ : http://www.builife.com

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  ประชัย เลี่ยวไพรัตน์

4.บริษัท โตเกียวมารีน ประกันชีวิต (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน)

ชั้นที่ 26 อาคารเอ็มไพร์ ทาวเวอร์ เลขที่ 195 ถนน สาทรใต้ แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120
โทร : 02-670-1400 แฟกซ์ : 0-2670-1401
อีเมล์ : - เว็บไซต์ : http://www.tokiomarinelife.co.th/

5.บริษัท ไทยประกันชีวิต จำกัด


123 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400
โทร : 0-2247-0247 แฟกซ์ : 0-2249-9946
อีเมล์ : [email protected] เว็บไซต์ : http://www.thailife.com

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  ไชย ไชยวรรณ

6.บริษัท ฟินันซ่าประกันชีวิต จำกัด


2032 อาคารฟินันซ่าประกันชีวิต ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ บางกะปิ ห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310
โทร : 0-2632-5000 แฟกซ์ : 0-2632-5500
อีเมล์ : [email protected] เว็บไซต์ : http://www.finansalife.com

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ สุนทร บุญสาย

7.บริษัท ไทยพาณิชย์นิวยอร์คไลฟ์ประกันชีวิต จำกัด

 

1060 อาคาร 1 ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด(มหาชน) ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400
โทร : 0-2655-3000 แฟกซ์ : 0-2256-1666
อีเมล์ : [email protected] เว็บไซต์ : http://www.scnyl.com

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นายโดนอลด์ คาร์ดี

8.บริษัท ไทยคาร์ดิฟ ประกันชีวิต จำกัด


31/11,36/59-62 อาคารพีเอสทาวเวอร์ ชั้น G และชั้น 18 ถนนสุขุมวิท 21 คลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110
โทร : 0-2645-8500 แฟกซ์ : 0-2645-8585
อีเมล์ : - เว็บไซต์ : http://www.thaicardif.com

กรรมการผู้จัดการใหญ่ คือ  นาย วิญญู ไชยวรรณ

9.บริษัท ไทยรีประกันชีวิต จำกัด


223/1 ซอยร่วมฤดี ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
โทร : 0-2256-6822 แฟกซ์ : 0-2256-6565
อีเมล์ : [email protected] เว็บไซต์ : http://www.thaire.co.th

 กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นายสุรชัย ศิริวัลลภ

10. บริษัท ไทยสมุทรประกันชีวิต จำกัด


170/74-83 อาคารโอเชี่ยนทาวเวอร์ 1 ชั้น 24-28 ถนนรัชดาภิเษก ข.คลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110
โทร : 0-2261-2300 แฟกซ์ : 0-2261-3344
อีเมล์ : [email protected] เว็บไซต์ : http://www.oli.co.th

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นางนุสรา บัญญัติปิยพจน์

11.บริษัท ธนชาตประกันชีวิต จำกัด


231 อาคารธนชาติประกันชีวิต ถนนราชดำริ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330
โทร : 0-2256-6822 แฟกซ์ : 0-2256-6565
อีเมล์ : [email protected] เว็บไซต์ : http://www.thanachartlife.co.th

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ ดร.ชาติชัย พาราสุข

12.บริษัท อยุธยา อลิอันซ์ ซี.พี. ประกันชีวิต จำกัด (มหาชน)


898 อาคารเพลินจิตทาวเวอร์ ชั้น6 โซนเอ,ชั้น16-18 ถนนเพลินจิต ข.ลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
โทร : 0-2305-7000 แฟกซ์ : 0-2263-0313
อีเมล์ : [email protected] เว็บไซต์ : http://www.aacp.co.th

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายสตีเฟ่น แอบเปิ้ลยาร์ด

13.บริษัท เจนเนอราลี่ ประกันชีวิต (ไทยแลนด์) จำกัด


87/2 ยูนิต 1603-5 อาคาร ซีอาร์ซี ทาวเวอร์ ออลซีซั่นส์เพลส ชั้น16 ถนนวิทยุ ข.ลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
โทร : 0-2685-3828 แฟกซ์ : 0-2685-3829
อีเมล์ : - เว็บไซต์ : http://www.generalithailand.com

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายคีธ แอนดรูว์ บรูคส์

14.บริษัท พรูเด็นเชียล ประกันชีวิต (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน)


82 อาคารแสงทองธานี ชั้น 28, 30-31 ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500
โทร : 0-2639-9500 แฟกซ์ : 0-2639-9699, 0-2639-9700
อีเมล์ : - เว็บไซต์ : http://www.prudential.co.th

 กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายบินายัค ดัตตา

15.บริษัท เมืองไทยประกันชีวิต จำกัด


250 ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10320
โทร : 0-2276-1025, 0-2274-9400 แฟกซ์ : 0-2276-1997-8
อีเมล์ : - เว็บไซต์ : http://www.muangthai.co.th

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นายสาระ ล่ำซำ

 

16.บริษัท แมนูไลฟ์ ประกันชีวิต (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน)

 

364/30 ถนนศรีอยุธยา ข.ถนนพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400
โทร : 0-2245-2491-7, 0-2246-7650-99 แฟกซ์ : 0-2248-5391
อีเมล์ : - เว็บไซต์ : http://www.manulife.co.th

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : มร.คริสโตเฟอร์ เตียว

17. บริษัท สยามซัมซุง ประกันชีวิต จำกัด

 

2922/222-227 อาคารชาญอิสระ 2 ชั้น 15 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310
โทร : 0-2308-2245 แฟกซ์ : 0-2308-2269
อีเมล์ : [email protected] เว็บไซต์ : http://www.siamsamsung.co.th

ผู้บริหารคือ  นายเยิน ฮี  คัง

18.  บริษัท สยามประกันชีวิต จำกัด


75/72-73 ซอยสุขุมวิท 19 (วัฒนา) ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110
โทร : 0-2260-5536-43 แฟกซ์ : 0-2260-5561
อีเมล์ : - เว็บไซต์ : http://www.siamlife.co.th

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นางรัชนี เองปัญญาเลิศ

19.บริษัท สหประกันชีวิต จำกัด


เลขที่ 411 อาคาร U Tower ชั้น 4-5 ถ.ศรีนครินทร์ แขวงสวนหลวง กรุงเทพฯ 10250
โทร : 02-731-7799 แฟกซ์ : 02-731-7727,02-731-7728
อีเมล์ : - เว็บไซต์ : http://www.ulife.in.th/

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นายสหพล สังข์เมฆ

20.บริษัท อเมริกันอินเตอร์แนชชั่นแนล แอสชัวรันส์ จำกัด (ประเทศไทย)


181 ถนนสุรวงศ์ ข.บางรัก เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500
โทร : 0-2634-8888 แฟกซ์ : 0-2236-6452
อีเมล์ : [email protected]

 เว็บไซต์ : http://www.aia.co.th/

21.บริษัท อาคเนย์ประกันชีวิต จำกัด

 
315 ถนนสีลม ข.สีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500
โทร : 0-2631-1331 แฟกซ์ : 0-2236-7614
อีเมล์ : [email protected] เว็บไซต์ : http://www.southeastlife.com

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายโชติพัฒน์ พีชานนท์

22.บริษัท เอซ ไลฟ์ แอสชัวรันซ์ จำกัด

 

169 อาคารธนาคารนครหลวงไทย สาขาสุทธิสาร ชั้น 3-6 ถนนสุทธิสารวินิจฉัย แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กทม.10400
โทร : 0-2615-6860 แฟกซ์ : 0-2615-6878
อีเมล์ : - เว็บไซต์ : http://www.acelife.co.th
กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายริชาร์ด แอนดรู สปริงค์

 

 

23. บริษัท แอ๊ดวานซ์ ไลฟ์ แอสชัวรันส์ จำกัด


2 อาคารเพลินจิตเซ็นเตอร์ ชั้น 5 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ
โทร : 0-2648-3600 แฟกซ์ : 0-2648-5555
อีเมล์ : - เว็บไซต์ : http://www.alife.co.th

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นายเชาว์พันธู์ พันธ์ทอง

 

24.บริษัท ไอเอ็นจี ประกันชีวิต จำกัด


130-132 อาคารสินธร ทาวเวอร์ 3 ชั้น 16 และ ชั้น 29 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
โทร : 0-2632

นางสาว ญาณิศา แสงเพชร

50473010051 เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

บริษัทประกันชีวิต

1.

 

บริษัท กรุงเทพประกันชีวิต จำกัด
23/115-121 รอยัลซิตี้อเวนิว 21 ถนนพระราม 9 แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10320
โทร : 0-2203-0055, 0-2641-5599 แฟกซ์ : 0-2203-0044, 0-2641-5566 อีเมล์ : [email protected]

เว็บไซต์ : http://www.bla.co.th

กรรมการผู้จัดการใหญ่ คุณชาญ วรรธนะกุล

2.

บริษัท กรุงไทย-แอกซ่า ประกันชีวิต จำกัด
87/1 แคปปิตอล ทาวเวอร์ ชั้น 24-25 ออลซีซั่นส์ เพลส ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330
โทร : 0-723-4000 แฟกซ์ : 0-2723-4032-33
อีเมล์ : - เว็บไซต์ : http://www.krungthai-axa.co.th

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ มร.ไมค์ แพล็กซ์ตัน

3.

 

บริษัท บางกอก สหประกันชีวิต จำกัด
177/1 อาคารบางกอกสหประกันภัย ถนนสุรวงศ์ แขวงสุริยวงศ์ เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500
โทร : 0-2634-7323-30 แฟกซ์ : 0-2634-7331
อีเมล์ : [email protected] เว็บไซต์ : http://www.builife.com

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  ประชัย เลี่ยวไพรัตน์

4.บริษัท โตเกียวมารีน ประกันชีวิต (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน)

ชั้นที่ 26 อาคารเอ็มไพร์ ทาวเวอร์ เลขที่ 195 ถนน สาทรใต้ แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120
โทร : 02-670-1400 แฟกซ์ : 0-2670-1401
อีเมล์ : - เว็บไซต์ : http://www.tokiomarinelife.co.th/

5.บริษัท ไทยประกันชีวิต จำกัด


123 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400
โทร : 0-2247-0247 แฟกซ์ : 0-2249-9946
อีเมล์ : [email protected] เว็บไซต์ : http://www.thailife.com

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  ไชย ไชยวรรณ

6.บริษัท ฟินันซ่าประกันชีวิต จำกัด


2032 อาคารฟินันซ่าประกันชีวิต ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ บางกะปิ ห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310
โทร : 0-2632-5000 แฟกซ์ : 0-2632-5500
อีเมล์ : [email protected] เว็บไซต์ : http://www.finansalife.com

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ สุนทร บุญสาย

7.บริษัท ไทยพาณิชย์นิวยอร์คไลฟ์ประกันชีวิต จำกัด

 

1060 อาคาร 1 ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด(มหาชน) ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400
โทร : 0-2655-3000 แฟกซ์ : 0-2256-1666
อีเมล์ : [email protected] เว็บไซต์ : http://www.scnyl.com

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นายโดนอลด์ คาร์ดี

8.บริษัท ไทยคาร์ดิฟ ประกันชีวิต จำกัด


31/11,36/59-62 อาคารพีเอสทาวเวอร์ ชั้น G และชั้น 18 ถนนสุขุมวิท 21 คลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110
โทร : 0-2645-8500 แฟกซ์ : 0-2645-8585
อีเมล์ : - เว็บไซต์ : http://www.thaicardif.com

กรรมการผู้จัดการใหญ่ คือ  นาย วิญญู ไชยวรรณ

9.บริษัท ไทยรีประกันชีวิต จำกัด


223/1 ซอยร่วมฤดี ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
โทร : 0-2256-6822 แฟกซ์ : 0-2256-6565
อีเมล์ : [email protected] เว็บไซต์ : http://www.thaire.co.th

 กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นายสุรชัย ศิริวัลลภ

10. บริษัท ไทยสมุทรประกันชีวิต จำกัด


170/74-83 อาคารโอเชี่ยนทาวเวอร์ 1 ชั้น 24-28 ถนนรัชดาภิเษก ข.คลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110
โทร : 0-2261-2300 แฟกซ์ : 0-2261-3344
อีเมล์ : [email protected] เว็บไซต์ : http://www.oli.co.th

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นางนุสรา บัญญัติปิยพจน์

11.บริษัท ธนชาตประกันชีวิต จำกัด


231 อาคารธนชาติประกันชีวิต ถนนราชดำริ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330
โทร : 0-2256-6822 แฟกซ์ : 0-2256-6565
อีเมล์ : [email protected] เว็บไซต์ : http://www.thanachartlife.co.th

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ ดร.ชาติชัย พาราสุข

12.บริษัท อยุธยา อลิอันซ์ ซี.พี. ประกันชีวิต จำกัด (มหาชน)


898 อาคารเพลินจิตทาวเวอร์ ชั้น6 โซนเอ,ชั้น16-18 ถนนเพลินจิต ข.ลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
โทร : 0-2305-7000 แฟกซ์ : 0-2263-0313
อีเมล์ : [email protected] เว็บไซต์ : http://www.aacp.co.th

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายสตีเฟ่น แอบเปิ้ลยาร์ด

13.บริษัท เจนเนอราลี่ ประกันชีวิต (ไทยแลนด์) จำกัด


87/2 ยูนิต 1603-5 อาคาร ซีอาร์ซี ทาวเวอร์ ออลซีซั่นส์เพลส ชั้น16 ถนนวิทยุ ข.ลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
โทร : 0-2685-3828 แฟกซ์ : 0-2685-3829
อีเมล์ : - เว็บไซต์ : http://www.generalithailand.com

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายคีธ แอนดรูว์ บรูคส์

14.บริษัท พรูเด็นเชียล ประกันชีวิต (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน)


82 อาคารแสงทองธานี ชั้น 28, 30-31 ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500
โทร : 0-2639-9500 แฟกซ์ : 0-2639-9699, 0-2639-9700
อีเมล์ : - เว็บไซต์ : http://www.prudential.co.th

 กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายบินายัค ดัตตา

15.บริษัท เมืองไทยประกันชีวิต จำกัด


250 ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10320
โทร : 0-2276-1025, 0-2274-9400 แฟกซ์ : 0-2276-1997-8
อีเมล์ : - เว็บไซต์ : http://www.muangthai.co.th

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นายสาระ ล่ำซำ

 

16.บริษัท แมนูไลฟ์ ประกันชีวิต (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน)

 

364/30 ถนนศรีอยุธยา ข.ถนนพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400
โทร : 0-2245-2491-7, 0-2246-7650-99 แฟกซ์ : 0-2248-5391
อีเมล์ : - เว็บไซต์ : http://www.manulife.co.th

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : มร.คริสโตเฟอร์ เตียว

17. บริษัท สยามซัมซุง ประกันชีวิต จำกัด

 

2922/222-227 อาคารชาญอิสระ 2 ชั้น 15 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310
โทร : 0-2308-2245 แฟกซ์ : 0-2308-2269
อีเมล์ : [email protected] เว็บไซต์ : http://www.siamsamsung.co.th

ผู้บริหารคือ  นายเยิน ฮี  คัง

18.  บริษัท สยามประกันชีวิต จำกัด


75/72-73 ซอยสุขุมวิท 19 (วัฒนา) ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110
โทร : 0-2260-5536-43 แฟกซ์ : 0-2260-5561
อีเมล์ : - เว็บไซต์ : http://www.siamlife.co.th

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นางรัชนี เองปัญญาเลิศ

19.บริษัท สหประกันชีวิต จำกัด


เลขที่ 411 อาคาร U Tower ชั้น 4-5 ถ.ศรีนครินทร์ แขวงสวนหลวง กรุงเทพฯ 10250
โทร : 02-731-7799 แฟกซ์ : 02-731-7727,02-731-7728
อีเมล์ : - เว็บไซต์ : http://www.ulife.in.th/

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นายสหพล สังข์เมฆ

20.บริษัท อเมริกันอินเตอร์แนชชั่นแนล แอสชัวรันส์ จำกัด (ประเทศไทย)


181 ถนนสุรวงศ์ ข.บางรัก เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500
โทร : 0-2634-8888 แฟกซ์ : 0-2236-6452
อีเมล์ : [email protected]

 เว็บไซต์ : http://www.aia.co.th/

21.บริษัท อาคเนย์ประกันชีวิต จำกัด

 
315 ถนนสีลม ข.สีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500
โทร : 0-2631-1331 แฟกซ์ : 0-2236-7614
อีเมล์ : [email protected] เว็บไซต์ : http://www.southeastlife.com

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายโชติพัฒน์ พีชานนท์

22.บริษัท เอซ ไลฟ์ แอสชัวรันซ์ จำกัด

 

169 อาคารธนาคารนครหลวงไทย สาขาสุทธิสาร ชั้น 3-6 ถนนสุทธิสารวินิจฉัย แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กทม.10400
โทร : 0-2615-6860 แฟกซ์ : 0-2615-6878
อีเมล์ : - เว็บไซต์ : http://www.acelife.co.th
กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายริชาร์ด แอนดรู สปริงค์

 

 

23. บริษัท แอ๊ดวานซ์ ไลฟ์ แอสชัวรันส์ จำกัด


2 อาคารเพลินจิตเซ็นเตอร์ ชั้น 5 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ
โทร : 0-2648-3600 แฟกซ์ : 0-2648-5555
อีเมล์ : - เว็บไซต์ : http://www.alife.co.th

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นายเชาว์พันธู์ พันธ์ทอง

 

24.บริษัท ไอเอ็นจี ประกันชีวิต จำกัด


130-132 อาคารสินธร ทาวเวอร์ 3 ชั้น 16 และ ชั้น 29 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
โทร : 0-2632

นางสาว พานุมาศ  อุตตะรถ

50473010050 เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

บริษัทประกันชีวิต

1.

 

บริษัท กรุงเทพประกันชีวิต จำกัด
23/115-121 รอยัลซิตี้อเวนิว 21 ถนนพระราม 9 แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10320
โทร : 0-2203-0055, 0-2641-5599 แฟกซ์ : 0-2203-0044, 0-2641-5566 อีเมล์ : [email protected]

เว็บไซต์ : http://www.bla.co.th

กรรมการผู้จัดการใหญ่ คุณชาญ วรรธนะกุล

2.

บริษัท กรุงไทย-แอกซ่า ประกันชีวิต จำกัด
87/1 แคปปิตอล ทาวเวอร์ ชั้น 24-25 ออลซีซั่นส์ เพลส ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330
โทร : 0-723-4000 แฟกซ์ : 0-2723-4032-33
อีเมล์ : - เว็บไซต์ : http://www.krungthai-axa.co.th

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ มร.ไมค์ แพล็กซ์ตัน

3.

 

บริษัท บางกอก สหประกันชีวิต จำกัด
177/1 อาคารบางกอกสหประกันภัย ถนนสุรวงศ์ แขวงสุริยวงศ์ เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500
โทร : 0-2634-7323-30 แฟกซ์ : 0-2634-7331
อีเมล์ : [email protected] เว็บไซต์ : http://www.builife.com

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  ประชัย เลี่ยวไพรัตน์

4.บริษัท โตเกียวมารีน ประกันชีวิต (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน)

ชั้นที่ 26 อาคารเอ็มไพร์ ทาวเวอร์ เลขที่ 195 ถนน สาทรใต้ แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120
โทร : 02-670-1400 แฟกซ์ : 0-2670-1401
อีเมล์ : - เว็บไซต์ : http://www.tokiomarinelife.co.th/

5.บริษัท ไทยประกันชีวิต จำกัด


123 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400
โทร : 0-2247-0247 แฟกซ์ : 0-2249-9946
อีเมล์ : [email protected] เว็บไซต์ : http://www.thailife.com

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  ไชย ไชยวรรณ

6.บริษัท ฟินันซ่าประกันชีวิต จำกัด


2032 อาคารฟินันซ่าประกันชีวิต ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ บางกะปิ ห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310
โทร : 0-2632-5000 แฟกซ์ : 0-2632-5500
อีเมล์ : [email protected] เว็บไซต์ : http://www.finansalife.com

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ สุนทร บุญสาย

7.บริษัท ไทยพาณิชย์นิวยอร์คไลฟ์ประกันชีวิต จำกัด

 

1060 อาคาร 1 ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด(มหาชน) ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400
โทร : 0-2655-3000 แฟกซ์ : 0-2256-1666
อีเมล์ : [email protected] เว็บไซต์ : http://www.scnyl.com

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นายโดนอลด์ คาร์ดี

8.บริษัท ไทยคาร์ดิฟ ประกันชีวิต จำกัด


31/11,36/59-62 อาคารพีเอสทาวเวอร์ ชั้น G และชั้น 18 ถนนสุขุมวิท 21 คลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110
โทร : 0-2645-8500 แฟกซ์ : 0-2645-8585
อีเมล์ : - เว็บไซต์ : http://www.thaicardif.com

กรรมการผู้จัดการใหญ่ คือ  นาย วิญญู ไชยวรรณ

9.บริษัท ไทยรีประกันชีวิต จำกัด


223/1 ซอยร่วมฤดี ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
โทร : 0-2256-6822 แฟกซ์ : 0-2256-6565
อีเมล์ : [email protected] เว็บไซต์ : http://www.thaire.co.th

 กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นายสุรชัย ศิริวัลลภ

10. บริษัท ไทยสมุทรประกันชีวิต จำกัด


170/74-83 อาคารโอเชี่ยนทาวเวอร์ 1 ชั้น 24-28 ถนนรัชดาภิเษก ข.คลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110
โทร : 0-2261-2300 แฟกซ์ : 0-2261-3344
อีเมล์ : [email protected] เว็บไซต์ : http://www.oli.co.th

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นางนุสรา บัญญัติปิยพจน์

11.บริษัท ธนชาตประกันชีวิต จำกัด


231 อาคารธนชาติประกันชีวิต ถนนราชดำริ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330
โทร : 0-2256-6822 แฟกซ์ : 0-2256-6565
อีเมล์ : [email protected] เว็บไซต์ : http://www.thanachartlife.co.th

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ ดร.ชาติชัย พาราสุข

12.บริษัท อยุธยา อลิอันซ์ ซี.พี. ประกันชีวิต จำกัด (มหาชน)


898 อาคารเพลินจิตทาวเวอร์ ชั้น6 โซนเอ,ชั้น16-18 ถนนเพลินจิต ข.ลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
โทร : 0-2305-7000 แฟกซ์ : 0-2263-0313
อีเมล์ : [email protected] เว็บไซต์ : http://www.aacp.co.th

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายสตีเฟ่น แอบเปิ้ลยาร์ด

13.บริษัท เจนเนอราลี่ ประกันชีวิต (ไทยแลนด์) จำกัด


87/2 ยูนิต 1603-5 อาคาร ซีอาร์ซี ทาวเวอร์ ออลซีซั่นส์เพลส ชั้น16 ถนนวิทยุ ข.ลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
โทร : 0-2685-3828 แฟกซ์ : 0-2685-3829
อีเมล์ : - เว็บไซต์ : http://www.generalithailand.com

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายคีธ แอนดรูว์ บรูคส์

14.บริษัท พรูเด็นเชียล ประกันชีวิต (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน)


82 อาคารแสงทองธานี ชั้น 28, 30-31 ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500
โทร : 0-2639-9500 แฟกซ์ : 0-2639-9699, 0-2639-9700
อีเมล์ : - เว็บไซต์ : http://www.prudential.co.th

 กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายบินายัค ดัตตา

15.บริษัท เมืองไทยประกันชีวิต จำกัด


250 ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10320
โทร : 0-2276-1025, 0-2274-9400 แฟกซ์ : 0-2276-1997-8
อีเมล์ : - เว็บไซต์ : http://www.muangthai.co.th

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นายสาระ ล่ำซำ

 

16.บริษัท แมนูไลฟ์ ประกันชีวิต (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน)

 

364/30 ถนนศรีอยุธยา ข.ถนนพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400
โทร : 0-2245-2491-7, 0-2246-7650-99 แฟกซ์ : 0-2248-5391
อีเมล์ : - เว็บไซต์ : http://www.manulife.co.th

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : มร.คริสโตเฟอร์ เตียว

17. บริษัท สยามซัมซุง ประกันชีวิต จำกัด

 

2922/222-227 อาคารชาญอิสระ 2 ชั้น 15 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310
โทร : 0-2308-2245 แฟกซ์ : 0-2308-2269
อีเมล์ : [email protected] เว็บไซต์ : http://www.siamsamsung.co.th

ผู้บริหารคือ  นายเยิน ฮี  คัง

18.  บริษัท สยามประกันชีวิต จำกัด


75/72-73 ซอยสุขุมวิท 19 (วัฒนา) ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110
โทร : 0-2260-5536-43 แฟกซ์ : 0-2260-5561
อีเมล์ : - เว็บไซต์ : http://www.siamlife.co.th

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นางรัชนี เองปัญญาเลิศ

19.บริษัท สหประกันชีวิต จำกัด


เลขที่ 411 อาคาร U Tower ชั้น 4-5 ถ.ศรีนครินทร์ แขวงสวนหลวง กรุงเทพฯ 10250
โทร : 02-731-7799 แฟกซ์ : 02-731-7727,02-731-7728
อีเมล์ : - เว็บไซต์ : http://www.ulife.in.th/

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นายสหพล สังข์เมฆ

20.บริษัท อเมริกันอินเตอร์แนชชั่นแนล แอสชัวรันส์ จำกัด (ประเทศไทย)


181 ถนนสุรวงศ์ ข.บางรัก เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500
โทร : 0-2634-8888 แฟกซ์ : 0-2236-6452
อีเมล์ : [email protected]

 เว็บไซต์ : http://www.aia.co.th/

21.บริษัท อาคเนย์ประกันชีวิต จำกัด

 
315 ถนนสีลม ข.สีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500
โทร : 0-2631-1331 แฟกซ์ : 0-2236-7614
อีเมล์ : [email protected] เว็บไซต์ : http://www.southeastlife.com

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายโชติพัฒน์ พีชานนท์

22.บริษัท เอซ ไลฟ์ แอสชัวรันซ์ จำกัด

 

169 อาคารธนาคารนครหลวงไทย สาขาสุทธิสาร ชั้น 3-6 ถนนสุทธิสารวินิจฉัย แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กทม.10400
โทร : 0-2615-6860 แฟกซ์ : 0-2615-6878
อีเมล์ : - เว็บไซต์ : http://www.acelife.co.th
กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายริชาร์ด แอนดรู สปริงค์

 

 

23. บริษัท แอ๊ดวานซ์ ไลฟ์ แอสชัวรันส์ จำกัด


2 อาคารเพลินจิตเซ็นเตอร์ ชั้น 5 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ
โทร : 0-2648-3600 แฟกซ์ : 0-2648-5555
อีเมล์ : - เว็บไซต์ : http://www.alife.co.th

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นายเชาว์พันธู์ พันธ์ทอง

 

24.บริษัท ไอเอ็นจี ประกันชีวิต จำกัด


130-132 อาคารสินธร ทาวเวอร์ 3 ชั้น 16 และ ชั้น 29 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
โทร : 0-2632

นางสาว สุภาพร มูลจันทร์ รหัส 50473010020 เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

นางสาว  สุภาพร  มูลจันทร์

รหัสนักศึกษา 50473010020

โปรแกรมวิชา เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

บริษัทประกันชีวิต

1.บริษัทอยุธยา อลิอัน ซีพี

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 898 อาคารเพลินจิตทาวเวอร์ ชั้น 2, 6 ถนนเพลินจิต กรุงเทพฯ 10330

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายสตีเฟ่น แอบเปิ้ลยาร์ด

2.บริษัทเจนเนอราลี่ ประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : ชั้น 16 ยูนิต 1602-1605 อาคาร ซีอาร์ซี ทาวเวอร์ ออลซีซั่นส์ เพลส 87/2 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

กรรมการผู้จัดการใหญ่่ : นายคีธ แอนดรูว์ บรูคส์

3.บริษัทพรูเด็นเชียล ประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 82 อาคารแสงทองธานี ชั้น 28, 30-31 ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500.

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายบินายัค ดัตตา

4.บริษัทเมืองไทยประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 250 ถนนรัชดาภิเษก ห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10320

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายสาระ ล่ำซำ

5.บริษัท เอซ ไลฟ์ แอสชัวรันซ์

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : เลขที่ 130-132 อาคารสินธร ทาวเวอร์ 1 ชั้น 11-12

ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายริชาร์ด แอนดรู สปริงค์์

6.บริษัทแมกซ์ประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 169 สุทธิสาร แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กทม 10400

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายพีระพงศ์ อุ่นจิตต์

7.บริษัท สยามซัมซุง ประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 2922/240-241 ชั้น 15 อาคารชาญอิสระ 2 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ ห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10320.

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายเยิน ฮี คัง

8.บริษัทสยามประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 75/72-73 อาคารโอเชี่ยนทาวเวอร์ 2 ชั้น 30 สุขมวิท 19 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110.

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นางรัชนี เองปัญญาเลิศ

9.บริษัทสหประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : เลขที่ 411 อาคาร U Tower ชั้น 4-5 ถ.ศรีนครินทร์ แขวงสวนหลวง กรุงเทพฯ 10250

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายสหพล สังข์เมฆ

10.บริษัทอาคเนย์ประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 315 ถนนสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายโชติพัฒน์ พีชานนท์

11.บริษัท แอ๊ดวานซ์ ไลฟ์ แอสชัวรันส์ จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : อาคารเพลินจิตเซ็นเตอร์ ชั้น 5 เลขที่ 2 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110.

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายเชาว์พันธู์ พันธ์ทอง

12.บริษัทกรุงไทย - แอกซ่า ประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 2034/116-117, 136, 138-143 อาคารอิตัลไทยทาวเวอร์ ชั้น 27, 32-33 ถ.เพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ มร.ไมค์ แพล็กซ์ตัน

13.บริษัทกรุงเทพประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 23/115-121 รอยัลซิตี้อเวนิว ซอยศูนย์วิจัย ถนนพระราม 9 เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ คุณชัย โสภณพนิช

14. บริษัท บางกอก สหประกันภัย

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 175-177 ถนนสุรวงศ์ เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ ประชัย เลี่ยวไพรัตน์

15. บริษัทฟีนันซ่า ประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 2032 ถ.เพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขต ห้วย ขวาง กรุงเทพฯ 10310

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ สุนทร บุญสาย

16.บริษัทไทยประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ ๑๒๓ ถ.รัชดาภิเษก ดินแดง กรุงเทพฯ ๑๐๔๐๐

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ ไชย ไชยวรรณ

17.บริษัทไทยพาณิชย์นิวยอล์คไลฟ์

 

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 1060 ดินแดง ตัดใหม่ เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายโดนอลด์ คาร์ดี

18. บริษัทไทยคาร์ดิฟ ประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 31/11,36/59-62 อาคารพีเอสทาวเวอร์ ชั้น G และชั้น 18 ถนนสุขุมวิท 21 คลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

กรรมการผู้จัดการใหญ่ คือ นาย วิญญู ไชยวรรณ

19. บริษัทไทยรีประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 223/1 ซอยร่วมฤดี ถนนวิทยุ ข.ลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายสุรชัย ศิริวัลลภ

20.บริษัทไทยสมุทรประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ เลขที่ 170/74-83 อาคารโอเชี่ยนทาวเวอร์ 1 ถนนรัชดาภิเษก เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นางนุสรา บัญญัติปิยพจน์

21.บริษัทธนชาติประกันชีวิต

 ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 231 อาคารธนชาติประกันชีวิต ถนนราชดำริ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ ดร.ชาติชัย พาราสุข

...................................................................................................

ศิรินันท์ กาญจนพันธุ์วงศ์

ต่อจากเดิม

46. บริษัท ศรีอยุธยาประกันภัย จำกัด (มหาชน)


ชั้น 7 อาคารเพลินจิตทาวเวอร์ เลขที่ 898 ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
โทร : 0-2263-0335  แฟกซ์ : 0-2263-0589
เว็บไซต์ : http://www.ayud.co.th/  อีเมล์ : [email protected]

กรรมการผู้จัดการใหญ่นายตัน คอง คูน

47. บริษัท ส่งเสริมประกันภัย จำกัด


42 อาคารส่งเสริมประกันภัย ชั้น 2 ถนนสุรวงศ์ แขวงสี่พระยา เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500
โทร : 0-2235-2510 - 9, 0-2267-0240 - 9  แฟกซ์ : 0-2237-0808, 0-2267-0259
เว็บไซต์ : http://www.songserm.co.th/  อีเมล์ : -

กรรมการผู้จัดการใหญ่คุณสุณี สุวรรณนภาศรี

48. บริษัท สมโพธิ์ เจแปน ประกันภัย (ประเทศไทย) จำกัด


990 อาคารอับดุลราฮิมเพลซ ชั้น 12 ถนนพระราม 4 แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500
โทร : 0-2636-2333  แฟกซ์ : 0-2636-2340 - 1
เว็บไซต์ : http://www.sompojapanthai.com/  

กรรมการนายสันติ วิลาสศักดานนท์

49. บริษัท สยามซิตี้ อินชัวรันส์ จำกัด


44/1 อาคารรุ่งโรจน์ ชั้น 12 ถ.รัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10320
โทร : 0-2202-9500  แฟกซ์ : 0-2202-9555
เว็บไซต์ : http://www.scil.co.th/  อีเมล์ : [email protected]

กรรมการผู้จัดการใหญ่นายณัฐดนัย อินทรสุขศรี

50. บริษัท สหนิรภัยประกันภัย จำกัด


462/1-5 ถนนสี่พระยา แขวงมหาพฤฒาราม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500
โทร : 0-2236-0049, 0-2236-1290, 0-2236-1231  แฟกซ์ : 0-2236-1300, 0-2236-1211
เว็บไซต์ : http://www.union-insurance.com/ อีเมล์ : [email protected]

กรรมการผู้จัดการใหญ่นางอารยา วาสวกุล

51. บริษัท สหมงคลประกันภัย จำกัด


259 ถนนราชวงศ์ แขวงจักรวรรดิ์ เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร 10100
โทร : 0-2221-4373, 0-2222-9391, 223-2019  แฟกซ์ : 0-2225-1623
เว็บไซต์ : http://www.upp.co.th/  อีเมล์ : [email protected]

52. บริษัท สหวัฒนาประกันภัย จำกัด

23/5 ซอยสุขุมวิท 39 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองตัน เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110
โทร : 0-2662-7000 - 9  แฟกซ์ : 0-2622-7010
เว็บไซต์ : -  อีเมล์ : [email protected]

กรรมการนายศราวุธ ภาสุวณิชยพงศ์

53. บริษัท สัมพันธ์ประกันภัย จำกัด


1518/5 ถนนประชาราษฏร์สาย 1 แขวงบางซื่อ เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร 10800
โทร : 0-2913-2111, 0-2587-1111  แฟกซ์ : 0-2913-2130-4
เว็บไซต์ : http://www.sampanhins.com/ อีเมล์ :[email protected]

กรรมการผู้จัดการใหญ่นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์

54. บริษัท สินทรัพย์ประกันภัย จำกัด

 

492-494 ถนนรัชดาภิเษก แขวงสามเสนนอก เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310
โทร : 0-2541-5555  แฟกซ์ : 0-2541-5170
เว็บไซต์ :http://www.asset.co.th/  อีเมล์ : [email protected]

กรรมการผู้จัดการใหญ่ วันเพ็ญ เซ่งไพเราะห์

55. บริษัท สินมั่นคงประกันภัย จำกัด (มหาชน)


313 ถนนศรีนครินทร์ แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร 10240
โทร : 0-2378-7000 แฟกซ์ : 0-2731-6590
เว็บไซต์ :http://www.smk.co.th/  อีเมล์ : [email protected]

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ คุณอิสระ วงศ์รุ่ง

 

56. บริษัท อเมริกันอินเตอร์แนชชั้นแนลแอสชัวรันซ์ จำกัด (ประกันวินาศภัย) สาขาประเทศไทย


2/2 อาคารเชียงใหม่ อินเตอร์แนชชั่นแนล ทาวเวอร์ ชั้น G ถนนมหิดล เชียงใหม่ 50200
โทร : (053) 809-555 ต่อ 1111  แฟกซ์ : (053) 809-538
เว็บไซต์ : http://www.aia.co.th/  อีเมล์ : -

57. บริษัท อลิอันซ์ ซี.พี. ประกันภัย จำกัด

313 อาคารซี.พี.ทาวเวอร์ ชั้น 19 ถนนสีลม แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500
โทร : 0-2638-9000  แฟกซ์ : 0-2638-9050
เว็บไซต์ : http://www.allianzcp.com/  อีเมล์ : [email protected]

กรรมการผู้จัดการ คือ นายปกิต เอี่ยมโอภาส

58. บริษัท อาคเนย์ประกันภัย จำกัด


315 ชั้น G - ชั้น 3 อาคารอาคเนย์ประกันภัย ถนนสีลม แขวงบางรัก เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500
โทร : 0-2631-1331, 0-2267-7777  แฟกซ์ : 0-2237-7409
เว็บไซต์ :http://www.seic.co.th  อีเมล์ :[email protected]

กรรมการผู้จัดการ คือ พล.ต.อ.สนอง วัฒนวรางกู

59. บริษัท อินทรประกันภัย จำกัด (มหาชน)


364/29 ถนนศรีอยุธยา แขวงถนนพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400
โทร : 0-2247-9261-75  แฟกซ์ : 0-2247-9260, 0-2246-5030
เว็บไซต์ : http://www.indara.co.th/  อีเมล์ : [email protected]

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายสุชาติ ไตรศิริเวทวัฒน์

60. บริษัท เอซ ไอเอ็นเอ โอเวอร์ซีส์ อินชัวรันซ์ จำกัด


เลขที่ 399 อาคารอินเตอร์เชนจ 21 ชั้น 25-30 ถนนสุขุมวิท
แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110
โทร :ศัพท์ 0-2611-4040 โทร :สาร 0-2611-4310
เว็บไซต์ : http://www.acethai.com/  อีเมล์ : [email protected]

61. บริษัท เอเชียประกันภัย 1950 จำกัด


183 อาคารรีเจ้นท์เฮ้าส์ ชั้น 12 ถนนราชดำริ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
โทร : 0-2254-9977  แฟกซ์ : 0-2250-5277
เว็บไซต์ : http://www.aii.co.th/  อีเมล์ : [email protected]

กรรมการผู้จัดการ คือ นายนิค จันทรวิทุร

62. บริษัท เอ็ม เอส ไอ จี ประกันภัย (ประเทศไทย) จำกัด


908 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10320
โทร : 0-2318-8318, 0-2319-1199  แฟกซ์ : 0-2318-8550, 0-2319-1166
เว็บไซต์ : http://www.msig-thai.com/  อีเมล์ : [email protected]

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายอรรณพ พรธิติ

63. บริษัท เอราวัณประกันภัย จำกัด

292 ถนนเยาวราช แขวงสัมพันธวงศ์ เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร 10100
โทร : 0-2224-0056, 0-2224-4727 - 36  แฟกซ์ : 0-2221-1390
http://www.erawanins.com/  อีเมล์ : [email protected]

กรรมการผู้จัดการใหญ่นายสมพจน์ ภาวิจิตร

64. บริษัท เอไอจี ประกันวินาศภัย (ประเทศไทย) จำกัด


181/19 ถนนสุรวงศ์ แขวงสุริยวงศ์ เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500
โทร : 0-2634-8888  แฟกซ์ : 0-2236-6489
เว็บไซต์ : http://www.aiggeneral.co.th อีเมล์ : -

กรรมการผู้จัดการนายเลสลี่ จอห์น โมเอท

65. บริษัท แอกซ่าประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ชั้น 23 ซี อาคารลุมพินีทาวเวอร์ ถนนพระราม 4 แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาธร กรุงเทพมหานคร 10120
โทร : 0-2679-7600  แฟกซ์ : 0-2285-6383
เว็บไซต์ :http://www.axa.co.th/  อีเมล์ : [email protected]

กรรมการผู้จัดการ คือ นายกี่เดช อนันต์ศิริประภา

66. บริษัท เอ.พี.เอฟ. อินเตอร์เนชั่นแนล อินชัวรันส์ จำกัด


9 อาคารภคินท์ ชั้น 5 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400
โทร : 0-2620-6200 แฟกซ์ : 0-2620-6295
เว็บไซต์ : http://www.apfins.com อีเมล์ : [email protected]

กรรมการผู้จัดการใหญ่ นายวรศักดิ์ เกรียงโกมล

67. บริษัท แอลเอ็มจี ประกันภัย จำกัด

2 อาคารจัสมินซิตี้ ชั้นที่ 14-15,17 ซ.สุขุมวิท 23(ประสานมิตร) ถ.สุขุมวิท แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110
โทร : 0-2661-6000  แฟกซ์ : 0-2665-2728
เว็บไซต์ :http://www.lmginsurance.co.th/  อีเมล์ :[email protected]

กรรมการผู้จัดการ คือ นายปิยัพะฒน์ วนอุกกฤษฎ์

68. บริษัท โอสถสภาประกันภัย จำกัด

 

615 อาคารจิตต์อุทัย ชั้น 3 ถนนรามคำแหง แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร 10240
โทร : 0-2732-3671 - 4  แฟกซ์ : 0-2374-4070
เว็บไซต์ : http://www.osi.co.th/  อีเมล์ : [email protected]

กรรมการผู้จัดการใหญ่ คุณพิพัฒน์ เทพย์ปฏิพัธน์

69. บริษัท ไอเอจี ประกันภัย (ประเทศไทย) จำกัด

1550 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400
โทร : 0-2207-0266 - 85  แฟกซ์ : 0-2207-0575
เว็บไซต์ : http://www.nzi.co.th/  อีเมล์ : [email protected]

กรรมการและประธานเจ้าหน้าที่บริหารคริส ดูลีย์

70. บริษัท ไอโออิ กรุงเทพ ประกันภัย จำกัด

25 อาคารกรุงเทพประกันภัย / YWCA ชั้น 22 ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120
โทร : 0-2677-3999, 0-2620-8000  

แฟกซ์ : 0-2677-3978-79
เว็บไซต์ : http://www.aioibkkins.co.th/  อีเมล์ : [email protected]

กรรมการและประธานเจ้าหน้าที่บริหารนายโนบูฮิโกะ ฟูรูยาม่า

   

 

 

 

นางสาวปัทมา พิมพ์ศรี รหัส 50473010034 เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

บริษัทแมกซ์ประกันชีวิต

http://t1.gstatic.com/images?q=tbn:sKKxnUIL72CtVM:http://th.88dbmedia1.jobsdb.com/db88uploadfiles/2006/06/30/E4FE6B2F-7D66-431F-9BF1-D303EDB9641E.jpg

กรรมการผู้จัดการใหญ่ :  นายพีระพงศ์ อุ่นจิตต์

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 169 สุทธิสาร แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กทม 10400

 

บริษัท สยามซัมซุง ประกันชีวิต

http://www.jobthai.com/logo/90432_logo.gif

ผู้บริหารคือ  นายเยิน ฮี คัง

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 2922/240-241 ชั้น 15 อาคารชาญอิสระ 2 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ ห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10320.

 

บริษัท บางกอก สหประกันชีวิต จำกัด

 

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : ชัย  อัสสเมทางกูร

สถานที่ตั้ง  :  177/1 อาคารบางกอกสหประกันภัย ถนนสุรวงศ์ แขวงสุริยวงศ์ เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500

 

บริษัท เจนเนอราลี่ ประกันชีวิต (ไทยแลนด์) จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : กลุ่มครอบครัวตันติพิพัฒน์พงศ์

สถานที่ตั้ง  :  87/2 ยูนิต 1603-5 อาคาร ซีอาร์ซี ทาวเวอร์ ออลซีซั่นส์เพลส ชั้น16 ถนนวิทยุ ข.ลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

 

บริษัท สยามประกันชีวิต จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  :  คุณชิน โสภณพนิช  

สถานที่ตั้ง  :  75/72-73 ซอยสุขุมวิท 19 (วัฒนา) ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110

 

บริษัท ไทยประกันชีวิต จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : นายวานิช ไชยวรรณ

สถานที่ตั้ง  :  123 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400

 

บริษัท ธนชาตประกันชีวิต จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : นพดล  เรืองจินดา

สถานที่ตั้ง  :  231 อาคารธนชาติประกันชีวิต ถนนราชดำริ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

 

บริษัท สหประกันชีวิต จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : ดร.ศุภชัย ศรีศุภอักษร

สถานที่ตั้ง  : เลขที่ 411 อาคาร U Tower ชั้น 4-5 ถ.ศรีนครินทร์ แขวงสวนหลวง กรุงเทพฯ 10250

 

บริษัท อยุธยา อลิอันซ์ ซี.พี. ประกันชีวิต จำกัด (มหาชน)

กรรมการผู้จัดการใหญ่  :  สตีเฟ่น แอปเปิ้ลยาร์ด

สถานที่ตั้ง  :  898 อาคารเพลินจิตทาวเวอร์ ชั้น6 โซนเอ,ชั้น16-18 ถนนเพลินจิต

ข.ลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

 

บริษัท แมนูไลฟ์ ประกันชีวิต (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน)

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : มร.คริสโตเฟอร์ เตียว

สถานที่ตั้ง  : 364/30 ถนนศรีอยุธยา ข.ถนนพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400

 

บริษัท เมืองไทยประกันชีวิต จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : นายโพธิพงษ์ ล่ำซำ

สถานที่ตั้ง  :  250 ถนนรัชดาภิเษก ข.ห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10320

 

บริษัท อาคเนย์ประกันชีวิต จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : พล.ต.อ.สนอง วัฒนวรางกูร

สถานที่ตั้ง  :  315 ถนนสีลม ข.สีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

 

บริษัท ไทยพาณิชย์นิวยอร์คไลฟ์ประกันชีวิต จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : คุณหญิงชฎา วัฒนศิริธรรม

สถานที่ตั้ง  :  1060 อาคาร 1 ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด(มหาชน) ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400

 

บริษัท เอซ ไลฟ์ แอสชัวรันซ์ จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : เบรทท์ เอ คลิงเลอร์  

สถานที่ตั้ง  :  169 อาคารธนาคารนครหลวงไทย สาขาสุทธิสาร ชั้น 3-6 ถนนสุทธิสารวินิจฉัย แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กทม.10400

 

บริษัท พรูเด็นเชียล ประกันชีวิต (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน)

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : บูรพา  อัตถากร

สถานที่ตั้ง  : 82 อาคารแสงทองธานี ชั้น 28, 30-31 ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

 

บริษัท แอ๊ดวานซ์ ไลฟ์ แอสชัวรันส์ จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : นายริชาร์ด แอนดรู สปริงค์.

สถานที่ตั้ง  :  2 อาคารเพลินจิตเซ็นเตอร์ ชั้น 5 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ

 

บริษัท ไอเอ็นจี ประกันชีวิต  จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : นายชี ชอง

สถานที่ตั้ง  : 130-132 อาคารสินธร ทาวเวอร์ 3 ชั้น 16 และ ชั้น 29 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

 

บริษัท นวกิจประกันภัย จำกัด (มหาชน)

กรรมการผู้อำนวยการ : นายปิติพงศ์ พิศาลบุตร

สำนักงานใหญ่ : 100/48-55 ชั้น 25-27 อาคารสาธรนครทาวเวอร์ เลขที่ 90/3-6 ชั้น 1
อาคารสาธรธานี สาธรธานีคอมเพล็กซ์ ถนนสาธรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กทม. 10500

 

บริษัท ชับบ์ประกันภัย (ประเทศไทย) จำกัด

สำนักงานใหญ่ : 52 ธนิยะ พลาซ่า ชั้น 16 ถนนสีลม ข.สุริยวงศ์ เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

 

บริษัท นิวอินเดียแอสชัวรันส์ จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายเทพชโยติ มิตรา

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 65/142-143 อาคารชำนาญเพ็ญชาติ ชั้น 17 ถนนพระราม 9
ข.ห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310

 

บริษัท นิวแฮมพ์เชอร์อินชัวรันส์ ประเทศไทย

กรรมการผู้จัดการ : มร.สตีเวน บาร์น็ต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 181/19 ถนนสุรวงศ์ ข.สุริยวงศ์ เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

 

บริษัท ไทยรับประกันภัยต่อ จำกัด (มหาชน)

ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร  นายสุรชัย ศิริวัลลภ

สำนักงานใหญ่  : 223/1 ซอยร่วมฤดี ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

 

บริษัทกรุงไทย - แอกซ่า ประกันชีวิต

http://t1.gstatic.com/images?q=tbn:9TL1GSWfwU7l-M:http://server4.jobthai.com/logo/krungthai_axa.gif

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : มร.ไมค์ แพล็กซ์ตัน

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 2034/116-117, 136, 138-143 อาคารอิตัลไทยทาวเวอร์ ชั้น 27, 32-33  ถ.เพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310

 

บริษัทไทยพาณิชย์สามัคคีประกันภัย

http://www.jobbkk.com/images_com/c11750.gif

กรรมการผู้จัดการ : นายจิรวุฒิ บุญศิริ

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 2/4 อาคารไทยพาณิชย์สามัคคีประกันภัย ชั้น 12 อาคารนอร์ธปาร์ค ข.ทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร 10210

 

บริษัทแอลเอ็มจี ประกันภัย จำกัด (มหาชน)

http://t1.gstatic.com/images?q=tbn:z5pBDf9R4LyQeM:http://www.lmginsurance.co.th/th/picture/header2.jpg

กรรมการผู้จัดการ : นายปิยพัฒน์ วนอุกกฤษฎ์

ที่ตั้งสำนักงานใหญ : ชั้น 14, 15, 17 อาคารจัสมินซิตี้ เลขที่ 2 ซอยสุขุมวิท 23 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110 Tel (02) 661-6000

 

บริษัท สินมั่นคงประกันภัย จำกัด (มหาชน)

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ คุณอิสระ วงศ์รุ่ง

สถานที่ตั้ง : 313 ถนนศรีนครินทร์ แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร 10240
โทร : 0-2378-7000 แฟกซ์ : 0-2731-6590
เว็บไซต์ :http://www.smk.co.th/  อีเมล์ : [email protected]

 

 

 

 

นางสาวลัดดา วงษ์สวาท รหัส 50473010060 โปรแกรมเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

บริษัทประกันชีวิต

1.บริษัทแมกซ์ประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 169 สุทธิสาร แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กทม 10400

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายพีระพงศ์ อุ่นจิตต์

2.บริษัทอยุธยา อลิอัน ซีพี

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 898 อาคารเพลินจิตทาวเวอร์ ชั้น 2, 6 ถนนเพลินจิต กรุงเทพฯ 10330

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายสตีเฟ่น แอบเปิ้ลยาร์ด

3.บริษัทเจนเนอราลี่ ประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : ชั้น 16 ยูนิต 1602-1605 อาคาร ซีอาร์ซี ทาวเวอร์ ออลซีซั่นส์ เพลส 87/2 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

กรรมการผู้จัดการใหญ่่ : นายคีธ แอนดรูว์ บรูคส์

4.บริษัทพรูเด็นเชียล ประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 82 อาคารแสงทองธานี ชั้น 28, 30-31 ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500.

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายบินายัค ดัตตา

5.บริษัทเมืองไทยประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 250 ถนนรัชดาภิเษก ห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10320

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายสาระ ล่ำซำ

6.บริษัท เอซ ไลฟ์ แอสชัวรันซ์

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : เลขที่ 130-132 อาคารสินธร ทาวเวอร์ 1 ชั้น 11-12

ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายริชาร์ด แอนดรู สปริงค์์

7.บริษัทแมกซ์ประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 169 สุทธิสาร แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กทม 10400

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายพีระพงศ์ อุ่นจิตต์

8.บริษัท สยามซัมซุง ประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 2922/240-241 ชั้น 15 อาคารชาญอิสระ 2 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ ห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10320.

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายเยิน ฮี คัง

9.บริษัทสยามประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 75/72-73 อาคารโอเชี่ยนทาวเวอร์ 2 ชั้น 30 สุขมวิท 19 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110.

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นางรัชนี เองปัญญาเลิศ

10.บริษัทอาคเนย์ประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 315 ถนนสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายโชติพัฒน์ พีชานนท์

11.บริษัท แอ๊ดวานซ์ ไลฟ์ แอสชัวรันส์ จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : อาคารเพลินจิตเซ็นเตอร์ ชั้น 5 เลขที่ 2 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110.

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายเชาว์พันธู์ พันธ์ทอง

12.บริษัทกรุงไทย - แอกซ่า ประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 2034/116-117, 136, 138-143 อาคารอิตัลไทยทาวเวอร์ ชั้น 27, 32-33 ถ.เพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ มร.ไมค์ แพล็กซ์ตัน

13.บริษัทกรุงเทพประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 23/115-121 รอยัลซิตี้อเวนิว ซอยศูนย์วิจัย ถนนพระราม 9 เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ คุณชัย โสภณพนิช

14. บริษัท บางกอก สหประกันภัย

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 175-177 ถนนสุรวงศ์ เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ ประชัย เลี่ยวไพรัตน์

15. บริษัทฟีนันซ่า ประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 2032 ถ.เพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขต ห้วย ขวาง กรุงเทพฯ 10310

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ สุนทร บุญสาย

16.บริษัทไทยประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ ๑๒๓ ถ.รัชดาภิเษก ดินแดง กรุงเทพฯ ๑๐๔๐๐

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ ไชย ไชยวรรณ

17.บริษัทไทยพาณิชย์นิวยอล์คไลฟ์

 

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 1060 ดินแดง ตัดใหม่ เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายโดนอลด์ คาร์ดี

18. บริษัทไทยคาร์ดิฟ ประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 31/11,36/59-62 อาคารพีเอสทาวเวอร์ ชั้น G และชั้น 18 ถนนสุขุมวิท 21 คลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

กรรมการผู้จัดการใหญ่ คือ นาย วิญญู ไชยวรรณ

19. บริษัทไทยรีประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 223/1 ซอยร่วมฤดี ถนนวิทยุ ข.ลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายสุรชัย ศิริวัลลภ

20.บริษัทไทยสมุทรประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ เลขที่ 170/74-83 อาคารโอเชี่ยนทาวเวอร์ 1 ถนนรัชดาภิเษก เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นางนุสรา บัญญัติปิยพจน์

21.บริษัทธนชาติประกันชีวิต

 ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 231 อาคารธนชาติประกันชีวิต ถนนราชดำริ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ ดร.ชาติชัย พาราสุข

22.บริษัทสหประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : เลขที่ 411 อาคาร U Tower ชั้น 4-5 ถ.ศรีนครินทร์ แขวงสวนหลวง กรุงเทพฯ 10250

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายสหพล สังข์เมฆ

นางสาวลัดดา วงษ์สวาท รหัส 50473010060 โปรแกรมเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

 

บริษัท เอ.พี.เอฟ. อินเตอร์เนชั่นแนล อินชัวรันส์ จำกัด


9 อาคารภคินท์ ชั้น 5 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400
โทร : 0-2620-6200 แฟกซ์ : 0-2620-6295
เว็บไซต์ : http://www.apfins.com อีเมล์ : [email protected]

กรรมการผู้จัดการใหญ่ นายวรศักดิ์ เกรียงโกมล

บริษัท ศรีอยุธยาประกันภัย จำกัด (มหาชน)


ชั้น 7 อาคารเพลินจิตทาวเวอร์ เลขที่ 898 ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
โทร : 0-2263-0335  แฟกซ์ : 0-2263-0589
เว็บไซต์ : http://www.ayud.co.th/  อีเมล์ : [email protected]

กรรมการผู้จัดการใหญ่นายตัน คอง คูน

 บริษัท ส่งเสริมประกันภัย จำกัด


42 อาคารส่งเสริมประกันภัย ชั้น 2 ถนนสุรวงศ์ แขวงสี่พระยา เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500
โทร : 0-2235-2510 - 9, 0-2267-0240 - 9  แฟกซ์ : 0-2237-0808, 0-2267-0259
เว็บไซต์ : http://www.songserm.co.th/  อีเมล์ : -

กรรมการผู้จัดการใหญ่คุณสุณี สุวรรณนภาศรี

 บริษัท สมโพธิ์ เจแปน ประกันภัย (ประเทศไทย) จำกัด


990 อาคารอับดุลราฮิมเพลซ ชั้น 12 ถนนพระราม 4 แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500
โทร : 0-2636-2333  แฟกซ์ : 0-2636-2340 - 1
เว็บไซต์ : http://www.sompojapanthai.com/  

กรรมการนายสันติ วิลาสศักดานนท์

บริษัท สยามซิตี้ อินชัวรันส์ จำกัด


44/1 อาคารรุ่งโรจน์ ชั้น 12 ถ.รัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10320
โทร : 0-2202-9500  แฟกซ์ : 0-2202-9555
เว็บไซต์ : http://www.scil.co.th/  อีเมล์ : [email protected]

กรรมการผู้จัดการใหญ่นายณัฐดนัย อินทรสุขศรี

 บริษัท สหนิรภัยประกันภัย จำกัด


462/1-5 ถนนสี่พระยา แขวงมหาพฤฒาราม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500
โทร : 0-2236-0049, 0-2236-1290, 0-2236-1231  แฟกซ์ : 0-2236-1300, 0-2236-1211
เว็บไซต์ : http://www.union-insurance.com/ อีเมล์ : [email protected]

กรรมการผู้จัดการใหญ่นางอารยา วาสวกุล

 บริษัท สหมงคลประกันภัย จำกัด


259 ถนนราชวงศ์ แขวงจักรวรรดิ์ เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร 10100
โทร : 0-2221-4373, 0-2222-9391, 223-2019  แฟกซ์ : 0-2225-1623
เว็บไซต์ : http://www.upp.co.th/  อีเมล์ : [email protected]

บริษัท สหวัฒนาประกันภัย จำกัด

23/5 ซอยสุขุมวิท 39 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองตัน เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110
โทร : 0-2662-7000 - 9  แฟกซ์ : 0-2622-7010
เว็บไซต์ : -  อีเมล์ : [email protected]

กรรมการนายศราวุธ ภาสุวณิชยพงศ์

 บริษัท สัมพันธ์ประกันภัย จำกัด


1518/5 ถนนประชาราษฏร์สาย 1 แขวงบางซื่อ เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร 10800
โทร : 0-2913-2111, 0-2587-1111  แฟกซ์ : 0-2913-2130-4
เว็บไซต์ : http://www.sampanhins.com/ อีเมล์ :[email protected]

กรรมการผู้จัดการใหญ่นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์

 บริษัท สินทรัพย์ประกันภัย จำกัด

 

492-494 ถนนรัชดาภิเษก แขวงสามเสนนอก เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310
โทร : 0-2541-5555  แฟกซ์ : 0-2541-5170
เว็บไซต์ :http://www.asset.co.th/  อีเมล์ : [email protected]

กรรมการผู้จัดการใหญ่ วันเพ็ญ เซ่งไพเราะห์

 บริษัท สินมั่นคงประกันภัย จำกัด (มหาชน)


313 ถนนศรีนครินทร์ แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร 10240
โทร : 0-2378-7000 แฟกซ์ : 0-2731-6590
เว็บไซต์ :http://www.smk.co.th/  อีเมล์ : [email protected]

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ คุณอิสระ วงศ์รุ่ง

 

 บริษัท อเมริกันอินเตอร์แนชชั้นแนลแอสชัวรันซ์ จำกัด (ประกันวินาศภัย) สาขาประเทศไทย


2/2 อาคารเชียงใหม่ อินเตอร์แนชชั่นแนล ทาวเวอร์ ชั้น G ถนนมหิดล เชียงใหม่ 50200
โทร : (053) 809-555 ต่อ 1111  แฟกซ์ : (053) 809-538
เว็บไซต์ : http://www.aia.co.th/  อีเมล์ : -

 บริษัท อลิอันซ์ ซี.พี. ประกันภัย จำกัด

313 อาคารซี.พี.ทาวเวอร์ ชั้น 19 ถนนสีลม แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500
โทร : 0-2638-9000  แฟกซ์ : 0-2638-9050
เว็บไซต์ : http://www.allianzcp.com/  อีเมล์ : [email protected]

กรรมการผู้จัดการ คือ นายปกิต เอี่ยมโอภาส

 บริษัท อาคเนย์ประกันภัย จำกัด


315 ชั้น G - ชั้น 3 อาคารอาคเนย์ประกันภัย ถนนสีลม แขวงบางรัก เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500
โทร : 0-2631-1331, 0-2267-7777  แฟกซ์ : 0-2237-7409
เว็บไซต์ :http://www.seic.co.th  อีเมล์ :[email protected]

กรรมการผู้จัดการ คือ พล.ต.อ.สนอง วัฒนวรางกู

 บริษัท อินทรประกันภัย จำกัด (มหาชน)


364/29 ถนนศรีอยุธยา แขวงถนนพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400
โทร : 0-2247-9261-75  แฟกซ์ : 0-2247-9260, 0-2246-5030
เว็บไซต์ : http://www.indara.co.th/  อีเมล์ : [email protected]

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายสุชาติ ไตรศิริเวทวัฒน์

บริษัท เอซ ไอเอ็นเอ โอเวอร์ซีส์ อินชัวรันซ์ จำกัด


เลขที่ 399 อาคารอินเตอร์เชนจ 21 ชั้น 25-30 ถนนสุขุมวิท
แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110
โทร :ศัพท์ 0-2611-4040 โทร :สาร 0-2611-4310
เว็บไซต์ : http://www.acethai.com/  อีเมล์ : [email protected]

 บริษัท เอเชียประกันภัย 1950 จำกัด


183 อาคารรีเจ้นท์เฮ้าส์ ชั้น 12 ถนนราชดำริ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
โทร : 0-2254-9977  แฟกซ์ : 0-2250-5277
เว็บไซต์ : http://www.aii.co.th/  อีเมล์ : [email protected]

กรรมการผู้จัดการ คือ นายนิค จันทรวิทุร

บริษัท ไอโออิ กรุงเทพ ประกันภัย จำกัด

25 อาคารกรุงเทพประกันภัย / YWCA ชั้น 22 ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120
โทร : 0-2677-3999, 0-2620-8000  

แฟกซ์ : 0-2677-3978-79
เว็บไซต์ : http://www.aioibkkins.co.th/  อีเมล์ : [email protected]

กรรมการและประธานเจ้าหน้าที่บริหารนายโนบูฮิโกะ ฟูรูยาม่า

 

 บริษัท เอ็ม เอส ไอ จี ประกันภัย (ประเทศไทย) จำกัด


908 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10320
โทร : 0-2318-8318, 0-2319-1199  แฟกซ์ : 0-2318-8550, 0-2319-1166
เว็บไซต์ : http://www.msig-thai.com/  อีเมล์ : [email protected]

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายอรรณพ พรธิติ

69. บริษัท ไอเอจี ประกันภัย (ประเทศไทย) จำกัด

1550 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400
โทร : 0-2207-0266 - 85  แฟกซ์ : 0-2207-0575
เว็บไซต์ : http://www.nzi.co.th/  อีเมล์ : [email protected]

กรรมการและประธานเจ้าหน้าที่บริหารคริส ดูลีย์

บริษัท เอราวัณประกันภัย จำกัด

292 ถนนเยาวราช แขวงสัมพันธวงศ์ เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร 10100
โทร : 0-2224-0056, 0-2224-4727 - 36  แฟกซ์ : 0-2221-1390
http://www.erawanins.com/  อีเมล์ : [email protected]

กรรมการผู้จัดการใหญ่นายสมพจน์ ภาวิจิตร

บริษัท เอไอจี ประกันวินาศภัย (ประเทศไทย) จำกัด


181/19 ถนนสุรวงศ์ แขวงสุริยวงศ์ เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500
โทร : 0-2634-8888  แฟกซ์ : 0-2236-6489
เว็บไซต์ : http://www.aiggeneral.co.th อีเมล์ : -

กรรมการผู้จัดการนายเลสลี่ จอห์น โมเอท

 บริษัท แอกซ่าประกันภัย จำกัด (มหาชน)

ชั้น 23 ซี อาคารลุมพินีทาวเวอร์ ถนนพระราม 4 แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาธร กรุงเทพมหานคร 10120
โทร : 0-2679-7600  แฟกซ์ : 0-2285-6383
เว็บไซต์ :http://www.axa.co.th/  อีเมล์ : [email protected]

กรรมการผู้จัดการ คือ นายกี่เดช อนันต์ศิริประภา

  บริษัท แอลเอ็มจี ประกันภัย จำกัด

2 อาคารจัสมินซิตี้ ชั้นที่ 14-15,17 ซ.สุขุมวิท 23(ประสานมิตร) ถ.สุขุมวิท แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110
โทร : 0-2661-6000  แฟกซ์ : 0-2665-2728
เว็บไซต์ :http://www.lmginsurance.co.th/  อีเมล์ :[email protected]

กรรมการผู้จัดการ คือ นายปิยัพะฒน์ วนอุกกฤษฎ์

บริษัท โอสถสภาประกันภัย จำกัด

 

615 อาคารจิตต์อุทัย ชั้น 3 ถนนรามคำแหง แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร 10240
โทร : 0-2732-3671 - 4  แฟกซ์ : 0-2374-4070
เว็บไซต์ : http://www.osi.co.th/  อีเมล์ : [email protected]

กรรมการผู้จัดการใหญ่ คุณพิพัฒน์ เทพย์ปฏิพัธน์

 

นายอัครวัฒน์ พฤกษชาติเจริญ รหัส 50473010046

นายอัครวัฒน์ พฤกษชาติเจริญ รหัส 50473010046 คณะวิทยาการจัดการ โปรแกรมวิชาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

บริษัท กรุงเทพประกันชีวิต จำกัด
บริษัท กรุงเทพประกันชีวิต จำกัด
23/115-121 รอยัลซิตี้อเวนิว 21 ถนนพระราม 9 แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10320
โทร : begin_of_the_skype_highlighting              0-2203-0055      end_of_the_skype_highlighting, begin_of_the_skype_highlighting              0-2641-5599      end_of_the_skype_highlighting แฟกซ์ : begin_of_the_skype_highlighting              0-2203-0044      end_of_the_skype_highlighting, begin_of_the_skype_highlighting              0-2641-5566      end_of_the_skype_highlighting อี เมล์ : [email protected] เว็บไซต์ : http://www.bla.co.th0-2203-00550-2641-5599 0-2203-00440-2641-5566
 
บริษัท กรุงไทย-แอกซ่า ประกันชีวิต จำกัด
บริษัท กรุงไทย-แอกซ่า ประกันชีวิต จำกัด
87/1 แคปปิตอล ทาวเวอร์ ชั้น 24-25 ออลซีซั่นส์ เพลส ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330
โทร : 0-723-4000 แฟกซ์ : 0-2723-4032-33
อีเมล์ : - เว็บ ไซต์ : http://www.krungthai-axa.co.th
 
บริษัท บางกอก สหประกันชีวิต จำกัด
บริษัท บางกอก สหประกันชีวิต จำกัด
177/1 อาคารบางกอกสหประกันภัย ถนนสุรวงศ์ แขวงสุริยวงศ์ เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500
โทร : 0-2634-7323-30 แฟกซ์ : begin_of_the_skype_highlighting              0-2634-7331      end_of_the_skype_highlighting0-2634-7331
อี เมล์ : [email protected] เว็บไซต์ : http://www.builife.com
 
บริษัท โตเกียวมารีน ประกันชีวิต (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน)
บริษัท โตเกียวมารีน ประกันชีวิต (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน)
ชั้นที่ 26 อาคารเอ็มไพร์ ทาวเวอร์ เลขที่ 195 ถนน สาทรใต้ แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120
โทร : begin_of_the_skype_highlighting              02-670-1400      end_of_the_skype_highlighting แฟกซ์ : begin_of_the_skype_highlighting              0-2670-1401      end_of_the_skype_highlighting02-670-14000-2670-1401
อี เมล์ : - เว็บไซต์ : http://www.tokiomarinelife.co.th/
 
บริษัท ไทยประกันชีวิต จำกัด
บริษัท ไทยประกันชีวิต จำกัด
123 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400
โทร : begin_of_the_skype_highlighting              0-2247-0247      end_of_the_skype_highlighting แฟกซ์ : begin_of_the_skype_highlighting              0-2249-9946      end_of_the_skype_highlighting0-2247-02470-2249-9946
อี เมล์ : [email protected] เว็บไซต์ : http://www.thailife.com
 
บริษัท ฟินันซ่าประกันชีวิต จำกัด
บริษัท ฟินันซ่าประกันชีวิต จำกัด
2032 อาคารฟินันซ่าประกันชีวิต ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ บางกะปิ ห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310
โทร : 0-2632-5000 แฟกซ์ : begin_of_the_skype_highlighting              0-2632-5500      end_of_the_skype_highlighting0-2632-5500
อี เมล์ : [email protected] เว็บไซต์ : http://www.finansalife.com
 
บริษัท ไทยพาณิชย์นิวยอร์คไลฟ์ประกันชีวิต จำกัด
บริษัท ไทยพาณิชย์นิวยอร์คไลฟ์ประกันชีวิต จำกัด
1060 อาคาร 1 ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด(มหาชน) ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400
โทร : begin_of_the_skype_highlighting              0-2655-3000      end_of_the_skype_highlighting แฟกซ์ : begin_of_the_skype_highlighting              0-2256-1666      end_of_the_skype_highlighting0-2655-30000-2256-1666
อี เมล์ : [email protected] เว็บไซต์ : http://www.scnyl.com
 
บริษัท ไทยคาร์ดิฟ ประกันชีวิต จำกัด
บริษัท ไทยคาร์ดิฟ ประกันชีวิต จำกัด
31/11,36/59-62 อาคารพีเอสทาวเวอร์ ชั้น G และชั้น 18 ถนนสุขุมวิท 21 คลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110
โทร : begin_of_the_skype_highlighting              0-2645-8500      end_of_the_skype_highlighting แฟกซ์ : begin_of_the_skype_highlighting              0-2645-8585      end_of_the_skype_highlighting0-2645-85000-2645-8585
อี เมล์ : - เว็บไซต์ : http://www.thaicardif.com
 
บริษัท ไทยรีประกันชีวิต จำกัด
บริษัท ไทยรีประกันชีวิต จำกัด
223/1 ซอยร่วมฤดี ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
โทร : begin_of_the_skype_highlighting              0-2256-6822      end_of_the_skype_highlighting แฟกซ์ : begin_of_the_skype_highlighting              0-2256-6565      end_of_the_skype_highlighting0-2256-68220-2256-6565
อี เมล์ : [email protected] เว็บไซต์ : http://www.thaire.co.th
 
บริษัท ไทยสมุทรประกันชีวิต จำกัด
บริษัท ไทยสมุทรประกันชีวิต จำกัด
170/74-83 อาคารโอเชี่ยนทาวเวอร์ 1 ชั้น 24-28 ถนนรัชดาภิเษก ข.คลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110
โทร : begin_of_the_skype_highlighting              0-2261-2300      end_of_the_skype_highlighting แฟกซ์ : begin_of_the_skype_highlighting              0-2261-3344      end_of_the_skype_highlighting0-2261-23000-2261-3344
อี เมล์ : [email protected] เว็บไซต์ : http://www.oli.co.th
 
บริษัท ธนชาตประกันชีวิต จำกัด
บริษัท ธนชาตประกันชีวิต จำกัด
231 อาคารธนชาติประกันชีวิต ถนนราชดำริ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330
โทร : begin_of_the_skype_highlighting              0-2256-6822      end_of_the_skype_highlighting แฟกซ์ : begin_of_the_skype_highlighting              0-2256-6565      end_of_the_skype_highlighting0-2256-68220-2256-6565
อี เมล์ : [email protected] เว็บไซต์ : http://www.thanachartlife.co.th
     
บริษัท อยุธยา อลิอันซ์ ซี.พี. ประกันชีวิต จำกัด (มหาชน)
บริษัท อยุธยา อลิอันซ์ ซี.พี. ประกันชีวิต จำกัด (มหาชน)
898 อาคารเพลินจิตทาวเวอร์ ชั้น6 โซนเอ,ชั้น16-18 ถนนเพลินจิต ข.ลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
โทร : begin_of_the_skype_highlighting              0-2305-7000      end_of_the_skype_highlighting แฟกซ์ : begin_of_the_skype_highlighting              0-2263-0313      end_of_the_skype_highlighting0-2305-70000-2263-0313
อี เมล์ : [email protected] เว็บไซต์ : http://www.aacp.co.th
 
บริษัท เจนเนอราลี่ ประกันชีวิต (ไทยแลนด์) จำกัด
บริษัท เจนเนอราลี่ ประกันชีวิต (ไทยแลนด์) จำกัด
87/2 ยูนิต 1603-5 อาคาร ซีอาร์ซี ทาวเวอร์ ออลซีซั่นส์เพลส ชั้น16 ถนนวิทยุ ข.ลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
โทร : begin_of_the_skype_highlighting              0-2685-3828      end_of_the_skype_highlighting แฟกซ์ : begin_of_the_skype_highlighting              0-2685-3829      end_of_the_skype_highlighting0-2685-38280-2685-3829
อี เมล์ : - เว็บไซต์ : http://www.generalithailand.com
 
บริษัท พรูเด็นเชียล ประกันชีวิต (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน)
บริษัท พรูเด็นเชียล ประกันชีวิต (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน)
82 อาคารแสงทองธานี ชั้น 28, 30-31 ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500
โทร : begin_of_the_skype_highlighting              0-2639-9500      end_of_the_skype_highlighting แฟกซ์ : begin_of_the_skype_highlighting              0-2639-9699      end_of_the_skype_highlighting, begin_of_the_skype_highlighting              0-2639-9700      end_of_the_skype_highlighting0-2639-95000-2639-96990-2639-9700
อี เมล์ : - เว็บไซต์ : http://www.prudential.co.th
 
บริษัท เมืองไทยประกันชีวิต จำกัด
บริษัท เมืองไทยประกันชีวิต จำกัด
250 ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10320
โทร : begin_of_the_skype_highlighting              0-2276-1025      end_of_the_skype_highlighting, begin_of_the_skype_highlighting              0-2274-9400      end_of_the_skype_highlighting แฟกซ์ :
อีเมล์ : - เว็บไซ ต์ : http://www.muangthai.co.th 0-2276-1997-8 0-2276-10250-2274-9400
 
บริษัท แมนูไลฟ์ ประกันชีวิต (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน)
บริษัท แมนูไลฟ์ ประกันชีวิต (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน)
364/30 ถนนศรีอยุธยา ข.ถนนพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400
โทร : 0-2245-2491-7, 0-2246-7650-99 แฟกซ์ : begin_of_the_skype_highlighting              0-2248-5391      end_of_the_skype_highlighting0-2248-5391
อี เมล์ : - เว็บไซต์ : http://www.manulife.co.th
 
บริษัท สยามซัมซุง ประกันชีวิต จำกัด
บริษัท สยามซัมซุง ประกันชีวิต จำกัด
2922/222-227 อาคารชาญอิสระ 2 ชั้น 15 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310
โทร : begin_of_the_skype_highlighting              0-2308-2245      end_of_the_skype_highlighting แฟกซ์ : begin_of_the_skype_highlighting              0-2308-2269      end_of_the_skype_highlighting0-2308-22450-2308-2269
อี เมล์ : [email protected] เว็บไซต์ : http://www.siamsamsung.co.th
 
บริษัท สยามประกันชีวิต จำกัด
บริษัท สยามประกันชีวิต จำกัด
75/72-73 ซอยสุขุมวิท 19 (วัฒนา) ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110
โทร : 0-2260-5536-43 แฟกซ์ : begin_of_the_skype_highlighting              0-2260-5561      end_of_the_skype_highlighting0-2260-5561
อี เมล์ : - เว็บไซต์ : http://www.siamlife.co.th
 
บริษัท สหประกันชีวิต จำกัด
บริษัท สหประกันชีวิต จำกัด
เลขที่ 411 อาคาร U Tower ชั้น 4-5 ถ.ศรีนครินทร์ แขวงสวนหลวง กรุงเทพฯ 10250
โทร : begin_of_the_skype_highlighting              02-731-7799      end_of_the_skype_highlighting แฟกซ์ : begin_of_the_skype_highlighting              02-731-7728      end_of_the_skype_highlighting02-731-7799 02-731-7727,02-731-7728
อี เมล์ : - เว็บไซต์ : http://www.ulife.in.th/
 
บริษัท อเมริกันอินเตอร์แนชชั่นแนล แอสชัวรันส์ จำกัด (ประเทศไทย)
บริษัท อเมริกันอินเตอร์แนชชั่นแนล แอสชัวรันส์ จำกัด (ประเทศไทย)
181 ถนนสุรวงศ์ ข.บางรัก เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500
โทร : begin_of_the_skype_highlighting              0-2634-8888      end_of_the_skype_highlighting แฟกซ์ : begin_of_the_skype_highlighting              0-2236-6452      end_of_the_skype_highlighting0-2634-88880-2236-6452
อี เมล์ : [email protected] เว็บไซต์ : http://www.aia.co.th/
 
บริษัท อาคเนย์ประกันชีวิต จำกัด
บริษัท อาคเนย์ประกันชีวิต จำกัด
315 ถนนสีลม ข.สีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500
โทร : begin_of_the_skype_highlighting              0-2631-1331      end_of_the_skype_highlighting แฟกซ์ : begin_of_the_skype_highlighting              0-2236-7614      end_of_the_skype_highlighting0-2631-13310-2236-7614
อี เมล์ : [email protected] เว็บไซต์ : http://www.southeastlife.com
 
บริษัท เอซ ไลฟ์ แอสชัวรันซ์ จำกัด
บริษัท เอซ ไลฟ์ แอสชัวรันซ์ จำกัด
169 อาคารธนาคารนครหลวงไทย สาขาสุทธิสาร ชั้น 3-6 ถนนสุทธิสารวินิจฉัย แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กทม.10400
โทร : begin_of_the_skype_highlighting              0-2615-6860      end_of_the_skype_highlighting แฟกซ์ : begin_of_the_skype_highlighting   
วรนาถ สาธิตนิมิต 50473010047

นาย วรนาถ สาธิตนิมิต รหัส 50473010047

เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

บริษัทประกันชีวิต

บริษัทแมกซ์ประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 169 สุทธิสาร แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กทม 10400

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายพีระพงศ์ อุ่นจิตต์

บริษัทอยุธยา อลิอัน ซีพี

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 898 อาคารเพลินจิตทาวเวอร์ ชั้น 2, 6 ถนนเพลินจิต กรุงเทพฯ 10330

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายสตีเฟ่น แอบเปิ้ลยาร์ด

บริษัทเจนเนอราลี่ ประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : ชั้น 16 ยูนิต 1602-1605 อาคาร ซีอาร์ซี ทาวเวอร์ ออลซีซั่นส์ เพลส 87/2 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

กรรมการผู้จัดการใหญ่่ : นายคีธ แอนดรูว์ บรูคส์

บริษัทพรูเด็นเชียล ประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 82 อาคารแสงทองธานี ชั้น 28, 30-31 ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500.

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายบินายัค ดัตตา

บริษัทเมืองไทยประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 250 ถนนรัชดาภิเษก ห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10320

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายสาระ ล่ำซำ

บริษัท เอซ ไลฟ์ แอสชัวรันซ์

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : เลขที่ 130-132 อาคารสินธร ทาวเวอร์ 1 ชั้น 11-12

ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายริชาร์ด แอนดรู สปริงค์์

บริษัทแมกซ์ประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 169 สุทธิสาร แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กทม 10400

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายพีระพงศ์ อุ่นจิตต์

บริษัท สยามซัมซุง ประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 2922/240-241 ชั้น 15 อาคารชาญอิสระ 2 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ ห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10320.

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายเยิน ฮี คัง

บริษัทสยามประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 75/72-73 อาคารโอเชี่ยนทาวเวอร์ 2 ชั้น 30 สุขมวิท 19 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110.

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นางรัชนี เองปัญญาเลิศ

บริษัทอาคเนย์ประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 315 ถนนสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายโชติพัฒน์ พีชานนท์

บริษัท แอ๊ดวานซ์ ไลฟ์ แอสชัวรันส์ จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : อาคารเพลินจิตเซ็นเตอร์ ชั้น 5 เลขที่ 2 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110.

กรรมการผู้จัดการใหญ่ : นายเชาว์พันธู์ พันธ์ทอง

บริษัทกรุงไทย - แอกซ่า ประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 2034/116-117, 136, 138-143 อาคารอิตัลไทยทาวเวอร์ ชั้น 27, 32-33 ถ.เพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ มร.ไมค์ แพล็กซ์ตัน

บริษัทกรุงเทพประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 23/115-121 รอยัลซิตี้อเวนิว ซอยศูนย์วิจัย ถนนพระราม 9 เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ คุณชัย โสภณพนิช

บริษัท บางกอก สหประกันภัย

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 175-177 ถนนสุรวงศ์ เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ ประชัย เลี่ยวไพรัตน์

บริษัทฟีนันซ่า ประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 2032 ถ.เพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขต ห้วย ขวาง กรุงเทพฯ 10310

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ สุนทร บุญสาย

บริษัทไทยประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ ๑๒๓ ถ.รัชดาภิเษก ดินแดง กรุงเทพฯ ๑๐๔๐๐

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ ไชย ไชยวรรณ

บริษัทไทยพาณิชย์นิวยอล์คไลฟ์

 

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 1060 ดินแดง ตัดใหม่ เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายโดนอลด์ คาร์ดี

บริษัทไทยคาร์ดิฟ ประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 31/11,36/59-62 อาคารพีเอสทาวเวอร์ ชั้น G และชั้น 18 ถนนสุขุมวิท 21 คลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

กรรมการผู้จัดการใหญ่ คือ นาย วิญญู ไชยวรรณ

บริษัทไทยรีประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 223/1 ซอยร่วมฤดี ถนนวิทยุ ข.ลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายสุรชัย ศิริวัลลภ

บริษัทไทยสมุทรประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ เลขที่ 170/74-83 อาคารโอเชี่ยนทาวเวอร์ 1 ถนนรัชดาภิเษก เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นางนุสรา บัญญัติปิยพจน์

บริษัทธนชาติประกันชีวิต

 ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 231 อาคารธนชาติประกันชีวิต ถนนราชดำริ แข

บริษัทไทยประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ ๑๒๓ ถ.รัชดาภิเษก ดินแดง กรุงเทพฯ ๑๐๔๐๐

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ ไชย ไชยวรรณ

บริษัท เอเชียประกันภัย 1950 จำกัด

183 อาคารรีเจ้นท์เฮ้าส์ ชั้น 12 ถนนราชดำริ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

โทร : 0-2254-9977 แฟกซ์ : 0-2250-5277

เว็บไซต์ : http://www.aii.co.th/ อีเมล์ : [email protected]

กรรมการผู้จัดการ คือ นายนิค จันทรวิทุร

บริษัท ไอโออิ กรุงเทพ ประกันภัย จำกัด

25 อาคารกรุงเทพประกันภัย / YWCA ชั้น 22 ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120

โทร : 0-2677-3999, 0-2620-8000

แฟกซ์ : 0-2677-3978-79

เว็บไซต์ : http://www.aioibkkins.co.th/ อีเมล์ : [email protected]

กรรมการและประธานเจ้าหน้าที่บริหารนายโนบูฮิโกะ ฟูรูยาม่า

พัฒนพล จารุวงศ์พันธ์

นายพัฒนพล จารุวงศ์พันธ์

รหัส 50473010044

เอก เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

 

บริษัทประกันชีวิต

1.บริษัทกรุงไทย - แอกซ่า ประกันชีวิต

 ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 2034/116-117, 136, 138-143 อาคารอิตัลไทยทาวเวอร์ ชั้น 27, 32-33  ถ.เพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ มร.ไมค์ แพล็กซ์ตัน

2.บริษัทกรุงเทพประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ  23/115-121 รอยัลซิตี้อเวนิว ซอยศูนย์วิจัย ถนนพระราม 9 เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  คุณชัย โสภณพนิช

3. บริษัท บางกอก สหประกันภัย

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 175-177 ถนนสุรวงศ์  เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  ประชัย เลี่ยวไพรัตน์

4. บริษัทฟีนันซ่า ประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 2032 ถ.เพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ   เขต ห้วย ขวาง กรุงเทพฯ 10310

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ สุนทร บุญสาย

5.บริษัทไทยประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ  ๑๒๓ ถ.รัชดาภิเษก ดินแดง กรุงเทพฯ ๑๐๔๐๐

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  ไชย ไชยวรรณ

6.บริษัทไทยพาณิชย์นิวยอล์คไลฟ์ 

 

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ  1060 ดินแดง ตัดใหม่  เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นายโดนอลด์ คาร์ดี

7. บริษัทไทยคาร์ดิฟ ประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ  31/11,36/59-62 อาคารพีเอสทาวเวอร์ ชั้น G และชั้น 18 ถนนสุขุมวิท 21 คลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

กรรมการผู้จัดการใหญ่ คือ  นาย วิญญู ไชยวรรณ

8. บริษัทไทยรีประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ  223/1 ซอยร่วมฤดี ถนนวิทยุ ข.ลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นายสุรชัย ศิริวัลลภ

9.บริษัทไทยสมุทรประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ  เลขที่ 170/74-83 อาคารโอเชี่ยนทาวเวอร์ 1 ถนนรัชดาภิเษก เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นางนุสรา บัญญัติปิยพจน์

10.บริษัทธนชาติประกันชีวิต

 

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ  231 อาคารธนชาติประกันชีวิต ถนนราชดำริ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ ดร.ชาติชัย พาราสุข

11.บริษัทอยุธยา  อลิอัน  ซีพี

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 898 อาคารเพลินจิตทาวเวอร์ ชั้น 2, 6 ถนนเพลินจิต กรุงเทพฯ 10330

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายสตีเฟ่น แอบเปิ้ลยาร์ด

12.บริษัทเจนเนอราลี่  ประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ ชั้น 16 ยูนิต 1602-1605 อาคาร ซีอาร์ซี ทาวเวอร์ ออลซีซั่นส์ เพลส  87/2 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

กรรมการผู้จัดการใหญ่่คือ นายคีธ แอนดรูว์ บรูคส์

13.บริษัทพรูเด็นเชียล  ประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ  82 อาคารแสงทองธานี ชั้น 28, 30-31 ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500.

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายบินายัค ดัตตา

14.บริษัทเมืองไทยประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 250 ถนนรัชดาภิเษก ห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10320

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นายสาระ ล่ำซำ

15.บริษัท เอซ ไลฟ์  แอสชัวรันซ์

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ เลขที่ 130-132 อาคารสินธร ทาวเวอร์ 1 ชั้น 11-12
ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายริชาร์ด แอนดรู สปริงค์์

16.บริษัทแมกซ์ประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 169 สุทธิสาร แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กทม 10400

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นายพีระพงศ์ อุ่นจิตต์

17.บริษัท สยามซัมซุง ประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 2922/240-241 ชั้น 15 อาคารชาญอิสระ 2 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ ห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10320.

ผู้บริหารคือ  นายเยิน ฮี คัง

18.บริษัทสยามประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ  75/72-73 อาคารโอเชี่ยนทาวเวอร์ 2 ชั้น 30 สุขมวิท 19 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110.

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นางรัชนี เองปัญญาเลิศ

19.บริษัทสหประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ คือ เลขที่ 411 อาคาร U Tower ชั้น 4-5 ถ.ศรีนครินทร์ แขวงสวนหลวง กรุงเทพฯ 10250

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นายสหพล สังข์เมฆ

20.บริษัทอาคเนย์ประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญคือ  315 ถนนสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายโชติพัฒน์ พีชานนท์

21.บริษัท แอ๊ดวานซ์ ไลฟ์ แอสชัวรันส์ จำกัด

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ อาคารเพลินจิตเซ็นเตอร์ ชั้น 5 เลขที่ 2 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110.

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นายเชาว์พันธู์ พันธ์ทอง

22.บริษัท ทีพีไอ ประกันชีวิต จำกัด

พัฒนพล จารุวงศ์พันธ์

นาย พัฒนพล จารุวงศ์พันธ์

รหัส 50473010044

เอก เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

เเก้ไขใหม่นะครับ

 

บริษัท ประกันชีวิต

1.บริษัท กรุงไทย - แอกซ่า ประกันชีวิต

 ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 2034/116-117, 136, 138-143 อาคารอิตัลไทยทาวเวอร์ ชั้น 27, 32-33  ถ.เพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ มร.ไมค์ แพล็กซ์ตัน

2.บริษัท กรุงเทพประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ  23/115-121 รอยัลซิตี้อเวนิว ซอยศูนย์วิจัย ถนนพระราม 9 เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  คุณชัย โสภณพนิช

3. บริษัท บางกอก สหประกันภัย

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 175-177 ถนนสุรวงศ์  เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  ประชัย เลี่ยวไพรัตน์

4. บริษัท ฟีนันซ่า ประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 2032 ถ.เพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ   เขต ห้วย ขวาง กรุงเทพฯ 10310

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ สุนทร บุญสาย

5.บริษัท ไทยประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ  ๑๒๓ ถ.รัชดาภิเษก ดินแดง กรุงเทพฯ ๑๐๔๐๐

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  ไชย ไชยวรรณ

6.บริษัท ไทยพาณิชย์นิวยอล์คไลฟ์ 

 

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ  1060 ดินแดง ตัดใหม่  เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นายโดนอลด์ คาร์ดี

7. บริษัท ไทยคาร์ดิฟ ประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ  31/11,36/59-62 อาคารพีเอสทาวเวอร์ ชั้น G และชั้น 18 ถนนสุขุมวิท 21 คลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

กรรมการผู้จัดการใหญ่ คือ  นาย วิญญู ไชยวรรณ

8. บริษัท ไทยรีประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ  223/1 ซอยร่วมฤดี ถนนวิทยุ ข.ลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นายสุรชัย ศิริวัลลภ

9.บริษัท ไทยสมุทรประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ  เลขที่ 170/74-83 อาคารโอเชี่ยนทาวเวอร์ 1 ถนนรัชดาภิเษก เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นางนุสรา บัญญัติปิยพจน์

10.บริษัท ธนชาติประกันชีวิต

 

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ  231 อาคารธนชาติประกันชีวิต ถนนราชดำริ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ ดร.ชาติชัย พาราสุข

11.บริษัทอยุธยา  อลิอัน  ซีพี

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 898 อาคารเพลินจิตทาวเวอร์ ชั้น 2, 6 ถนนเพลินจิต กรุงเทพฯ 10330

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายสตีเฟ่น แอบเปิ้ลยาร์ด

12.บริษัท เจนเนอราลี่  ประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ ชั้น 16 ยูนิต 1602-1605 อาคาร ซีอาร์ซี ทาวเวอร์ ออลซีซั่นส์ เพลส  87/2 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

กรรมการผู้จัดการใหญ่่คือ นายคีธ แอนดรูว์ บรูคส์

13.บริษัท พรูเด็นเชียล  ประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ  82 อาคารแสงทองธานี ชั้น 28, 30-31 ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500.

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายบินายัค ดัตตา

14.บริษัท เมืองไทยประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 250 ถนนรัชดาภิเษก ห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10320

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นายสาระ ล่ำซำ

15.บริษัท เอซ ไลฟ์  แอสชัวรันซ์

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ เลขที่ 130-132 อาคารสินธร ทาวเวอร์ 1 ชั้น 11-12
ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายริชาร์ด แอนดรู สปริงค์์

16.บริษัท แมกซ์ประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 169 สุทธิสาร แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กทม 10400

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นายพีระพงศ์ อุ่นจิตต์

17.บริษัท สยามซัมซุง ประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ 2922/240-241 ชั้น 15 อาคารชาญอิสระ 2 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ ห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10320.

ผู้บริหารคือ  นายเยิน ฮี คัง

18.บริษัท สยามประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่คือ  75/72-73 อาคารโอเชี่ยนทาวเวอร์ 2 ชั้น 30 สุขมวิท 19 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110.

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นางรัชนี เองปัญญาเลิศ

19.บริษัท สหประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ คือ เลขที่ 411 อาคาร U Tower ชั้น 4-5 ถ.ศรีนครินทร์ แขวงสวนหลวง กรุงเทพฯ 10250

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ  นายสหพล สังข์เมฆ

20.บริษัท อาคเนย์ประกันชีวิต

ที่ตั้งสำนักงานใหญคือ  315 ถนนสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500

กรรมการผู้จัดการใหญ่คือ นายโชติพัฒน์ พีชานนท์

21.บริษัท แอ๊ดวานซ์ ไลฟ์ แอสชัวรันส์ จำกัด

ที่ ตั้งสำนักงานใหญ่คือ อาคารเพลินจิตเซ็นเตอร์ ชั้น 5 เลขที่ 2 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110.

กรรมการ ผู้จัดการใหญ่คือ  นายเชาว์พันธู์ พันธ์ทอง

22.บริษัท ทีพีไอ ประกันชีวิต จำกัด

นาย กิตติวิทย์ ตั้งมงคลเลิศ 50473010025 เศรษฐศาสตร์

นายกิตติวิทย์  ตั้งมงคลเลิศ

50473010025  เศรษฐศาสตร์

 

1.บริษัท เจนเนอราลี่ ประกันชีวิต (ไทยแลนด์) จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : กลุ่มครอบครัวตันติพิพัฒน์พงศ์

สถานที่ตั้ง  :  87/2 ยูนิต 1603-5 อาคาร ซีอาร์ซี ทาวเวอร์ ออลซีซั่นส์เพลส ชั้น16 ถนนวิทยุ ข.ลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 1033

2.บริษัท พรูเด็นเชียล ประกันชีวิต (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน)

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : บูรพา  อัตถากร

สถานที่ตั้ง  :82 อาคารแสงทองธานี ชั้น 28, 30-31 ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

3.บริษัท เมืองไทยประกันชีวิต จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : นายโพธิพงษ์ ล่ำซำ

สถานที่ตั้ง  :  250 ถนนรัชดาภิเษก ข.ห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10320

4.บริษัท แมนูไลฟ์ ประกันชีวิต (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน)

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : มร.คริสโตเฟอร์ เตียว

สถานที่ตั้ง  : 364/30 ถนนศรีอยุธยา ข.ถนนพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400

 

5.บริษัท สยามประกันชีวิต จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  :  คุณชิน โสภณพนิช  

สถานที่ตั้ง  :  75/72-73 ซอยสุขุมวิท 19 (วัฒนา) ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110

6.บริษัท สหประกันชีวิต จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : ดร.ศุภชัย ศรีศุภอักษร

สถานที่ตั้ง  : เลขที่ 411 อาคาร U Tower ชั้น 4-5 ถ.ศรีนครินทร์ แขวงสวนหลวง กรุงเทพฯ 10250

7.บริษัท อเมริกันอินเตอร์แนชชั่นแนล แอสชัวรันส์ จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : 

สถานที่ตั้ง  : 181 ถนนสุรวงศ์ ข.บางรัก เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

8.บริษัท อาคเนย์ประกันชีวิต จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : พล.ต.อ.สนอง วัฒนวรางกูร

สถานที่ตั้ง  :  315 ถนนสีลม ข.สีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

9.บริษัท เอซ ไลฟ์ แอสชัวรันซ์ จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : เบรทท์ เอ คลิงเลอร์  

สถานที่ตั้ง  :  169 อาคารธนาคารนครหลวงไทย สาขาสุทธิสาร ชั้น 3-6 ถนนสุทธิสารวินิจฉัย แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กทม.10400

10.บริษัท แอ๊ดวานซ์ ไลฟ์ แอสชัวรันส์ จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : นายริชาร์ด แอนดรู สปริงค์.

สถานที่ตั้ง  :  2 อาคารเพลินจิตเซ็นเตอร์ ชั้น 5 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ

11.บริษัท ไอเอ็นจี ประกันชีวิต จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : นายชี ชอง

สถานที่ตั้ง  :130-132 อาคารสินธร ทาวเวอร์ 3 ชั้น 16 และ ชั้น 29 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

12.บริษัท กมลประกันภัย จำกัด (มหาชน)

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : นายเสรี สุวรรณภานนท์

สถานที่ตั้ง  :  361 ถ.บอนด์สตรีท เมืองทองธานี 3 ต.บางพูด อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี 11120

13.บริษัท กรุงไทยพานิชประกันภัย จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  :  คุณ บุญทรง ศรีเฟื่องฟุ้ง

สถานที่ตั้ง  : 208 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

14.บริษัท กลางคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : ร้อยโทสุชาย  เชาว์วิศิษฐ

สถานที่ตั้ง  :เลขที่ 44/1 อาคารรุ่งโรจน์ธนกุล ชั้น 11 ถนนรัชดาภิเษก
แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310

15.บริษัท คอมไบด์ อินชัวรันส์ (ประเทศไทย) จำกัด 

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : ไบรอัน มัลลานี  

สถานที่ตั้ง  :587 ชั้น 18-19 อาคารวิริยะถาวร ถนนสุทธิสารวินิจฉัย ข.ดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400

16.บริษัท คูเนีย ประกันภัย (ประเทศไทย) จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : นายพงศ์ทวี ก้าวสัมพันธ์

สถานที่ตั้ง  : 195 อาคารเอ็มไพร์ทาวเวอร์ ชั้น 39 ถนนสาทรใต้ เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร 10120

17.บริษัท จรัญประกันภัย จำกัด (มหาชน)

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : นายโสภณ กล้วยไม้ ณ อยุธยา

สถานที่ตั้ง  :อาคารจรัญประกันภัย เลขที่ 401 ถนนรัชดาภิเษก แขวงสามเสนนอก เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310

18.บริษัท เจ้าพระยาประกันภัย จำกัด (มหาชน)

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : นายชำนาญ เมธปรีชากุล

สถานที่ตั้ง  :3675 อาคารกรุงไทยแทรคเตอร์ ถนนพระราม 4 แขวงพระโขนง เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110

19.บริษัท มิตรแท้ประกันภัย จำกัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่  : คุณสุขเทพ จันทร์ศรีชวาลา

สถานที่ตั้ง  :295 ถนนสี่พระยา แขวงสี่พระยา เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

นางสาวรัชนีกร นิยมทัศน์

การวิเคราะห์ SWOT ของบริษัทปตท.สำรวจและผลิตปิโตรเลียม

แหล่งเจาะที่สำรวจและผลิตในปัจจุบัน ปัจจุบัน PTTEP มีปริมาณปิโตรเลียมที่มีการพิสูจน์แล้ว 778 ล้านบาร์เรล แหล่งเจาะที่ทำรายได้หลักมาจากแหล่งบงกช และไพลิน ซึ่งในอีก 2-3 ปี โครงการจาก ยาดานา และอาทิตย์จะเป็นโครงการที่สร้างรายได้ดี ปตท.สผ. ก็ยังเพิ่มโอกาสการลงทุนในแหล่งเจาะต่างประเทศ ในเวียดนาม และกำลังศึกษาความเป็นไปได้ที่อินโดนีเซีย อิหร่าน และโอมาน

จุดแข็ง PTTEP เป็นบริษัทที่ถือว่าไม่มีคู่แข่ง เพราะได้อภิสิทธิ์จากรัฐเข้าไปร่วมสำรวจและผลิต ตามโครงการต่างๆ และหลังจากผลิตก็ขายให้กับผู้รับซื้อรายเดียว คือ ปตท. โดยการซื้อขายถูกระบุในสัญญาซื้อขายระยะยาว โดยราคาก๊าซจะถูกปรับทุก 6 หรือ 12 เดือน สัญญา Take 22 day เป็นการผูกขาดการรับซื้อจากปตท. ดังนั้นธุรกิจประเภทนี้จึงเป็นธุรกิจที่มีโอกาสล้มน้อย ปัจจุบันบริษัทมีสถานะการเงินที่แข็งแกร่งเมื่อเทียบกับหลายบริษัทในปัจจุบัน

จุดอ่อน ธุรกิจสำรวจและผลิตปิโตรเลียมเป็นธุรกิจที่ต้องลงทุนสูง และมีความเสี่ยงสูงกับการไม่พบทรัพยากรอย่างที่คาด ความเชี่ยวชาญของเทคโนโลยีเป็นสิ่งสำคัญ ซึ่ง PTTEP ปัจจุบันอาศัยเทคโนโลยีจากบริษัทร่วมอยู่มากในการเข้าสำรวจและเจาะ การต้องพึ่งผู้อื่นนี้เองถือว่าเป็นจุดอ่อน การที่มีสินค้าหลักเพียงชนิดเดียวคือ ก๊าซธรรมชาติก็ทำให้บริษัทมีข้อจำกัดในการขยายตลาด ก๊าซเป็นเชื้อเพลิงที่ขนถ่ายได้ยากต้องใช้ท่อก๊าซซึ่งต้องใช้เงินลงทุนสูงและมีชนิดของลูกค้าที่จำกัด

โอกาส ด้วยเทคโนโลยีใหม่ๆ ในการสำรวจและผลิต โอกาสที่ปตท.สผ. จะสามารถขุดเจาะแหล่งก๊าซหรือนํ้ามันที่อดีตอาจจะไม่คุ้มทุน เป็นไปได้มากขึ้น การพัฒนาประสิทธิภาพของเครื่องจักรยังมีโอกาสที่จะลดต้นทุนการผลิตอีกด้วย การลงทุนในประเทศเพื่อนบ้านหรือต่างประเทศที่มีภูมิศาสตร์คล้ายกับประเทศไทย ยังเพิ่มโอกาสให้กับ PTTEP ได้อีกในอนาคต การลงทุนในอินโดฯ หรืออิหร่าน ก็หวังเพื่อจะเพิ่มปริมาณสำรองในส่วนของนํ้ามันดิบ

อุปสรรค การลงทุนในประเทศเพื่อนบ้าน อาทิเช่น พม่า เวียดนาม มาเลเซีย บริษัทจำต้องเผชิญกับความเสี่ยงทางการเมืองของประเทศดังกล่าว โดยเฉพาะการที่ท่อก๊าซต้องพาดผ่านประเทศเพื่อนบ้าน ปัญหาจากกลุ่มอนุรักษ์ธรรมชาติ และความเสี่ยงในเรื่องภัยธรรมชาติ เนื่องจากแท่นเจาะจำนวนมากอยู่กลางทะเลและท่อก๊าซเองก็พาดผ่านในทะเลลึกความเสียหายใดๆ จะส่งผลร้ายต่อรายได้อย่างสูง

นางสาวรัชนีกร นิยมทัศน์ .... 50473010006

โปรแกรมวิชาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

 ...................................................................

การวิเคราะห์ SWOT ของบริษัทปตท.สำรวจและผลิตปิโตรเลียม

แหล่งเจาะที่สำรวจและผลิตในปัจจุบัน ปัจจุบัน PTTEP มีปริมาณปิโตรเลียมที่มีการพิสูจน์แล้ว 778 ล้านบาร์เรล แหล่งเจาะที่ทำรายได้หลักมาจากแหล่งบงกช และไพลิน ซึ่งในอีก 2-3 ปี โครงการจาก ยาดานา และอาทิตย์จะเป็นโครงการที่สร้างรายได้ดี ปตท.สผ. ก็ยังเพิ่มโอกาสการลงทุนในแหล่งเจาะต่างประเทศ ในเวียดนาม และกำลังศึกษาความเป็นไปได้ที่อินโดนีเซีย อิหร่าน และโอมาน

จุดแข็ง PTTEP เป็นบริษัทที่ถือว่าไม่มีคู่แข่ง เพราะได้อภิสิทธิ์จากรัฐเข้าไปร่วมสำรวจและผลิต ตามโครงการต่างๆ และหลังจากผลิตก็ขายให้กับผู้รับซื้อรายเดียว คือ ปตท. โดยการซื้อขายถูกระบุในสัญญาซื้อขายระยะยาว โดยราคาก๊าซจะถูกปรับทุก 6 หรือ 12 เดือน สัญญา Take 22 day เป็นการผูกขาดการรับซื้อจากปตท. ดังนั้นธุรกิจประเภทนี้จึงเป็นธุรกิจที่มีโอกาสล้มน้อย ปัจจุบันบริษัทมีสถานะการเงินที่แข็งแกร่งเมื่อเทียบกับหลายบริษัทในปัจจุบัน

จุดอ่อน ธุรกิจสำรวจและผลิตปิโตรเลียมเป็นธุรกิจที่ต้องลงทุนสูง และมีความเสี่ยงสูงกับการไม่พบทรัพยากรอย่างที่คาด ความเชี่ยวชาญของเทคโนโลยีเป็นสิ่งสำคัญ ซึ่ง PTTEP ปัจจุบันอาศัยเทคโนโลยีจากบริษัทร่วมอยู่มากในการเข้าสำรวจและเจาะ การต้องพึ่งผู้อื่นนี้เองถือว่าเป็นจุดอ่อน การที่มีสินค้าหลักเพียงชนิดเดียวคือ ก๊าซธรรมชาติก็ทำให้บริษัทมีข้อจำกัดในการขยายตลาด ก๊าซเป็นเชื้อเพลิงที่ขนถ่ายได้ยากต้องใช้ท่อก๊าซซึ่งต้องใช้เงินลงทุนสูงและมีชนิดของลูกค้าที่จำกัด

โอกาส ด้วยเทคโนโลยีใหม่ๆ ในการสำรวจและผลิต โอกาสที่ปตท.สผ. จะสามารถขุดเจาะแหล่งก๊าซหรือนํ้ามันที่อดีตอาจจะไม่คุ้มทุน เป็นไปได้มากขึ้น การพัฒนาประสิทธิภาพของเครื่องจักรยังมีโอกาสที่จะลดต้นทุนการผลิตอีกด้วย การลงทุนในประเทศเพื่อนบ้านหรือต่างประเทศที่มีภูมิศาสตร์คล้ายกับประเทศไทย ยังเพิ่มโอกาสให้กับ PTTEP ได้อีกในอนาคต การลงทุนในอินโดฯ หรืออิหร่าน ก็หวังเพื่อจะเพิ่มปริมาณสำรองในส่วนของนํ้ามันดิบ

อุปสรรค การลงทุนในประเทศเพื่อนบ้าน อาทิเช่น พม่า เวียดนาม มาเลเซีย บริษัทจำต้องเผชิญกับความเสี่ยงทางการเมืองของประเทศดังกล่าว โดยเฉพาะการที่ท่อก๊าซต้องพาดผ่านประเทศเพื่อนบ้าน ปัญหาจากกลุ่มอนุรักษ์ธรรมชาติ และความเสี่ยงในเรื่องภัยธรรมชาติ เนื่องจากแท่นเจาะจำนวนมากอยู่กลางทะเลและท่อก๊าซเองก็พาดผ่านในทะเลลึกความเสียหายใดๆ จะส่งผลร้ายต่อรายได้อย่างสูง

...........................................................................................

 

 

 

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท