hunnnoi
นาย อับดุลฮันนาน มาหะมะ

สาระ อัลหะดีษ(วจนะศาสดา)


วิชาอัลหะดีษ

สาระการเรียนรู้อัลหะดีษ 

มาตรฐาน 1      เข้าใจ ความหมาย ความสำคัญ หลักการ หลักคำสอน ท่องจำอัล-หะดีษ  ยึดมั่นและนำไปปฏิบัติในการดำเนินชีวิต

ระดับชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้

ป. 1

1. อ่านและบอกความหมายของอัล-หะดีษที่กำหนด

2. เห็นความสำคัญและปฏิบัติตนตามคำสอนของอัล-หะดีษที่กำหนด

 ความหมายและคำสอนจากอัล-หะดีษ

   - การกล่าวและการตอบรับสลาม

   - ความสะอาด

   - การกินการดื่ม

ป. 2

1.อ่านและบอกความหมายของอัล-หะดี

   ที่กำหนด

2. เห็นความสำคัญและปฏิบัติตนตาม     คำสอนของอัล-หะดีษที่กำหนด

ความหมายและคำสอนจากอัล-หะดีษ

   - การศึกษา

   - ความพึงพอใจของพ่อแม่

   - การแต่งกาย

ป. 3

1. อ่านและบอกความหมายของอัล-หะดีษที่กำหนด

2. เห็นความสำคัญและปฏิบัติตนตาม     คำสอนของอัล-หะดีษที่กำหนด

1. คำนิยาม ความสำคัญของอัล-หะดีษ

2. ความหมายและคำสอนจากอัล-หะดีษ

   - ลูกที่ดี  

   - มารยาทที่ดี 

   - การรับประทานอาหาร

ป. 4

1. อ่านและท่องจำอัล-หะดีษที่กำหนด

2. สรุปความหมาย  ความสำคัญของอัล-หะดีษที่กำหนด

3.  เห็นประโยชน์และปฏิบัติตนตาม   หลักคำสอนจากอัล-หะดีษที่กำหนด

1  ความแตกต่างระหว่างอัล-หะดีษกับอัล-กุรฺอาน 

2. ความหมาย ความสำคัญและคำสอนจากอัล-หะดีษ

   - ความชื่อสัตย์

   - ความอดทน

   - อะมานะฮฺ

ป. 5

1. อ่านและท่องจำอัล-หะดีษที่กำหนด

2. บอกและสรุปความหมายความสำคัญของอัล-หะดีษที่กำหนด

3. เห็นประโยชน์และปฏิบัติตนตาม    หลักคำสอนจากอัล-หะดีษที่กำหนด

1. ความหมาย ความสำคัญและคำสอนจากอัล-หะดีษ

   - การให้อภัย

   -โอบอ้อมอารี

   - ความเสียสละ ใจบุญ

 

ป. 6

1. อ่านและท่องจำอัล-หะดีษที่กำหนด

2. สรุปความหมาย ความสำคัญและคำสอน ของอัล-หะดีษที่กำหนด

3. เห็นประโยชน์และปฏิบัติตนในสถานการณ์ต่าง ๆ ตาม หลักคำสอนจากอัล-หะดีษที่กำหนดได้อย่างเหมาะสม

1. ความหมาย  ความสำคัญและคำสอนจาก

    อัล-หะดีษ

    -อีมาน อิสลาม อิหฺสาน (หะดีษญิบรีล)

   - เพื่อนบ้าน

   - การบริจาคทาน

   - การพึ่งตนเอง

 

ม. 1

1. ท่องจำอัล-หะดีษที่กำหนดพร้อมบอกผู้รายงาน  และผู้บันทึก

2. สรุปความหมาย ความสำคัญและคำสอนของอัล-หะดีษที่กำหนด

3. เห็นคุณค่า และปฏิบัติตนในสถานการณ์ต่าง ๆ ตาม หลักคำสอนจากอัล-หะดีษที่กำหนดได้อย่างเหมาะสม

 

ความหมาย ความสำคัญและคำสอนจาก

อัล-หะดีษพร้อมผู้รายงาน  และผู้บันทึก

-  การเนียต

-  การกำหนดมนุษย์ 

-  อุตริกรรมในอิสลาม

-  สิ่งที่เป็นคลุมเคลือ   

-  การตักเตือน

-  การต่อสู้ในอิสลาม

-  หะรอมและฮาลาล

-  เอาในสิ่งที่ชัดเจนกว่า

-  แยกแยะระหว่างความดีและความชั่ว

- การสมานฉันท์ ความเป็นพี่น้องกัน

- เลือกในสิ่งที่ดีและฮาลาล

ม. 2

1. ท่องจำอัล-หะดีษที่กำหนดพร้อมบอกผู้รายงาน  และผู้บันทึก

2. สรุปความหมาย ความสำคัญและคำสอนของอัล-หะดีษที่กำหนด

3. เห็นคุณค่า และปฏิบัติตนในสถานการณ์ต่าง ๆ ตาม หลักคำสอนจากอัล-หะดีษที่กำหนดได้อย่างเหมาะสม

 

ความหมายความสำคัญและคำสอนจาก

อัล-หะดีษ พร้อมผู้รายงาน  และผู้บันทึก

- การศรัทธาต่ออัลลอฮฺและวันกียามะฮฺ

- การทำความดี

- ความยำเกรง

-  อัลลอฮฺเป็นผู้กำหนด

- ความละอาย

- สั่งสอนของท่านนบี

- จงทำความดีและละทิ้งความชั่ว

- อัลลอฮฺผู้ยิ่งใหญ่

-  การอภัยโทษ

-  ผลตอบแทนจากอัลลอฮฺ

- การบริจาค

- ความเอื้ออาทร

- ผลบุญและบาป

ม. 3

1. ท่องจำอัล-หะดีษที่กำหนดพร้อมบอกผู้รายงาน  และผู้บันทึก

2. สรุปความหมาย ความสำคัญและคำสอนของอัล-หะดีษที่กำหนด

3. เห็นคุณค่า และปฏิบัติตนในสถานการณ์ต่าง ๆ ตาม หลักคำสอนจากอัล-หะดีษที่กำหนดได้อย่างเหมาะสม

 

ความหมายความสำคัญและคำสอนจาก

 อัล-หะดีษ พร้อมผู้รายงาน  และผู้บันทึก

-  ทางเลือกที่ดี

- สิ่งที่เป็นของมุสลิมต่อคนอื่น

- การอยู่ในสังคม

-  ความช่วยเหลือจากอัลลอฮฺ

- คุณค่าของความดีและความชั่ว

 - ความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน

- คุณลักษณะที่อัลลอฮฺรัก

- การเดินทางในทัษนะของอิสลาม

- คุณค่าของความดีและความชั่ว

- เคารพต่ออัลลอฮฺองค์เดียว

- ดูอาอฺและการเตาบัต

- อีบาดาตที่ยิ่งใหญ่

ม. 4-6

1.  อธิบายความหมายของศัพท์เฉพาะ       ที่เกี่ยวกับอัล-หะดีษ และจำแนกประเภทต่าง ๆ ของอัล-หะดีษที่กำหนด

2.  เขียนและท่องจำอัล-หะดีษที่กำหนดพร้อมผู้รายงานและผู้บันทึก

3.  อภิปราย แปลความ และสรุปประเด็นสำคัญ ของอัล-หะดีษที่กำหนด

4.  เห็นคุณค่า และปฏิบัติตามหลักคำสอนจากอัล-หะดีษที่กำหนดให้เป็นกิจนิสัยต่อตนเอง ครอบครัวและสังคม

5.  นำอัล-หะดีษที่จำได้ไปใช้อ้างอิงในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม

 

1. ความหมายของศัพท์เฉพาะที่เกี่ยวกับอัล- หะดีษ  -  อัล-หะดีษ อัส-สุนนะฮฺ  อัล-คอบัร อัล-อาซัร อัล-อิสนาด อัล-มาตัน อัล-มุสนัด อัล-มุสนิด อัล-มุหัดดิษ อัล-ฮาฟิส อัล-ฮุจจะห์ อัล-ฮากิม อัล-อามีรุลมุมีนีน ฟี อัล-หะดีษ

2. ประเภทต่าง ๆ ของอัล-หะดีษ

- หะดีษเศาะฮีหฺ

- หะดีษฮาซัน

- หะดีษฏออีฟ

3. ข้อแตกต่างระหว่างอัล-กุรฺอาน หะดีษกุดซียฺ และหะดีษนะบะวียฺ

4. หลักพิจารณาอัล-หะดีษที่เกี่ยวกับอัรรีวายะหฺ และอัดดีรอยะหฺ

    - หะดีษมุตะวาติร

    - หะดีษอาฮาด

5. อัล-หะดีษเกี่ยวกับอีมาน อิสลาม อิหฺสาน

- อัล-หะดีษอัรบาอูนยฺ (อิมามนาวาวียฺ)          หะดีษที่ 1-15

6. ประวัติของผู้รายงานและผู้บันทึก  อัล-หะดีษโดยย่อ

ม. 4-6

1.  อธิบายความหมาย  หลักพิจารณา จำแนกประเภทต่าง ๆ ของอัล-หะดีษที่กำหนด

2.  เขียนและท่องจำอัล-หะดีษที่กำหนดพร้อมผู้รายงาน

3. อภิปราย แปลความ และสรุปประเด็นสำคัญ ของอัล-หะดีษที่กำหนด

4.  เห็นคุณค่า และปฏิบัติตามหลักคำสอนจากอัล-หะดีษที่กำหนดให้เป็นกิจนิสัยต่อตนเอง ครอบครัว และสังคม

5. นำอัล-หะดีษที่ท่องจำได้ไปใช้อ้างอิงในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม

1. หลักพิจารณาอัล-หะดีษประเภทต่าง ๆ

- หะดีษเศาะฮีหฺ

- หะดีษฮาซัน

- หะดีษฏออีฟ

2. หลักพิจารณาอัล-หะดีษฎออีฟเนื่องจาก

    2.1 การตกหล่นของสายรายงานหะดีษ

    - หะดีษมุรซัล

    - หะดีษมุอฺฎอล

    - หะดีษมุนก็ติอฺ

    - หะดีษมุดัลลัส

    - หะดีษมุอัลลัก

    - หะดีษมุอันอัน

    - หะดีษมุอันนัน

    - หะดีษมุอัลลัล

   2.2 การบกพร่องของผู้รายงาน

    - หะดีษมาวดูอฺ

    - หะดีษมัตรูก

    - หะดีษมุนกัร

    - หะดีษมุบฮัม

    - หะดีษมุสตูร

    - หะดีษซาซ

    - หะดีษมักลูบ

    - หะดีษมุดตอริบ

    - มุดัรรอจญ์

3.  หลักพิจารณาและจำแนกประเภทต่างๆของอัล-หะดีษ

- คุณสมบัติ

- การรายงานของรอวี

- มารยาทและวิธีการรายงานอัล- หะดีษ

-  ความแตกต่างระหว่างซุนนะฮฺ  หะดีษ เคาะบัร อะซัร มุสตะฮับ และยุนดะบุ

-  ความแตกต่างระหว่างอัล-กุรฺอานกับ   หะดีษกุดซียฺ

4. อัล-หะดีษเกี่ยวกับอีมาน อิสลาม อิหฺสาน

- อัลหะดีษอัรบาอูนยฺ (อิมามนาวาวียฺ)          หะดีษที่ 16-30

5.  ประวัติของผู้รายงานและผู้บันทึกอัล-หะดีษโดยย่อ

 

ม. 4-6

 

1.  อธิบายความหมาย ข้อพิจารณา และจำแนกประเภทต่าง ๆ ของอัล-หะดีษที่กำหนด

2.  เขียนและท่องจำอัล-หะดีษที่กำหนดพร้อมผู้รายงาน

3. อภิปราย แปลความ และสรุปประเด็นสำคัญของอัล-หะดีษที่กำหนด

4.  เห็นคุณค่า และปฏิบัติตามหลักคำสอนจากอัล-หะดีษที่กำหนดให้เป็นกิจนิสัยต่อตนเอง ครอบครัว และสังคม

5.  นำอัล-หะดีษที่จำได้ไปใช้อ้างอิงในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม

 

1. ข้อพิจารณาอัล-หะดีษตามสายรายงาน

    - หะดีษมัรฟูอฺ

    - หะดีษมาวกูฟ

    - หะดีษมักตูอฺ

2. ข้อพิจารณาและจำแนกประเภทต่าง ๆ ของอัล-หะดีษ

    - หะดีษมุซัลซัล

    - หะดีษอาลีและนาซิล

    - หะดีษมุตตะฟิกและมุฟตะริก

    - หะดีษมุอฺตะลิฟและมุคตะลิฟ

    - หะดีษมุฮกัม และมุคตาลิฟ

    - การยกเลิกหะดีษ

3. อัล-หะดีษเกี่ยวกับอีมาน อิสลาม อิหฺสาน

- อัลหะดีษอัรบาอูนยฺ (อิมามนาวาวียฺ)          หะดีษที่ 31-40

4.  ประวัติของผู้รายงานและผู้บันทึกอัล-หะดีษโดยย่อ   

 

 

หมายเลขบันทึก: 363392เขียนเมื่อ 3 มิถุนายน 2010 09:49 น. ()แก้ไขเมื่อ 20 มิถุนายน 2012 19:03 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (2)

บังแล้วมีเนื้อหามั้ย ที่สอนน่ะมีเนื้อหาแค่ภาษาไทย อิอิอิ บังมีเนื้อหายาวีมั้ยถ้าส่งเมลมาหน่อย สแกนน่ะ จะเอาไปติวเด็กสอบ ไอเน็ต เพราะว่าข้อสอบเป็นภาษามลายูตัวเขียนยาวี แย่เรยทีนี้ไม่มีเนื้อหา และข้อสอบ

ขอ Allah ตอบแทนความดีของท่าน เราจะร่วมเดินทางเส้นทางนี้ไปด้วยกัน ร่วมเป็นภาคเครือข่ายของทุกความดีงามของAllah ร่วมสร้างสรรค์สังคมมุสลิมที่เต็มไปด้วยไออุ่นของความรัก ความเมตตา ความโปรดปรานของ Allah........อามีน

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท