การบริหารสถานศึกษา


ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหารสถานศึกษา

คุณมีวิธีการบริหารสถานศึกษาอย่างไร

หมายเลขบันทึก: 345823เขียนเมื่อ 20 มีนาคม 2010 15:56 น. ()แก้ไขเมื่อ 12 กุมภาพันธ์ 2012 13:14 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (12)

ขณะนี้กำลังเรียนการสร้างBlog และผมได้สมัคสมาชิกของBlogแล้ว ขอบคุณครับ

 

ขอแสดงความยินดีด้วยนะคะ ที่ทำสำเร็จ

เชิญชวนเพื่อนให้ร่วม comment นะคะ

เจ้านาย และ ผู้นำ

เจ้านายจ้อง คอยจับ บังคับให้

ลูกน้องทำ งานไป ตามคำสั่ง

ผู้นำสอน ชี้แนะเพิ่ม เสริมพลัง

แนะแนวทาง ลูกน้องตาม ความร่วมมือ

เจ้านายชอบ ใช้อำนาจ หน้าที่ย้ำ

ส่วนผู้นำ ใช้ศรัทธา น่าเชื่อ

เจ้านายสร้าง ความกลัวล้น จนเลื่องลือ

ผู้นำสร้าง ความกระตือ รือร้นดี

เจ้านายติ ตำหนิย้ำ เมื่อทำพลาด

ผู้นำพร้อม สามารถ ช่วยแก้ไข

เจ้านายรู้ งานนั้น ทำอย่างไร

ผู้นำให้ คนอื่นเห็น ทำเป็นจริง

เจ้านายทำ งานเล็กให้ ใหญ่โตนัก

ผู้นำจัก ทำให้หมาย ท้าทายยิ่ง

เจ้านายเน้น ตรงไป ให้เสร็จจริง

ผู้นำอิง การชวนให้ เราไปกัน

การจัดการความรู้ 5 เทคนิควิธีสู่...ความสำเร็จของการบริหารสถานศึกษา ดังนี้

1. การส่งเสริมให้ครูจัดการเรียนรู้ตามแนวปฎิรูปการศึกษา

2. การใช้ ICTส่งเสริมการบริหารและการจัดการเรียนรู้ในสถานศึกษา

3. หลากหลายเทคนิควิธีดึงชุมชนสู่สถานศึกษา

4. การส่งเสริมการใช้แหล่งเรียนรู้ภายในและภายนอกสถานศึกษา

5. การดำเนินงานระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน

การส่งเสริมให้ครูจัดการเรียนรู้ตามแนวปฎิรูปการศึกษาในยุคที่กระทรวงศึกษาธิการได้มีการปฏิรูปการศึกษา คงปฏิเสธไม่ได้ว่าเงื่อนไขความสำเร็จหรือความล้มเหลวของการปฏิรูปการเรียนรู้อยู่ที่ “ผู้บริหาร ครูอาจารย์และบุคลากรที่มีส่วนเกี่ยวข้อง” เป็นสำคัญ ฉะนั้นโรงเรียนจึงกำหนดกลยุทธ์ให้มี “การปรับวิธีเรียนเปลี่ยนวิธีสอน”

- จากเดิมที่ครูทำหน้าที่เป็นผู้สอน ปรับเปลี่ยนเป็น ผู้อำนวยการจัดการความรู้

- จากเดิมที่สอนในห้องเรียน ปรับเปลี่ยนเป็น จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในแหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกโรงเรียน

- จากเดิมที่สอนเป็นรายวิชา ปรับเปลี่ยนเป็น การบูรณาการหลากหลายกลุ่มสาระการเรียนรู้

- จากเดิมที่เคยวัดผลประเมินผลจากการสอบ ปรับเปลี่ยนเป็น การวัดผลประเมินผลตามสภาพจริงและหลากหลายวิธีเพื่อค้นหาและพัฒนาศักยภาพผู้เรียน

จะเห็นแล้วว่ากว่าจะปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กรให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ได้ ผู้บริหารจะต้องอดทดและใช้เวลาพอสมควร ทั้งนี้โดยอาศัยวิธีการ “สร้างความเข้าใจ ให้ความสำคัญ และผลักดันคุณภาพ” อย่างต่อเนื่อง จึงจะบังเกิดผลตามที่ต้องการ

นางสาวคณิตตรา มะลิขาว รหัส52025114057 กลุ่ม 5202511402 ( [email protected])

ตอบ วิธการบริหารสถานศึกษา จะต้องยึดหลักแนวการดังนี้

1.) มุ่งเน้นการจัดการระบบการบริหารจัดการให้สอดคล้องกับการปฏิรูปการศึกษา เพื่อประโยชน์ของผู้เรียนเป็นสำคัญ ยึดหลักการบริหารและจัดการอย่างหลากหลายให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด ทั้งในด้านวิชาการ งบประมาณ การบริหารบุคคล ตลอดจนการบริหารงานทั่วไป ได้มอบหมายให้รองผู้อำนวยการทุกกลุ่มงานและครูทุกคนมีส่วนร่วมในการจัดการดังกล่าว โดยเน้นการทำงานเป็นทีม การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน ซึ่งได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์และการบริหารการเปลี่ยนแปลง

2.) สนับสนุนส่งเสริมให้นำเทคโนโลยีมาใช้ในการบริหารจัดการ และการนำไปใช้ในการเรียนการสอนโดยริเริ่มสร้างสรรค์งานใหม่ และสานงานเก่าให้พัฒนาอย่างต่อเนื่อง อย่างเป็นระบบ มีการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของโรงเรียน และ บริบทของชุมชนเพื่อนำมาวางแผนปฏิบัติงาน การควบคุม กำกับ ดูแลให้งานทุกงานดำเนินไปเพื่อประโยชน์สูงสุดของนักเรียน จัดให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาสถานศึกษา และเน้นการให้บริการที่ดี สะดวก รวดเร็ว เบ็ดเสร็จ และสร้างความประทับใจให้แก่ผู้ใช้บริการ

3.) ปรับกระบวนทัศน์บุคลากรทุกฝ่ายให้ปรับแนวคิด และเปลี่ยนวิธีทำงานที่เน้นการให้บริการแก่ผู้รับบริการ กล่าวคือ นักเรียน ผู้ปกครอง และบุคลาการ อย่างเป็นรูปธรรม และปฏิบัติได้จริง เช่น การจัดกล่องรับฟังความคิดเห็น การจัดเจ้าหน้าที่อำนวยความสะดวกแก่ผู้ปกครองที่ต้องการติดต่อกับนักเรียนในระหว่างเวลาเรียน หรือคณะกรรมการนักเรียนช่วยต้อนรับ อำนวยความสะดวกในการติดต่อแก่ผู้ปกครอง ในการเข้าร่วมการประชุม จัดเจ้าหน้าที่ดูแลและให้บริการแก่นักเรียนในการสืบค้นข้อมูลผ่านสื่อเทคโนโลยี

4.) จัดสถานที่เรียน ที่พักผ่อน และบรรยากาศสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ ให้เอื้อต่อการเรียนรู้และการบริการชุมชน เช่น สวนหย่อม สวนสมุนไพร สวนวิถไทย สวนวรรณคดี ศูนย์วิชา ห้องปฏิบัติการ แหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกอาคารเรียน รวมทั้งสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์พืชพรรณและพัฒนาสิ่งแวดล้อมให้สามารถใช้เป็นสื่อการเรียนการสอน เพื่อฝึกนักเรียนให้หัดสังเกต เรียนรู้ ตั้งคำถามและหาคำตอบ ตลอดจนการให้บริการแก่นักเรียน ชุมชน ผู้ปกครอง ให้มาใช้สถานที่ในการออกกำลังกาย พักผ่อน นอกจากนี้ยังให้บริการทางวิชาการทั้งในวันปกติและวันหยุดราชการ อย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ผู้ปกครอง ชุมชน องค์กรต่างๆ ในเขตบางนา มีความพึงพอใจในการบริหารงานของโรงเรียน ซึ่งจะเห็นได้จากความร่วมมือร่วมใจอย่างดียิ่งในการระดมความคิด และทรัพยากรเพื่อพัฒนาโรงเรียนให้เป็นโรงเรียนของชุมชน

5.) นิเทศ กำกับ ติดตามและประเมินผล บุคลากรทุกคนมีส่วนร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมแก้ปัญหาในทุกขั้นตอนของการปฏิบัติงาน ตลอดจนการใช้กระบวนการพัฒนาและการควบคุมคุณภาพอย่างต่อเนื่องเพื่อให้เกิดความยั่งยืน

ความสำเร็จของการบริหารสถานศึกษา ดังนี้

• การส่งเสริมให้ครูจัดการเรียนรู้ตามแนวปฎิรูปการศึกษา

• การใช้ ICTส่งเสริมการบริหารและการจัดการเรียนรู้ในสถานศึกษา

• หลากหลายเทคนิควิธีดึงชุมชนสู่สถานศึกษา

• การส่งเสริมการใช้แหล่งเรียนรู้ภายในและภายนอกสถานศึกษา

• การดำเนินงานระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน

สรุป

ผู้บริหารสถานศึกษาในยุคปฏิรูปการศึกษา จะต้องมีความรู้ ความสามารถในการบริหาร จัดการ มีวิสัยทัศน์ในการบริหารการศึกษาให้ทันสมัยกับการเปลี่ยนแปลง มีภาวะผู้นำ มีมนุษยสัมพันธ์เป็นที่ยอมรับ ของผู้เกี่ยวข้อง และมีความเป็นประชาธิปไตย เพื่อนำไปสู่การปฏิรูปการเรียนรู้ให้ผู้เรียนทุกคนมีความรู้ ความสามารถ บุคลิกลักษณะ และคุณสมบัติตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างแท้จริง ดังนั้น ผู้บริหารสถานศึกษาที่มีประสิทธิภาพในยุคปฏิรูปการศึกษา ควรมีลักษณะที่สำคัญ คือ นักพัฒนา นักแก้ปัญหา นักตัดสินใจ นักประนีประนอม นักการฑูต นักวางแผน นักปกครอง และนักปราชญ์

นุกูล ชื่นชม

[email protected]

นางสาวศิริพร เสรีพาณิชย์การ 52025114046 [email protected]

ตอบ วิธีการบริหารสถานศึกษา

1.การส่งเสริมให้ครูจัดการเรียนรู้ตามแนวปฎิรูปการศึกษา

2.การใช้ ICTส่งเสริมการบริหารและการจัดการเรียนรู้ในสถานศึกษา

3.หลากหลายเทคนิควิธีดึงชุมชนสู่สถานศึกษา

4.การส่งเสริมการใช้แหล่งเรียนรู้ภายในและภายนอกสถานศึกษา

5.การดำเนินงานระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน

นางสาวสมหมาย เผือกสีทอง รหัส 520251104036

**วิธีการบริหารในสถานศึกษา

1.) มุ่งเน้นการจัดการระบบการบริหารจัดการให้สอดคล้องกับการปฏิรูปการศึกษา เพื่อประโยชน์ของผู้เรียนเป็นสำคัญ ยึดหลักการบริหารและจัดการอย่างหลากหลายให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด ทั้งในด้านวิชาการ งบประมาณ การบริหารบุคคล ตลอดจนการบริหารงานทั่วไป ได้มอบหมายให้รองผู้อำนวยการทุกกลุ่มงานและครูทุกคนมีส่วนร่วมในการจัดการดังกล่าว โดยเน้นการทำงานเป็นทีม การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน ซึ่งได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์และการบริหารการเปลี่ยนแปลง

2.) สนับสนุนส่งเสริมให้นำเทคโนโลยีมาใช้ในการบริหารจัดการ และการนำไปใช้ในการเรียนการสอนโดยริเริ่มสร้างสรรค์งานใหม่ และสานงานเก่าให้พัฒนาอย่างต่อเนื่อง อย่างเป็นระบบ มีการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของโรงเรียน และ บริบทของชุมชนเพื่อนำมาวางแผนปฏิบัติงาน การควบคุม กำกับ ดูแลให้งานทุกงานดำเนินไปเพื่อประโยชน์สูงสุดของนักเรียน จัดให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาสถานศึกษา และเน้นการให้บริการที่ดี สะดวก รวดเร็ว เบ็ดเสร็จ และสร้างความประทับใจให้แก่ผู้ใช้บริการ

3.) ปรับกระบวนทัศน์บุคลากรทุกฝ่ายให้ปรับแนวคิด และเปลี่ยนวิธีทำงานที่เน้นการให้บริการแก่ผู้รับบริการ กล่าวคือ นักเรียน ผู้ปกครอง และบุคลาการ อย่างเป็นรูปธรรม และปฏิบัติได้จริง เช่น การจัดกล่องรับฟังความคิดเห็น การจัดเจ้าหน้าที่อำนวยความสะดวกแก่ผู้ปกครองที่ต้องการติดต่อกับนักเรียนในระหว่างเวลาเรียน หรือคณะกรรมการนักเรียนช่วยต้อนรับ อำนวยความสะดวกในการติดต่อแก่ผู้ปกครอง ในการเข้าร่วมการประชุม จัดเจ้าหน้าที่ดูแลและให้บริการแก่นักเรียนในการสืบค้นข้อมูลผ่านสื่อเทคโนโลยี

4.) จัดสถานที่เรียน ที่พักผ่อน และบรรยากาศสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ ให้เอื้อต่อการเรียนรู้และการบริการชุมชน เช่น สวนหย่อม สวนสมุนไพร สวนวิถไทย สวนวรรณคดี ศูนย์วิชา ห้องปฏิบัติการ แหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกอาคารเรียน รวมทั้งสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์พืชพรรณและพัฒนาสิ่งแวดล้อมให้สามารถใช้เป็นสื่อการเรียนการสอน เพื่อฝึกนักเรียนให้หัดสังเกต เรียนรู้ ตั้งคำถามและหาคำตอบ ตลอดจนการให้บริการแก่นักเรียน ชุมชน ผู้ปกครอง ให้มาใช้สถานที่ในการออกกำลังกาย พักผ่อน นอกจากนี้ยังให้บริการทางวิชาการทั้งในวันปกติและวันหยุดราชการ อย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ผู้ปกครอง ชุมชน องค์กรต่างๆ ในเขตบางนา มีความพึงพอใจในการบริหารงานของโรงเรียน ซึ่งจะเห็นได้จากความร่วมมือร่วมใจอย่างดียิ่งในการระดมความคิด และทรัพยากรเพื่อพัฒนาโรงเรียนให้เป็นโรงเรียนของชุมชน

5.) นิเทศ กำกับ ติดตามและประเมินผล บุคลากรทุกคนมีส่วนร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมแก้ปัญหาในทุกขั้นตอนของการปฏิบัติงาน ตลอดจนการใช้กระบวนการพัฒนาและการควบคุมคุณภาพอย่างต่อเนื่องเพื่อให้เกิดความยั่งยืน

คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เข้าสู่ตำแหน่งผู้บริหารการศึกษาควรมี

(1) เป็นผีมีคุณธรรม จริยธรรม

(2) มีความรู้และตระหนักในบทบาทหน้าที่ของตนเอง

(3) เป็นผู้ประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้ร่วมงาน

(4) มีมนุษยสัมพันธ์และมีความสามารถในการติดต่อประสานงานได้เป็นอย่างดี

(5) เป็นผู้มีสุขภาพจิตดี

(6) เป็นผู้พัฒนาตนเองให้ทันสมัยและทันเหตุการณ์อยู่เสมอ

(7) มีความรู้ ความเข้ใจเกี่ยวกับนโยบายการศึกษาและสามารถนำไปถ่ายทอดให้แก่ผู้ร่วมงานได้

(8) สามารถปฏิบัติตนให้เหมาะแก่กาลเทศะ

(9) มีทักษะในการแก้ปัญหาและให้คำปรึกษา

นางพรสุดา พรหมกูล รหัส 52025114055

วิธีการบริหารสถานศึกษา

1.) มุ่งเน้นการจัดการระบบการบริหารจัดการให้สอดคล้องกับการปฏิรูปการศึกษา เพื่อประโยชน์ของผู้เรียนเป็นสำคัญ ยึดหลักการบริหารและจัดการอย่างหลากหลายให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด ทั้งในด้านวิชาการ งบประมาณ การบริหารบุคคล ตลอดจนการบริหารงานทั่วไป ได้มอบหมายให้รองผู้อำนวยการทุกกลุ่มงานและครูทุกคนมีส่วนร่วมในการจัดการดังกล่าว โดยเน้นการทำงานเป็นทีม การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน ซึ่งได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์และการบริหารการเปลี่ยนแปลง

2.) สนับสนุนส่งเสริมให้นำเทคโนโลยีมาใช้ในการบริหารจัดการ และการนำไปใช้ในการเรียนการสอนโดยริเริ่มสร้างสรรค์งานใหม่ และสานงานเก่าให้พัฒนาอย่างต่อเนื่อง อย่างเป็นระบบ มีการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของโรงเรียน และ บริบทของชุมชนเพื่อนำมาวางแผนปฏิบัติงาน การควบคุม กำกับ ดูแลให้งานทุกงานดำเนินไปเพื่อประโยชน์สูงสุดของนักเรียน จัดให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาสถานศึกษา และเน้นการให้บริการที่ดี สะดวก รวดเร็ว เบ็ดเสร็จ และสร้างความประทับใจให้แก่ผู้ใช้บริการ

3.) ปรับกระบวนทัศน์บุคลากรทุกฝ่ายให้ปรับแนวคิด และเปลี่ยนวิธีทำงานที่เน้นการให้บริการแก่ผู้รับบริการ กล่าวคือ นักเรียน ผู้ปกครอง และบุคลาการ อย่างเป็นรูปธรรม และปฏิบัติได้จริง เช่น การจัดกล่องรับฟังความคิดเห็น การจัดเจ้าหน้าที่อำนวยความสะดวกแก่ผู้ปกครองที่ต้องการติดต่อกับนักเรียนในระหว่างเวลาเรียน หรือคณะกรรมการนักเรียนช่วยต้อนรับ อำนวยความสะดวกในการติดต่อแก่ผู้ปกครอง ในการเข้าร่วมการประชุม จัดเจ้าหน้าที่ดูแลและให้บริการแก่นักเรียนในการสืบค้นข้อมูลผ่านสื่อเทคโนโลยี

4.) จัดสถานที่เรียน ที่พักผ่อน และบรรยากาศสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ ให้เอื้อต่อการเรียนรู้และการบริการชุมชน เช่น สวนหย่อม สวนสมุนไพร สวนวิถไทย สวนวรรณคดี ศูนย์วิชา ห้องปฏิบัติการ แหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกอาคารเรียน รวมทั้งสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์พืชพรรณและพัฒนาสิ่งแวดล้อมให้สามารถใช้เป็นสื่อการเรียนการสอน เพื่อฝึกนักเรียนให้หัดสังเกต เรียนรู้ ตั้งคำถามและหาคำตอบ ตลอดจนการให้บริการแก่นักเรียน ชุมชน ผู้ปกครอง ให้มาใช้สถานที่ในการออกกำลังกาย พักผ่อน นอกจากนี้ยังให้บริการทางวิชาการทั้งในวันปกติและวันหยุดราชการ อย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ผู้ปกครอง ชุมชน องค์กรต่างๆ ในเขตบางนา มีความพึงพอใจในการบริหารงานของโรงเรียน ซึ่งจะเห็นได้จากความร่วมมือร่วมใจอย่างดียิ่งในการระดมความคิด และทรัพยากรเพื่อพัฒนาโรงเรียนให้เป็นโรงเรียนของชุมชน

5.) นิเทศ กำกับ ติดตามและประเมินผล บุคลากรทุกคนมีส่วนร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมแก้ปัญหาในทุกขั้นตอนของการปฏิบัติงาน ตลอดจนการใช้กระบวนการพัฒนาและการควบคุมคุณภาพอย่างต่อเนื่องเพื่อให้เกิดความยั่งยืน

การส่งเสริมให้ครูจัดการเรียนรู้ตามแนวปฎิรูปการศึกษา

สรินญา ชัยนุรัตน์

1.) มุ่งเน้นการจัดการระบบการบริหารจัดการให้สอดคล้องกับการปฏิรูปการศึกษา เพื่อประโยชน์ของผู้เรียนเป็นสำคัญ ยึดหลักการบริหารและจัดการอย่างหลากหลายให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด ทั้งในด้านวิชาการ งบประมาณ การบริหารบุคคล ตลอดจนการบริหารงานทั่วไป ได้มอบหมายให้รองผู้อำนวยการทุกกลุ่มงานและครูทุกคนมีส่วนร่วมในการจัดการดังกล่าว โดยเน้นการทำงานเป็นทีม การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน ซึ่งได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์และการบริหารการเปลี่ยนแปลง

2.) สนับสนุนส่งเสริมให้นำเทคโนโลยีมาใช้ในการบริหารจัดการ และการนำไปใช้ในการเรียนการสอนโดยริเริ่มสร้างสรรค์งานใหม่ และสานงานเก่าให้พัฒนาอย่างต่อเนื่อง อย่างเป็นระบบ มีการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของโรงเรียน และ บริบทของชุมชนเพื่อนำมาวางแผนปฏิบัติงาน การควบคุม กำกับ ดูแลให้งานทุกงานดำเนินไปเพื่อประโยชน์สูงสุดของนักเรียน จัดให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาสถานศึกษา และเน้นการให้บริการที่ดี สะดวก รวดเร็ว เบ็ดเสร็จ และสร้างความประทับใจให้แก่ผู้ใช้บริการ

3.) ปรับกระบวนทัศน์บุคลากรทุกฝ่ายให้ปรับแนวคิด และเปลี่ยนวิธีทำงานที่เน้นการให้บริการแก่ผู้รับบริการ กล่าวคือ นักเรียน ผู้ปกครอง และบุคลาการ อย่างเป็นรูปธรรม และปฏิบัติได้จริง เช่น การจัดกล่องรับฟังความคิดเห็น การจัดเจ้าหน้าที่อำนวยความสะดวกแก่ผู้ปกครองที่ต้องการติดต่อกับนักเรียนในระหว่างเวลาเรียน หรือคณะกรรมการนักเรียนช่วยต้อนรับ อำนวยความสะดวกในการติดต่อแก่ผู้ปกครอง ในการเข้าร่วมการประชุม จัดเจ้าหน้าที่ดูแลและให้บริการแก่นักเรียนในการสืบค้นข้อมูลผ่านสื่อเทคโนโลยี

4.) จัดสถานที่เรียน ที่พักผ่อน และบรรยากาศสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ ให้เอื้อต่อการเรียนรู้และการบริการชุมชน เช่น สวนหย่อม สวนสมุนไพร สวนวิถไทย สวนวรรณคดี ศูนย์วิชา ห้องปฏิบัติการ แหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกอาคารเรียน รวมทั้งสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์พืชพรรณและพัฒนาสิ่งแวดล้อมให้สามารถใช้เป็นสื่อการเรียนการสอน เพื่อฝึกนักเรียนให้หัดสังเกต เรียนรู้ ตั้งคำถามและหาคำตอบ ตลอดจนการให้บริการแก่นักเรียน ชุมชน ผู้ปกครอง ให้มาใช้สถานที่ในการออกกำลังกาย พักผ่อน นอกจากนี้ยังให้บริการทางวิชาการทั้งในวันปกติและวันหยุดราชการ อย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ผู้ปกครอง ชุมชน องค์กรต่างๆ ในเขตบางนา มีความพึงพอใจในการบริหารงานของโรงเรียน ซึ่งจะเห็นได้จากความร่วมมือร่วมใจอย่างดียิ่งในการระดมความคิด และทรัพยากรเพื่อพัฒนาโรงเรียนให้เป็นโรงเรียนของชุมชน

5.) นิเทศ กำกับ ติดตามและประเมินผล บุคลากรทุกคนมีส่วนร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมแก้ปัญหาในทุกขั้นตอนของการปฏิบัติงาน ตลอดจนการใช้กระบวนการพัฒนาและการควบคุมคุณภาพอย่างต่อเนื่องเพื่อให้เกิดความยั่งยืน

บทที่ 1 : การจัดการความรู้เบื้องต้น

1.1 การจัดการความรู้ในองค์กร หมายถึง การรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ในองค์กร ซึ่งกระจัดกระจายอยู่ในตัวบุคคลหรือเอกสาร มาพัฒนาให้เป็นระบบ เพื่อให้ทุกคนในองค์กรสามารถเข้าถึงความรู้ และพัฒนาตนเองให้เป็นผู้รู้ รวมทั้งปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะส่งผลให้องค์กรมีความสามารถในเชิงแข่งขันสูงสุด โดยที่ความรู้มี 2 ประเภท คือ

- ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน (Tacit Knowledge) เป็นความรู้ที่ได้จากประสบการณ์ พรสวรรค์หรือสัญชาตญาณของแต่ละบุคคลในการทำความเข้าใจในสิ่งต่างๆ เป็นความรู้ที่ไม่สามารถถ่ายทอดออกมาเป็นคำพูดหรือลายลักษณ์อักษรได้โดยง่าย เช่น ทักษะในการทำงาน งานฝีมือ หรือการคิดเชิงวิเคราะห์ บางครั้ง จึงเรียกว่าเป็นความรู้แบบนามธรรม

- ความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) เป็นความรู้ที่สามารถรวบรวม ถ่ายทอดได้ โดยผ่านวิธีต่างๆ เช่น การบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร ทฤษฎี คู่มือต่างๆ และบางครั้งเรียกว่าเป็นความรู้แบบรูปธรรม

1.2 แนวคิดการจัดทำแผนการจัดการความรู้ (Knowledge Management Action Plan) ตามคู่มือฉบับนี้ ได้นำแนวคิดเรื่องกระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management Process) และกระบวนการบริหารจัดการการเปลี่ยนแปลง (Change Management Process) มาประยุกต์ใช้ในการจัดทำแผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan)

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท