pramahathanom


ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์

1.ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์มีอะไรบ้าง

  ตอบ ฮาร์ดแวร์ กับ ซอฟต์แวร์

2.ฮาร์ดแวร์คืออะไร

  ตอบ ชิ้นส่วนของเครื่องคอมพิวเตอร์

3.ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์มีอะไรบ้าง

  ตอบ มี ซีพียู  ส่วนนำเข้า  ส่วนแสดงผล  และอุปกรณ์ประกอบอื่น ๆ

4.ส่วนประมวลผลประกอบไปด้วยอะไร

 ตอบ แผงวงจรหลัก  ชิพประมวลผล  หน่วยความจำ

5.แผงวงจรหลัก เรียกว่าอะไร

  ตอบ เมนบอร์ด หรือ มาเธ่อบอร์ด

6.อุปกรณ์ที่เป็นหัวใจหลักของคอมพิวเตอร์ คืออะไร

  ตอบ เมนบอร์ด

7.อุปกรณ์ท่สำคัญต่าง ๆ บนตัวเมนบอร์ด คืออะไรบ้าง

  ตอบ แรม  ไบออส  อินพุท  เอาท์พุท

8.Slot มีไว้สำหรับอะไร

   ตอบ มีไว้สำหรับเชื่อมต่ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ภายนอก

9.อุปกรณ์นำเข้าสู่ CPU มีอะไรบ้าง

  ตอบ  คีย์บอร์ด  เม้าส์  แทร็กบอล

10.อุปกรณ์การเก็บข้อมูลได้ปริมาณามก ๆ ฟังวิทยุและฟังเพลงได้ในปัจจุบันคือ

  ตอบ USB Handy drive MP3

หมายเลขบันทึก: 35138เขียนเมื่อ 22 มิถุนายน 2006 22:00 น. ()แก้ไขเมื่อ 23 มิถุนายน 2012 15:11 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (6)
1.ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์มีอะไรบ้าง ตอบ ฮาร์ดแวร์ กับ ซอฟต์แวร์ 2.ฮาร์ดแวร์คืออะไร ตอบ ชิ้นส่วนของเครื่องคอมพิวเตอร์ 3.ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์มีอะไรบ้าง ตอบ มี ซีพียู ส่วนนำเข้า ส่วนแสดงผล และอุปกรณ์ประกอบอื่น ๆ 4.ส่วนประมวลผลประกอบไปด้วยอะไร ตอบ แผงวงจรหลัก ชิพประมวลผล หน่วยความจำ 5.แผงวงจรหลัก เรียกว่าอะไร ตอบ เมนบอร์ด หรือ มาเธ่อบอร์ด 6.อุปกรณ์ที่เป็นหัวใจหลักของคอมพิวเตอร์ คืออะไร ตอบ เมนบอร์ด 7.อุปกรณ์ท่สำคัญต่าง ๆ บนตัวเมนบอร์ด คืออะไรบ้าง ตอบ แรม ไบออส อินพุท เอาท์พุท 8.Slot มีไว้สำหรับอะไร ตอบ มีไว้สำหรับเชื่อมต่ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ภายนอก 9.อุปกรณ์นำเข้าสู่ CPU มีอะไรบ้าง ตอบ คีย์บอร์ด เม้าส์ แทร็กบอล 10.อุปกรณ์การเก็บข้อมูลได้ปริมาณามก ๆ ฟังวิทยุและฟังเพลงได้ในปัจจุบันคือ ตอบ USB Handy drive MP3
การพัฒนาที่ยั่งยืนเป็นการพัฒนาใหม่ มีคำนิยาม ดังนี้ - การพัฒนาที่สนองความต้องการของปัจจุบัน โดยไม่ทำให้ประชาชนรุ่นต่อไปในอนาคตต้องประนีประนอมยอมความสามารถของเขา ในการที่จะสนองความต้องการของเขาเอง นโยบายที่สนองความต้องการของประชาชนในปัจจุบันโดยไม่ต้องทำลายทรัพยากรซึ่งจะเป็นที่ต้องการในอนาคต การปรับปรุงเปลี่ยนแปลงชุมชนให้เจริญก้าวหน้ามากขึ้น เป็นชุมชนที่มีความสุข มีความเป็นระเบียบเรียนร้อย สังคมสงบสุข มีความรักสามัคคีมีความรับผิดชอบ มีความยุติธรรม การพัฒนาที่ยั่งยืนสมบูรณ์ตามแนวทางพุทธ โดยเน้นการพัฒนาคนเป็นหลัก 1.พัฒนาทางด้านพฤติกรรมและวิธีใช้ชีวิต ตลอดจนการทำมาหาเลี้ยงชีพ 2.พัฒนาทางด้านจิตใจ คือ คุณธรรม ความเข้มแข็งมั่นคงของจิตใจที่ดีงาม 3.พัฒนาทางด้านปัญญา คือ ความรู้ความเข้าใจต่าง ๆ ความคิด ทัศนคติและค่านิยม พุทธศาสนาให้ศึกษามนุษย์ด้วยการฝึกฝนและพัฒนาให้รู้จักรับรู้และรู้จักปฏิบัติต่อสิ่งที่เกี่ยวข้องในชีวิตได้อย่างถูกต้อง การพัฒนาโดยอาศัยกฎแห่งเหตุผล กระบวนการพัฒนาบุคคลโดยแยกออกเป็น 2 ขั้นตอน ขั้นตอนที่ 1 ก่อนเข้าสู่กระบวนการพัฒนา ให้ศึกษาเกี่ยวกับมรรคมีองค์ 8 ให้เข้าชีวิตและการดำเนินชีวิตตามหลักของเหตุและผล จากเรียนรู้จากปัจจัยภายนอก คือ พ่อ แม่ ครู อาจารย์ ผู้ใหญ่ หรือวัฒนธรรม ขั้นตอนที่ 2 ในกระบวนการพัฒนา ขั้นไตรสิกขา ศีล เป็นเรื่องของการฝึกฝนในด้านพฤติกรรม สมาธิ เป็นเรื่องของการฝึกฝนด้านจิตใจ ปัญญา เป็นเรื่องของการฝึกฝนด้านความรู้ความจริงโดยการรู้จักวินิจฉัย ไตร่ตรอง วัดเป็นศูนย์รวมจิตใจของคนในชุมชนมีลักษณะดังนี้ 1. ความสัมพันธ์ระหว่างคนกับวัด มีความแนบแน่นต่อกัน 2. กิจกรรมของวัดกับชุมชนเป็นกิจกรรมที่เอื้อประโยชน์ต่อกัน 3. บรรยากาศของวัดทั้งพระเณร สถานที่ พิธีกรรม เป็นที่ศรัทธาของประชาชน 4. กิจกรรมที่ทางวัดจัดขึ้นนั้นส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิตของประชาชนในชุมชน 5. วัดทำบทบาทหน้าที่ถูกต้อง ในด้านการบริการ การจัดการวัด การปรับปรุงวัด และการพัฒนาวัดให้เป็นที่พึ่งเป็นศูนย์กลางชุมชนได้ การพัฒนาวัดให้เป็นศูนย์กลางของชุมชน 1. พัฒนาวัดให้เกิดเป็นแหล่งความรู้ของชุมชน 2. สร้างสภาพวัดให้เป็นที่พักอาศัยของพระภิกษุสามเณร 3. สร้างความสัมพันธ์ระหว่างวัดกับประชาชนในท้องถิ่น 4. วัดควรเป็นแกนนำประชาชนในท้องถิ่น 5. ให้เกิดการยอมรับตลอดไป ให้การช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกัน และกัน ชุมชนชาวพุทธที่พัฒนาแล้ว 1. การปกครอง สุขกายสบายใจ ตามกติกา รู้จักต้อนรับ มีสัมมาคารวะ 2. การศึกษา ต้องให้คนในชุมชนและพระเณรได้รับการศึกษาดี มีมรรยาทดี เป้าหมายคือสอนคนให้เป็นคนดี 3. การเผยแผ่ เราต้องสำนึกอยู่เสมอว่าพระพุทธศาสนาเข้ามาสู่ไทยเพราะการเผยแผ่ 4. การสาธารณูปการ คือ สิ่งก่อสร้าง ที่ไม่ใหญ่โต โอ่อ่า มีความสะอาด ร่มรื่น และมีระเบียบ 1. จะทำสิ่งใด ก็ทำด้วยความเมตตา 2. จะพูดสิ่งใด ก็พูดด้วยความเมตตา 3. จะคิดสิ่งใด ก็คิดด้วยความเมตตา 4. ต้อนรับด้วยความเต็มใจ 5. ทำบุญอุปถัมภ์ด้วยปัจจัย 4
..เศรษฐกิจพอเพียงตามความหมายของในหลวง.. 1.อุ้มชูตัวเองได้ (เลี้ยงตัวเองได้) 2.ให้มีพอเพียงกับตัวเอง 3.พอประมาณ ซื่อตรง ไม่โลภมาก 4.ต้องไม่เบียดเบียนตัวเองและผู้อื่น ............... เศรษฐกิจมีองค์ประกอบ 5 ประการ คือ... 1.ทางสายกลาง 2.ความสมดุลและความยั่งยืน 3.ความพอประมาณอย่างมีเหตุผล 4.ภูมิคุ้มกันและรู้เท่าทันโลก 5.การเสริมสร้างคุณภาพคน ................. ทางสายกลาง สติสัมปชัญญะ (ตั้งอยู่ในความไม่ประมาท) ศีล (ระเบียบวินัย ตรงต่อเวลา ) สมาธิ (มีความคิดที่มั่นคงอยู่เสมอ) ปัญญา (มีความคิดวิเคราะห์โดยมีวิจารณญาณ คิดเป็น พูดเป็น ทำเป็น และแก้ไขเป็น) ........... ความสมดุลและความยั่งยืน 1.พัฒนาลักษณะองค์รวม 2. ความพอดีพอเหมาะ 3. ความหลากหลายที่กลมกลืน 4.มีความยั่งยืน 5.ปกป้องรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ....ความพอประมาณอย่างมีเหตุผล... 1.ไม่โลภมาก 2.ไม่ฟุ้งเฟ้อ 3.รู้จักพอ 4.มีเหตุผล 5.มีความพอประมาณ ..ภูมิคุ้มกันและรู้เท่าทันโลก.. 1.รู้เท่าทันต่อเหตุการณ์ที่เปลี่ยนแปลง 2.สามารถป้องกัน 3.รู้ผลกระทบที่ดีและไม่ดี 4.รู้จักความผันผวนของโลกภายนอก ........... ..การเสริมสร้างคุณภาพตน.. 1.สำนึกในคุณธรรม 2.ความซื่อสัตย์สุจริต 3.มีไมตรีจิตเอื้ออาทร 4.ดำเนินชีวิตด้วยความอดทน 5.มีความเพียร 6.มีระเบียบ วินัย 7.พัฒนาปัญญาและความรู้อย่างต่อเนื่อง ............... ..พระพุทธศาสนากับเศรษฐกิจพอเพียง.. 1.การพึ่งตนเอง 2.ไม่ประมาท 3.รู้จักพอประมาณ 4.มีความไม่โลภ 5.การมีเหตุผล 6.มีสติปัญญา 7. มีความซื่อสัตย์ 8.มีความอดทน 9.รู้จักเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ 10.การมีระเบียบวินัย ............ ศีล 5 ไม่ฆ่าสัตว์ทุกชนิด ไม่ขโมยทรัพย์ของผู้อื่น ไม่ล่วงละเมิดประเพณี ไม่พูดโกหกหลอก ไม่ดื่มหรือเสพสิ่งเสพติด ..ธรรม 5.. มีเมตตากรุณา บริจาค มีความสันโดษ มีสัจจะ มีสติสัมปชัญญะ ....... ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (ทางสายกลาง) มีความพอประมาณ ไม่ประมาท มีเหตุมีผล สร้างภูมิคุ้มกันที่ดี รอบคอบ มีคุณธรรม วางแผน การตัดสินใจ การกระทำ ดำเนินชีวิตด้วยความอดทน มีความเพียร มีสติปัญญาและรอบคอบในการเปลี่ยนแปลงด้านวัตถุ ทางสังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายในและภายนอก .. ทางปฏิบัติที่เป็นรูปธรรมพื้นฐานทางสังคมปัจจุบัน.. 1.ระดับครอบครัว 2.ระดับชุมชน 3.ระดับรัฐ มีความรู้ รอบคอบ ระมัดระวังและสร้างจิตใจของคนในชาติให้ทันสมัยต่อเหตุการณ์ในปัจจุบันและสร้างเสริมจิตสำนึกในคุณธรรม จริยธรรม ความซื่อสัตย์ สุจริต กตัญญู .......... ..หลักการพิจารณาของเศรษฐกิจพอเพียง 5 ส่วน.. กรอบแนวคิด วิถีชีวิตดั้งเดิม นำมาประยุกต์ใช้ เน้นการอยู่รอดมั่นคงและ ยั่งยืน ของการพัฒนา คุณลักษณะ เน้นทางสายกลาง และการพัฒนาอย่างเป็นขั้นตอน คำนิยาม พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวในอนาคต เงื่อนไข ความรู้ทางวิชาการ เชื่อมโยง วางแผน ระมัดระวังใน ขั้นตอนปฏิบัติและคุณธรรมใช้สติปัญญาในการดำเนินชีวิต แนวทางปฏิบัติ ด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม ความรู้ความเชี่ยวชาญและ เทคโนโลยี

ไม่อยากรู้เรืองนี้ครับ

พระมหาถนอม th ศรีพรม

..เศรษฐกิจพอเพียงตามความหมายของในหลวง.. 1.อุ้มชูตัวเองได้ (เลี้ยงตัวเองได้) 2.ให้มีพอเพียงกับตัวเอง 3.พอประมาณ ซื่อตรง ไม่โลภมาก 4.ต้องไม่เบียดเบียนตัวเองและผู้อื่น ............... เศรษฐกิจมีองค์ประกอบ 5 ประการ คือ... 1.ทางสายกลาง 2.ความสมดุลและความยั่งยืน 3.ความพอประมาณอย่างมีเหตุผล 4.ภูมิคุ้มกันและรู้เท่าทันโลก 5.การเสริมสร้างคุณภาพคน ................. ทางสายกลาง สติสัมปชัญญะ (ตั้งอยู่ในความไม่ประมาท) ศีล (ระเบียบวินัย ตรงต่อเวลา ) สมาธิ (มีความคิดที่มั่นคงอยู่เสมอ) ปัญญา (มีความคิดวิเคราะห์โดยมีวิจารณญาณ คิดเป็น พูดเป็น ทำเป็น และแก้ไขเป็น) ........... ความสมดุลและความยั่งยืน 1.พัฒนาลักษณะองค์รวม 2. ความพอดีพอเหมาะ 3. ความหลากหลายที่กลมกลืน 4.มีความยั่งยืน 5.ปกป้องรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ....ความพอประมาณอย่างมีเหตุผล... 1.ไม่โลภมาก 2.ไม่ฟุ้งเฟ้อ 3.รู้จักพอ 4.มีเหตุผล 5.มีความพอประมาณ ..ภูมิคุ้มกันและรู้เท่าทันโลก.. 1.รู้เท่าทันต่อเหตุการณ์ที่เปลี่ยนแปลง 2.สามารถป้องกัน 3.รู้ผลกระทบที่ดีและไม่ดี 4.รู้จักความผันผวนของโลกภายนอก ........... ..การเสริมสร้างคุณภาพตน.. 1.สำนึกในคุณธรรม 2.ความซื่อสัตย์สุจริต 3.มีไมตรีจิตเอื้ออาทร 4.ดำเนินชีวิตด้วยความอดทน 5.มีความเพียร 6.มีระเบียบ วินัย 7.พัฒนาปัญญาและความรู้อย่างต่อเนื่อง ............... ..พระพุทธศาสนากับเศรษฐกิจพอเพียง.. 1.การพึ่งตนเอง 2.ไม่ประมาท 3.รู้จักพอประมาณ 4.มีความไม่โลภ 5.การมีเหตุผล 6.มีสติปัญญา 7. มีความซื่อสัตย์ 8.มีความอดทน 9.รู้จักเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ 10.การมีระเบียบวินัย ............ ศีล 5 ไม่ฆ่าสัตว์ทุกชนิด ไม่ขโมยทรัพย์ของผู้อื่น ไม่ล่วงละเมิดประเพณี ไม่พูดโกหกหลอก ไม่ดื่มหรือเสพสิ่งเสพติด ..ธรรม 5.. มีเมตตากรุณา บริจาค มีความสันโดษ มีสัจจะ มีสติสัมปชัญญะ ....... ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (ทางสายกลาง) มีความพอประมาณ ไม่ประมาท มีเหตุมีผล สร้างภูมิคุ้มกันที่ดี รอบคอบ มีคุณธรรม วางแผน การตัดสินใจ การกระทำ ดำเนินชีวิตด้วยความอดทน มีความเพียร มีสติปัญญาและรอบคอบในการเปลี่ยนแปลงด้านวัตถุ ทางสังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายในและภายนอก .. ทางปฏิบัติที่เป็นรูปธรรมพื้นฐานทางสังคมปัจจุบัน.. 1.ระดับครอบครัว 2.ระดับชุมชน 3.ระดับรัฐ มีความรู้ รอบคอบ ระมัดระวังและสร้างจิตใจของคนในชาติให้ทันสมัยต่อเหตุการณ์ในปัจจุบันและ สร้างเสริมจิตสำนึกในคุณธรรม จริยธรรม ความซื่อสัตย์ สุจริต กตัญญู .......... ..หลักการพิจารณาของเศรษฐกิจพอเพียง 5 ส่วน.. กรอบแนวคิด วิถีชีวิตดั้งเดิม นำมาประยุกต์ใช้ เน้นการอยู่รอดมั่นคงและ ยั่งยืน ของการพัฒนา คุณลักษณะ เน้นทางสายกลาง และการพัฒนาอย่างเป็นขั้นตอน คำนิยาม พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวในอนาคต เงื่อนไข ความรู้ทางวิชาการ เชื่อมโยง วางแผน ระมัดระวังใน ขั้นตอนปฏิบัติและคุณธรรมใช้สติปัญญาในการดำเนินชีวิต แนวทางปฏิบัติ ด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม ความรู้ความเชี่ยวชาญและ เทคโนโลยี

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท