hunnnoi
นาย อับดุลฮันนาน มาหะมะ

สาระ ภาษาอาหรับ


วิชาภาษาอาหรับ

สาระการเรียนรู้ ภาษาอาหรับ

มาตรฐาน   1     รู้และเข้าใจกระบวนการฟัง พูด อ่าน และเขียน มีทักษะและเห็นคุณค่าในการใช้ภาษาอาหรับเพื่อการเรียนรู้  สื่อความหมาย ค้นคว้าบทบัญญัติ ของศาสนาอิสลามอย่างสร้างสรรค์และมีประสิทธิภาพ

ระดับชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้

. 1

1. ออกเสียงและประสมพยัญชนะ สระ

2. อ่าน เขียนและบอกความหมายของคำ วลีที่กำหนด

3. สนทนาโดยใช้ประโยคสั้น ๆ ที่กำหนด

 

 

-  พยัญชนะอาหรับ 28 อักษร

-  สระในภาษาอาหรับ

- การประสมพยัญชนะและสระ

-  จำนวนเลข 0 – 10, 10, 20, 30, 40 และ 50

-  คำศัพท์เกี่ยวกับอวัยวะของร่างกาย เช่น

عينٌ، رأسٌ، أذنٌ، أنف، فم، رجل، يد، شعر

-  ประโยคสนทนาสั้นๆ เกี่ยวกับการทักทาย  เช่น

السلام عليكم؟ (وعليكم السلام ورحمة الله )

كيف حالك؟ (أنا بخير، والحمدلله)

صباح الخير (صباح النور)

. 2

1. ออกเสียงและสะกดคำ

2. อ่าน เขียนและบอกความหมายของคำที่กำหนด

3. สนทนาโดยใช้ประโยคสั้น ๆ ที่กำหนด

 

 

 

-  การสะกดคำ

-  วันในรอบสัปดาห์

-  จำนวนนับ 11-20,60,70, 80, 90 และ100

-  กลุ่มคำนามเกี่ยวกับสิ่งของใกล้ตัว เช่น

بيت، سرير، دلاب، تلفاز، ساعة، مخدة

-  กลุ่มคำนามเกี่ยวกับสัตว์ เช่น

بط، دجاج، سمك، كلب، حصان، قط

- กลุ่มคำกริยาพื้นฐานที่ใช้ในชีวิตประจำวัน เช่น   مشى، ذهب، جاء، قام، جلس

-  คำบุพบทบางคำ เช่นفوق، تحت، إلى، عن  

-  ประโยคสนทนาสั้นๆ เช่น  คำว่า

 ما هذا/ هذه ؟

. 3

1. ออกเสียงและสะกดคำ

2. อ่าน เขียนและบอกความหมายของคำที่กำหนด

3. สนทนาโดยใช้ประโยคสั้น ๆ ที่กำหนด

4. มีมารยาทในการฟังและพูด

 

 

-  เดือนในรอบปี   (الشهور في السنة)

-  จำนวนนับ 21-30,  100,  200,  300,  400  และ 500

-  คำศัพท์เกี่ยวกับบุคคลต่างๆ

           -   ในครอบครัว เช่น

أب، أم، أخ، أخت، جد، جدة                

           -   ในอาชีพต่างๆ เช่น

مدرس، جندي، شرطة، مهندس، طالب، طالبة

- คำศัพท์เกี่ยวกับคำกิริยา أحب / أعمل

- การสนทนาโต้ตอบโดยใช้ประโยคสนทนาสั้นๆ โดยใช้คำถาม  เช่น                 أين / مَن 

أين أستاذ مجمد؟

من هذا/ هذه ؟

- มารยาทในการฟังและพูด

.  4

1. ออกเสียงและสะกดคำ

2. อ่าน เขียนและบอกความหมายของคำที่กำหนด

3. สนทนาโดยใช้ประโยคสั้น ๆ ที่กำหนด

 

 

-  จำนวนนับ 31 – 40,  500,  600,  700,  800,  900 และ 1,000

-  สีต่างๆ เช่น أحمر، أبيض، أصفر، أزرق    

-  ประเภทของคำ ได้แก่คำนาม กริยา บุพบท

-  คำศัพท์เกี่ยวกับลักษณะนาม

-  คำศัพท์เกี่ยวกับโรงเรียนและสื่อการเรียนรู้ภายในโรงเรียน เช่น

مدرسة، مكتبة، ملعب، طاولة، كرسي، سبورة

-  กลุ่มคำกริยา เช่น

قرأ، تكلم، سمع، شهد، كتب، رسم         

-  การสนทนาเกี่ยวกับเรื่องภายในโรงเรียน

-  ประโยคสนทนาสั้นๆ โดยใช้คำถาม  เช่น

                               كيف   /  إلى أين 

كيف تذهب إلى المدرسة؟

 إلى أين تذهب؟

. 5

1. ออกเสียงและสะกดคำ

2. อ่าน เขียนและบอกความหมายของคำและประโยคที่กำหนด

3. สนทนาโดยใช้ประโยคสั้น ๆ ที่กำหนด

4.  มีมารยาทในการฟัง พูด อ่าน และเขียน

-  จำนวนนับ 41-50,  1,000,  2,000,  3,000, 4,000,  5,000,  6,000,  7,000,  8,000,  9,000 และ 10,000

- โครงสร้างของประโยคที่ขึ้นต้นด้วยคำนาม (الجملة الاسمية)

-  คำศัพท์ตรงกันข้าม เช่น

قصير-طويل، ثقيل-خفيف، فوق-تحت        

-  คำศัพท์เกี่ยวกับสถานที่ต่างๆ เช่น

مدرسة، مكتبة، جامعة، مستشفى، فندق،مسجد

-  การสนทนาโต้ตอบเกี่ยวกับสถานที่ต่าง ๆ  โดยใช้คำถาม  لماذا     /    ماذا  เช่น

لماذا تذهب إلى المدرسة؟        

ماذا تفعل في   المسجد؟

- มารยาทในการฟัง พูด อ่าน และเขียน

. 6

1. ออกเสียงและสะกดคำ

2. อ่าน เขียนและบอกความหมายของคำและประโยคที่กำหนด

3. สนทนาโดยใช้ประโยคสั้น ๆ ที่กำหนด

 

 

-  จำนวนนับ 50 -100, 1,000, 10,000, 100,000  และ 1,000,000

-  โครงสร้างของประโยคที่ขึ้นต้นด้วยคำกริยา

     (الجملة الفعلية)

-  คำศัพท์เกี่ยวกับผักและผลไม้ต่างๆ เช่น

طماطم، بصل، ليمون، بطاطس، برتقال، رمان، عنب، بطيخ، تفاح، أبوشعر

-  คำศัพท์เกี่ยวกับตลาด เช่น

بائع، مشتري، نقود، سوق، سعر، ميزان

-  คำศัพท์กริยา เช่น

اشترى، باع، أجر، أراد، وزن، كيل

-  คำศัพท์ตรงกันข้าม เช่น

بعيد-قريب، برودة-حرارة، جديد-قديم، رخيص-غالي، خير-شر

 -  เวลาประจำวัน (24 ชั่วโมง)

الساعة الواحدة مساءً

الساعة الثامنة صباحاً

-  การสนทนาโต้ตอบเกี่ยวกับเรื่องการซื้อ-ขายสินค้าในตลาดโดยใช้ คำถามكم   / هل เช่น

   سعراً اشتريتَ هذا التفاح؟ كم

تريد هذا التفاح؟  هل

. 1

 

1. อ่าน  เขียน จับใจความสำคัญและสรุปเนื้อหาจากข้อความ/บทสนทนา

2. สนทนา โต้ตอบและบอกความหมายคำศัพท์

3.  จำแนกประเภทของคำ  คำนาม คำกริยา และคำบุพบท

4. แสดงความคิดเห็น เห็นประโยชน์และเลือกใช้ภาษาจากการฟัง พูด อ่าน ในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม

5. มีมารยาทในการฟัง พูด อ่าน และเขียน

ข้อความ /บทสนทนา

-  ปีการศึกษาใหม่(السنة الدراسية الجديدة)

-  ครอบครัวของฉัน   (أسرتي)

-  โรงเรียนของเรา   (مدرستنا)

-  ตลาดนัดในชุมชน(السوق المركزي)

-มุฮัมมัดนบีของเรา(نبينا محمد صلى الله عليه وسلم  )

-  ความสัจจริง(الصدق)

- มารยาทในการฟัง พูด อ่าน และเขียน

คำศัพท์

-                    الأَيَّامُ في  الأسبوع/في المدرسة (غرفة المدير / مختبر الكمبيوتر / القاعة / لوحة الإعلان / المحاضر /  ....

-                     /أفراد الأسرة/التلميذ وما يتعلق به

-   نظيف / مهذب /الواحب المنزلي

-   مجموعة أفعال المضارع في المطالعات والمحادثات ...

-   شهور إسلامية/الأماكن والمرافق في المدرسة والسوق

-   أنواع الأسماك/أنواع الخضروات/أنواع الملابس

-   أتواع المأكولات والمشروبات

วลี / ประโยค

ـ    - أهلا بكم بِـ  - الآن نحن في السنة . /- هل عندك ..

- نعم، عندي ..- لا، ما عندي .. /هيا بسرعة ... (يا أصدقائي) /حسنا، أنا أوافق على رأيك/جزاك الله خيرا

-     لا شكرَ على الواجب/مع السلامة /في أمان الله /وإلى اللقاء

-   لها .... (أخوان) /اسم  أبيه.... (عمر)

-   اسم أبيها .... (محمد) / أمه اسمها  ...(فاطمة)

-     أمها اسمها... (زينب) /أحب أبي، لأنه ...

-   أحب أمي لأنها ... /بعد ذلك .... /لو سمحت ...

-   من فضلك، أريد ... /كم ثمن ... (لكيلو)

-   كم سعر ... /... أرخص من ... /... أغلى من ...

-   كم مقياس .. /اخفض قليلا/هذا غالٍ جداً

หลักไวยากรณ์

الكلمة وأنواعها/ الاسم و أنواعه/ الفعل و أنواعه

 الحرف (من، إلى، على، بِـ، عن) /المذكر والمؤنث

أسماء الإشارة (هذا، هذه، ذلك، تلك)

 المفرد و المثنى و الجمع

. 2

 

1. อ่าน  เขียน จับใจความสำคัญและสรุปเนื้อหาจากข้อความ/บทสนทนา

2. สนทนา โต้ตอบและบอกความหมายคำศัพท์

3.  จำแนกประเภทของคำนาม คำกริยา คำบุพบท และประโยค

4. แสดงความคิดเห็น เห็นประโยชน์และเลือกใช้ภาษาจากการฟัง พูด อ่าน ในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม

 

ข้อความ /บทสนทนา

 - หมู่บ้านของเราน่าอยู่(قريتنا جميلة)

-  เรียนรู้มัคลูกของอัลลอฮฺ       ที่สวนสัตว์

(دراسة مخلوقات الله في حديقة الحيوان)

- อาหารที่หะลาลและสะอาด

(الطعام حلال ونظيف)

- อุปกรณ์การเรียนของฉัน(أدواتي المدرسية)

- มิตรภาพในอิสลาม(الأصدقاء في الإسلام)

-   ประวัตินบีอิบรอฮีม(سيرة خليل الله إبراهيم)

คำศัพท์

-كلمات تتعلق بالموضوع

-                                 مجموعة أفعال المضارع في المطالعات والمحادثات مثل:  يلعب / يطبخ / يكنس / ينظف / يغتسل / يلبس / يتناول / يراجع / يحضر / يزور/يساعد/ تمنى ...

كلمات أخرى تتعلق بالهوايات والأماكن

-   أنواع البيوت: بيت قروي/ بيت بنجلو/ بيوت متلاحقة/ أجزاء البيوت؛ سلم /نافذة/ باب/ جدار/ سقف/ حمام/ غرف/ رفوف/ مطبخ/ صالة

  วลี / ประโยค

-   سأزورك في ...(العطلة) /سأنطلق إلى ....

-أرجوك أن ..(تنتظرني) /هيا لنسرع .. /

-بعد العودة من .... /وصل إلى ... /انطلق من ....

หลักไวยากรณ์

أنواع الاسم/ (المصدر واسم الفاعل واسم المفعول واسم المكان واسم الزمان واسم الآلة والأسماء الموصولة و الضمائر) /أنواع الفعل (الماضى والمضارع والأمر)

المبني من الأسماء والأفعال/الماضي وتصريفه

المضارع وتصريفه/الأمر وتصريفه

أنواع الحروف (الواو / الفاء/ثم) /الجملة وأنواعها

الجملة الاسمية/الجملة الفعلية                         

. 3

 

1. อ่าน  เขียน จับใจความสำคัญและสรุปเนื้อหาจากข้อความ/บทสนทนา

2. สนทนา โต้ตอบและบอกความหมายคำศัพท์

3. วิเคราะห์ชนิดของคำนาม คำกริยา และการทำหน้าที่ของคำในประโยค

4. แสดงความคิดเห็น เห็นประโยชน์และเลือกใช้ภาษาจากการฟัง พูด อ่าน ในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม

5. มีมารยาทในการฟัง พูด อ่าน และเขียน

ข้อความ /บทสนทนา

- นักเรียนดีเด่น(الطالب مثالي)

- ความฝันของฉัน(أحلامي)

- งานอดิเรก(هواية)

- โรงพยาบาล(مستشفى)

- การตะวักกุลต่ออัลลอฮฺ(التوكل إلى الله)

- ประเทศของเรา(بلادنا)

- ประวัตินบีมูซา(سيرة موسى عليه السلام)

คำศัพท์

-كلمات تتعلق بالوظائف / التلميذ وما يتعلق به

-   مجموعة أفعال المضارع في المطالعات والمحادثات مثل:  أحب / أتمنى / أعالج/ أتعلم ...

-كلمات تتعلق بالمرض

-كلمات أخرى تتعلق بالجغرافي والبلدان

الأماكن والمرافق العامة: مستشفى/ مستوصف/ عيادة / الصيدلة/ موقف الحافلات ومحطتها/ المطار الدولي/ محطة القطار/كلمات أخرى: العاصمة / منتجات تقليدية / مهرجانات / جسر / المقاطع ...

วลี / ประโยค

 ليس له   ….(لها/لك) /.... ما عنده ....

ليس لديه ... (مهارة) / أبي لديه .. (طريقة رائعة)

لأبي .. (طريقة جميلة)

หลักไวยากรณ์

جملة الاسمية  / الجملة الفعلية  / المبتدأ والخبر

الفاعل ونائبه/ المفعول به/اسم التفضيل(.أفعل من ..) / الضمائر وأقسامها / الجمع وأقسامه

ظرف الزمان و المكان /  النعت

. 4-6

 

1. อ่าน  เขียน จับใจความสำคัญและสรุปเนื้อหาจากเรื่องสั้นและบทสนทนา

2. สนทนา โต้ตอบและบอกความหมายคำศัพท์

3. อ่านและเขียนจดหมายโต้ตอบ

4. วิเคราะห์โครงสร้างประโยคต่างๆ

5. วิจารณ์ แสดงความคิดเห็น เห็นคุณค่าและเลือกใช้ภาษาในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม

 

ข้อความ /บทสนทนา

- ศูนย์การค้า(المركز التجاري)

- โรงแรม(فندق)

- สำนักงาน(مكتب)

- เดือนรอมฎอน(شهر رمضان)

- วันอีด(يوم العيد)

- สนามกีฬา(ملعب)

- ความรู้สึก(الشعورية)

- ประวัตินบีอีซา(سيرة عيسى عليه السلام)

- การเขียนจดหมาย (كتابة الرسالة)

คำศัพท์

-كلمات تتعلق بالرياضة والشعور والعواطف

-مجموعة الأفعال والأسماء في المطالعات والمحادثات :

วลี / ประโยค

يجوز لي ... (الكلام) / يجوز لي أن .... (أقرأ)

يمكنني ... (السؤال) / يمكن أن ... (أدخل)

  • ·            استعمال: لأنّ / كأنّ / لكنّ / مع أنّ  مثل:

أنا أفهم تفسير سورة الفاتحة لأنّي أفهم العربيّة جيّدا

هو لا يفهم ما يقرأ فى صلاته مع أنّه مسلم، ولكنّه لا يريد أن يفهم العربية

هو يقرأ القرآن جيّدا كأنه يفهم ما يقرأ

หลักไวยากรณ์

(كان وأخواتها) / (إن وأخواتها) / المفعول المطلق

 والمفعول فيه  والمفعول لإجله والمفعول معه/ عدد ومعدود

/ حال  / النداء / الاستثناء / نسب / تمييز

. 4-6

 

1. อ่าน  เขียน จับใจความสำคัญและสรุปเนื้อหาจากเรื่องสั้นและบทสนทนา

2. สนทนา โต้ตอบและบอกความหมายคำศัพท์

3. อ่านและเขียนเรียงความ

4. วิเคราะห์โครงสร้างประโยคต่างๆ

5. วิจารณ์ แสดงความคิดเห็น เห็นคุณค่าและเลือกใช้ภาษาในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม

 

ข้อความ /บทสนทนา

- ความสามัคคี(الاتحاد والتعاون)

- เพื่อนบ้าน(جار)

-  ห้องครัว(مطبخ)

- ความซื่อสัตย์(الأمين)

- การบริจาคทาน(الصدقة)

- ชีวิตประจำวัน(الحياة اليومية)

- ทวีปของเรา(قارتنا)

- ประวัตินบีนูหฺ(سيرة نوح عليه السلام)

คำศัพท์

-كلمات تتعلق بالموضوع

-مجموعة الأفعال والأسماء  في المطالعات والمحادثات :

วลี / ประโยค

  • ·            استعمال: لا بد/ منذ ، منذ أن / حيثما/ بينما:

مثل:لابدّ لي أن ... (أفهم) / منذ ... (هذا  اليوم)

منذ أن ... (عرفتُ) / حينما كنت ... (فى فطاني)

بينما كنت ... (أمام البيت)

หลักไวยากรณ์

المرفوعات / المنصوبات  / المجرورات / المجزومات / التوابع

/ صيغة منتهى الجموع / التصغير/ العطف

. 4-6

 

1. อ่าน  เขียน จับใจความสำคัญและสรุปเนื้อหาจากเรื่องและบทสนทนา

2. สนทนา โต้ตอบและบอกความหมายคำศัพท์

3. อ่านและเขียนเรื่องสั้น

4. วิเคราะห์โครงสร้างประโยคต่างๆ

5. วิจารณ์ แสดงความคิดเห็น เห็นคุณค่าและเลือกใช้ภาษาในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม

6. มีมารยาทในการฟัง พูด อ่าน เขียน และวิจารณ์

ข้อความ /บทสนทนา

- อัร-กานุลอิสลาม(أركان الإسلام)

- อัร-กานุลอีมาน(أركان الإيمان)

- อัล-อิหฺสาน(الإحسان)

- การแต่งงาน(النكاح)

- การเยี่ยมเยียน(الزيارة)

- อวัยวะภายในร่างกายของฉัน

(أعضاء جسمي الداخلية)

- ห้องสมุด(مكتبة)

- ร้านเสื้อผ้า(محل الملابس)

- โลกของเรา(عالمنا)

- มารยาทในการฟัง พูด อ่าน เขียน และวิจารณ์

คำศัพท์

-كلمات تتعلق بالموضوع

-مجموعة الأفعال والأسماء  في المطالعات والمحادثات :

วลี / ประโยค

  • ·      استعمال: لا يجوز/ بدون/ بغير :مثل:

لا يجوز لنا أن نخرج من الفصل بدون الإذن من الأستاذ

لا يمكنني أن أفهم العربية بالسرعة بدون التعلّم

فكل من بغير علم ...

لابدّ لنا أن ننطق العربية بيننا بدون حياء ودون خوف

หลักไวยากรณ์

أسلوب المدح/الذم/   أسلوب التعجب/أسلوب الإغراء والتحذير/صيغ المبالغة/أسلوب التوكيد/بدل/         الأسماء الخمسة  /     الأفعال الخمسة

 

หมายเลขบันทึก: 363405เขียนเมื่อ 3 มิถุนายน 2010 10:17 น. ()แก้ไขเมื่อ 23 มิถุนายน 2012 16:13 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (3)

เอาพวกคำต่างๆมามั่ง เช่ล นาม กริยา

เป็นข้อมูลที่ดีและอยากได้ข้อมูลใหม่ๆอีกวัสลาม

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท