ChildKind Workshop ที่บราซิล


ChildKind initiative program at Brazil, 14-16 Apr 2010

คณะแพทยศาสตร์ Ribeirão Preto, Brazil

ทะเลสาบภายในมหาวิทยาลัย Ribeirão Preto, Brazil

ฉันได้มีโอกาสไปร่วมทำวิจัยการจัดการความปวดในเด็กที่ประเทศบราซิล Principal researcher คือ Professor G Allen Finley,MD,  Canada และ Principle research user คือ Helio RubensMachado, MD, Brazil และมี

ผู้ร่วมวิจัยจากประเทศไทย ดังนี้

1. ศ. นพ. สมบูรณ์ เทียนทอง

2. ผศ. ดร. พูลสุข ศิริพูล คณะพยาบาล มข.

3. นางสาวเกศนี บุณยวัฒนางกุล, APN เด็กมะเร็ง

และผู้ร่วมวิจัยจากบราซิลอีก 4 ท่าน

ฉันเตรียมเดินทางวันที่ 11 กลับไทยวันที่ 19 เมย. 53 อดร่วมงานเทศกาลปีใหม่ไทยค่ะ แล้วจะเก็บสิ่งที่ได้รับมาเล่าสู่ฟังค่ะ ฉันได้รับมอบหมายให้พูด 1 หัวข้อ The role of the Nurse Facilitators and the changes being made (Kesanee)

ประเทศบราซิลจะใช้ภาษาโปรตุเกสเป็นภาษาราชการ ภาษารองคืออังกฤษ

 

ก่อนอื่นอยากอธิบาย ChildKind นิดหนึ่ง เป็นโปรแกรมคุณภาพคล้ายการรณรงค์เรื่องคุณภาพนมแม่ ที่พึ่งริเริ่มโดย Professore G Allen Finley และทีม เกี่ยวกับการจัดการความปวดที่มีประสิทธิภาพในเด็กต้องทำอะไรบ้าง มีองค์ประกอบอะไรบ้าง หาก ChildKind ไม่ success โรงพยาบาลก็จะไม่ผ่านการรับรอง ที่จะเป็นโรงพยาบาล Pain free hospital ประมาณนี้ค่ะ

โดยเลือกสถานที่ศึกษาคือ Ribeirão Preto ประเทศบราซิล อาจารย์ Allen เล่าว่า Ribeirão Preto มีหลายๆ อย่างคล้ายขอนแก่น เช่น ที่นี่ประชาชนจะทำไร่อ้อย อากาศร้อน และอยู่ห่างจากเมืองหลวง Soa Poalo พอๆจากกรุงเทพฯมาขอนแก่นค่ะ และใช้ผลงานวิจัยบางส่วนที่ศึกษาร่วมกับทีมไทยมาต่อยอดที่นี่

 Purpose: Begin the process of establishing HC Criança in Ribeirão Preto as the first ChildKind accredited hospital.

 

ChildKind Workshop

April 14-16, 2010

USP-RP

Ribeirão Preto, Brazil

 

Purpose: Begin the process of establishing HC Criança in Ribeirão Preto as the first ChildKind accredited hospital.  

Agenda:

Day 1 – Evening Reception

Refreshments/Dinner and networking

 

Day 2 – A paradigm for pediatric pain management – experiences and insights

 

Questions of the day – What have we learned as a collective with respect to advancing pediatric pain management? Where do we need to go?

 

Welcome 

  • Overall goals for the workshop
  • Overview of Day 1 and the process for the workshop

 

The importance of pediatric pain management (Allen)

  • Global status of pain management for children
  • Long-term affects of poor pain management
  • How to overcome problems in pediatric pain management

 

Questions and group discussions

 

Break

 

Teasdale-Corti Project in Thailand

  • Overview of the project and current stauts (Somboon
  • Self-study results Study 1 (Pulsuk)
  • The role of the Nurse Facilitators and the changes being made (Kesanee)

 

Questions and group discussions

 

Lunch

 

Pediatric pain management and local realities (Beatriz)

  • Ribeirão Preto
    • Prevalence of pain
    • Access to pain management pharmacological and non-pharmacological resources
    • Policies, protocols, and assessment – What exists?

 

Break 

 

The ChildKind Initiative (Allen)

  • What is it and how can it help?
  • Accreditation process – What is involved

 

Questions and Group Discussion

 

Wrap-up

 


Day 3 – Meeting ChildKind International Criteria – A plan for the future

 

Questions of the day: How can HC Criança meet ChildKind International criteria?  What are the next steps after the workshop?

 

Refreshments and networking

 

Welcome

  • Overview of Day 1 and what is to be accomplished in Day 2

 

Breakout groups

  • Policy – Work on a statement and how it can be adopted by the hospital
  • Protocols – Determine areas of focus and begin the process
  • Assessment – What tools are needed and how they can be implemented
  • Education – What needs to be taught and to whom
  • Quality – What quality controls need to be in place

 

Lunch

 

Report back from breakout groups

  1. What are the themes from the groups
  2. How can these benefit pediatric pain management

 

Group Discussion

 

Break

 

What is next? – A plan for the future

  • What is left to be done?
  • Who needs to be involved?
  • How will it get accomplished?
  • When will it be accomplished?

 

Wrap-up

Kesanee, updated Apr1, 2010..9:12 am

หมายเลขบันทึก: 348716เขียนเมื่อ 1 เมษายน 2010 09:15 น. ()แก้ไขเมื่อ 11 มิถุนายน 2012 13:46 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (8)
  • จะรออ่านบันทึกนะคะ
  • ขอให้พี่เกดเดินทางโดยสวัสดิภาพ
  • นำสิ่งดีดีมาบอกเล่าให้พวกเราได้ฟัง
  • อย่าลืมภาพถ่ายด้วยนะคะพี่เกด..
  • **^_^**

จะรออ่านบันทึกค่ะคุณเกด....จะแกะภาษาปะกิดดูค่ะ...55555

ขอบใจน้อง P ครูแป๋ม แล้วจะนำสิ่งที่ได้รับที่โน่นมาเล่าสู่กันฟังนะคะ

Pปริมปราง

ขอบคุณนะคะ ตอนนี้ภาษาปะกิดเป็นภาษาสากล เด็กสมัยนี้ให้ความสำคัญมาก

สวัสดีค่ะพี่เกด

มารออ่านบันทึกด้วยคนค่ะ

โปรแกรม ChildKind น่าสนใจมากๆเลยค่ะ

P
Hana ใช่ค่ะ Pain free hospital ..ChildKind เป็นโปรแกรมคุณภาพค่ะ โรงพยาบาลที่จะได้รับ ChildKind ต้องมีองค์ประกอบและทำได้ตามข้อกำหนด เหมือน HA ค่ะ แต่ถ้าการจัดการความปวดมีประสิทธิภาพ น่าจะทำให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดีนะคะน้องหนึ่ง
สงกรานต์ เที่ยวเผื่อด้วยนะคะ

สวัสดีค่ะ ยินดี่ได้รู้จักค่ะ

คุณเกด เป็นคนที่เก่งมากค่ะ

เป็นกำลังใจให้นะค่ะ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท