แบบทดสอบนักเรียนชั้นม.3


กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีมุ่งหวังให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ มีทักษะที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต และรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง สามารถนำความรู้เกี่ยวกับการดำรงชีวิต การอาชีพ และเทคโนโลยี มาประยุกต์ใช้ในการทำงานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ เห็นแนวทางการประกอบอาชีพ รักการทำงาน มีเจตคติที่ดีต่อการทำงาน สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างพอเพียง

 

      

แบบทดสอบนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3   กล่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี

โรงเรียนบ้านสร้างม่วงส้มเสี้ยว อำเภอบุณฑริก จังหวัดอุบลราชธานี

  โดย คุณครูสุวิมล  ไวยารัตน์

1. จงบอกอธิบายรายละเอียด    ดังนี้

      1.1 การขยายพันธุ์พืชโดยวิธีต่อกิ่ง

      1.2 การขยายพันธุ์พืชโดยวิธีปักชำ

      1.3 การขยายพันธุ์พืชโดยวิธีตอนกิ่ง

2. จงอธิบายเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ  ดังนี้

     2.1. เทคโนโลยีสารสนเทศหมายถึงอะไร

     2.2.  ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ

     2.3. เทคโนโลยีสารสนเทศที่ใช้ในชีวิตประจำวัน  ได้แก่....

     

หมายเหตุ  ก่อนตอบคำถามให้นักเรียนแนะนำตัวเองก่อนนะคะ

               นักเรียนสามารถตอบคำถามได้มากกว่า 1 ครั้ง

 

 

หมายเลขบันทึก: 344369เขียนเมื่อ 14 มีนาคม 2010 22:45 น. ()แก้ไขเมื่อ 6 กันยายน 2013 22:35 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (52)

เห็นคำถามแล้วนึกถึงสมัยตัวเองตอนเด็กๆ ค่ะ

เป็นคำถามเดียวกันเลยที่คุณครูเคยให้ทำ

ทุกความคิดเห็นมีคุณค่า ถ้าทุกคนกล้าที่จะแสดงให้คนได้รู้..

สวัสดีค่ะดิฉันนางสาวเนาวรัตน์ ครินทร์ เลขที่ 26 และนางสาวจันทร์เพ็ง สวิล เลขที่ 28 ชั้นม.3/1

1.การขยายพันธุ์โดยวิธีติดตาต่อกิ่ง (Propagation by grafting) โดย นายสนั่น ขำเลิศ

การติดตาต่อกิ่ง เป็นศิลปะของการเชื่อม ส่วนของต้นพืชเข้าด้วยกัน เพื่อที่จะให้ส่วนของพืชนั้นๆ ติดต่อกันและเจริญต่อไปเหมือนกับเป็นต้นพืชต้นเดียวกัน ส่วนของต้นพืชที่ต่ออยู่ทางส่วนฃ บนหรือที่ทำหน้าที่เป็นยอดของต้นพืชนั้น เรียกว่า กิ่งพันธุ์ดี (scion) และส่วนของพืชที่ต่ออยู่ทางส่วนล่างหรือที่ทำหน้าที่เป็นรากเรียกว่า ต้นตอ (stock or rootstock) จะเห็นได้ว่าในการขยายพันธุ์ด้วยวิธีการติดตาต่อกิ่ง ส่วนของต้นพืชที่เกี่ยวข้องก็คือต้นตอ และกิ่งพันธุ์ดี ด้วยเหตุนี้การศึกษาเกี่ยวกับต้นตและกิ่งพันธุ์ดีจึงเป็นเรื่องที่ควรทำเป็นอันดับแรกต้นตอ ในการขยายพันธุ์ด้วยวิธีการติดตาต่อกิ่ง การใช้ต้นตอที่ปฏิบัติกันอยู่ทั่วๆ ไปพอจะแบ่งออกได้เป็น ๒ ชนิด

๑. ต้นตอที่ได้จากการขยายพันธุ์ด้วยเมล็ดหมายถึงต้นพืชที่จะใช้เป็นต้นตอนั้นเพาะมาจากเมล็ด เมื่อต้นมีขนาดโตพอแล้วจึงนำมาใช้เป็นต้นตอสำหรับติดตาต่อกิ่งหรือทาบกิ่ง เรามักเรียกต้นตอชนิดนี้ว่า ต้นตอเพาะเมล็ด (seedling-rootstock)เนื่องจากต้นตอชนิดนี้เพาะมาจากเมล็ด อาจมีความผิดเพี้ยนหรือกลายพันธุ์ไปบ้าง จึงต้องมีการคัดเลือกต้นที่ไม่ตรงตามพันธุ์หรือผิดเพี้ยนไปจากลักษณะที่ต้องการออกเสีย ตลอดจนต้นที่อ่อนแอหรือมีลักษณะไม่เหมาะสมที่จะนำมาใช้เป็นต้นตอเช่น ลำต้นคดบิด หรือมีลักษณะของรอยต่อระหว่างต้นและราก เป็นแบบคอห่านซึ่งเกิดจากการวางเมล็ดเพาะผิดวิธี ถ้านำต้นพืชที่มีลักษณะดังกล่าวนี้ไปเป็นต้นตอแล้ว มักจะเกิดการหักโค่นตรงบริเวณที่ปเป็นคอห่านได้ง่าย ฉะนั้นจึงต้องคัดทิ้งเสีย เนื่องปจากต้นตอที่ขยายพันธุ์จากเมล็ดมีระบบรากที่หยั่งลึกสามารถจะยึดเกาะต้นได้แข็งแรง จึงได้รับความนิยมใช้เป็นต้นตอของไม้ยืนต้น เช่น มะม่วง ทุเรียน มะขาม เป็นต้น พืชพันธุ์ใดก็ตามที่จะนำมาใช้เป็นต้นตอนั้น ควรจะเป็นพันธุ์พืชที่หาเมล็ดได้ง่ายหรือมีเมล็ดมากด้วย

๒. ต้นตอที่ได้จากการตัดชำ การตอนหรือการแยกหน่อ มักเรียกต้นตอเช่นนี้ว่า ต้นตอตัดชำ(cutting stock) ข้อดีของต้นตอชนิดนี้ก็คือ เป็นต้นตอที่ตรงตามพันธุ์แน่นอน เหมาะที่จะใช้ในงานทดลองหรือใช้เพื่อวัตถุประสงค์บางอย่าง เช่น ใช้เป็นต้นตอ ทนโรค ทนแล้ง ทนแฉะ หรือทนสารบางอย่าง แต่เนื่องจากเป็นต้นตอที่มีระบบรากตื้น จึงไม่นิยมใช้กับไม้ยืนต้น แต่มักใช้กับไม้ดอกหรือไม้ประดับที่เป็นพุ่ม เช่น กุหลาบ ชบา ดอนย่า ฯลฯ และพืชพันธุ์ใดก็ตามที่จะนำมาใช้เป็นพันธุ์ต้นตอนั้น นอกจากจะมีคุณสมบัติพิเศษตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการแล้ว ควรจะมีคุณสมบัติในการเจริญเติบโตและการออกรากได้ดีด้วย

ต้นตอ เป็นปัจจัยสำคัญที่มีผลเกี่ยวกับความสำเร็จในการติดตาต่อกิ่ง การเลี้ยงดูต้นตอให้สมบูรณ์ และการเลือกขนาดของต้นตอให้พอเหมาะในการติดตาต่อกิ่งต้นพืชแต่ละชนิด จะช่วยให้ได้ผลดีขึ้นด้วย

กิ่งพันธุ์ดี คือ ส่วนของต้นพืชที่ทำหน้าที่เป็นส่วนยอดของต้นพืชที่ต่ออยู่ หรืออาจหมายถึงกิ่งพืชที่จะนำไปติดหรือต่อบนต้นตอก็ได้ ในการติดตาต่อกิ่งมีเรื่องที่เกี่ยวข้องกับกิ่งพันธุ์ดีที่ควรจะทราบ คือ

ก. การเลือกกี่พันธุ์ดี (selection of scion wood)

ข. การเก็บรักษากี่งพันธุ์ดี (storage of scion wood)

ค. การเตรียมกิ่งพันธุ์ดี

2.การปักชำเป็นวิธีขยายพันธุ์พืชที่ดีวิธีหนึ่งซึ่งมีข้อดี ดังนี้

1. ประหยัดค่าใช้จ่าย

2. ขยายพันธุ์ได้ปริมาณมาก

3. ทำได้ง่ายโดยไม่ต้องอาศัยเทคนิคหรือความสามารถมาก

4. ต้นพืชเจริญเติบโตเร็ว โดยใช้ระยะเวลาไม่นาน

5. พืชต้นใหม่ที่ได้จะมีลักษณะเหมือนต้นเดิมทุกประการดชำ หรือออกรากยากกว่าการตอนกิ่งเท่านั้น กกว่าการตอนกิ่งเท่านั้น

3. การตอนกิ่ง เป็นวิธีการขยายพันธุ์พืชที่ใช้กันมานานและเป็นที่รู้จักกันดีในหมู่ชาวสวนทั่วๆไป วิธีการตอนกิ่งที่เราใช้กันอยู่ทุกวันนี้เป็นวิธีการที่ได้นำมาจากประเทศจีน แต่ได้ดัดแปลงไปบ้างเพื่อความสะดวกในการปฏิบัติ ในยุโรปและอเมริกาก็มีวิธีขยายพันธุ์พืชด้วยการตอนกิ่งเช่นเดียวกัน แต่วิธีการในการตอนกิ่งผิดไปจากวิธีที่รู้จักกันดีในบ้านเราและเรามักเรียกวิธีการตอนกิ่งแบบยุโรปว่า "การตอนทับกิ่ง" ในที่นี้จะขอกล่าวเฉพาะการตอนกิ่งแบบชาวจีน หรือการตอนกิ่งแบบตอนหุ้มกิ่ง ซึ่งมีวิธีการตอนหุ้มกิ่งหลายแบบไม่ว่าจะเป็นการตอนกิ่งแบบชาวจีน หรือการตอนทับกิ่งแบบชาวยุโรป โดยหลักการในการ ตอนต้นพืชแล้วก็คือ การทำให้ต้นหรือกิ่งพืชออกรากขณะที่ยังติดอยู่กับต้นแม่ หลังจากต้นหรือกิ่งพืชออกรากดีแล้วจึงตัดไปปลูกภายหลัง ฉะนั้นโอกาสของการที่กิ่งพืชจะมีชีวิตอยู่รอด จึงดีกว่าการขยายพันธุ์ด้วยการตัดชำ แต่ก็มีข้อเสียอยู่ที่ว่าขยายได้ช้ากว่า ด้วยเหตุนี้ถ้าต้องการต้นพืชจำนวนมากๆ แล้วมักจะไม่ใช้การขยายพันธุ์ด้วยการตอนกิ่ง เว้นแต่ต้นพืชนั้นจะขยายพันธุ์ไม่ได้ด้วยการตัการปักชำ คือการใช้ส่วนต่างๆ ของพืช เช่น ราก ใบ หรือ ลำต้น ไปปักชำ และส่วนของพืชเหล่านี้ปลูกภายหลัง ฉะนั้นโอกาสของการที่กิ่งพืชจะมีชีวิตอยู่รอด จึงดีกว่าการขยายพันธุ์ด้วยการตัดชำ แต่ก็มีข้อเสียอยู่ที่ว่าขยายได้ช้ากว่า ด้วยเหตุนี้ถ้าต้องการต้นพืชจำนวนมากๆ แล้วมักจะไม่ใช้การขยายพันธุ์ด้วยการตอนกิ่ง

2.ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ

เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology: IT) หรือเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication Technologies: ICTs) ก็คือ เทคโนโลยีสองด้านหลัก ๆ ที่ประกอบด้วยเทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์ และ เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคมที่ผนวกเข้าด้วยกัน เพื่อใช้ในกระบวนการจัดหา จัดเก็บ สร้าง และเผยแพร่สารสนเทศในรูปต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นเสียง ภาพ ภาพเคลื่อนไหว ข้อความหรือตัวอักษร และตัวเลข เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ความถูกต้อง ความแม่นยำ และความรวดเร็วให้ทันต่อการนำไปใช้ประโยชน์

ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมี 5 ประการ (Souter 1999: 409) ได้แก่

ประการแรก การสื่อสารถือเป็นสิ่งจำเป็นในการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ สิ่งสำคัญที่มีส่วนในการพัฒนากิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ประกอบด้วย Communications media, การสื่อสารโทรคมนาคม (Telecoms), และเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT)

ประการที่สอง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารประกอบด้วยผลิตภัณฑ์หลักที่มากไปกว่าโทรศัพท์และคอมพิวเตอร์ เช่น แฟกซ์, อินเทอร์เน็ต, อีเมล์ ทำให้สารสนเทศเผยแพร่หรือกระจายออกไปในที่ต่าง ๆ ได้สะดวก

ประการที่สาม เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมีผลให้การใช้งานด้านต่าง ๆ มีราคาถูกลง

ประการที่สี่ เครือข่ายสื่อสาร (Communication networks) ได้รับประโยชน์จากเครือข่ายภายนอก เนื่องจากจำนวนการใช้เครือข่าย จำนวนผู้เชื่อมต่อ และจำนวนผู้ที่มีศักยภาพในการเข้าเชื่อมต่อกับเครือข่ายนับวันจะเพิ่มสูงขึ้น

ประการที่ห้า เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทำให้ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ และต้นทุนการใช้ ICT มีราคาถูกลงมาก

ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศในด้านที่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมด้านต่าง ๆ ของผู้คนไว้หลายประการดังต่อไปนี้ (จอห์น ไนซ์บิตต์ อ้างถึงใน ยืน ภู่วรวรรณ)

ประการที่หนึ่ง เทคโนโลยีสารสนเทศ ทำให้สังคมเปลี่ยนจากสังคมอุตสาหกรรมมาเป็นสังคมสารสนเทศ

ประการที่สอง เทคโนโลยีสารสนเทศทำให้ระบบเศรษฐกิจเปลี่ยนจากระบบแห่งชาติไปเป็นเศรษฐกิจโลก ที่ทำให้ระบบเศรษฐกิจของโลกผูกพันกับทุกประเทศ ความเชื่อมโยงของเครือข่ายสารสนเทศทำให้เกิดสังคมโลกาภิวัฒน์

ประการที่สาม เทคโนโลยีสารสนเทศทำให้องค์กรมีลักษณะผูกพัน มีการบังคับบัญชาแบบแนวราบมากขึ้น หน่วยธุรกิจมีขนาดเล็กลง และเชื่อมโยงกันกับหน่วยธุรกิจอื่นเป็นเครือข่าย การดำเนินธุรกิจมีการแข่งขันกันในด้านความเร็ว โดยอาศัยการใช้ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการสื่อสารโทรคมนาคมเป็นตัวสนับสนุน เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนข้อมูลได้ง่ายและรวดเร็ว

ประการที่สี่ เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเทคโนโลยีแบบสุนทรียสัมผัส และสามารถตอบสนองตามความต้องการการใช้เทคโนโลยีในรูปแบบใหม่ที่เลือกได้เอง

ประการที่ห้า เทคโนโลยีสารสนเทศทำให้เกิดสภาพทางการทำงานแบบทุกสถานที่และทุกเวลา

ประการที่หก เทคโนโลยีสารสนเทศก่อให้เกิดการวางแผนการดำเนินการระยะยาวขึ้น อีกทั้งยังทำให้วิถีการตัดสินใจ หรือเลือกทางเลือกได้ละเอียดขึ้น

นายจันดี เสนา ชั้น ม.3/1 เลขที 16 นายณัฐกิจ ทาบุดดา ชั้น ม.3/1 เลขที่15 นายศรนิรันดร์ พันธุมาศ ชั้น ม3/1 เลขที่ 5

1. จงบอกอธิบายรายละเอียด ดังนี้

1.1 การขยายพันธุ์โดยวิธีติดตาต่อกิ่ง (Propagation by grafting)

การติดตาต่อกิ่ง เป็นศิลปะของการเชื่อม ส่วนของต้นพืชเข้าด้วยกัน เพื่อที่จะให้ส่วนของพืชนั้นๆ ติดต่อกันและเจริญต่อไปเหมือนกับเป็นต้นพืชต้นเดียวกัน ส่วนของต้นพืชที่ต่ออยู่ทางส่วนฃ บนหรือที่ทำหน้าที่เป็นยอดของต้นพืชนั้น เรียกว่า กิ่งพันธุ์ดี (scion) และส่วนของพืชที่ต่ออยู่ทางส่วนล่างหรือที่ทำหน้าที่เป็นรากเรียกว่า ต้นตอ (stock or rootstock) จะเห็นได้ว่าในการขยายพันธุ์ด้วยวิธีการติดตาต่อกิ่ง ส่วนของต้นพืชที่เกี่ยวข้องก็คือต้นตอ และกิ่งพันธุ์ดี ด้วยเหตุนี้การศึกษาเกี่ยวกับต้นตและกิ่งพันธุ์ดีจึงเป็นเรื่องที่ควรทำเป็นอันดับแรกต้นตอ ในการขยายพันธุ์ด้วยวิธีการติดตาต่อกิ่ง การใช้ต้นตอที่ปฏิบัติกันอยู่ทั่วๆ ไปพอจะแบ่งออกได้เป็น ๒ ชนิด

๑. ต้นตอที่ได้จากการขยายพันธุ์ด้วยเมล็ดหมายถึงต้นพืชที่จะใช้เป็นต้นตอนั้นเพาะมาจากเมล็ด เมื่อต้นมีขนาดโตพอแล้วจึงนำมาใช้เป็นต้นตอสำหรับติดตาต่อกิ่งหรือทาบกิ่ง เรามักเรียกต้นตอชนิดนี้ว่า ต้นตอเพาะเมล็ด (seedling-rootstock)เนื่องจากต้นตอชนิดนี้เพาะมาจากเมล็ด อาจมีความผิดเพี้ยนหรือกลายพันธุ์ไปบ้าง จึงต้องมีการคัดเลือกต้นที่ไม่ตรงตามพันธุ์หรือผิดเพี้ยนไปจากลักษณะที่ต้องการออกเสีย ตลอดจนต้นที่อ่อนแอหรือมีลักษณะไม่เหมาะสมที่จะนำมาใช้เป็นต้นตอเช่น ลำต้นคดบิด หรือมีลักษณะของรอยต่อระหว่างต้นและราก เป็นแบบคอห่านซึ่งเกิดจากการวางเมล็ดเพาะผิดวิธี ถ้านำต้นพืชที่มีลักษณะดังกล่าวนี้ไปเป็นต้นตอแล้ว มักจะเกิดการหักโค่นตรงบริเวณที่ปเป็นคอห่านได้ง่าย ฉะนั้นจึงต้องคัดทิ้งเสีย เนื่องปจากต้นตอที่ขยายพันธุ์จากเมล็ดมีระบบรากที่หยั่งลึกสามารถจะยึดเกาะต้นได้แข็งแรง จึงได้รับความนิยมใช้เป็นต้นตอของไม้ยืนต้น เช่น มะม่วง ทุเรียน มะขาม เป็นต้น พืชพันธุ์ใดก็ตามที่จะนำมาใช้เป็นต้นตอนั้น ควรจะเป็นพันธุ์พืชที่หาเมล็ดได้ง่ายหรือมีเมล็ดมากด้วย

๒. ต้นตอที่ได้จากการตัดชำ การตอนหรือการแยกหน่อ มักเรียกต้นตอเช่นนี้ว่า ต้นตอตัดชำ(cutting stock) ข้อดีของต้นตอชนิดนี้ก็คือ เป็นต้นตอที่ตรงตามพันธุ์แน่นอน เหมาะที่จะใช้ในงานทดลองหรือใช้เพื่อวัตถุประสงค์บางอย่าง เช่น ใช้เป็นต้นตอ ทนโรค ทนแล้ง ทนแฉะ หรือทนสารบางอย่าง แต่เนื่องจากเป็นต้นตอที่มีระบบรากตื้น จึงไม่นิยมใช้กับไม้ยืนต้น แต่มักใช้กับไม้ดอกหรือไม้ประดับที่เป็นพุ่ม เช่น กุหลาบ ชบา ดอนย่า ฯลฯ และพืชพันธุ์ใดก็ตามที่จะนำมาใช้เป็นพันธุ์ต้นตอนั้น นอกจากจะมีคุณสมบัติพิเศษตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการแล้ว ควรจะมีคุณสมบัติในการเจริญเติบโตและการออกรากได้ดีด้วย

ต้นตอ เป็นปัจจัยสำคัญที่มีผลเกี่ยวกับความสำเร็จในการติดตาต่อกิ่ง การเลี้ยงดูต้นตอให้สมบูรณ์ และการเลือกขนาดของต้นตอให้พอเหมาะในการติดตาต่อกิ่งต้นพืชแต่ละชนิด จะช่วยให้ได้ผลดีขึ้นด้วย

กิ่งพันธุ์ดี คือ ส่วนของต้นพืชที่ทำหน้าที่เป็นส่วนยอดของต้นพืชที่ต่ออยู่ หรืออาจหมายถึงกิ่งพืชที่จะนำไปติดหรือต่อบนต้นตอก็ได้ ในการติดตาต่อกิ่งมีเรื่องที่เกี่ยวข้องกับกิ่งพันธุ์ดีที่ควรจะทราบ คือ

ก. การเลือกกี่พันธุ์ดี (selection of scion wood)

ข. การเก็บรักษากี่งพันธุ์ดี (storage of scion wood)

ค. การเตรียมกิ่งพันธุ์ดี

การเลือกกิ่งพันธุ์ดี (selection of scion wood)

ก. การเลือกกิ่งพันธุ์ดี (selection of scion wood)

ในการติดตาต่อกิ่ง ทั้งต้นตอและกิ่งพันธุ์ดีที่นำมาติดหรือต่อเข้าด้วยกันนั้น จะต้องมีการสร้างเนื้อเยื่อให้ประสานกัน การสร้างเนื้อเยื่อจะเร็ว หรือช้าขึ้นอยู่กับความสมบูรณ์หรืออาหารที่มีอยู่ในส่วนของพืชทั้งสอง โดยเฉพาะกิ่งพันธุ์ดีซึ่งเป็นชิ้น ส่วนที่เล็กย่อมจะมีอาหารสะสมอยู่น้อย จึงจำเป็นต้องเลือกให้เหมาะสม เพื่อให้การติดหรือต่อได้ผลดี การเลือกกิ่งพันธุ์ดีที่นิยมปฏิบัติกันทั่วๆไปนั้นอาจแบ่งออกได้เป็น ๒ ชนิด คือ

๑. กิ่งพันธุ์ดีเป็นกิ่งแก่หรือกิ่งที่กำลังพักตัว (brown bud wood) เป็นกิ่งที่เจริญในฤดูที่แล้ว หรือปีที่แล้ว ปกติจะมีอายุ ๑ ฤดูหรือไม่เกิน ๑ ปี ลักษณะกิ่งมีเปลือกสีน้ำตาลแข็ง มีอาหารสะสมอยู่มาก ทนต่อการเหี่ยวแห้งและชอกช้ำ สามารถเก็บรักษาไว้ได้นาน ข้อเสียของการใช้กิ่งชนิดนี้ก็ คือ ตาที่ติดมักจะเจริญช้า จะต้องมีการบังคับตาอย่างหนักจึงจะแตกเป็นกิ่งได้

๒. กิ่งพันธุ์ดีที่เป็นกิ่งอ่อน หรือกิ่งที่กำลังเจริญเติบโต (green wood or green bud) เป็นกิ่งอ่อนสีเขียวที่กำลังเจริญเติบโต มีอาหารสะสมน้อยเหี่ยวแห้งและชอกช้ำง่าย แต่ก็มีตาที่เจริญได้รวดเร็ว การบังคับตาให้แตกหลังจากติดตาหรือต่อกิ่งแล้วสามารถทำได้ง่าย ในการติดตาต่อกิ่งพันธุ์พืชทั่วๆ ไปเราอาจใช้กิ่งพันธุ์ดีได้ทั้งที่เป็นกิ่งแก่และกิ่งอ่อน ส่วนการเลือกกิ่ง ถือหลักเกณฑ์การปฏิบัติเช่นเดียวกัน

หลักเกณฑ์ในการเลือกกิ่งพันธุ์ดี

๑. เป็นกิ่งปีเดียวหรือฤดูเดียว คือ ถ้าเป็นกิ่งแก่ควรมีอายุไม่เกิน ๑ ปี ถ้าเป็นกิ่งอ่อนควรจะมีอายุไม่เกิน ๑ ฤดู เพราะกิ่งที่มีอายุแก่เกินไป ตาที่ติดมักไม่ค่อยเจริญ

๒. เป็นกิ่งที่มีตา (bud) แข็งแรง ไม่ว่าจะเป็นตายอดหรือตาข้าง มองเห็นได้ชัดว่าจะเจริญเป็นกิ่งหรือต้นได้งอกงาม ปกติเป็นตาที่อยู่ทางด้านปลายกิ่ง

๓. เป็นกิ่งที่สมบูรณ์ มีการเจริญปานกลาง คือ มีข้อไม่ห่างจนเกินไป ลักษณะกิ่งกลมไม่ขึ้นเหลี่ยมหรืออวบจนเห็นได้ชัด กิ่งมีความแข็งพอควร โดยเฉพาะกิ่งอ่อน ปกติมักใช้กิ่งกระโดงหรือกิ่งน้ำค้าง

๔. กิ่งมีขนาดพอเหมาะ คือ มีเส้นผ่านศูนย์กลางขนาดประมาณ ๑๔ - ๑๒ นิ้ว หรือมีขนาดประมาณดินสอดำ และมักใช้ ๒๓ ของกิ่ง ส่วนใหญ่จะอยู่ประมาณกลางกิ่งและปลายกิ่ง

๕. เป็นกิ่งที่ได้จากต้นแม่ที่แข็งแรง ได้รับการตรวจแล้วว่าไม่เป็นโรค โดยเฉพาะโรคที่ติดต่อถ่ายทอดกันได้ด้วยการติดตาต่อกิ่ง เช่น โรคไวรัสเป็นต้น เป็นต้นที่รู้พันธุ์แน่นอน และควรจะเป็นต้นที่ตัดแต่งไว้สำหรับใช้เป็นกิ่งพันธุ์ดีโดยเฉพาะ

การเก็บรักษากิ่งพันธุ์ดี (storage of scion wood)

ข. การเก็บรักษากิ่งพันธุ์ดี (storage of scion wood)

ในการติดตาต่อกิ่ง กิ่งพันธุ์ดีที่นำมาใช้อาจได้มาจากบริเวณใกล้เคียง ซึ่งสามารถจะติดหรือต่อให้แล้วเสร็จได้ภายในวันเดียว ซึ่งเรียกกิ่งพันธุ์ดีพวกนี้ว่ากิ่งสด (fresh scion) หรืออาจเป็นกิ่งที่เก็บไว้ใช้ในเวลาอื่น หรือฤดูอื่นที่เหมาะสม ซึ่งเรียกกิ่งพวกนี้ว่า กิ่งเก็บ (storage scion) ก็ได้ อย่างไรก็ตาม ไม่ว่ากิ่งแก่ที่พักตัวหรือกิ่งอ่อนสีเขียว และจะนำมาใช้ทันทีหรือนำมาใช้ในเวลาต่อไปก็ดี จะต้องปฏิบัติดูแลให้กิ่งที่ตัดมานั้นมีสภาพเหมือนกับอยู่บนต้นเดิมให้มากที่สุด วิธีที่จะรักษากิ่งพันธุ์ดีให้สดอยู่ได้นานๆ นั้น ควรจะปฏิบัติดังนี้

๑. หลังจากที่ตัดกิ่งพันธุ์ดีออกจากต้น จะต้องรีบลดการคายน้ำจากกิ่งที่ตัดทันที โดยเฉพาะกิ่งพันธุ์ดีที่เป็นกิ่งอ่อนและมีใบติดอยู่บนกิ่ง จะมีการคายน้ำออกจากใบได้อย่างรวดเร็ว จะต้องรีบตัดใบออกทันที เหลือแต่โคนก้านใบที่จะใช้จับเวลาสอดแผ่นตาเท่านั้น

๒. เก็บกิ่งที่ริดใบหมดแล้วไว้ในที่ชื้น เช่นในกาบกล้วย ในห่อผ้าที่ชื้นหรือในถุงพลาสติก โดยมีผ้า กระดาษ หรือสำลีชุบน้ำและบีบจนสะเด็ดน้ำใส่ไว้ในถุงแล้วรัดปากถุงพลาสติกให้แน่น

๓. เก็บห่อหรือถุงที่ใส่กิ่งพันธุ์ดีไว้ในที่ร่มชื้นหรือเย็น หรือในห้องที่มีการถ่ายเทอากาศดี

๔. ถ้ามีห้องเย็นหรือตู้เย็น ควรเก็บกิ่งพันธุ์ดีไว้ในอุณหภูมิ ๔๐°ฟ. หรือชั้นเก็บผลไม้สด ซึ่งการเก็บกิ่งในอุณหภูมิต่ำเช่นนี้จะสามารถเก็บกิ่งไว้ได้นาน ๒-๔ สัปดาห์

การเตรียมกิ่งพันธุ์ดี

ค. การเตรียมกิ่งพันธุ์ดี

ไม่ว่าจะเป็นการติดตา หรือการต่อกิ่งวิธีใดก็ตาม การเตรียมแผ่นตาในการติดตาและการเตรียมกิ่งตาในการต่อกิ่ง มักจะมีวิธีปฏิบัติคล้ายๆ กัน คือ

การเตรียมแผ่นตา

๑. การเฉือนแผ่นตา ควรเฉือนจากปลายแผ่นไปทางโคนแผ่น แต่จะเฉือนตาที่ปลายกิ่งหรือโคนกิ่งก่อนก็ได้ การเฉือนจากปลายแผ่นเช่นนี้เพื่อป้องกันการเฉือนหลุดที่ตา

๒. เฉือนให้แผ่นตา มีความยาว ๑ นิ้ว โดยเฉือนให้เหนือตาครึ่งนิ้วและใต้ตาครึ่งนิ้ว

๓. ถ้าเป็นพวกกิ่งสด ควรตัดก้านใบให้เหลือไว้สำหรับจับแผ่นตา แต่ถ้าเป็นกิ่งเก็บหรือกิ่งสดที่ก้านใบหลุดไปแล้ว ควรเฉือนให้แผ่นตาส่วนที่อยู่เหนือตามีความยาว ๑ นิ้ว เพื่อไว้เป็นที่จับสอดแผ่นตา และจะตัดส่วนที่จับนี้ออกเมื่อสอดแผ่นตาเรียบร้อยแล้ว

๔. ต้องเฉือนแผ่นตาให้ติดเนื้อไม้เล็กน้อยเพื่อให้เกิดบริเวณของแนวเยื่อเจริญ (cambium layer) ซึ่งจะทำให้เกิดรอยต่อ

๕. ควรเฉือนที่เดียวให้ตลอดแผ่นตา ไม่ควรขยับมีดหรือแต่งรอยเฉือนให้เรียบภายหลังเพราะจะทำให้รอยเฉือนเป็นคลื่น แนวเยื่อเจริญไม่แนบกันตลอด ทำให้รอยต่อติดกันไม่สนิท

๖. การติดตาบางวิธีที่ต้องลอกเนื้อไม้ออกต้องระวังมิให้เปลือกของแผ่นตาย่นหรือช้ำได้เพราะจะทำให้แผ่นตาเสียได้

การเตรียมกิ่งตา

กิ่งตาคือชิ้นส่วนของกิ่งพันธุ์ดีที่ใช้ในการต่อกิ่ง ซึ่งจะมีตาตั้งแต่หนึ่งตาขึ้นไป การเตรียมกิ่งตาควรปฏิบัติดังนี้

๑. เลือกกิ่งพันธุ์ดีที่จะเฉือนให้มีขนาดพอเหมาะกับแผลที่เตรียมบนต้นตอ และกะบริเวณแผลที่จะเฉือนให้มีขนาดที่จะสอดได้พอเหมาะ

๒. เฉือนกิ่งตาทั้งท่อนยาว โดยเฉือนท่อนโคนกิ่งก่อน การเฉือนต้องให้รอยแผลเรียบและตรงถ้ายังไม่เรียบต้องตั้งต้นเฉือนใหม่ ไม่ควรแต่งแผลที่เฉือน เพราะจะทำให้รอยแผลเป็นคลื่น และควรให้รอยแผลที่เฉือนยาว ๑-๑.๕ นิ้ว หรือเท่ากับรอยแผลที่เตรียมบนต้นตอ

๓. ตัดกิ่งให้มีตาเหลืออยู่บนกิ่งตา ๓-๕ ตาและยาวไม่เกิน ๓ นิ้วโดยตัดให้รอยตัดเหนือตาบนยาวประมาณ ๑๔ นิ้ว

๔. หลังจากสอดกิ่งตาและพันรอยต่อเรียบร้อยแล้ว ควรหาวัตถุคลุมเพื่อรักษากิ่งตาไม่ให้แห้งขณะรอการติด โดยเฉพาะกิ่งตาที่เป็นกิ่งอ่อนสีเขียว

การบังคับตา

ไม่ว่าการติดตาหรือต่อกิ่ง โดยเฉพาะการต่อกิ่งที่ไม่ตัดยอดต้นตอ หลังจากติดตาต่อกิ่งได้แล้ว จะต้องมีการบังคับตาหรือกิ่งตาที่ต่อให้เจริญเป็นยอดพันธุ์ดีตามที่ต้องการ การบังคับตาหรือกิ่งตาที่ต่อให้เจริญเป็นยอดพันธุ์ดีตามที่ต้อการ การบังคับตาดังกล่าวอาจจะทำทันที่หลังจากที่ทราบผลการติดหรือต่อแล้ว หรืออาจทำในระยะใดระยะหนึ่ง ที่มีสภาพเหมาะสมในการเจริญของกิ่งตาก็ได้สิ่งที่ต้องพิจารณาในการบังคับตาก็คือ เรื่องของฮอร์โมนที่ควบคุมการเจริญของตาที่อยู่บนกิ่ง เรื่องของอาหารภายในต้นตอ และเรื่องของสภาพแวดล้อมในการเจริญของตา ซึ่งจะได้กล่าวต่อไป

1.2 การขยายพันธุ์พืชโดยวิธีการปักชำ

คือ การนำส่วนต่าง ๆ ของพืชพันธุ์ดี เช่น ใบ และ ราก มาตัดและปักชำในวัสดุเพาะชำ เพื่อให้ได้พืชต้นใหม่จากสวนที่นำมาปักชำ แต่ในที่นี้จะขอแนะนำขั้นตอนการ

ตัดชำกิ่งซึ่ง

ขั้นตอนในการปักชำ

1. ตัดโคนกิ่งให้ชิดข้อยาวประมาณ 15 - 20 เซนติเมตร โดยตัดเฉียงเป็นรูปปากฉลาม และตัดปลายบนให้เหนือตาประมาณ 1 เซนติเมตร

2. ใช้มีดปลายแหลมกรีดบริเวณรอบโคนยาว 1 - 1.5 เซนติเมตร ประมาณ 2 - 3 รอย

3. ปักกิ่งชำลงในวัสดุเพาะชำ ลึกประมาณ 2.5 - 5 เซนติเมตร

4. นำเข้าโรงอบพลาสติก หรือถุงพลาสติกขนาดใหญ่

5. ประมาณ 25 - 30 วัน กิ่งตัดชำจะแตกยอดอ่อน พร้อมออกราก เมื่อมีจำนวนมากพอ จึงย้ายปลูกต่อไป

วัสดุที่ใช้ในการปักชำ

1. กิ่งไม้ที่ต้องการตัดปักชำ

2. ขุยมะพร้าว ผสมดินร่วน บรรจุในถุงพลาสติกหรือตะกร้า (ดังภาพ)

3. มีด หรือ คัตเตอร์

4. โรงเรือน หรือที่ร่ม

1.3. การขยายพันธุ์พืชโดยวิธีตอนกิ่ง

การตอนกิ่ง

การตอนกิ่ง

คือ การทำให้กิ่งหรือต้นพืชเกิดรากขณะติดอยู่กับต้นแม่ จะทำให้ได้ต้นพืชใหม่ ที่มีลักษณะทางสายพันธุ์ เหมือนกับต้นแม่ทุกประการ โดยมีขั้นตอนการปฏิบัติ ดังนี้

1. เลือกกิ่งกึ่งแก่กึ่งอ่อนที่สมบูรณ์ปราศจากโรคและแมลง

2. ควั่นกิ่ง ลอกเอาเปลือกออก แล้วขูดเยื่อเจริญที่เป็นเมือกลื่น ๆ ออก

3. นำตุ้มตอน (ขุยมะพร้าวที่แช่น้ำ แล้วบีบหมาด ๆ อัดลงในถุงพลาสติก ผูกปากถุงให้แน่น) มาผ่าตามความยาวแล้วนำไปหุ้มบนรอยแผลของกิ่งตอน มัดด้วยเชือกทั้งบนและล่างรอยแผล

4. เมื่อกิ่งตอนมีรากงอกแทงผ่านวัสดุ และเริ่มแก่เป็นสีเหลือง สีน้ำตาล ปลายรากมีสีขาว และมีจำนวนมากพอจึงตัดกิ่งตอนได้

5. นำกิ่งตอนไปชำในภาชนะ กระถางหรือถุงพลาสติก เพื่อรอการปลูกต่อไป

2. จงอธิบายเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ ดังนี้

2.1. เทคโนโลยีสารสนเทศหมายถึงอะไร

เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology: IT) หรือเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication Technologies: ICTs) ก็คือ เทคโนโลยีสองด้านหลัก ๆ ที่ประกอบด้วยเทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์ และ เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคมที่ผนวกเข้าด้วยกัน เพื่อใช้ในกระบวนการจัดหา จัดเก็บ สร้าง และเผยแพร่สารสนเทศในรูปต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นเสียง ภาพ ภาพเคลื่อนไหว ข้อความหรือตัวอักษร และตัวเลข เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ความถูกต้อง ความแม่นยำ และความรวดเร็วให้ทันต่อการนำไปใช้ประโยชน์

2.2. ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ

ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ

1.ช่วยในการจัดระบบข่าวสารจำนวนมหาศาลของแต่ละวัน

2. เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตสารสนเทศ เช่น การคำนวณตัวเลขที่ยุ่งยากซับซ้อน การจัดเรียงลำดับสารสนเทศ ฯลฯ

3. ช่วยให้สามารถเก็บสารสนเทศไว้ในรูปที่สามารถเรียกใช้ได้ทุกครั้งอย่างสะดวก

4. ช่วยให้สามารถจัดระบบอัตโนมัติ เพื่อการจัดเก็บประมวลผล และเรียกใช้สารสนเทศูล

5. ช่วยในการเข้าถึงสารสนเทศได้อย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพมากขึ้น

6. ช่วยในการสื่อสารระหว่างกันได้อย่างสะดวกรวดเร็ว ลดอุปสรรคเกี่ยวกับเวลา และระยะทาง โดยการใช้ระบบโทรศัพท์ และอื่นๆ

2.3 เทคโนโลยีสารสนเทศที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ได้แก่....

1. เสริมสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น เช่น การติดต่อสื่อสารที่สมัยก่อนมีการสื่อสารด้วยจดหมาย หรือโทรเลข แต่ปัจจุบันมีการติดต่อสื่อสารที่ง่ายขึ้น เช่น โทรศัพท์เคลื่อนที่ , Internet ที่แม้แต่อยู่คนละประเทศก็สามารถที่จะทราบถึงข่าวสารที่ง่ายขึ้น

2. ทำให้เกิดความเท่าเทียมกันในสังคม เช่น การศึกษาที่ปัจจุบันที่ได้หันเข้ามาศึกษาผ่านทางเว็บจำนวนมาก และการเข้าถึงข้อมูลเหล่านี้จึงไม่ได้จำกัดอยู่ที่ผู้ที่มีฐานะทางการเงินเท่านั้น เพียงแต่มีคอมพิวเตอร์กับระบบเครือข่ายก็สามารถที่จะเข้าถึงข้อมูลได้

3. ประโยชน์ต่อการเรียนการสอนในโรงเรียน เช่น การเยี่ยมชมเว็บ การเรียกผ่านทางคอมพิวเตอร์ช่วยสอน การสร้างสื่อการสอนด้วยคอมพิวเตอร์

4. ประโยชน์ด้านอุตสาหกรรมและพาณิชยกรรม เช่น เครื่องจักรต่างๆ ระบบสื่อสาร

5. ศึกษาค้นคว้าความแปลใหม่ที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา

สวัสดีครับนายสมชาย นิลดวงดี เลขที่ 4 นายนคร นุสนธุ์ เลขที่ 18 และนายกันหา อุวิทัศน์ เลขที่ 3

1.การขยายพันธุ์โดยวิธีติดตาต่อกิ่ง (Propagation by grafting) โดย นายสนั่น ขำเลิศ

การติดตาต่อกิ่ง เป็นศิลปะของการเชื่อม ส่วนของต้นพืชเข้าด้วยกัน เพื่อที่จะให้ส่วนของพืชนั้นๆ ติดต่อกันและเจริญต่อไปเหมือนกับเป็นต้นพืชต้นเดียวกัน ส่วนของต้นพืชที่ต่ออยู่ทางส่วนฃ บนหรือที่ทำหน้าที่เป็นยอดของต้นพืชนั้น เรียกว่า กิ่งพันธุ์ดี (scion) และส่วนของพืชที่ต่ออยู่ทางส่วนล่างหรือที่ทำหน้าที่เป็นรากเรียกว่า ต้นตอ (stock or rootstock) จะเห็นได้ว่าในการขยายพันธุ์ด้วยวิธีการติดตาต่อกิ่ง ส่วนของต้นพืชที่เกี่ยวข้องก็คือต้นตอ และกิ่งพันธุ์ดี ด้วยเหตุนี้การศึกษาเกี่ยวกับต้นตและกิ่งพันธุ์ดีจึงเป็นเรื่องที่ควรทำเป็นอันดับแรกต้นตอ ในการขยายพันธุ์ด้วยวิธีการติดตาต่อกิ่ง การใช้ต้นตอที่ปฏิบัติกันอยู่ทั่วๆ ไปพอจะแบ่งออกได้เป็น ๒ ชนิด

๑. ต้นตอที่ได้จากการขยายพันธุ์ด้วยเมล็ดหมายถึงต้นพืชที่จะใช้เป็นต้นตอนั้นเพาะมาจากเมล็ด เมื่อต้นมีขนาดโตพอแล้วจึงนำมาใช้เป็นต้นตอสำหรับติดตาต่อกิ่งหรือทาบกิ่ง เรามักเรียกต้นตอชนิดนี้ว่า ต้นตอเพาะเมล็ด (seedling-rootstock)เนื่องจากต้นตอชนิดนี้เพาะมาจากเมล็ด อาจมีความผิดเพี้ยนหรือกลายพันธุ์ไปบ้าง จึงต้องมีการคัดเลือกต้นที่ไม่ตรงตามพันธุ์หรือผิดเพี้ยนไปจากลักษณะที่ต้องการออกเสีย ตลอดจนต้นที่อ่อนแอหรือมีลักษณะไม่เหมาะสมที่จะนำมาใช้เป็นต้นตอเช่น ลำต้นคดบิด หรือมีลักษณะของรอยต่อระหว่างต้นและราก เป็นแบบคอห่านซึ่งเกิดจากการวางเมล็ดเพาะผิดวิธี ถ้านำต้นพืชที่มีลักษณะดังกล่าวนี้ไปเป็นต้นตอแล้ว มักจะเกิดการหักโค่นตรงบริเวณที่ปเป็นคอห่านได้ง่าย ฉะนั้นจึงต้องคัดทิ้งเสีย เนื่องปจากต้นตอที่ขยายพันธุ์จากเมล็ดมีระบบรากที่หยั่งลึกสามารถจะยึดเกาะต้นได้แข็งแรง จึงได้รับความนิยมใช้เป็นต้นตอของไม้ยืนต้น เช่น มะม่วง ทุเรียน มะขาม เป็นต้น พืชพันธุ์ใดก็ตามที่จะนำมาใช้เป็นต้นตอนั้น ควรจะเป็นพันธุ์พืชที่หาเมล็ดได้ง่ายหรือมีเมล็ดมากด้วย

๒. ต้นตอที่ได้จากการตัดชำ การตอนหรือการแยกหน่อ มักเรียกต้นตอเช่นนี้ว่า ต้นตอตัดชำ(cutting stock) ข้อดีของต้นตอชนิดนี้ก็คือ เป็นต้นตอที่ตรงตามพันธุ์แน่นอน เหมาะที่จะใช้ในงานทดลองหรือใช้เพื่อวัตถุประสงค์บางอย่าง เช่น ใช้เป็นต้นตอ ทนโรค ทนแล้ง ทนแฉะ หรือทนสารบางอย่าง แต่เนื่องจากเป็นต้นตอที่มีระบบรากตื้น จึงไม่นิยมใช้กับไม้ยืนต้น แต่มักใช้กับไม้ดอกหรือไม้ประดับที่เป็นพุ่ม เช่น กุหลาบ ชบา ดอนย่า ฯลฯ และพืชพันธุ์ใดก็ตามที่จะนำมาใช้เป็นพันธุ์ต้นตอนั้น นอกจากจะมีคุณสมบัติพิเศษตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการแล้ว ควรจะมีคุณสมบัติในการเจริญเติบโตและการออกรากได้ดีด้วย

ต้นตอ เป็นปัจจัยสำคัญที่มีผลเกี่ยวกับความสำเร็จในการติดตาต่อกิ่ง การเลี้ยงดูต้นตอให้สมบูรณ์ และการเลือกขนาดของต้นตอให้พอเหมาะในการติดตาต่อกิ่งต้นพืชแต่ละชนิด จะช่วยให้ได้ผลดีขึ้นด้วย

กิ่งพันธุ์ดี คือ ส่วนของต้นพืชที่ทำหน้าที่เป็นส่วนยอดของต้นพืชที่ต่ออยู่ หรืออาจหมายถึงกิ่งพืชที่จะนำไปติดหรือต่อบนต้นตอก็ได้ ในการติดตาต่อกิ่งมีเรื่องที่เกี่ยวข้องกับกิ่งพันธุ์ดีที่ควรจะทราบ คือ

ก. การเลือกกี่พันธุ์ดี (selection of scion wood)

ข. การเก็บรักษากี่งพันธุ์ดี (storage of scion wood)

ค. การเตรียมกิ่งพันธุ์ดี

2.การปักชำเป็นวิธีขยายพันธุ์พืชที่ดีวิธีหนึ่งซึ่งมีข้อดี ดังนี้

1. ประหยัดค่าใช้จ่าย

2. ขยายพันธุ์ได้ปริมาณมาก

3. ทำได้ง่ายโดยไม่ต้องอาศัยเทคนิคหรือความสามารถมาก

4. ต้นพืชเจริญเติบโตเร็ว โดยใช้ระยะเวลาไม่นาน

5. พืชต้นใหม่ที่ได้จะมีลักษณะเหมือนต้นเดิมทุกประการดชำ หรือออกรากยากกว่าการตอนกิ่งเท่านั้น กกว่าการตอนกิ่งเท่านั้น

3. การตอนกิ่ง เป็นวิธีการขยายพันธุ์พืชที่ใช้กันมานานและเป็นที่รู้จักกันดีในหมู่ชาวสวนทั่วๆไป วิธีการตอนกิ่งที่เราใช้กันอยู่ทุกวันนี้เป็นวิธีการที่ได้นำมาจากประเทศจีน แต่ได้ดัดแปลงไปบ้างเพื่อความสะดวกในการปฏิบัติ ในยุโรปและอเมริกาก็มีวิธีขยายพันธุ์พืชด้วยการตอนกิ่งเช่นเดียวกัน แต่วิธีการในการตอนกิ่งผิดไปจากวิธีที่รู้จักกันดีในบ้านเราและเรามักเรียกวิธีการตอนกิ่งแบบยุโรปว่า "การตอนทับกิ่ง" ในที่นี้จะขอกล่าวเฉพาะการตอนกิ่งแบบชาวจีน หรือการตอนกิ่งแบบตอนหุ้มกิ่ง ซึ่งมีวิธีการตอนหุ้มกิ่งหลายแบบไม่ว่าจะเป็นการตอนกิ่งแบบชาวจีน หรือการตอนทับกิ่งแบบชาวยุโรป โดยหลักการในการ ตอนต้นพืชแล้วก็คือ การทำให้ต้นหรือกิ่งพืชออกรากขณะที่ยังติดอยู่กับต้นแม่ หลังจากต้นหรือกิ่งพืชออกรากดีแล้วจึงตัดไปปลูกภายหลัง ฉะนั้นโอกาสของการที่กิ่งพืชจะมีชีวิตอยู่รอด จึงดีกว่าการขยายพันธุ์ด้วยการตัดชำ แต่ก็มีข้อเสียอยู่ที่ว่าขยายได้ช้ากว่า ด้วยเหตุนี้ถ้าต้องการต้นพืชจำนวนมากๆ แล้วมักจะไม่ใช้การขยายพันธุ์ด้วยการตอนกิ่ง เว้นแต่ต้นพืชนั้นจะขยายพันธุ์ไม่ได้ด้วยการตัการปักชำ คือการใช้ส่วนต่างๆ ของพืช เช่น ราก ใบ หรือ ลำต้น ไปปักชำ และส่วนของพืชเหล่านี้ปลูกภายหลัง ฉะนั้นโอกาสของการที่กิ่งพืชจะมีชีวิตอยู่รอด จึงดีกว่าการขยายพันธุ์ด้วยการตัดชำ แต่ก็มีข้อเสียอยู่ที่ว่าขยายได้ช้ากว่า ด้วยเหตุนี้ถ้าต้องการต้นพืชจำนวนมากๆ แล้วมักจะไม่ใช้การขยายพันธุ์ด้วยการตอนกิ่ง

2.ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ

เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology: IT) หรือเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication Technologies: ICTs) ก็คือ เทคโนโลยีสองด้านหลัก ๆ ที่ประกอบด้วยเทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์ และ เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคมที่ผนวกเข้าด้วยกัน เพื่อใช้ในกระบวนการจัดหา จัดเก็บ สร้าง และเผยแพร่สารสนเทศในรูปต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นเสียง ภาพ ภาพเคลื่อนไหว ข้อความหรือตัวอักษร และตัวเลข เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ความถูกต้อง ความแม่นยำ และความรวดเร็วให้ทันต่อการนำไปใช้ประโยชน์

ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมี 5 ประการ (Souter 1999: 409) ได้แก่

ประการแรก การสื่อสารถือเป็นสิ่งจำเป็นในการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ สิ่งสำคัญที่มีส่วนในการพัฒนากิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ประกอบด้วย Communications media, การสื่อสารโทรคมนาคม (Telecoms), และเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT)

ประการที่สอง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารประกอบด้วยผลิตภัณฑ์หลักที่มากไปกว่าโทรศัพท์และคอมพิวเตอร์ เช่น แฟกซ์, อินเทอร์เน็ต, อีเมล์ ทำให้สารสนเทศเผยแพร่หรือกระจายออกไปในที่ต่าง ๆ ได้สะดวก

ประการที่สาม เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมีผลให้การใช้งานด้านต่าง ๆ มีราคาถูกลง

ประการที่สี่ เครือข่ายสื่อสาร (Communication networks) ได้รับประโยชน์จากเครือข่ายภายนอก เนื่องจากจำนวนการใช้เครือข่าย จำนวนผู้เชื่อมต่อ และจำนวนผู้ที่มีศักยภาพในการเข้าเชื่อมต่อกับเครือข่ายนับวันจะเพิ่มสูงขึ้น

ประการที่ห้า เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทำให้ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ และต้นทุนการใช้ ICT มีราคาถูกลงมาก

ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศในด้านที่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมด้านต่าง ๆ ของผู้คนไว้หลายประการดังต่อไปนี้ (จอห์น ไนซ์บิตต์ อ้างถึงใน ยืน ภู่วรวรรณ)

ประการที่หนึ่ง เทคโนโลยีสารสนเทศ ทำให้สังคมเปลี่ยนจากสังคมอุตสาหกรรมมาเป็นสังคมสารสนเทศ

ประการที่สอง เทคโนโลยีสารสนเทศทำให้ระบบเศรษฐกิจเปลี่ยนจากระบบแห่งชาติไปเป็นเศรษฐกิจโลก ที่ทำให้ระบบเศรษฐกิจของโลกผูกพันกับทุกประเทศ ความเชื่อมโยงของเครือข่ายสารสนเทศทำให้เกิดสังคมโลกาภิวัฒน์

ประการที่สาม เทคโนโลยีสารสนเทศทำให้องค์กรมีลักษณะผูกพัน มีการบังคับบัญชาแบบแนวราบมากขึ้น หน่วยธุรกิจมีขนาดเล็กลง และเชื่อมโยงกันกับหน่วยธุรกิจอื่นเป็นเครือข่าย การดำเนินธุรกิจมีการแข่งขันกันในด้านความเร็ว โดยอาศัยการใช้ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการสื่อสารโทรคมนาคมเป็นตัวสนับสนุน เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนข้อมูลได้ง่ายและรวดเร็ว

ประการที่สี่ เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเทคโนโลยีแบบสุนทรียสัมผัส และสามารถตอบสนองตามความต้องการการใช้เทคโนโลยีในรูปแบบใหม่ที่เลือกได้เอง

ประการที่ห้า เทคโนโลยีสารสนเทศทำให้เกิดสภาพทางการทำงานแบบทุกสถานที่และทุกเวลา

ประการที่หก เทคโนโลยีสารสนเทศก่อให้เกิดการวางแผนการดำเนินการระยะยาวขึ้น อีกทั้งยังทำให้วิถีการตัดสินใจ หรือเลือกทางเลือกได้ละเอียดขึ้น

นางสาวศิริวรรณ อินสอน ม.3/2 เลขที่ 22

1.การขยายพันธุ์โดยวิธีติดตาต่อกิ่ง (Propagation by grafting) โดย นายสนั่น ขำเลิศ

การติดตาต่อกิ่ง เป็นศิลปะของการเชื่อม ส่วนของต้นพืชเข้าด้วยกัน เพื่อที่จะให้ส่วนของพืชนั้นๆ ติดต่อกันและเจริญต่อไปเหมือนกับเป็นต้นพืชต้นเดียวกัน ส่วนของต้นพืชที่ต่ออยู่ทางส่วนฃ บนหรือที่ทำหน้าที่เป็นยอดของต้นพืชนั้น เรียกว่า กิ่งพันธุ์ดี (scion) และส่วนของพืชที่ต่ออยู่ทางส่วนล่างหรือที่ทำหน้าที่เป็นรากเรียกว่า ต้นตอ (stock or rootstock) จะเห็นได้ว่าในการขยายพันธุ์ด้วยวิธีการติดตาต่อกิ่ง ส่วนของต้นพืชที่เกี่ยวข้องก็คือต้นตอ และกิ่งพันธุ์ดี ด้วยเหตุนี้การศึกษาเกี่ยวกับต้นตและกิ่งพันธุ์ดีจึงเป็นเรื่องที่ควรทำเป็นอันดับแรกต้นตอ ในการขยายพันธุ์ด้วยวิธีการติดตาต่อกิ่ง การใช้ต้นตอที่ปฏิบัติกันอยู่ทั่วๆ ไปพอจะแบ่งออกได้เป็น ๒ ชนิด

๑. ต้นตอที่ได้จากการขยายพันธุ์ด้วยเมล็ดหมายถึงต้นพืชที่จะใช้เป็นต้นตอนั้นเพาะมาจากเมล็ด เมื่อต้นมีขนาดโตพอแล้วจึงนำมาใช้เป็นต้นตอสำหรับติดตาต่อกิ่งหรือทาบกิ่ง เรามักเรียกต้นตอชนิดนี้ว่า ต้นตอเพาะเมล็ด (seedling-rootstock)เนื่องจากต้นตอชนิดนี้เพาะมาจากเมล็ด อาจมีความผิดเพี้ยนหรือกลายพันธุ์ไปบ้าง จึงต้องมีการคัดเลือกต้นที่ไม่ตรงตามพันธุ์หรือผิดเพี้ยนไปจากลักษณะที่ต้องการออกเสีย ตลอดจนต้นที่อ่อนแอหรือมีลักษณะไม่เหมาะสมที่จะนำมาใช้เป็นต้นตอเช่น ลำต้นคดบิด หรือมีลักษณะของรอยต่อระหว่างต้นและราก เป็นแบบคอห่านซึ่งเกิดจากการวางเมล็ดเพาะผิดวิธี ถ้านำต้นพืชที่มีลักษณะดังกล่าวนี้ไปเป็นต้นตอแล้ว มักจะเกิดการหักโค่นตรงบริเวณที่ปเป็นคอห่านได้ง่าย ฉะนั้นจึงต้องคัดทิ้งเสีย เนื่องปจากต้นตอที่ขยายพันธุ์จากเมล็ดมีระบบรากที่หยั่งลึกสามารถจะยึดเกาะต้นได้แข็งแรง จึงได้รับความนิยมใช้เป็นต้นตอของไม้ยืนต้น เช่น มะม่วง ทุเรียน มะขาม เป็นต้น พืชพันธุ์ใดก็ตามที่จะนำมาใช้เป็นต้นตอนั้น ควรจะเป็นพันธุ์พืชที่หาเมล็ดได้ง่ายหรือมีเมล็ดมากด้วย

๒. ต้นตอที่ได้จากการตัดชำ การตอนหรือการแยกหน่อ มักเรียกต้นตอเช่นนี้ว่า ต้นตอตัดชำ(cutting stock) ข้อดีของต้นตอชนิดนี้ก็คือ เป็นต้นตอที่ตรงตามพันธุ์แน่นอน เหมาะที่จะใช้ในงานทดลองหรือใช้เพื่อวัตถุประสงค์บางอย่าง เช่น ใช้เป็นต้นตอ ทนโรค ทนแล้ง ทนแฉะ หรือทนสารบางอย่าง แต่เนื่องจากเป็นต้นตอที่มีระบบรากตื้น จึงไม่นิยมใช้กับไม้ยืนต้น แต่มักใช้กับไม้ดอกหรือไม้ประดับที่เป็นพุ่ม เช่น กุหลาบ ชบา ดอนย่า ฯลฯ และพืชพันธุ์ใดก็ตามที่จะนำมาใช้เป็นพันธุ์ต้นตอนั้น นอกจากจะมีคุณสมบัติพิเศษตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการแล้ว ควรจะมีคุณสมบัติในการเจริญเติบโตและการออกรากได้ดีด้วย

ต้นตอ เป็นปัจจัยสำคัญที่มีผลเกี่ยวกับความสำเร็จในการติดตาต่อกิ่ง การเลี้ยงดูต้นตอให้สมบูรณ์ และการเลือกขนาดของต้นตอให้พอเหมาะในการติดตาต่อกิ่งต้นพืชแต่ละชนิด จะช่วยให้ได้ผลดีขึ้นด้วย

กิ่งพันธุ์ดี คือ ส่วนของต้นพืชที่ทำหน้าที่เป็นส่วนยอดของต้นพืชที่ต่ออยู่ หรืออาจหมายถึงกิ่งพืชที่จะนำไปติดหรือต่อบนต้นตอก็ได้ ในการติดตาต่อกิ่งมีเรื่องที่เกี่ยวข้องกับกิ่งพันธุ์ดีที่ควรจะทราบ คือ

ก. การเลือกกี่พันธุ์ดี (selection of scion wood)

ข. การเก็บรักษากี่งพันธุ์ดี (storage of scion wood)

ค. การเตรียมกิ่งพันธุ์ดี

2.การปักชำเป็นวิธีขยายพันธุ์พืชที่ดีวิธีหนึ่งซึ่งมีข้อดี ดังนี้

1. ประหยัดค่าใช้จ่าย

2. ขยายพันธุ์ได้ปริมาณมาก

3. ทำได้ง่ายโดยไม่ต้องอาศัยเทคนิคหรือความสามารถมาก

4. ต้นพืชเจริญเติบโตเร็ว โดยใช้ระยะเวลาไม่นาน

5. พืชต้นใหม่ที่ได้จะมีลักษณะเหมือนต้นเดิมทุกประการดชำ หรือออกรากยากกว่าการตอนกิ่งเท่านั้น กกว่าการตอนกิ่งเท่านั้น

3. การตอนกิ่ง เป็นวิธีการขยายพันธุ์พืชที่ใช้กันมานานและเป็นที่รู้จักกันดีในหมู่ชาวสวนทั่วๆไป วิธีการตอนกิ่งที่เราใช้กันอยู่ทุกวันนี้เป็นวิธีการที่ได้นำมาจากประเทศจีน แต่ได้ดัดแปลงไปบ้างเพื่อความสะดวกในการปฏิบัติ ในยุโรปและอเมริกาก็มีวิธีขยายพันธุ์พืชด้วยการตอนกิ่งเช่นเดียวกัน แต่วิธีการในการตอนกิ่งผิดไปจากวิธีที่รู้จักกันดีในบ้านเราและเรามักเรียกวิธีการตอนกิ่งแบบยุโรปว่า "การตอนทับกิ่ง" ในที่นี้จะขอกล่าวเฉพาะการตอนกิ่งแบบชาวจีน หรือการตอนกิ่งแบบตอนหุ้มกิ่ง ซึ่งมีวิธีการตอนหุ้มกิ่งหลายแบบไม่ว่าจะเป็นการตอนกิ่งแบบชาวจีน หรือการตอนทับกิ่งแบบชาวยุโรป โดยหลักการในการ ตอนต้นพืชแล้วก็คือ การทำให้ต้นหรือกิ่งพืชออกรากขณะที่ยังติดอยู่กับต้นแม่ หลังจากต้นหรือกิ่งพืชออกรากดีแล้วจึงตัดไปปลูกภายหลัง ฉะนั้นโอกาสของการที่กิ่งพืชจะมีชีวิตอยู่รอด จึงดีกว่าการขยายพันธุ์ด้วยการตัดชำ แต่ก็มีข้อเสียอยู่ที่ว่าขยายได้ช้ากว่า ด้วยเหตุนี้ถ้าต้องการต้นพืชจำนวนมากๆ แล้วมักจะไม่ใช้การขยายพันธุ์ด้วยการตอนกิ่ง เว้นแต่ต้นพืชนั้นจะขยายพันธุ์ไม่ได้ด้วยการตัการปักชำ คือการใช้ส่วนต่างๆ ของพืช เช่น ราก ใบ หรือ ลำต้น ไปปักชำ และส่วนของพืชเหล่านี้ปลูกภายหลัง ฉะนั้นโอกาสของการที่กิ่งพืชจะมีชีวิตอยู่รอด จึงดีกว่าการขยายพันธุ์ด้วยการตัดชำ แต่ก็มีข้อเสียอยู่ที่ว่าขยายได้ช้ากว่า ด้วยเหตุนี้ถ้าต้องการต้นพืชจำนวนมากๆ แล้วมักจะไม่ใช้การขยายพันธุ์ด้วยการตอนกิ่ง

2.ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ

เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology: IT) หรือเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication Technologies: ICTs) ก็คือ เทคโนโลยีสองด้านหลัก ๆ ที่ประกอบด้วยเทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์ และ เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคมที่ผนวกเข้าด้วยกัน เพื่อใช้ในกระบวนการจัดหา จัดเก็บ สร้าง และเผยแพร่สารสนเทศในรูปต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นเสียง ภาพ ภาพเคลื่อนไหว ข้อความหรือตัวอักษร และตัวเลข เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ความถูกต้อง ความแม่นยำ และความรวดเร็วให้ทันต่อการนำไปใช้ประโยชน์

ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมี 5 ประการ (Souter 1999: 409) ได้แก่

ประการแรก การสื่อสารถือเป็นสิ่งจำเป็นในการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ สิ่งสำคัญที่มีส่วนในการพัฒนากิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ประกอบด้วย Communications media, การสื่อสารโทรคมนาคม (Telecoms), และเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT)

ประการที่สอง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารประกอบด้วยผลิตภัณฑ์หลักที่มากไปกว่าโทรศัพท์และคอมพิวเตอร์ เช่น แฟกซ์, อินเทอร์เน็ต, อีเมล์ ทำให้สารสนเทศเผยแพร่หรือกระจายออกไปในที่ต่าง ๆ ได้สะดวก

ประการที่สาม เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมีผลให้การใช้งานด้านต่าง ๆ มีราคาถูกลง

ประการที่สี่ เครือข่ายสื่อสาร (Communication networks) ได้รับประโยชน์จากเครือข่ายภายนอก เนื่องจากจำนวนการใช้เครือข่าย จำนวนผู้เชื่อมต่อ และจำนวนผู้ที่มีศักยภาพในการเข้าเชื่อมต่อกับเครือข่ายนับวันจะเพิ่มสูงขึ้น

ประการที่ห้า เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทำให้ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ และต้นทุนการใช้ ICT มีราคาถูกลงมาก

ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศในด้านที่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมด้านต่าง ๆ ของผู้คนไว้หลายประการดังต่อไปนี้ (จอห์น ไนซ์บิตต์ อ้างถึงใน ยืน ภู่วรวรรณ)

ประการที่หนึ่ง เทคโนโลยีสารสนเทศ ทำให้สังคมเปลี่ยนจากสังคมอุตสาหกรรมมาเป็นสังคมสารสนเทศ

ประการที่สอง เทคโนโลยีสารสนเทศทำให้ระบบเศรษฐกิจเปลี่ยนจากระบบแห่งชาติไปเป็นเศรษฐกิจโลก ที่ทำให้ระบบเศรษฐกิจของโลกผูกพันกับทุกประเทศ ความเชื่อมโยงของเครือข่ายสารสนเทศทำให้เกิดสังคมโลกาภิวัฒน์

ประการที่สาม เทคโนโลยีสารสนเทศทำให้องค์กรมีลักษณะผูกพัน มีการบังคับบัญชาแบบแนวราบมากขึ้น หน่วยธุรกิจมีขนาดเล็กลง และเชื่อมโยงกันกับหน่วยธุรกิจอื่นเป็นเครือข่าย การดำเนินธุรกิจมีการแข่งขันกันในด้านความเร็ว โดยอาศัยการใช้ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการสื่อสารโทรคมนาคมเป็นตัวสนับสนุน เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนข้อมูลได้ง่ายและรวดเร็ว

ประการที่สี่ เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเทคโนโลยีแบบสุนทรียสัมผัส และสามารถตอบสนองตามความต้องการการใช้เทคโนโลยีในรูปแบบใหม่ที่เลือกได้เอง

ประการที่ห้า เทคโนโลยีสารสนเทศทำให้เกิดสภาพทางการทำงานแบบทุกสถานที่และทุกเวลา

ประการที่หก เทคโนโลยีสารสนเทศก่อให้เกิดการวางแผนการดำเนินการระยะยาวขึ้น อีกทั้งยังทำให้วิถีการตัดสินใจ หรือเลือกทางเลือกได้ละเอียดขึ้น

กลับขึ้นข้างบน

ชื่อ:

นายอภิวัฒน์ ศรีบุฝา เลขที่ 16 ม.3/2 นายสุรชัย สุริยา เลขที่ 9 นายประวิทย์ สักขัน เลขที่ 1

1.การขยายพันธุ์โดยวิธีติดตาต่อกิ่ง (Propagation by grafting) โดย นายสนั่น ขำเลิศ

การติดตาต่อกิ่ง เป็นศิลปะของการเชื่อม ส่วนของต้นพืชเข้าด้วยกัน เพื่อที่จะให้ส่วนของพืชนั้นๆ ติดต่อกันและเจริญต่อไปเหมือนกับเป็นต้นพืชต้นเดียวกัน ส่วนของต้นพืชที่ต่ออยู่ทางส่วนฃ บนหรือที่ทำหน้าที่เป็นยอดของต้นพืชนั้น เรียกว่า กิ่งพันธุ์ดี (scion) และส่วนของพืชที่ต่ออยู่ทางส่วนล่างหรือที่ทำหน้าที่เป็นรากเรียกว่า ต้นตอ (stock or rootstock) จะเห็นได้ว่าในการขยายพันธุ์ด้วยวิธีการติดตาต่อกิ่ง ส่วนของต้นพืชที่เกี่ยวข้องก็คือต้นตอ และกิ่งพันธุ์ดี ด้วยเหตุนี้การศึกษาเกี่ยวกับต้นตและกิ่งพันธุ์ดีจึงเป็นเรื่องที่ควรทำเป็นอันดับแรกต้นตอ ในการขยายพันธุ์ด้วยวิธีการติดตาต่อกิ่ง การใช้ต้นตอที่ปฏิบัติกันอยู่ทั่วๆ ไปพอจะแบ่งออกได้เป็น ๒ ชนิด

๑. ต้นตอที่ได้จากการขยายพันธุ์ด้วยเมล็ดหมายถึงต้นพืชที่จะใช้เป็นต้นตอนั้นเพาะมาจากเมล็ด เมื่อต้นมีขนาดโตพอแล้วจึงนำมาใช้เป็นต้นตอสำหรับติดตาต่อกิ่งหรือทาบกิ่ง เรามักเรียกต้นตอชนิดนี้ว่า ต้นตอเพาะเมล็ด (seedling-rootstock)เนื่องจากต้นตอชนิดนี้เพาะมาจากเมล็ด อาจมีความผิดเพี้ยนหรือกลายพันธุ์ไปบ้าง จึงต้องมีการคัดเลือกต้นที่ไม่ตรงตามพันธุ์หรือผิดเพี้ยนไปจากลักษณะที่ต้องการออกเสีย ตลอดจนต้นที่อ่อนแอหรือมีลักษณะไม่เหมาะสมที่จะนำมาใช้เป็นต้นตอเช่น ลำต้นคดบิด หรือมีลักษณะของรอยต่อระหว่างต้นและราก เป็นแบบคอห่านซึ่งเกิดจากการวางเมล็ดเพาะผิดวิธี ถ้านำต้นพืชที่มีลักษณะดังกล่าวนี้ไปเป็นต้นตอแล้ว มักจะเกิดการหักโค่นตรงบริเวณที่ปเป็นคอห่านได้ง่าย ฉะนั้นจึงต้องคัดทิ้งเสีย เนื่องปจากต้นตอที่ขยายพันธุ์จากเมล็ดมีระบบรากที่หยั่งลึกสามารถจะยึดเกาะต้นได้แข็งแรง จึงได้รับความนิยมใช้เป็นต้นตอของไม้ยืนต้น เช่น มะม่วง ทุเรียน มะขาม เป็นต้น พืชพันธุ์ใดก็ตามที่จะนำมาใช้เป็นต้นตอนั้น ควรจะเป็นพันธุ์พืชที่หาเมล็ดได้ง่ายหรือมีเมล็ดมากด้วย

๒. ต้นตอที่ได้จากการตัดชำ การตอนหรือการแยกหน่อ มักเรียกต้นตอเช่นนี้ว่า ต้นตอตัดชำ(cutting stock) ข้อดีของต้นตอชนิดนี้ก็คือ เป็นต้นตอที่ตรงตามพันธุ์แน่นอน เหมาะที่จะใช้ในงานทดลองหรือใช้เพื่อวัตถุประสงค์บางอย่าง เช่น ใช้เป็นต้นตอ ทนโรค ทนแล้ง ทนแฉะ หรือทนสารบางอย่าง แต่เนื่องจากเป็นต้นตอที่มีระบบรากตื้น จึงไม่นิยมใช้กับไม้ยืนต้น แต่มักใช้กับไม้ดอกหรือไม้ประดับที่เป็นพุ่ม เช่น กุหลาบ ชบา ดอนย่า ฯลฯ และพืชพันธุ์ใดก็ตามที่จะนำมาใช้เป็นพันธุ์ต้นตอนั้น นอกจากจะมีคุณสมบัติพิเศษตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการแล้ว ควรจะมีคุณสมบัติในการเจริญเติบโตและการออกรากได้ดีด้วย

ต้นตอ เป็นปัจจัยสำคัญที่มีผลเกี่ยวกับความสำเร็จในการติดตาต่อกิ่ง การเลี้ยงดูต้นตอให้สมบูรณ์ และการเลือกขนาดของต้นตอให้พอเหมาะในการติดตาต่อกิ่งต้นพืชแต่ละชนิด จะช่วยให้ได้ผลดีขึ้นด้วย

กิ่งพันธุ์ดี คือ ส่วนของต้นพืชที่ทำหน้าที่เป็นส่วนยอดของต้นพืชที่ต่ออยู่ หรืออาจหมายถึงกิ่งพืชที่จะนำไปติดหรือต่อบนต้นตอก็ได้ ในการติดตาต่อกิ่งมีเรื่องที่เกี่ยวข้องกับกิ่งพันธุ์ดีที่ควรจะทราบ คือ

ก. การเลือกกี่พันธุ์ดี (selection of scion wood)

ข. การเก็บรักษากี่งพันธุ์ดี (storage of scion wood)

ค. การเตรียมกิ่งพันธุ์ดี

2.การปักชำเป็นวิธีขยายพันธุ์พืชที่ดีวิธีหนึ่งซึ่งมีข้อดี ดังนี้

1. ประหยัดค่าใช้จ่าย

2. ขยายพันธุ์ได้ปริมาณมาก

3. ทำได้ง่ายโดยไม่ต้องอาศัยเทคนิคหรือความสามารถมาก

4. ต้นพืชเจริญเติบโตเร็ว โดยใช้ระยะเวลาไม่นาน

5. พืชต้นใหม่ที่ได้จะมีลักษณะเหมือนต้นเดิมทุกประการดชำ หรือออกรากยากกว่าการตอนกิ่งเท่านั้น กกว่าการตอนกิ่งเท่านั้น

3. การตอนกิ่ง เป็นวิธีการขยายพันธุ์พืชที่ใช้กันมานานและเป็นที่รู้จักกันดีในหมู่ชาวสวนทั่วๆไป วิธีการตอนกิ่งที่เราใช้กันอยู่ทุกวันนี้เป็นวิธีการที่ได้นำมาจากประเทศจีน แต่ได้ดัดแปลงไปบ้างเพื่อความสะดวกในการปฏิบัติ ในยุโรปและอเมริกาก็มีวิธีขยายพันธุ์พืชด้วยการตอนกิ่งเช่นเดียวกัน แต่วิธีการในการตอนกิ่งผิดไปจากวิธีที่รู้จักกันดีในบ้านเราและเรามักเรียกวิธีการตอนกิ่งแบบยุโรปว่า "การตอนทับกิ่ง" ในที่นี้จะขอกล่าวเฉพาะการตอนกิ่งแบบชาวจีน หรือการตอนกิ่งแบบตอนหุ้มกิ่ง ซึ่งมีวิธีการตอนหุ้มกิ่งหลายแบบไม่ว่าจะเป็นการตอนกิ่งแบบชาวจีน หรือการตอนทับกิ่งแบบชาวยุโรป โดยหลักการในการ ตอนต้นพืชแล้วก็คือ การทำให้ต้นหรือกิ่งพืชออกรากขณะที่ยังติดอยู่กับต้นแม่ หลังจากต้นหรือกิ่งพืชออกรากดีแล้วจึงตัดไปปลูกภายหลัง ฉะนั้นโอกาสของการที่กิ่งพืชจะมีชีวิตอยู่รอด จึงดีกว่าการขยายพันธุ์ด้วยการตัดชำ แต่ก็มีข้อเสียอยู่ที่ว่าขยายได้ช้ากว่า ด้วยเหตุนี้ถ้าต้องการต้นพืชจำนวนมากๆ แล้วมักจะไม่ใช้การขยายพันธุ์ด้วยการตอนกิ่ง เว้นแต่ต้นพืชนั้นจะขยายพันธุ์ไม่ได้ด้วยการตัการปักชำ คือการใช้ส่วนต่างๆ ของพืช เช่น ราก ใบ หรือ ลำต้น ไปปักชำ และส่วนของพืชเหล่านี้ปลูกภายหลัง ฉะนั้นโอกาสของการที่กิ่งพืชจะมีชีวิตอยู่รอด จึงดีกว่าการขยายพันธุ์ด้วยการตัดชำ แต่ก็มีข้อเสียอยู่ที่ว่าขยายได้ช้ากว่า ด้วยเหตุนี้ถ้าต้องการต้นพืชจำนวนมากๆ แล้วมักจะไม่ใช้การขยายพันธุ์ด้วยการตอนกิ่ง

2.ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ

เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology: IT) หรือเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication Technologies: ICTs) ก็คือ เทคโนโลยีสองด้านหลัก ๆ ที่ประกอบด้วยเทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์ และ เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคมที่ผนวกเข้าด้วยกัน เพื่อใช้ในกระบวนการจัดหา จัดเก็บ สร้าง และเผยแพร่สารสนเทศในรูปต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นเสียง ภาพ ภาพเคลื่อนไหว ข้อความหรือตัวอักษร และตัวเลข เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ความถูกต้อง ความแม่นยำ และความรวดเร็วให้ทันต่อการนำไปใช้ประโยชน์

ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมี 5 ประการ (Souter 1999: 409) ได้แก่

ประการแรก การสื่อสารถือเป็นสิ่งจำเป็นในการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ สิ่งสำคัญที่มีส่วนในการพัฒนากิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ประกอบด้วย Communications media, การสื่อสารโทรคมนาคม (Telecoms), และเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT)

ประการที่สอง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารประกอบด้วยผลิตภัณฑ์หลักที่มากไปกว่าโทรศัพท์และคอมพิวเตอร์ เช่น แฟกซ์, อินเทอร์เน็ต, อีเมล์ ทำให้สารสนเทศเผยแพร่หรือกระจายออกไปในที่ต่าง ๆ ได้สะดวก

ประการที่สาม เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมีผลให้การใช้งานด้านต่าง ๆ มีราคาถูกลง

ประการที่สี่ เครือข่ายสื่อสาร (Communication networks) ได้รับประโยชน์จากเครือข่ายภายนอก เนื่องจากจำนวนการใช้เครือข่าย จำนวนผู้เชื่อมต่อ และจำนวนผู้ที่มีศักยภาพในการเข้าเชื่อมต่อกับเครือข่ายนับวันจะเพิ่มสูงขึ้น

ประการที่ห้า เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทำให้ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ และต้นทุนการใช้ ICT มีราคาถูกลงมาก

ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศในด้านที่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมด้านต่าง ๆ ของผู้คนไว้หลายประการดังต่อไปนี้ (จอห์น ไนซ์บิตต์ อ้างถึงใน ยืน ภู่วรวรรณ)

ประการที่หนึ่ง เทคโนโลยีสารสนเทศ ทำให้สังคมเปลี่ยนจากสังคมอุตสาหกรรมมาเป็นสังคมสารสนเทศ

ประการที่สอง เทคโนโลยีสารสนเทศทำให้ระบบเศรษฐกิจเปลี่ยนจากระบบแห่งชาติไปเป็นเศรษฐกิจโลก ที่ทำให้ระบบเศรษฐกิจของโลกผูกพันกับทุกประเทศ ความเชื่อมโยงของเครือข่ายสารสนเทศทำให้เกิดสังคมโลกาภิวัฒน์

ประการที่สาม เทคโนโลยีสารสนเทศทำให้องค์กรมีลักษณะผูกพัน มีการบังคับบัญชาแบบแนวราบมากขึ้น หน่วยธุรกิจมีขนาดเล็กลง และเชื่อมโยงกันกับหน่วยธุรกิจอื่นเป็นเครือข่าย การดำเนินธุรกิจมีการแข่งขันกันในด้านความเร็ว โดยอาศัยการใช้ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการสื่อสารโทรคมนาคมเป็นตัวสนับสนุน เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนข้อมูลได้ง่ายและรวดเร็ว

ประการที่สี่ เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเทคโนโลยีแบบสุนทรียสัมผัส และสามารถตอบสนองตามความต้องการการใช้เทคโนโลยีในรูปแบบใหม่ที่เลือกได้เอง

ประการที่ห้า เทคโนโลยีสารสนเทศทำให้เกิดสภาพทางการทำงานแบบทุกสถานที่และทุกเวลา

ประการที่หก เทคโนโลยีสารสนเทศก่อให้เกิดการวางแผนการดำเนินการระยะยาวขึ้น อีกทั้งยังทำให้วิถีการตัดสินใจ หรือเลือกทางเลือกได้ละเอียดขึ้น

นางสาวทิพวรรณ มูลสิงห์ ชั้นม๓ เลขที่๓๒ นางสาว สุนารี สีทา เลขที่๒๘ ม๓

. จงบอกอธิบายรายละเอียด ดังนี้

1.1 การขยายพันธุ์โดยวิธีติดตาต่อกิ่ง (Propagation by grafting)

การติดตาต่อกิ่ง เป็นศิลปะของการเชื่อม ส่วนของต้นพืชเข้าด้วยกัน เพื่อที่จะให้ส่วนของพืชนั้นๆ ติดต่อกันและเจริญต่อไปเหมือนกับเป็นต้นพืชต้นเดียวกัน ส่วนของต้นพืชที่ต่ออยู่ทางส่วนฃ บนหรือที่ทำหน้าที่เป็นยอดของต้นพืชนั้น เรียกว่า กิ่งพันธุ์ดี (scion) และส่วนของพืชที่ต่ออยู่ทางส่วนล่างหรือที่ทำหน้าที่เป็นรากเรียกว่า ต้นตอ (stock or rootstock) จะเห็นได้ว่าในการขยายพันธุ์ด้วยวิธีการติดตาต่อกิ่ง ส่วนของต้นพืชที่เกี่ยวข้องก็คือต้นตอ และกิ่งพันธุ์ดี ด้วยเหตุนี้การศึกษาเกี่ยวกับต้นตและกิ่งพันธุ์ดีจึงเป็นเรื่องที่ควรทำเป็นอันดับแรกต้นตอ ในการขยายพันธุ์ด้วยวิธีการติดตาต่อกิ่ง การใช้ต้นตอที่ปฏิบัติกันอยู่ทั่วๆ ไปพอจะแบ่งออกได้เป็น ๒ ชนิด

๑. ต้นตอที่ได้จากการขยายพันธุ์ด้วยเมล็ดหมายถึงต้นพืชที่จะใช้เป็นต้นตอนั้นเพาะมาจากเมล็ด เมื่อต้นมีขนาดโตพอแล้วจึงนำมาใช้เป็นต้นตอสำหรับติดตาต่อกิ่งหรือทาบกิ่ง เรามักเรียกต้นตอชนิดนี้ว่า ต้นตอเพาะเมล็ด (seedling-rootstock)เนื่องจากต้นตอชนิดนี้เพาะมาจากเมล็ด อาจมีความผิดเพี้ยนหรือกลายพันธุ์ไปบ้าง จึงต้องมีการคัดเลือกต้นที่ไม่ตรงตามพันธุ์หรือผิดเพี้ยนไปจากลักษณะที่ต้องการออกเสีย ตลอดจนต้นที่อ่อนแอหรือมีลักษณะไม่เหมาะสมที่จะนำมาใช้เป็นต้นตอเช่น ลำต้นคดบิด หรือมีลักษณะของรอยต่อระหว่างต้นและราก เป็นแบบคอห่านซึ่งเกิดจากการวางเมล็ดเพาะผิดวิธี ถ้านำต้นพืชที่มีลักษณะดังกล่าวนี้ไปเป็นต้นตอแล้ว มักจะเกิดการหักโค่นตรงบริเวณที่ปเป็นคอห่านได้ง่าย ฉะนั้นจึงต้องคัดทิ้งเสีย เนื่องปจากต้นตอที่ขยายพันธุ์จากเมล็ดมีระบบรากที่หยั่งลึกสามารถจะยึดเกาะต้นได้แข็งแรง จึงได้รับความนิยมใช้เป็นต้นตอของไม้ยืนต้น เช่น มะม่วง ทุเรียน มะขาม เป็นต้น พืชพันธุ์ใดก็ตามที่จะนำมาใช้เป็นต้นตอนั้น ควรจะเป็นพันธุ์พืชที่หาเมล็ดได้ง่ายหรือมีเมล็ดมากด้วย

๒. ต้นตอที่ได้จากการตัดชำ การตอนหรือการแยกหน่อ มักเรียกต้นตอเช่นนี้ว่า ต้นตอตัดชำ(cutting stock) ข้อดีของต้นตอชนิดนี้ก็คือ เป็นต้นตอที่ตรงตามพันธุ์แน่นอน เหมาะที่จะใช้ในงานทดลองหรือใช้เพื่อวัตถุประสงค์บางอย่าง เช่น ใช้เป็นต้นตอ ทนโรค ทนแล้ง ทนแฉะ หรือทนสารบางอย่าง แต่เนื่องจากเป็นต้นตอที่มีระบบรากตื้น จึงไม่นิยมใช้กับไม้ยืนต้น แต่มักใช้กับไม้ดอกหรือไม้ประดับที่เป็นพุ่ม เช่น กุหลาบ ชบา ดอนย่า ฯลฯ และพืชพันธุ์ใดก็ตามที่จะนำมาใช้เป็นพันธุ์ต้นตอนั้น นอกจากจะมีคุณสมบัติพิเศษตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการแล้ว ควรจะมีคุณสมบัติในการเจริญเติบโตและการออกรากได้ดีด้วย

ต้นตอ เป็นปัจจัยสำคัญที่มีผลเกี่ยวกับความสำเร็จในการติดตาต่อกิ่ง การเลี้ยงดูต้นตอให้สมบูรณ์ และการเลือกขนาดของต้นตอให้พอเหมาะในการติดตาต่อกิ่งต้นพืชแต่ละชนิด จะช่วยให้ได้ผลดีขึ้นด้วย

กิ่งพันธุ์ดี คือ ส่วนของต้นพืชที่ทำหน้าที่เป็นส่วนยอดของต้นพืชที่ต่ออยู่ หรืออาจหมายถึงกิ่งพืชที่จะนำไปติดหรือต่อบนต้นตอก็ได้ ในการติดตาต่อกิ่งมีเรื่องที่เกี่ยวข้องกับกิ่งพันธุ์ดีที่ควรจะทราบ คือ

ก. การเลือกกี่พันธุ์ดี (selection of scion wood)

ข. การเก็บรักษากี่งพันธุ์ดี (storage of scion wood)

ค. การเตรียมกิ่งพันธุ์ดี

การเลือกกิ่งพันธุ์ดี (selection of scion wood)

ก. การเลือกกิ่งพันธุ์ดี (selection of scion wood)

ในการติดตาต่อกิ่ง ทั้งต้นตอและกิ่งพันธุ์ดีที่นำมาติดหรือต่อเข้าด้วยกันนั้น จะต้องมีการสร้างเนื้อเยื่อให้ประสานกัน การสร้างเนื้อเยื่อจะเร็ว หรือช้าขึ้นอยู่กับความสมบูรณ์หรืออาหารที่มีอยู่ในส่วนของพืชทั้งสอง โดยเฉพาะกิ่งพันธุ์ดีซึ่งเป็นชิ้น ส่วนที่เล็กย่อมจะมีอาหารสะสมอยู่น้อย จึงจำเป็นต้องเลือกให้เหมาะสม เพื่อให้การติดหรือต่อได้ผลดี การเลือกกิ่งพันธุ์ดีที่นิยมปฏิบัติกันทั่วๆไปนั้นอาจแบ่งออกได้เป็น ๒ ชนิด คือ

๑. กิ่งพันธุ์ดีเป็นกิ่งแก่หรือกิ่งที่กำลังพักตัว (brown bud wood) เป็นกิ่งที่เจริญในฤดูที่แล้ว หรือปีที่แล้ว ปกติจะมีอายุ ๑ ฤดูหรือไม่เกิน ๑ ปี ลักษณะกิ่งมีเปลือกสีน้ำตาลแข็ง มีอาหารสะสมอยู่มาก ทนต่อการเหี่ยวแห้งและชอกช้ำ สามารถเก็บรักษาไว้ได้นาน ข้อเสียของการใช้กิ่งชนิดนี้ก็ คือ ตาที่ติดมักจะเจริญช้า จะต้องมีการบังคับตาอย่างหนักจึงจะแตกเป็นกิ่งได้

๒. กิ่งพันธุ์ดีที่เป็นกิ่งอ่อน หรือกิ่งที่กำลังเจริญเติบโต (green wood or green bud) เป็นกิ่งอ่อนสีเขียวที่กำลังเจริญเติบโต มีอาหารสะสมน้อยเหี่ยวแห้งและชอกช้ำง่าย แต่ก็มีตาที่เจริญได้รวดเร็ว การบังคับตาให้แตกหลังจากติดตาหรือต่อกิ่งแล้วสามารถทำได้ง่าย ในการติดตาต่อกิ่งพันธุ์พืชทั่วๆ ไปเราอาจใช้กิ่งพันธุ์ดีได้ทั้งที่เป็นกิ่งแก่และกิ่งอ่อน ส่วนการเลือกกิ่ง ถือหลักเกณฑ์การปฏิบัติเช่นเดียวกัน

หลักเกณฑ์ในการเลือกกิ่งพันธุ์ดี

๑. เป็นกิ่งปีเดียวหรือฤดูเดียว คือ ถ้าเป็นกิ่งแก่ควรมีอายุไม่เกิน ๑ ปี ถ้าเป็นกิ่งอ่อนควรจะมีอายุไม่เกิน ๑ ฤดู เพราะกิ่งที่มีอายุแก่เกินไป ตาที่ติดมักไม่ค่อยเจริญ

๒. เป็นกิ่งที่มีตา (bud) แข็งแรง ไม่ว่าจะเป็นตายอดหรือตาข้าง มองเห็นได้ชัดว่าจะเจริญเป็นกิ่งหรือต้นได้งอกงาม ปกติเป็นตาที่อยู่ทางด้านปลายกิ่ง

๓. เป็นกิ่งที่สมบูรณ์ มีการเจริญปานกลาง คือ มีข้อไม่ห่างจนเกินไป ลักษณะกิ่งกลมไม่ขึ้นเหลี่ยมหรืออวบจนเห็นได้ชัด กิ่งมีความแข็งพอควร โดยเฉพาะกิ่งอ่อน ปกติมักใช้กิ่งกระโดงหรือกิ่งน้ำค้าง

๔. กิ่งมีขนาดพอเหมาะ คือ มีเส้นผ่านศูนย์กลางขนาดประมาณ ๑๔ - ๑๒ นิ้ว หรือมีขนาดประมาณดินสอดำ และมักใช้ ๒๓ ของกิ่ง ส่วนใหญ่จะอยู่ประมาณกลางกิ่งและปลายกิ่ง

๕. เป็นกิ่งที่ได้จากต้นแม่ที่แข็งแรง ได้รับการตรวจแล้วว่าไม่เป็นโรค โดยเฉพาะโรคที่ติดต่อถ่ายทอดกันได้ด้วยการติดตาต่อกิ่ง เช่น โรคไวรัสเป็นต้น เป็นต้นที่รู้พันธุ์แน่นอน และควรจะเป็นต้นที่ตัดแต่งไว้สำหรับใช้เป็นกิ่งพันธุ์ดีโดยเฉพาะ

การเก็บรักษากิ่งพันธุ์ดี (storage of scion wood)

ข. การเก็บรักษากิ่งพันธุ์ดี (storage of scion wood)

ในการติดตาต่อกิ่ง กิ่งพันธุ์ดีที่นำมาใช้อาจได้มาจากบริเวณใกล้เคียง ซึ่งสามารถจะติดหรือต่อให้แล้วเสร็จได้ภายในวันเดียว ซึ่งเรียกกิ่งพันธุ์ดีพวกนี้ว่ากิ่งสด (fresh scion) หรืออาจเป็นกิ่งที่เก็บไว้ใช้ในเวลาอื่น หรือฤดูอื่นที่เหมาะสม ซึ่งเรียกกิ่งพวกนี้ว่า กิ่งเก็บ (storage scion) ก็ได้ อย่างไรก็ตาม ไม่ว่ากิ่งแก่ที่พักตัวหรือกิ่งอ่อนสีเขียว และจะนำมาใช้ทันทีหรือนำมาใช้ในเวลาต่อไปก็ดี จะต้องปฏิบัติดูแลให้กิ่งที่ตัดมานั้นมีสภาพเหมือนกับอยู่บนต้นเดิมให้มากที่สุด วิธีที่จะรักษากิ่งพันธุ์ดีให้สดอยู่ได้นานๆ นั้น ควรจะปฏิบัติดังนี้

๑. หลังจากที่ตัดกิ่งพันธุ์ดีออกจากต้น จะต้องรีบลดการคายน้ำจากกิ่งที่ตัดทันที โดยเฉพาะกิ่งพันธุ์ดีที่เป็นกิ่งอ่อนและมีใบติดอยู่บนกิ่ง จะมีการคายน้ำออกจากใบได้อย่างรวดเร็ว จะต้องรีบตัดใบออกทันที เหลือแต่โคนก้านใบที่จะใช้จับเวลาสอดแผ่นตาเท่านั้น

๒. เก็บกิ่งที่ริดใบหมดแล้วไว้ในที่ชื้น เช่นในกาบกล้วย ในห่อผ้าที่ชื้นหรือในถุงพลาสติก โดยมีผ้า กระดาษ หรือสำลีชุบน้ำและบีบจนสะเด็ดน้ำใส่ไว้ในถุงแล้วรัดปากถุงพลาสติกให้แน่น

๓. เก็บห่อหรือถุงที่ใส่กิ่งพันธุ์ดีไว้ในที่ร่มชื้นหรือเย็น หรือในห้องที่มีการถ่ายเทอากาศดี

๔. ถ้ามีห้องเย็นหรือตู้เย็น ควรเก็บกิ่งพันธุ์ดีไว้ในอุณหภูมิ ๔๐°ฟ. หรือชั้นเก็บผลไม้สด ซึ่งการเก็บกิ่งในอุณหภูมิต่ำเช่นนี้จะสามารถเก็บกิ่งไว้ได้นาน ๒-๔ สัปดาห์

การเตรียมกิ่งพันธุ์ดี

ค. การเตรียมกิ่งพันธุ์ดี

ไม่ว่าจะเป็นการติดตา หรือการต่อกิ่งวิธีใดก็ตาม การเตรียมแผ่นตาในการติดตาและการเตรียมกิ่งตาในการต่อกิ่ง มักจะมีวิธีปฏิบัติคล้ายๆ กัน คือ

การเตรียมแผ่นตา

๑. การเฉือนแผ่นตา ควรเฉือนจากปลายแผ่นไปทางโคนแผ่น แต่จะเฉือนตาที่ปลายกิ่งหรือโคนกิ่งก่อนก็ได้ การเฉือนจากปลายแผ่นเช่นนี้เพื่อป้องกันการเฉือนหลุดที่ตา

๒. เฉือนให้แผ่นตา มีความยาว ๑ นิ้ว โดยเฉือนให้เหนือตาครึ่งนิ้วและใต้ตาครึ่งนิ้ว

๓. ถ้าเป็นพวกกิ่งสด ควรตัดก้านใบให้เหลือไว้สำหรับจับแผ่นตา แต่ถ้าเป็นกิ่งเก็บหรือกิ่งสดที่ก้านใบหลุดไปแล้ว ควรเฉือนให้แผ่นตาส่วนที่อยู่เหนือตามีความยาว ๑ นิ้ว เพื่อไว้เป็นที่จับสอดแผ่นตา และจะตัดส่วนที่จับนี้ออกเมื่อสอดแผ่นตาเรียบร้อยแล้ว

๔. ต้องเฉือนแผ่นตาให้ติดเนื้อไม้เล็กน้อยเพื่อให้เกิดบริเวณของแนวเยื่อเจริญ (cambium layer) ซึ่งจะทำให้เกิดรอยต่อ

๕. ควรเฉือนที่เดียวให้ตลอดแผ่นตา ไม่ควรขยับมีดหรือแต่งรอยเฉือนให้เรียบภายหลังเพราะจะทำให้รอยเฉือนเป็นคลื่น แนวเยื่อเจริญไม่แนบกันตลอด ทำให้รอยต่อติดกันไม่สนิท

๖. การติดตาบางวิธีที่ต้องลอกเนื้อไม้ออกต้องระวังมิให้เปลือกของแผ่นตาย่นหรือช้ำได้เพราะจะทำให้แผ่นตาเสียได้

การเตรียมกิ่งตา

กิ่งตาคือชิ้นส่วนของกิ่งพันธุ์ดีที่ใช้ในการต่อกิ่ง ซึ่งจะมีตาตั้งแต่หนึ่งตาขึ้นไป การเตรียมกิ่งตาควรปฏิบัติดังนี้

๑. เลือกกิ่งพันธุ์ดีที่จะเฉือนให้มีขนาดพอเหมาะกับแผลที่เตรียมบนต้นตอ และกะบริเวณแผลที่จะเฉือนให้มีขนาดที่จะสอดได้พอเหมาะ

๒. เฉือนกิ่งตาทั้งท่อนยาว โดยเฉือนท่อนโคนกิ่งก่อน การเฉือนต้องให้รอยแผลเรียบและตรงถ้ายังไม่เรียบต้องตั้งต้นเฉือนใหม่ ไม่ควรแต่งแผลที่เฉือน เพราะจะทำให้รอยแผลเป็นคลื่น และควรให้รอยแผลที่เฉือนยาว ๑-๑.๕ นิ้ว หรือเท่ากับรอยแผลที่เตรียมบนต้นตอ

๓. ตัดกิ่งให้มีตาเหลืออยู่บนกิ่งตา ๓-๕ ตาและยาวไม่เกิน ๓ นิ้วโดยตัดให้รอยตัดเหนือตาบนยาวประมาณ ๑๔ นิ้ว

๔. หลังจากสอดกิ่งตาและพันรอยต่อเรียบร้อยแล้ว ควรหาวัตถุคลุมเพื่อรักษากิ่งตาไม่ให้แห้งขณะรอการติด โดยเฉพาะกิ่งตาที่เป็นกิ่งอ่อนสีเขียว

การบังคับตา

ไม่ว่าการติดตาหรือต่อกิ่ง โดยเฉพาะการต่อกิ่งที่ไม่ตัดยอดต้นตอ หลังจากติดตาต่อกิ่งได้แล้ว จะต้องมีการบังคับตาหรือกิ่งตาที่ต่อให้เจริญเป็นยอดพันธุ์ดีตามที่ต้องการ การบังคับตาหรือกิ่งตาที่ต่อให้เจริญเป็นยอดพันธุ์ดีตามที่ต้อการ การบังคับตาดังกล่าวอาจจะทำทันที่หลังจากที่ทราบผลการติดหรือต่อแล้ว หรืออาจทำในระยะใดระยะหนึ่ง ที่มีสภาพเหมาะสมในการเจริญของกิ่งตาก็ได้สิ่งที่ต้องพิจารณาในการบังคับตาก็คือ เรื่องของฮอร์โมนที่ควบคุมการเจริญของตาที่อยู่บนกิ่ง เรื่องของอาหารภายในต้นตอ และเรื่องของสภาพแวดล้อมในการเจริญของตา ซึ่งจะได้กล่าวต่อไป

1.2 การขยายพันธุ์พืชโดยวิธีการปักชำ

คือ การนำส่วนต่าง ๆ ของพืชพันธุ์ดี เช่น ใบ และ ราก มาตัดและปักชำในวัสดุเพาะชำ เพื่อให้ได้พืชต้นใหม่จากสวนที่นำมาปักชำ แต่ในที่นี้จะขอแนะนำขั้นตอนการ

ตัดชำกิ่งซึ่ง

ขั้นตอนในการปักชำ

1. ตัดโคนกิ่งให้ชิดข้อยาวประมาณ 15 - 20 เซนติเมตร โดยตัดเฉียงเป็นรูปปากฉลาม และตัดปลายบนให้เหนือตาประมาณ 1 เซนติเมตร

2. ใช้มีดปลายแหลมกรีดบริเวณรอบโคนยาว 1 - 1.5 เซนติเมตร ประมาณ 2 - 3 รอย

3. ปักกิ่งชำลงในวัสดุเพาะชำ ลึกประมาณ 2.5 - 5 เซนติเมตร

4. นำเข้าโรงอบพลาสติก หรือถุงพลาสติกขนาดใหญ่

5. ประมาณ 25 - 30 วัน กิ่งตัดชำจะแตกยอดอ่อน พร้อมออกราก เมื่อมีจำนวนมากพอ จึงย้ายปลูกต่อไป

วัสดุที่ใช้ในการปักชำ

1. กิ่งไม้ที่ต้องการตัดปักชำ

2. ขุยมะพร้าว ผสมดินร่วน บรรจุในถุงพลาสติกหรือตะกร้า (ดังภาพ)

3. มีด หรือ คัตเตอร์

4. โรงเรือน หรือที่ร่ม

1.3. การขยายพันธุ์พืชโดยวิธีตอนกิ่ง

การตอนกิ่ง

การตอนกิ่ง

คือ การทำให้กิ่งหรือต้นพืชเกิดรากขณะติดอยู่กับต้นแม่ จะทำให้ได้ต้นพืชใหม่ ที่มีลักษณะทางสายพันธุ์ เหมือนกับต้นแม่ทุกประการ โดยมีขั้นตอนการปฏิบัติ ดังนี้

1. เลือกกิ่งกึ่งแก่กึ่งอ่อนที่สมบูรณ์ปราศจากโรคและแมลง

2. ควั่นกิ่ง ลอกเอาเปลือกออก แล้วขูดเยื่อเจริญที่เป็นเมือกลื่น ๆ ออก

3. นำตุ้มตอน (ขุยมะพร้าวที่แช่น้ำ แล้วบีบหมาด ๆ อัดลงในถุงพลาสติก ผูกปากถุงให้แน่น) มาผ่าตามความยาวแล้วนำไปหุ้มบนรอยแผลของกิ่งตอน มัดด้วยเชือกทั้งบนและล่างรอยแผล

4. เมื่อกิ่งตอนมีรากงอกแทงผ่านวัสดุ และเริ่มแก่เป็นสีเหลือง สีน้ำตาล ปลายรากมีสีขาว และมีจำนวนมากพอจึงตัดกิ่งตอนได้

5. นำกิ่งตอนไปชำในภาชนะ กระถางหรือถุงพลาสติก เพื่อรอการปลูกต่อไป

2. จงอธิบายเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ ดังนี้

2.1. เทคโนโลยีสารสนเทศหมายถึงอะไร

เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology: IT) หรือเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication Technologies: ICTs) ก็คือ เทคโนโลยีสองด้านหลัก ๆ ที่ประกอบด้วยเทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์ และ เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคมที่ผนวกเข้าด้วยกัน เพื่อใช้ในกระบวนการจัดหา จัดเก็บ สร้าง และเผยแพร่สารสนเทศในรูปต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นเสียง ภาพ ภาพเคลื่อนไหว ข้อความหรือตัวอักษร และตัวเลข เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ความถูกต้อง ความแม่นยำ และความรวดเร็วให้ทันต่อการนำไปใช้ประโยชน์

2.2. ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ

ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ

1.ช่วยในการจัดระบบข่าวสารจำนวนมหาศาลของแต่ละวัน

2. เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตสารสนเทศ เช่น การคำนวณตัวเลขที่ยุ่งยากซับซ้อน การจัดเรียงลำดับสารสนเทศ ฯลฯ

3. ช่วยให้สามารถเก็บสารสนเทศไว้ในรูปที่สามารถเรียกใช้ได้ทุกครั้งอย่างสะดวก

4. ช่วยให้สามารถจัดระบบอัตโนมัติ เพื่อการจัดเก็บประมวลผล และเรียกใช้สารสนเทศูล

5. ช่วยในการเข้าถึงสารสนเทศได้อย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพมากขึ้น

6. ช่วยในการสื่อสารระหว่างกันได้อย่างสะดวกรวดเร็ว ลดอุปสรรคเกี่ยวกับเวลา และระยะทาง โดยการใช้ระบบโทรศัพท์ และอื่นๆ

2.3 เทคโนโลยีสารสนเทศที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ได้แก่....

1. เสริมสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น เช่น การติดต่อสื่อสารที่สมัยก่อนมีการสื่อสารด้วยจดหมาย หรือโทรเลข แต่ปัจจุบันมีการติดต่อสื่อสารที่ง่ายขึ้น เช่น โทรศัพท์เคลื่อนที่ , Internet ที่แม้แต่อยู่คนละประเทศก็สามารถที่จะทราบถึงข่าวสารที่ง่ายขึ้น

2. ทำให้เกิดความเท่าเทียมกันในสังคม เช่น การศึกษาที่ปัจจุบันที่ได้หันเข้ามาศึกษาผ่านทางเว็บจำนวนมาก และการเข้าถึงข้อมูลเหล่านี้จึงไม่ได้จำกัดอยู่ที่ผู้ที่มีฐานะทางการเงินเท่านั้น เพียงแต่มีคอมพิวเตอร์กับระบบเครือข่ายก็สามารถที่จะเข้าถึงข้อมูลได้

3. ประโยชน์ต่อการเรียนการสอนในโรงเรียน เช่น การเยี่ยมชมเว็บ การเรียกผ่านทางคอมพิวเตอร์ช่วยสอน การสร้างสื่อการสอนด้วยคอมพิวเตอร์

4. ประโยชน์ด้านอุตสาหกรรมและพาณิชยกรรม เช่น เครื่องจักรต่างๆ ระบบสื่อสาร

5. ศึกษาค้นคว้าความแปลใหม่ที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา

นางสาวขวัญใจ สุริยา ม.3/2 เลขที่31 นางสาวทิพวรรณ มูลสิงห์ เลขที่32 ชั้นม.3/2 นางสาวกรรณิกา บุราชรินทร์ ม.3/2 เลขที่30

1.1 การขยายพันธุ์โดยวิธีติดตาต่อกิ่ง (Propagation by grafting)

การติดตาต่อกิ่ง เป็นศิลปะของการเชื่อม ส่วนของต้นพืชเข้าด้วยกัน เพื่อที่จะให้ส่วนของพืชนั้นๆ ติดต่อกันและเจริญต่อไปเหมือนกับเป็นต้นพืชต้นเดียวกัน ส่วนของต้นพืชที่ต่ออยู่ทางส่วนฃ บนหรือที่ทำหน้าที่เป็นยอดของต้นพืชนั้น เรียกว่า กิ่งพันธุ์ดี (scion) และส่วนของพืชที่ต่ออยู่ทางส่วนล่างหรือที่ทำหน้าที่เป็นรากเรียกว่า ต้นตอ (stock or rootstock) จะเห็นได้ว่าในการขยายพันธุ์ด้วยวิธีการติดตาต่อกิ่ง ส่วนของต้นพืชที่เกี่ยวข้องก็คือต้นตอ และกิ่งพันธุ์ดี ด้วยเหตุนี้การศึกษาเกี่ยวกับต้นตและกิ่งพันธุ์ดีจึงเป็นเรื่องที่ควรทำเป็นอันดับแรกต้นตอ ในการขยายพันธุ์ด้วยวิธีการติดตาต่อกิ่ง การใช้ต้นตอที่ปฏิบัติกันอยู่ทั่วๆ ไปพอจะแบ่งออกได้เป็น ๒ ชนิด

๑. ต้นตอที่ได้จากการขยายพันธุ์ด้วยเมล็ดหมายถึงต้นพืชที่จะใช้เป็นต้นตอนั้นเพาะมาจากเมล็ด เมื่อต้นมีขนาดโตพอแล้วจึงนำมาใช้เป็นต้นตอสำหรับติดตาต่อกิ่งหรือทาบกิ่ง เรามักเรียกต้นตอชนิดนี้ว่า ต้นตอเพาะเมล็ด (seedling-rootstock)เนื่องจากต้นตอชนิดนี้เพาะมาจากเมล็ด อาจมีความผิดเพี้ยนหรือกลายพันธุ์ไปบ้าง จึงต้องมีการคัดเลือกต้นที่ไม่ตรงตามพันธุ์หรือผิดเพี้ยนไปจากลักษณะที่ต้องการออกเสีย ตลอดจนต้นที่อ่อนแอหรือมีลักษณะไม่เหมาะสมที่จะนำมาใช้เป็นต้นตอเช่น ลำต้นคดบิด หรือมีลักษณะของรอยต่อระหว่างต้นและราก เป็นแบบคอห่านซึ่งเกิดจากการวางเมล็ดเพาะผิดวิธี ถ้านำต้นพืชที่มีลักษณะดังกล่าวนี้ไปเป็นต้นตอแล้ว มักจะเกิดการหักโค่นตรงบริเวณที่ปเป็นคอห่านได้ง่าย ฉะนั้นจึงต้องคัดทิ้งเสีย เนื่องปจากต้นตอที่ขยายพันธุ์จากเมล็ดมีระบบรากที่หยั่งลึกสามารถจะยึดเกาะต้นได้แข็งแรง จึงได้รับความนิยมใช้เป็นต้นตอของไม้ยืนต้น เช่น มะม่วง ทุเรียน มะขาม เป็นต้น พืชพันธุ์ใดก็ตามที่จะนำมาใช้เป็นต้นตอนั้น ควรจะเป็นพันธุ์พืชที่หาเมล็ดได้ง่ายหรือมีเมล็ดมากด้วย

๒. ต้นตอที่ได้จากการตัดชำ การตอนหรือการแยกหน่อ มักเรียกต้นตอเช่นนี้ว่า ต้นตอตัดชำ(cutting stock) ข้อดีของต้นตอชนิดนี้ก็คือ เป็นต้นตอที่ตรงตามพันธุ์แน่นอน เหมาะที่จะใช้ในงานทดลองหรือใช้เพื่อวัตถุประสงค์บางอย่าง เช่น ใช้เป็นต้นตอ ทนโรค ทนแล้ง ทนแฉะ หรือทนสารบางอย่าง แต่เนื่องจากเป็นต้นตอที่มีระบบรากตื้น จึงไม่นิยมใช้กับไม้ยืนต้น แต่มักใช้กับไม้ดอกหรือไม้ประดับที่เป็นพุ่ม เช่น กุหลาบ ชบา ดอนย่า ฯลฯ และพืชพันธุ์ใดก็ตามที่จะนำมาใช้เป็นพันธุ์ต้นตอนั้น นอกจากจะมีคุณสมบัติพิเศษตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการแล้ว ควรจะมีคุณสมบัติในการเจริญเติบโตและการออกรากได้ดีด้วย

ต้นตอ เป็นปัจจัยสำคัญที่มีผลเกี่ยวกับความสำเร็จในการติดตาต่อกิ่ง การเลี้ยงดูต้นตอให้สมบูรณ์ และการเลือกขนาดของต้นตอให้พอเหมาะในการติดตาต่อกิ่งต้นพืชแต่ละชนิด จะช่วยให้ได้ผลดีขึ้นด้วย

กิ่งพันธุ์ดี คือ ส่วนของต้นพืชที่ทำหน้าที่เป็นส่วนยอดของต้นพืชที่ต่ออยู่ หรืออาจหมายถึงกิ่งพืชที่จะนำไปติดหรือต่อบนต้นตอก็ได้ ในการติดตาต่อกิ่งมีเรื่องที่เกี่ยวข้องกับกิ่งพันธุ์ดีที่ควรจะทราบ คือ

ก. การเลือกกี่พันธุ์ดี (selection of scion wood)

ข. การเก็บรักษากี่งพันธุ์ดี (storage of scion wood)

ค. การเตรียมกิ่งพันธุ์ดี

การเลือกกิ่งพันธุ์ดี (selection of scion wood)

ก. การเลือกกิ่งพันธุ์ดี (selection of scion wood)

ในการติดตาต่อกิ่ง ทั้งต้นตอและกิ่งพันธุ์ดีที่นำมาติดหรือต่อเข้าด้วยกันนั้น จะต้องมีการสร้างเนื้อเยื่อให้ประสานกัน การสร้างเนื้อเยื่อจะเร็ว หรือช้าขึ้นอยู่กับความสมบูรณ์หรืออาหารที่มีอยู่ในส่วนของพืชทั้งสอง โดยเฉพาะกิ่งพันธุ์ดีซึ่งเป็นชิ้น ส่วนที่เล็กย่อมจะมีอาหารสะสมอยู่น้อย จึงจำเป็นต้องเลือกให้เหมาะสม เพื่อให้การติดหรือต่อได้ผลดี การเลือกกิ่งพันธุ์ดีที่นิยมปฏิบัติกันทั่วๆไปนั้นอาจแบ่งออกได้เป็น ๒ ชนิด คือ

๑. กิ่งพันธุ์ดีเป็นกิ่งแก่หรือกิ่งที่กำลังพักตัว (brown bud wood) เป็นกิ่งที่เจริญในฤดูที่แล้ว หรือปีที่แล้ว ปกติจะมีอายุ ๑ ฤดูหรือไม่เกิน ๑ ปี ลักษณะกิ่งมีเปลือกสีน้ำตาลแข็ง มีอาหารสะสมอยู่มาก ทนต่อการเหี่ยวแห้งและชอกช้ำ สามารถเก็บรักษาไว้ได้นาน ข้อเสียของการใช้กิ่งชนิดนี้ก็ คือ ตาที่ติดมักจะเจริญช้า จะต้องมีการบังคับตาอย่างหนักจึงจะแตกเป็นกิ่งได้

๒. กิ่งพันธุ์ดีที่เป็นกิ่งอ่อน หรือกิ่งที่กำลังเจริญเติบโต (green wood or green bud) เป็นกิ่งอ่อนสีเขียวที่กำลังเจริญเติบโต มีอาหารสะสมน้อยเหี่ยวแห้งและชอกช้ำง่าย แต่ก็มีตาที่เจริญได้รวดเร็ว การบังคับตาให้แตกหลังจากติดตาหรือต่อกิ่งแล้วสามารถทำได้ง่าย ในการติดตาต่อกิ่งพันธุ์พืชทั่วๆ ไปเราอาจใช้กิ่งพันธุ์ดีได้ทั้งที่เป็นกิ่งแก่และกิ่งอ่อน ส่วนการเลือกกิ่ง ถือหลักเกณฑ์การปฏิบัติเช่นเดียวกัน

หลักเกณฑ์ในการเลือกกิ่งพันธุ์ดี

๑. เป็นกิ่งปีเดียวหรือฤดูเดียว คือ ถ้าเป็นกิ่งแก่ควรมีอายุไม่เกิน ๑ ปี ถ้าเป็นกิ่งอ่อนควรจะมีอายุไม่เกิน ๑ ฤดู เพราะกิ่งที่มีอายุแก่เกินไป ตาที่ติดมักไม่ค่อยเจริญ

๒. เป็นกิ่งที่มีตา (bud) แข็งแรง ไม่ว่าจะเป็นตายอดหรือตาข้าง มองเห็นได้ชัดว่าจะเจริญเป็นกิ่งหรือต้นได้งอกงาม ปกติเป็นตาที่อยู่ทางด้านปลายกิ่ง

๓. เป็นกิ่งที่สมบูรณ์ มีการเจริญปานกลาง คือ มีข้อไม่ห่างจนเกินไป ลักษณะกิ่งกลมไม่ขึ้นเหลี่ยมหรืออวบจนเห็นได้ชัด กิ่งมีความแข็งพอควร โดยเฉพาะกิ่งอ่อน ปกติมักใช้กิ่งกระโดงหรือกิ่งน้ำค้าง

๔. กิ่งมีขนาดพอเหมาะ คือ มีเส้นผ่านศูนย์กลางขนาดประมาณ ๑๔ - ๑๒ นิ้ว หรือมีขนาดประมาณดินสอดำ และมักใช้ ๒๓ ของกิ่ง ส่วนใหญ่จะอยู่ประมาณกลางกิ่งและปลายกิ่ง

๕. เป็นกิ่งที่ได้จากต้นแม่ที่แข็งแรง ได้รับการตรวจแล้วว่าไม่เป็นโรค โดยเฉพาะโรคที่ติดต่อถ่ายทอดกันได้ด้วยการติดตาต่อกิ่ง เช่น โรคไวรัสเป็นต้น เป็นต้นที่รู้พันธุ์แน่นอน และควรจะเป็นต้นที่ตัดแต่งไว้สำหรับใช้เป็นกิ่งพันธุ์ดีโดยเฉพาะ

การเก็บรักษากิ่งพันธุ์ดี (storage of scion wood)

ข. การเก็บรักษากิ่งพันธุ์ดี (storage of scion wood)

ในการติดตาต่อกิ่ง กิ่งพันธุ์ดีที่นำมาใช้อาจได้มาจากบริเวณใกล้เคียง ซึ่งสามารถจะติดหรือต่อให้แล้วเสร็จได้ภายในวันเดียว ซึ่งเรียกกิ่งพันธุ์ดีพวกนี้ว่ากิ่งสด (fresh scion) หรืออาจเป็นกิ่งที่เก็บไว้ใช้ในเวลาอื่น หรือฤดูอื่นที่เหมาะสม ซึ่งเรียกกิ่งพวกนี้ว่า กิ่งเก็บ (storage scion) ก็ได้ อย่างไรก็ตาม ไม่ว่ากิ่งแก่ที่พักตัวหรือกิ่งอ่อนสีเขียว และจะนำมาใช้ทันทีหรือนำมาใช้ในเวลาต่อไปก็ดี จะต้องปฏิบัติดูแลให้กิ่งที่ตัดมานั้นมีสภาพเหมือนกับอยู่บนต้นเดิมให้มากที่สุด วิธีที่จะรักษากิ่งพันธุ์ดีให้สดอยู่ได้นานๆ นั้น ควรจะปฏิบัติดังนี้

๑. หลังจากที่ตัดกิ่งพันธุ์ดีออกจากต้น จะต้องรีบลดการคายน้ำจากกิ่งที่ตัดทันที โดยเฉพาะกิ่งพันธุ์ดีที่เป็นกิ่งอ่อนและมีใบติดอยู่บนกิ่ง จะมีการคายน้ำออกจากใบได้อย่างรวดเร็ว จะต้องรีบตัดใบออกทันที เหลือแต่โคนก้านใบที่จะใช้จับเวลาสอดแผ่นตาเท่านั้น

๒. เก็บกิ่งที่ริดใบหมดแล้วไว้ในที่ชื้น เช่นในกาบกล้วย ในห่อผ้าที่ชื้นหรือในถุงพลาสติก โดยมีผ้า กระดาษ หรือสำลีชุบน้ำและบีบจนสะเด็ดน้ำใส่ไว้ในถุงแล้วรัดปากถุงพลาสติกให้แน่น

๓. เก็บห่อหรือถุงที่ใส่กิ่งพันธุ์ดีไว้ในที่ร่มชื้นหรือเย็น หรือในห้องที่มีการถ่ายเทอากาศดี

๔. ถ้ามีห้องเย็นหรือตู้เย็น ควรเก็บกิ่งพันธุ์ดีไว้ในอุณหภูมิ ๔๐°ฟ. หรือชั้นเก็บผลไม้สด ซึ่งการเก็บกิ่งในอุณหภูมิต่ำเช่นนี้จะสามารถเก็บกิ่งไว้ได้นาน ๒-๔ สัปดาห์

การเตรียมกิ่งพันธุ์ดี

ค. การเตรียมกิ่งพันธุ์ดี

ไม่ว่าจะเป็นการติดตา หรือการต่อกิ่งวิธีใดก็ตาม การเตรียมแผ่นตาในการติดตาและการเตรียมกิ่งตาในการต่อกิ่ง มักจะมีวิธีปฏิบัติคล้ายๆ กัน คือ

การเตรียมแผ่นตา

๑. การเฉือนแผ่นตา ควรเฉือนจากปลายแผ่นไปทางโคนแผ่น แต่จะเฉือนตาที่ปลายกิ่งหรือโคนกิ่งก่อนก็ได้ การเฉือนจากปลายแผ่นเช่นนี้เพื่อป้องกันการเฉือนหลุดที่ตา

๒. เฉือนให้แผ่นตา มีความยาว ๑ นิ้ว โดยเฉือนให้เหนือตาครึ่งนิ้วและใต้ตาครึ่งนิ้ว

๓. ถ้าเป็นพวกกิ่งสด ควรตัดก้านใบให้เหลือไว้สำหรับจับแผ่นตา แต่ถ้าเป็นกิ่งเก็บหรือกิ่งสดที่ก้านใบหลุดไปแล้ว ควรเฉือนให้แผ่นตาส่วนที่อยู่เหนือตามีความยาว ๑ นิ้ว เพื่อไว้เป็นที่จับสอดแผ่นตา และจะตัดส่วนที่จับนี้ออกเมื่อสอดแผ่นตาเรียบร้อยแล้ว

๔. ต้องเฉือนแผ่นตาให้ติดเนื้อไม้เล็กน้อยเพื่อให้เกิดบริเวณของแนวเยื่อเจริญ (cambium layer) ซึ่งจะทำให้เกิดรอยต่อ

๕. ควรเฉือนที่เดียวให้ตลอดแผ่นตา ไม่ควรขยับมีดหรือแต่งรอยเฉือนให้เรียบภายหลังเพราะจะทำให้รอยเฉือนเป็นคลื่น แนวเยื่อเจริญไม่แนบกันตลอด ทำให้รอยต่อติดกันไม่สนิท

๖. การติดตาบางวิธีที่ต้องลอกเนื้อไม้ออกต้องระวังมิให้เปลือกของแผ่นตาย่นหรือช้ำได้เพราะจะทำให้แผ่นตาเสียได้

การเตรียมกิ่งตา

กิ่งตาคือชิ้นส่วนของกิ่งพันธุ์ดีที่ใช้ในการต่อกิ่ง ซึ่งจะมีตาตั้งแต่หนึ่งตาขึ้นไป การเตรียมกิ่งตาควรปฏิบัติดังนี้

๑. เลือกกิ่งพันธุ์ดีที่จะเฉือนให้มีขนาดพอเหมาะกับแผลที่เตรียมบนต้นตอ และกะบริเวณแผลที่จะเฉือนให้มีขนาดที่จะสอดได้พอเหมาะ

๒. เฉือนกิ่งตาทั้งท่อนยาว โดยเฉือนท่อนโคนกิ่งก่อน การเฉือนต้องให้รอยแผลเรียบและตรงถ้ายังไม่เรียบต้องตั้งต้นเฉือนใหม่ ไม่ควรแต่งแผลที่เฉือน เพราะจะทำให้รอยแผลเป็นคลื่น และควรให้รอยแผลที่เฉือนยาว ๑-๑.๕ นิ้ว หรือเท่ากับรอยแผลที่เตรียมบนต้นตอ

๓. ตัดกิ่งให้มีตาเหลืออยู่บนกิ่งตา ๓-๕ ตาและยาวไม่เกิน ๓ นิ้วโดยตัดให้รอยตัดเหนือตาบนยาวประมาณ ๑๔ นิ้ว

๔. หลังจากสอดกิ่งตาและพันรอยต่อเรียบร้อยแล้ว ควรหาวัตถุคลุมเพื่อรักษากิ่งตาไม่ให้แห้งขณะรอการติด โดยเฉพาะกิ่งตาที่เป็นกิ่งอ่อนสีเขียว

การบังคับตา

ไม่ว่าการติดตาหรือต่อกิ่ง โดยเฉพาะการต่อกิ่งที่ไม่ตัดยอดต้นตอ หลังจากติดตาต่อกิ่งได้แล้ว จะต้องมีการบังคับตาหรือกิ่งตาที่ต่อให้เจริญเป็นยอดพันธุ์ดีตามที่ต้องการ การบังคับตาหรือกิ่งตาที่ต่อให้เจริญเป็นยอดพันธุ์ดีตามที่ต้อการ การบังคับตาดังกล่าวอาจจะทำทันที่หลังจากที่ทราบผลการติดหรือต่อแล้ว หรืออาจทำในระยะใดระยะหนึ่ง ที่มีสภาพเหมาะสมในการเจริญของกิ่งตาก็ได้สิ่งที่ต้องพิจารณาในการบังคับตาก็คือ เรื่องของฮอร์โมนที่ควบคุมการเจริญของตาที่อยู่บนกิ่ง เรื่องของอาหารภายในต้นตอ และเรื่องของสภาพแวดล้อมในการเจริญของตา ซึ่งจะได้กล่าวต่อไป

1.2 การขยายพันธุ์พืชโดยวิธีการปักชำ

คือ การนำส่วนต่าง ๆ ของพืชพันธุ์ดี เช่น ใบ และ ราก มาตัดและปักชำในวัสดุเพาะชำ เพื่อให้ได้พืชต้นใหม่จากสวนที่นำมาปักชำ แต่ในที่นี้จะขอแนะนำขั้นตอนการ

ตัดชำกิ่งซึ่ง

ขั้นตอนในการปักชำ

1. ตัดโคนกิ่งให้ชิดข้อยาวประมาณ 15 - 20 เซนติเมตร โดยตัดเฉียงเป็นรูปปากฉลาม และตัดปลายบนให้เหนือตาประมาณ 1 เซนติเมตร

2. ใช้มีดปลายแหลมกรีดบริเวณรอบโคนยาว 1 - 1.5 เซนติเมตร ประมาณ 2 - 3 รอย

3. ปักกิ่งชำลงในวัสดุเพาะชำ ลึกประมาณ 2.5 - 5 เซนติเมตร

4. นำเข้าโรงอบพลาสติก หรือถุงพลาสติกขนาดใหญ่

5. ประมาณ 25 - 30 วัน กิ่งตัดชำจะแตกยอดอ่อน พร้อมออกราก เมื่อมีจำนวนมากพอ จึงย้ายปลูกต่อไป

วัสดุที่ใช้ในการปักชำ

1. กิ่งไม้ที่ต้องการตัดปักชำ

2. ขุยมะพร้าว ผสมดินร่วน บรรจุในถุงพลาสติกหรือตะกร้า (ดังภาพ)

3. มีด หรือ คัตเตอร์

4. โรงเรือน หรือที่ร่ม

1.3. การขยายพันธุ์พืชโดยวิธีตอนกิ่ง

การตอนกิ่ง

การตอนกิ่ง

คือ การทำให้กิ่งหรือต้นพืชเกิดรากขณะติดอยู่กับต้นแม่ จะทำให้ได้ต้นพืชใหม่ ที่มีลักษณะทางสายพันธุ์ เหมือนกับต้นแม่ทุกประการ โดยมีขั้นตอนการปฏิบัติ ดังนี้

1. เลือกกิ่งกึ่งแก่กึ่งอ่อนที่สมบูรณ์ปราศจากโรคและแมลง

2. ควั่นกิ่ง ลอกเอาเปลือกออก แล้วขูดเยื่อเจริญที่เป็นเมือกลื่น ๆ ออก

3. นำตุ้มตอน (ขุยมะพร้าวที่แช่น้ำ แล้วบีบหมาด ๆ อัดลงในถุงพลาสติก ผูกปากถุงให้แน่น) มาผ่าตามความยาวแล้วนำไปหุ้มบนรอยแผลของกิ่งตอน มัดด้วยเชือกทั้งบนและล่างรอยแผล

4. เมื่อกิ่งตอนมีรากงอกแทงผ่านวัสดุ และเริ่มแก่เป็นสีเหลือง สีน้ำตาล ปลายรากมีสีขาว และมีจำนวนมากพอจึงตัดกิ่งตอนได้

5. นำกิ่งตอนไปชำในภาชนะ กระถางหรือถุงพลาสติก เพื่อรอการปลูกต่อไป

2. จงอธิบายเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ ดังนี้

2.1. เทคโนโลยีสารสนเทศหมายถึงอะไร

เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology: IT) หรือเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication Technologies: ICTs) ก็คือ เทคโนโลยีสองด้านหลัก ๆ ที่ประกอบด้วยเทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์ และ เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคมที่ผนวกเข้าด้วยกัน เพื่อใช้ในกระบวนการจัดหา จัดเก็บ สร้าง และเผยแพร่สารสนเทศในรูปต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นเสียง ภาพ ภาพเคลื่อนไหว ข้อความหรือตัวอักษร และตัวเลข เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ความถูกต้อง ความแม่นยำ และความรวดเร็วให้ทันต่อการนำไปใช้ประโยชน์

2.2. ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ

ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ

1.ช่วยในการจัดระบบข่าวสารจำนวนมหาศาลของแต่ละวัน

2. เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตสารสนเทศ เช่น การคำนวณตัวเลขที่ยุ่งยากซับซ้อน การจัดเรียงลำดับสารสนเทศ ฯลฯ

3. ช่วยให้สามารถเก็บสารสนเทศไว้ในรูปที่สามารถเรียกใช้ได้ทุกครั้งอย่างสะดวก

4. ช่วยให้สามารถจัดระบบอัตโนมัติ เพื่อการจัดเก็บประมวลผล และเรียกใช้สารสนเทศูล

5. ช่วยในการเข้าถึงสารสนเทศได้อย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพมากขึ้น

6. ช่วยในการสื่อสารระหว่างกันได้อย่างสะดวกรวดเร็ว ลดอุปสรรคเกี่ยวกับเวลา และระยะทาง โดยการใช้ระบบโทรศัพท์ และอื่นๆ

2.3 เทคโนโลยีสารสนเทศที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ได้แก่....

1. เสริมสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น เช่น การติดต่อสื่อสารที่สมัยก่อนมีการสื่อสารด้วยจดหมาย หรือโทรเลข แต่ปัจจุบันมีการติดต่อสื่อสารที่ง่ายขึ้น เช่น โทรศัพท์เคลื่อนที่ , Internet ที่แม้แต่อยู่คนละประเทศก็สามารถที่จะทราบถึงข่าวสารที่ง่ายขึ้น

2. ทำให้เกิดความเท่าเทียมกันในสังคม เช่น การศึกษาที่ปัจจุบันที่ได้หันเข้ามาศึกษาผ่านทางเว็บจำนวนมาก และการเข้าถึงข้อมูลเหล่านี้จึงไม่ได้จำกัดอยู่ที่ผู้ที่มีฐานะทางการเงินเท่านั้น เพียงแต่มีคอมพิวเตอร์กับระบบเครือข่ายก็สามารถที่จะเข้าถึงข้อมูลได้

3. ประโยชน์ต่อการเรียนการสอนในโรงเรียน เช่น การเยี่ยมชมเว็บ การเรียกผ่านทางคอมพิวเตอร์ช่วยสอน การสร้างสื่อการสอนด้วยคอมพิวเตอร์

4. ประโยชน์ด้านอุตสาหกรรมและพาณิชยกรรม เช่น เครื่องจักรต่างๆ ระบบสื่อสาร

5. ศึกษาค้นคว้าความแปลใหม่ที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา

นาย.วีระยุทธ การะบุตร เลขที่ 33/ระพิน นิโส เลขที่13 ชั้น ม.3/2

.1 การขยายพันธุ์โดยวิธีติดตาต่อกิ่ง (Propagation by grafting)

การติดตาต่อกิ่ง เป็นศิลปะของการเชื่อม ส่วนของต้นพืชเข้าด้วยกัน เพื่อที่จะให้ส่วนของพืชนั้นๆ ติดต่อกันและเจริญต่อไปเหมือนกับเป็นต้นพืชต้นเดียวกัน ส่วนของต้นพืชที่ต่ออยู่ทางส่วนฃ บนหรือที่ทำหน้าที่เป็นยอดของต้นพืชนั้น เรียกว่า กิ่งพันธุ์ดี (scion) และส่วนของพืชที่ต่ออยู่ทางส่วนล่างหรือที่ทำหน้าที่เป็นรากเรียกว่า ต้นตอ (stock or rootstock) จะเห็นได้ว่าในการขยายพันธุ์ด้วยวิธีการติดตาต่อกิ่ง ส่วนของต้นพืชที่เกี่ยวข้องก็คือต้นตอ และกิ่งพันธุ์ดี ด้วยเหตุนี้การศึกษาเกี่ยวกับต้นตและกิ่งพันธุ์ดีจึงเป็นเรื่องที่ควรทำเป็นอันดับแรกต้นตอ ในการขยายพันธุ์ด้วยวิธีการติดตาต่อกิ่ง การใช้ต้นตอที่ปฏิบัติกันอยู่ทั่วๆ ไปพอจะแบ่งออกได้เป็น ๒ ชนิด

๑. ต้นตอที่ได้จากการขยายพันธุ์ด้วยเมล็ดหมายถึงต้นพืชที่จะใช้เป็นต้นตอนั้นเพาะมาจากเมล็ด เมื่อต้นมีขนาดโตพอแล้วจึงนำมาใช้เป็นต้นตอสำหรับติดตาต่อกิ่งหรือทาบกิ่ง เรามักเรียกต้นตอชนิดนี้ว่า ต้นตอเพาะเมล็ด (seedling-rootstock)เนื่องจากต้นตอชนิดนี้เพาะมาจากเมล็ด อาจมีความผิดเพี้ยนหรือกลายพันธุ์ไปบ้าง จึงต้องมีการคัดเลือกต้นที่ไม่ตรงตามพันธุ์หรือผิดเพี้ยนไปจากลักษณะที่ต้องการออกเสีย ตลอดจนต้นที่อ่อนแอหรือมีลักษณะไม่เหมาะสมที่จะนำมาใช้เป็นต้นตอเช่น ลำต้นคดบิด หรือมีลักษณะของรอยต่อระหว่างต้นและราก เป็นแบบคอห่านซึ่งเกิดจากการวางเมล็ดเพาะผิดวิธี ถ้านำต้นพืชที่มีลักษณะดังกล่าวนี้ไปเป็นต้นตอแล้ว มักจะเกิดการหักโค่นตรงบริเวณที่ปเป็นคอห่านได้ง่าย ฉะนั้นจึงต้องคัดทิ้งเสีย เนื่องปจากต้นตอที่ขยายพันธุ์จากเมล็ดมีระบบรากที่หยั่งลึกสามารถจะยึดเกาะต้นได้แข็งแรง จึงได้รับความนิยมใช้เป็นต้นตอของไม้ยืนต้น เช่น มะม่วง ทุเรียน มะขาม เป็นต้น พืชพันธุ์ใดก็ตามที่จะนำมาใช้เป็นต้นตอนั้น ควรจะเป็นพันธุ์พืชที่หาเมล็ดได้ง่ายหรือมีเมล็ดมากด้วย

๒. ต้นตอที่ได้จากการตัดชำ การตอนหรือการแยกหน่อ มักเรียกต้นตอเช่นนี้ว่า ต้นตอตัดชำ(cutting stock) ข้อดีของต้นตอชนิดนี้ก็คือ เป็นต้นตอที่ตรงตามพันธุ์แน่นอน เหมาะที่จะใช้ในงานทดลองหรือใช้เพื่อวัตถุประสงค์บางอย่าง เช่น ใช้เป็นต้นตอ ทนโรค ทนแล้ง ทนแฉะ หรือทนสารบางอย่าง แต่เนื่องจากเป็นต้นตอที่มีระบบรากตื้น จึงไม่นิยมใช้กับไม้ยืนต้น แต่มักใช้กับไม้ดอกหรือไม้ประดับที่เป็นพุ่ม เช่น กุหลาบ ชบา ดอนย่า ฯลฯ และพืชพันธุ์ใดก็ตามที่จะนำมาใช้เป็นพันธุ์ต้นตอนั้น นอกจากจะมีคุณสมบัติพิเศษตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการแล้ว ควรจะมีคุณสมบัติในการเจริญเติบโตและการออกรากได้ดีด้วย

ต้นตอ เป็นปัจจัยสำคัญที่มีผลเกี่ยวกับความสำเร็จในการติดตาต่อกิ่ง การเลี้ยงดูต้นตอให้สมบูรณ์ และการเลือกขนาดของต้นตอให้พอเหมาะในการติดตาต่อกิ่งต้นพืชแต่ละชนิด จะช่วยให้ได้ผลดีขึ้นด้วย

กิ่งพันธุ์ดี คือ ส่วนของต้นพืชที่ทำหน้าที่เป็นส่วนยอดของต้นพืชที่ต่ออยู่ หรืออาจหมายถึงกิ่งพืชที่จะนำไปติดหรือต่อบนต้นตอก็ได้ ในการติดตาต่อกิ่งมีเรื่องที่เกี่ยวข้องกับกิ่งพันธุ์ดีที่ควรจะทราบ คือ

ก. การเลือกกี่พันธุ์ดี (selection of scion wood)

ข. การเก็บรักษากี่งพันธุ์ดี (storage of scion wood)

ค. การเตรียมกิ่งพันธุ์ดี

การเลือกกิ่งพันธุ์ดี (selection of scion wood)

ก. การเลือกกิ่งพันธุ์ดี (selection of scion wood)

ในการติดตาต่อกิ่ง ทั้งต้นตอและกิ่งพันธุ์ดีที่นำมาติดหรือต่อเข้าด้วยกันนั้น จะต้องมีการสร้างเนื้อเยื่อให้ประสานกัน การสร้างเนื้อเยื่อจะเร็ว หรือช้าขึ้นอยู่กับความสมบูรณ์หรืออาหารที่มีอยู่ในส่วนของพืชทั้งสอง โดยเฉพาะกิ่งพันธุ์ดีซึ่งเป็นชิ้น ส่วนที่เล็กย่อมจะมีอาหารสะสมอยู่น้อย จึงจำเป็นต้องเลือกให้เหมาะสม เพื่อให้การติดหรือต่อได้ผลดี การเลือกกิ่งพันธุ์ดีที่นิยมปฏิบัติกันทั่วๆไปนั้นอาจแบ่งออกได้เป็น ๒ ชนิด คือ

๑. กิ่งพันธุ์ดีเป็นกิ่งแก่หรือกิ่งที่กำลังพักตัว (brown bud wood) เป็นกิ่งที่เจริญในฤดูที่แล้ว หรือปีที่แล้ว ปกติจะมีอายุ ๑ ฤดูหรือไม่เกิน ๑ ปี ลักษณะกิ่งมีเปลือกสีน้ำตาลแข็ง มีอาหารสะสมอยู่มาก ทนต่อการเหี่ยวแห้งและชอกช้ำ สามารถเก็บรักษาไว้ได้นาน ข้อเสียของการใช้กิ่งชนิดนี้ก็ คือ ตาที่ติดมักจะเจริญช้า จะต้องมีการบังคับตาอย่างหนักจึงจะแตกเป็นกิ่งได้

๒. กิ่งพันธุ์ดีที่เป็นกิ่งอ่อน หรือกิ่งที่กำลังเจริญเติบโต (green wood or green bud) เป็นกิ่งอ่อนสีเขียวที่กำลังเจริญเติบโต มีอาหารสะสมน้อยเหี่ยวแห้งและชอกช้ำง่าย แต่ก็มีตาที่เจริญได้รวดเร็ว การบังคับตาให้แตกหลังจากติดตาหรือต่อกิ่งแล้วสามารถทำได้ง่าย ในการติดตาต่อกิ่งพันธุ์พืชทั่วๆ ไปเราอาจใช้กิ่งพันธุ์ดีได้ทั้งที่เป็นกิ่งแก่และกิ่งอ่อน ส่วนการเลือกกิ่ง ถือหลักเกณฑ์การปฏิบัติเช่นเดียวกัน

หลักเกณฑ์ในการเลือกกิ่งพันธุ์ดี

๑. เป็นกิ่งปีเดียวหรือฤดูเดียว คือ ถ้าเป็นกิ่งแก่ควรมีอายุไม่เกิน ๑ ปี ถ้าเป็นกิ่งอ่อนควรจะมีอายุไม่เกิน ๑ ฤดู เพราะกิ่งที่มีอายุแก่เกินไป ตาที่ติดมักไม่ค่อยเจริญ

๒. เป็นกิ่งที่มีตา (bud) แข็งแรง ไม่ว่าจะเป็นตายอดหรือตาข้าง มองเห็นได้ชัดว่าจะเจริญเป็นกิ่งหรือต้นได้งอกงาม ปกติเป็นตาที่อยู่ทางด้านปลายกิ่ง

๓. เป็นกิ่งที่สมบูรณ์ มีการเจริญปานกลาง คือ มีข้อไม่ห่างจนเกินไป ลักษณะกิ่งกลมไม่ขึ้นเหลี่ยมหรืออวบจนเห็นได้ชัด กิ่งมีความแข็งพอควร โดยเฉพาะกิ่งอ่อน ปกติมักใช้กิ่งกระโดงหรือกิ่งน้ำค้าง

๔. กิ่งมีขนาดพอเหมาะ คือ มีเส้นผ่านศูนย์กลางขนาดประมาณ ๑๔ - ๑๒ นิ้ว หรือมีขนาดประมาณดินสอดำ และมักใช้ ๒๓ ของกิ่ง ส่วนใหญ่จะอยู่ประมาณกลางกิ่งและปลายกิ่ง

๕. เป็นกิ่งที่ได้จากต้นแม่ที่แข็งแรง ได้รับการตรวจแล้วว่าไม่เป็นโรค โดยเฉพาะโรคที่ติดต่อถ่ายทอดกันได้ด้วยการติดตาต่อกิ่ง เช่น โรคไวรัสเป็นต้น เป็นต้นที่รู้พันธุ์แน่นอน และควรจะเป็นต้นที่ตัดแต่งไว้สำหรับใช้เป็นกิ่งพันธุ์ดีโดยเฉพาะ

การเก็บรักษากิ่งพันธุ์ดี (storage of scion wood)

ข. การเก็บรักษากิ่งพันธุ์ดี (storage of scion wood)

ในการติดตาต่อกิ่ง กิ่งพันธุ์ดีที่นำมาใช้อาจได้มาจากบริเวณใกล้เคียง ซึ่งสามารถจะติดหรือต่อให้แล้วเสร็จได้ภายในวันเดียว ซึ่งเรียกกิ่งพันธุ์ดีพวกนี้ว่ากิ่งสด (fresh scion) หรืออาจเป็นกิ่งที่เก็บไว้ใช้ในเวลาอื่น หรือฤดูอื่นที่เหมาะสม ซึ่งเรียกกิ่งพวกนี้ว่า กิ่งเก็บ (storage scion) ก็ได้ อย่างไรก็ตาม ไม่ว่ากิ่งแก่ที่พักตัวหรือกิ่งอ่อนสีเขียว และจะนำมาใช้ทันทีหรือนำมาใช้ในเวลาต่อไปก็ดี จะต้องปฏิบัติดูแลให้กิ่งที่ตัดมานั้นมีสภาพเหมือนกับอยู่บนต้นเดิมให้มากที่สุด วิธีที่จะรักษากิ่งพันธุ์ดีให้สดอยู่ได้นานๆ นั้น ควรจะปฏิบัติดังนี้

๑. หลังจากที่ตัดกิ่งพันธุ์ดีออกจากต้น จะต้องรีบลดการคายน้ำจากกิ่งที่ตัดทันที โดยเฉพาะกิ่งพันธุ์ดีที่เป็นกิ่งอ่อนและมีใบติดอยู่บนกิ่ง จะมีการคายน้ำออกจากใบได้อย่างรวดเร็ว จะต้องรีบตัดใบออกทันที เหลือแต่โคนก้านใบที่จะใช้จับเวลาสอดแผ่นตาเท่านั้น

๒. เก็บกิ่งที่ริดใบหมดแล้วไว้ในที่ชื้น เช่นในกาบกล้วย ในห่อผ้าที่ชื้นหรือในถุงพลาสติก โดยมีผ้า กระดาษ หรือสำลีชุบน้ำและบีบจนสะเด็ดน้ำใส่ไว้ในถุงแล้วรัดปากถุงพลาสติกให้แน่น

๓. เก็บห่อหรือถุงที่ใส่กิ่งพันธุ์ดีไว้ในที่ร่มชื้นหรือเย็น หรือในห้องที่มีการถ่ายเทอากาศดี

๔. ถ้ามีห้องเย็นหรือตู้เย็น ควรเก็บกิ่งพันธุ์ดีไว้ในอุณหภูมิ ๔๐°ฟ. หรือชั้นเก็บผลไม้สด ซึ่งการเก็บกิ่งในอุณหภูมิต่ำเช่นนี้จะสามารถเก็บกิ่งไว้ได้นาน ๒-๔ สัปดาห์

การเตรียมกิ่งพันธุ์ดี

ค. การเตรียมกิ่งพันธุ์ดี

ไม่ว่าจะเป็นการติดตา หรือการต่อกิ่งวิธีใดก็ตาม การเตรียมแผ่นตาในการติดตาและการเตรียมกิ่งตาในการต่อกิ่ง มักจะมีวิธีปฏิบัติคล้ายๆ กัน คือ

การเตรียมแผ่นตา

๑. การเฉือนแผ่นตา ควรเฉือนจากปลายแผ่นไปทางโคนแผ่น แต่จะเฉือนตาที่ปลายกิ่งหรือโคนกิ่งก่อนก็ได้ การเฉือนจากปลายแผ่นเช่นนี้เพื่อป้องกันการเฉือนหลุดที่ตา

๒. เฉือนให้แผ่นตา มีความยาว ๑ นิ้ว โดยเฉือนให้เหนือตาครึ่งนิ้วและใต้ตาครึ่งนิ้ว

๓. ถ้าเป็นพวกกิ่งสด ควรตัดก้านใบให้เหลือไว้สำหรับจับแผ่นตา แต่ถ้าเป็นกิ่งเก็บหรือกิ่งสดที่ก้านใบหลุดไปแล้ว ควรเฉือนให้แผ่นตาส่วนที่อยู่เหนือตามีความยาว ๑ นิ้ว เพื่อไว้เป็นที่จับสอดแผ่นตา และจะตัดส่วนที่จับนี้ออกเมื่อสอดแผ่นตาเรียบร้อยแล้ว

๔. ต้องเฉือนแผ่นตาให้ติดเนื้อไม้เล็กน้อยเพื่อให้เกิดบริเวณของแนวเยื่อเจริญ (cambium layer) ซึ่งจะทำให้เกิดรอยต่อ

๕. ควรเฉือนที่เดียวให้ตลอดแผ่นตา ไม่ควรขยับมีดหรือแต่งรอยเฉือนให้เรียบภายหลังเพราะจะทำให้รอยเฉือนเป็นคลื่น แนวเยื่อเจริญไม่แนบกันตลอด ทำให้รอยต่อติดกันไม่สนิท

๖. การติดตาบางวิธีที่ต้องลอกเนื้อไม้ออกต้องระวังมิให้เปลือกของแผ่นตาย่นหรือช้ำได้เพราะจะทำให้แผ่นตาเสียได้

การเตรียมกิ่งตา

กิ่งตาคือชิ้นส่วนของกิ่งพันธุ์ดีที่ใช้ในการต่อกิ่ง ซึ่งจะมีตาตั้งแต่หนึ่งตาขึ้นไป การเตรียมกิ่งตาควรปฏิบัติดังนี้

๑. เลือกกิ่งพันธุ์ดีที่จะเฉือนให้มีขนาดพอเหมาะกับแผลที่เตรียมบนต้นตอ และกะบริเวณแผลที่จะเฉือนให้มีขนาดที่จะสอดได้พอเหมาะ

๒. เฉือนกิ่งตาทั้งท่อนยาว โดยเฉือนท่อนโคนกิ่งก่อน การเฉือนต้องให้รอยแผลเรียบและตรงถ้ายังไม่เรียบต้องตั้งต้นเฉือนใหม่ ไม่ควรแต่งแผลที่เฉือน เพราะจะทำให้รอยแผลเป็นคลื่น และควรให้รอยแผลที่เฉือนยาว ๑-๑.๕ นิ้ว หรือเท่ากับรอยแผลที่เตรียมบนต้นตอ

๓. ตัดกิ่งให้มีตาเหลืออยู่บนกิ่งตา ๓-๕ ตาและยาวไม่เกิน ๓ นิ้วโดยตัดให้รอยตัดเหนือตาบนยาวประมาณ ๑๔ นิ้ว

๔. หลังจากสอดกิ่งตาและพันรอยต่อเรียบร้อยแล้ว ควรหาวัตถุคลุมเพื่อรักษากิ่งตาไม่ให้แห้งขณะรอการติด โดยเฉพาะกิ่งตาที่เป็นกิ่งอ่อนสีเขียว

การบังคับตา

ไม่ว่าการติดตาหรือต่อกิ่ง โดยเฉพาะการต่อกิ่งที่ไม่ตัดยอดต้นตอ หลังจากติดตาต่อกิ่งได้แล้ว จะต้องมีการบังคับตาหรือกิ่งตาที่ต่อให้เจริญเป็นยอดพันธุ์ดีตามที่ต้องการ การบังคับตาหรือกิ่งตาที่ต่อให้เจริญเป็นยอดพันธุ์ดีตามที่ต้อการ การบังคับตาดังกล่าวอาจจะทำทันที่หลังจากที่ทราบผลการติดหรือต่อแล้ว หรืออาจทำในระยะใดระยะหนึ่ง ที่มีสภาพเหมาะสมในการเจริญของกิ่งตาก็ได้สิ่งที่ต้องพิจารณาในการบังคับตาก็คือ เรื่องของฮอร์โมนที่ควบคุมการเจริญของตาที่อยู่บนกิ่ง เรื่องของอาหารภายในต้นตอ และเรื่องของสภาพแวดล้อมในการเจริญของตา ซึ่งจะได้กล่าวต่อไป

1.2 การขยายพันธุ์พืชโดยวิธีการปักชำ

คือ การนำส่วนต่าง ๆ ของพืชพันธุ์ดี เช่น ใบ และ ราก มาตัดและปักชำในวัสดุเพาะชำ เพื่อให้ได้พืชต้นใหม่จากสวนที่นำมาปักชำ แต่ในที่นี้จะขอแนะนำขั้นตอนการ

ตัดชำกิ่งซึ่ง

ขั้นตอนในการปักชำ

1. ตัดโคนกิ่งให้ชิดข้อยาวประมาณ 15 - 20 เซนติเมตร โดยตัดเฉียงเป็นรูปปากฉลาม และตัดปลายบนให้เหนือตาประมาณ 1 เซนติเมตร

2. ใช้มีดปลายแหลมกรีดบริเวณรอบโคนยาว 1 - 1.5 เซนติเมตร ประมาณ 2 - 3 รอย

3. ปักกิ่งชำลงในวัสดุเพาะชำ ลึกประมาณ 2.5 - 5 เซนติเมตร

4. นำเข้าโรงอบพลาสติก หรือถุงพลาสติกขนาดใหญ่

5. ประมาณ 25 - 30 วัน กิ่งตัดชำจะแตกยอดอ่อน พร้อมออกราก เมื่อมีจำนวนมากพอ จึงย้ายปลูกต่อไป

วัสดุที่ใช้ในการปักชำ

1. กิ่งไม้ที่ต้องการตัดปักชำ

2. ขุยมะพร้าว ผสมดินร่วน บรรจุในถุงพลาสติกหรือตะกร้า (ดังภาพ)

3. มีด หรือ คัตเตอร์

4. โรงเรือน หรือที่ร่ม

1.3. การขยายพันธุ์พืชโดยวิธีตอนกิ่ง

การตอนกิ่ง

การตอนกิ่ง

คือ การทำให้กิ่งหรือต้นพืชเกิดรากขณะติดอยู่กับต้นแม่ จะทำให้ได้ต้นพืชใหม่ ที่มีลักษณะทางสายพันธุ์ เหมือนกับต้นแม่ทุกประการ โดยมีขั้นตอนการปฏิบัติ ดังนี้

1. เลือกกิ่งกึ่งแก่กึ่งอ่อนที่สมบูรณ์ปราศจากโรคและแมลง

2. ควั่นกิ่ง ลอกเอาเปลือกออก แล้วขูดเยื่อเจริญที่เป็นเมือกลื่น ๆ ออก

3. นำตุ้มตอน (ขุยมะพร้าวที่แช่น้ำ แล้วบีบหมาด ๆ อัดลงในถุงพลาสติก ผูกปากถุงให้แน่น) มาผ่าตามความยาวแล้วนำไปหุ้มบนรอยแผลของกิ่งตอน มัดด้วยเชือกทั้งบนและล่างรอยแผล

4. เมื่อกิ่งตอนมีรากงอกแทงผ่านวัสดุ และเริ่มแก่เป็นสีเหลือง สีน้ำตาล ปลายรากมีสีขาว และมีจำนวนมากพอจึงตัดกิ่งตอนได้

5. นำกิ่งตอนไปชำในภาชนะ กระถางหรือถุงพลาสติก เพื่อรอการปลูกต่อไป

2. จงอธิบายเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ ดังนี้

2.1. เทคโนโลยีสารสนเทศหมายถึงอะไร

เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology: IT) หรือเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication Technologies: ICTs) ก็คือ เทคโนโลยีสองด้านหลัก ๆ ที่ประกอบด้วยเทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์ และ เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคมที่ผนวกเข้าด้วยกัน เพื่อใช้ในกระบวนการจัดหา จัดเก็บ สร้าง และเผยแพร่สารสนเทศในรูปต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นเสียง ภาพ ภาพเคลื่อนไหว ข้อความหรือตัวอักษร และตัวเลข เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ความถูกต้อง ความแม่นยำ และความรวดเร็วให้ทันต่อการนำไปใช้ประโยชน์

2.2. ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ

ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ

1.ช่วยในการจัดระบบข่าวสารจำนวนมหาศาลของแต่ละวัน

2. เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตสารสนเทศ เช่น การคำนวณตัวเลขที่ยุ่งยากซับซ้อน การจัดเรียงลำดับสารสนเทศ ฯลฯ

3. ช่วยให้สามารถเก็บสารสนเทศไว้ในรูปที่สามารถเรียกใช้ได้ทุกครั้งอย่างสะดวก

4. ช่วยให้สามารถจัดระบบอัตโนมัติ เพื่อการจัดเก็บประมวลผล และเรียกใช้สารสนเทศูล

5. ช่วยในการเข้าถึงสารสนเทศได้อย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพมากขึ้น

6. ช่วยในการสื่อสารระหว่างกันได้อย่างสะดวกรวดเร็ว ลดอุปสรรคเกี่ยวกับเวลา และระยะทาง โดยการใช้ระบบโทรศัพท์ และอื่นๆ

2.3 เทคโนโลยีสารสนเทศที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ได้แก่....

1. เสริมสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น เช่น การติดต่อสื่อสารที่สมัยก่อนมีการสื่อสารด้วยจดหมาย หรือโทรเลข แต่ปัจจุบันมีการติดต่อสื่อสารที่ง่ายขึ้น เช่น โทรศัพท์เคลื่อนที่ , Internet ที่แม้แต่อยู่คนละประเทศก็สามารถที่จะทราบถึงข่าวสารที่ง่ายขึ้น

2. ทำให้เกิดความเท่าเทียมกันในสังคม เช่น การศึกษาที่ปัจจุบันที่ได้หันเข้ามาศึกษาผ่านทางเว็บจำนวนมาก และการเข้าถึงข้อมูลเหล่านี้จึงไม่ได้จำกัดอยู่ที่ผู้ที่มีฐานะทางการเงินเท่านั้น เพียงแต่มีคอมพิวเตอร์กับระบบเครือข่ายก็สามารถที่จะเข้าถึงข้อมูลได้

3. ประโยชน์ต่อการเรียนการสอนในโรงเรียน เช่น การเยี่ยมชมเว็บ การเรียกผ่านทางคอมพิวเตอร์ช่วยสอน การสร้างสื่อการสอนด้วยคอมพิวเตอร์

4. ประโยชน์ด้านอุตสาหกรรมและพาณิชยกรรม เช่น เครื่องจักรต่างๆ ระบบสื่อสาร

5. ศึกษาค้นคว้าความแปลใหม่ที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา

ภาณุพงศ์ วงษ์สุวรรณ ห้อง ม 3/2 เลขที่ 10 บุญเรือง โสดากุล ม 3/2 เลขที่ 15 เพ็ญนภา ประทีป ม.3/1 เลขที่29 สินชัย ทองศรี ม.3/1เลขที่1 รัชนีกร ทิพประพันธ์ม.3/1 เลขที่23 บุญเรือง

การขยายพันธุ์พืชโดยวิธีการต่อกิ่งการต่อกิ่ง

การต่อกิ่ง คือ การต่อต้นพืชโดยใช้กิ่งพันธุ์ดีที่มีตามากกว่า ๑ ตาขึ้นไป แบ่งประเภทของการต่อกิ่งตามตำแหน่งที่ทำการต่อออกเป็น ๓ แบบ คือ

๑. การต่อราก (root grafting) คือ การนำเอากิ่งพันธุ์ดีมาต่อกับรากของต้นพืชโดยตรง ซึ่งรากที่นำมาต่อนั้น อาจจะเป็นรากทั้งหมด (whole root) หรืออาจเป็นท่อนราก (piece root) ก็ได้ เป็นวิธีที่ใช้กันทั่วไปในการต่อไม้ผลเมืองหนาว เช่น แอปเปิ้ล และแพร์ และโดยทั่วๆ ไปมักจะใช้รากต้นพืชที่เพาะจากเมล็ด และเมื่อจะต่อมักจะขุดรากที่กำลังอยู่ในระยะพักตัวมาต่อในโรงเรือน เรียกการต่อ กิ่งแบบนี้ว่า เบนซ์กราฟท์ (bench graft)

๒. การต่อต้นตอคอดิน (crown grafting) คือ การนำกิ่งพันธุ์ดีมาต่อบนต้นตอในระดับคอดิน (crown) เป็นวิธีที่นิยมใช้ในการเปลี่ยนพันธุ์องุ่นที่มี อายุมากๆ ให้เป็นพันธุ์ใหม่ที่ต้องการ

๓. การต่อยอด (top grafting) คือการนำกิ่งพันธุ์ดีมาต่อบนต้นตอเหนือระดับผิวดิน รวมทั้งการต่อต้นพืชเหนือระดับผิวดินมากๆ และเป็นต้นพืชที่มีขนาดโต ซึ่งมักจะให้ผลแล้ว เรียกการต่อเช่นนี้ว่าการต่อเปลี่ยนยอด (top working)

การขยายพันธุ์พืชโดยวิธีการตอนกิ่งการตอนกิ่ง (Layering)

การตอนกิ่ง เป็นวิธีการขยายพันธุ์พืชที่ใช้กันมานานและเป็นที่รู้จักกันดีในหมู่ชาวสวนทั่วๆไป วิธีการตอนกิ่งที่เราใช้กันอยู่ทุกวันนี้เป็นวิธีการที่ได้นำมาจากประเทศจีน แต่ได้ดัดแปลงไปบ้างเพื่อความสะดวกในการปฏิบัติ ในยุโรปและอเมริกาก็มีวิธีขยายพันธุ์พืชด้วยการตอนกิ่งเช่นเดียวกัน แต่วิธีการในการตอนกิ่งผิดไปจากวิธีที่รู้จักกันดีในบ้านเราและเรามักเรียกวิธีการตอนกิ่งแบบยุโรปว่า "การตอนทับกิ่ง" ในที่นี้จะขอกล่าวเฉพาะการตอนกิ่งแบบชาวจีน หรือการตอนกิ่งแบบตอนหุ้มกิ่ง ซึ่งมีวิธีการตอนหุ้มกิ่งหลายแบบ

ไม่ว่าจะเป็นการตอนกิ่งแบบชาวจีน หรือการตอนทับกิ่งแบบชาวยุโรป โดยหลักการในการ ตอนต้นพืชแล้วก็คือ การทำให้ต้นหรือกิ่งพืชออกรากขณะที่ยังติดอยู่กับต้นแม่ หลังจากต้นหรือกิ่งพืชออกรากดีแล้วจึงตัดไปปลูกภายหลัง ฉะนั้นโอกาสของการที่กิ่งพืชจะมีชีวิตอยู่รอด จึงดีกว่าการขยายพันธุ์ด้วยการตัดชำ แต่ก็มีข้อเสียอยู่ที่ว่าขยายได้ช้ากว่า ด้วยเหตุนี้ถ้าต้องการต้นพืชจำนวนมากๆ แล้วมักจะไม่ใช้การขยายพันธุ์ด้วยการตอนกิ่ง เว้นแต่ต้นพืชนั้นจะขยายพันธุ์ไม่ได้ด้วยการตัดชำ หรือออกรากยากกว่าการตอนกิ่งเท่านั้น การตอนกิ่งแบบชาวจีน หรือแบบที่เราใช้กันอยู่ทุกวันนี้เป็นวิธีที่ใช้ในการตอนกิ่งพืชพวกไม้พุ่ม และไม้ยืนต้นเป็นส่วนใหญ่ รวมทั้งพืชพวกไม้ผลและไม้ประดับ เช่น ลำไย ลิ้นจี่ ละมุด ส้มเขียวหวาน ส้มโอ กระท้อน กุหลาบ มะลิ ดอนย่า เป็นต้น ส่วนวิธีการตอนนั้นปฏิบัติเป็นขั้นๆ ดังนี้

ก. การเลือกกิ่ง กิ่งหรือต้นพืชที่จะตอนจะต้องเป็นกิ่งไม่อ่อนและไม่แก่เกินไป ใบงาม ไม่มีโรคหรือแมลงทำลาย ได้รับแสงแดดสม่ำเสมอ โดยปกติมักจะเลือกกิ่งกระโดง ซึ่งอาจจะเป็นกิ่งกระโดงตั้ง๑ หรือกระโดงครีบ๒ ก็ได้

ข. การทำแผลบนกิ่ง การทำแผลบนกิ่งจะขึ้นอยู่กับชนิดของพืช และความยากง่ายในการงอกราก ซึ่งบางพืชอาจไม่ต้องทำแผลเลยก็สามารถออกรากได้ ส่วนใหญ่มักเป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว เช่น ต้นสาวน้อยประแป้ง พลูด่าง และพลูฉีก พืชบางชนิด อาจใช้วิธีกรีดเปลือกตามยาวของกิ่ง เช่น กุหลาบ ยี่โถ หรือพืชบางชนิดอาจปาดท้องกิ่ง เช่น ต้นชวนชม แต่มีบางชนิดที่ต้องควั่นกิ่งโดยเฉพาะพืชที่ออกรากยาก มีความจำเป็นที่จะต้องทำแผลโดยการควั่นกิ่ง เพราะการควั่นนอกจากจะทำให้เกิดบริเวณออกรากแล้ว ยังมีผลเกี่ยวกับการสะสมธาตุอาหารรวมทั้งสารฮอร์โมน ให้เกิดขึ้นภายในกิ่งซึ่งจะมีผลดีในการออกรากด้วย ดังนั้นเพื่อความแน่นอนในเรื่องการออกราก ชาวสวนทั่วไปจึงใช้วิธีการทำแผลด้วยการควั่นกิ่งแทบทั้งสิ้น

ค. การทาฮอร์โมน การใช้ฮอร์โมนเร่งรากทาบริเวณที่ทำแผล หรือบริเวณที่กิ่งจะเกิดราก จะช่วยให้กิ่งพืชเกิดรากดีขึ้น คือ มีรากมากขึ้น รากเจริญเร็วขึ้น และอาจออกรากเร็วขึ้น การทาฮอร์โมนปกติจะทาเฉพาะบริเวณที่จะเกิดรากเท่านั้น เช่น บริเวณที่เป็นรอยกรีด หรือรอยปาด หรือรอยควั่นตอนบนเท่านั้น และการที่จะใช้ฮอร์โมนตอนต้นพืชฃชนิดใดนั้น ควรจะได้ศึกษาหรือทดลองมาก่อนเพราะต้นพืชแต่ละชนิดออกรากยากง่ายต่างกัน โดย ปกติต้นพืชที่ออกรากไม่ยาก อาจใช้ฮอร์โมนชนิดอ่อนหรือที่มีความเข้มข้นน้อยๆ ก็เพียงพอ ส่วนต้นพืชที่ออกรากยากๆ จำเป็นต้องใช้ฮอร์โมนแรงๆ หรือที่เข้มข้นมากๆ ตามลำดับ การใช้ฮอร์โมนที่ตรงกันข้ามกับที่กล่าวนี้ นอกจากจะไม่ได้ผลดีขึ้นแล้ว ยังเป็นการทำลายกิ่งพืชที่ตอน และทำให้ค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นอีกด้วย

ง. การหุ้มกิ่งตอน วัตถุที่จะใช้หุ้มกิ่งตอนอาจใช้วัตถุต่างๆ ได้หลายอย่าง ข้อสำคัญก็คือวัตถุนั้นๆ ต้องอมความชื้นได้พอ ไม่เป็นพิษกับกิ่งพืช มีราคาถูก และหาได้ง่าย เช่น หญ้ามอสส์ (sphagnum moss) กาบมะพร้าวชุบน้ำ ปุยมะพร้าวผ้ากระสอบป่าน หรือรากผักตบชวา แม้กระทั่งดินธรรมดาๆ ทั่วๆ ไปใช้ก็ได้ แต่วัตถุที่นิยมใช้จะ ต้องสะดวกต่อการหุ้ม เช่น ใช้กาบมะพร้าวชุ่มน้ำทุบให้แผ่ ตัดเป็นท่อนให้พอเหมาะกับขนาดกิ่งตอนซึ่งเมื่อจะหุ้มก็จะสามารถหุ้มกิ่งได้ง่าย ส่วนการหุ้มอาจใช้วัตถุชนิดเดียว เช่น หญ้ามอสส์ล้วนๆ หรือกาบมะพร้าวล้วนๆ หรืออาจใช้ดินหุ้มก่อนแล้วหุ้มหญ้ามอสส์ หรือกาบมะพร้าวอีกชั้นหนึ่งก็ได้ ข้อสำคัญก็คือ ต้องพันหรือหุ้มวัตถุหุ้มกิ่งให้แน่นพอสมควร อย่าให้หมุนหรือคลอนไปมาได้ง่าย และพยายามหุ้มให้กลางกระเปาะวัตถุที่หุ้มอยู่ตรงกับบริเวณที่ออกรากด้วย

จ. การรักษาความชื้น หลังจากตอนกิ่งแล้วโดยเฉพาะราว ๓-๕ วัน จากที่หุ้มกิ่ง จะต้องรดน้ำกระเปาะตอนหรือมัดวัตถุหุ้มกิ่งที่ตอนนั้นให้ชื้นสม่ำเสมอในการรักษาความชื้นนี้อาจใช้วิธีรดน้ำกระเปาะที่ตอนทุกวัน หรือใช้วิธีรดทั้งต้นแบบฝนตก แต่ที่สะดวกก็คือใช้ผ้าพลาสติกหุ้มให้มิด ทั้งนี้เพื่อมิให้น้ำจากกระเปาะวัตถุนั้นระเหยออกมาได้ การหุ้มผ้าพลาสติกกระเปาะที่ตอนแล้ว ควรจะได้หุ้มเสียแต่ตอนแรกขณะที่วัตถุนั้นยังชื้นอยู่ ซึ่งการหุ้มพลาสติกในทำนองนี้จะช่วยให้กระเปาะกิ่งตอนชื้นอยู่ตลอดเวลา จนกระทั่งกิ่งออกราก อย่างไรก็ตามในระหว่างรอการออกราก ควรจะได้ตรวจดูกระเปาะตอนบ้าง เพราะอาจมีมดกัดผ้าพลาสติกให้เป็นรู ทำให้กระเปาะตอนแห้งได้ การแก้ไขก็คือใช้เข็มฉีดยา ฉีดน้ำเข้าไปในกระเปาะตอนราว ๕-๗วันต่อครั้ง จนกว่ากิ่งจะออกรากมากพอและตัดมาปลูกได้

ฉ. การตัดกิ่งตอน เมื่อถึงเวลาอันควร กิ่งพืชที่ตอนไว้ก็จะเกิดราก เวลาของการออกรากนี้จะมากน้อยต่างกัน พวกไม้ประดับทั่วๆ ไปจะออกรากเร็วกว่าพวกไม้ผล แต่ไม้ผลแต่ละชนิดก็จะใช้เวลาในการออกรากแตกต่างกัน เช่น ชมพู่จะออกรากเร็วกว่าส้ม ส้มเร็วกว่าละมุด เป็นต้น แต่ส่วนใหญ่จะใช้เวลาไม่เกิน ๓ เดือน ในการตัดกิ่งตอนจะต้องดูจำนวนรากว่ามีรากมากพอหรือยัง และควรจะรอให้รากมีจำนวนมากพอได้สัดส่วนกับขนาดของกิ่งและใบ ซึ่งถ้ากิ่งยิ่งโตมีใบมากก็ต้องเป็นกิ่งที่มีรากมาก มิฉะนั้นรากจะดูดน้ำไปเลี้ยงใบไม่ทันกิ่งก็จะแห้งเหี่ยวตายไปในที่สุด หรือมิฉะนั้นก็จะต้องตัดกิ่งและใบทิ้งเสียบ้าง อย่างไรก็ตาม พวกไม้ดอกหรือไม้ประดับ ซึ่งรากมักเจริญได้เร็วหลังจากตัดกิ่งแล้ว เช่น กุหลาบ ดอนย่า ฯลฯ อาจตัดกิ่งได้เมื่อรากยังมีไม่มากนัก เพราะต้นพืชจะสร้างรากได้ไวหลังจากตัดมาปลูกแล้ว ส่วนพืชพวกไม้ผล จะต้องรอให้กิ่งมีรากมากพอ หรืออย่างน้อยจะต้องรอให้มีแขนงรากเกิดขึ้นให้มากพอ ฉะนั้นการตัดกิ่งตอนพวกไม้ผล จึงจำเป็นต้องใช้เวลายาว นานกว่าไม้ประดับโดยทั่วไป

ซ. การปลูกกิ่งตอน กิ่งตอนที่ตัดได้อาจมีจำนวนรากมากน้อยต่างกัน เพื่อป้องกันการเสียหายซึ่งอาจจะเกิดขึ้น ควรจะได้คัดกิ่งตอนออกเป็นพวกๆ ตามความมากน้อยของรากเสียก่อน คือ คัด กิ่งที่มีรากมากและรากน้อยออกคนละพวก พวกที่มีรากมากอาจปลูกลงกระถางหรือลงถุงปลูกได้ทันทีส่วนพวกที่รากยังไม่มากพอ ควรจะได้ตัดแต่งกิ่งและใบออกเสียบ้าง แล้วนำไปชำรวมกันไว้ในกระบะหรือภาชนะที่เหมาะสม เพื่อรอให้รากเกิดมากขึ้นจึงจะนำไปปลูกภายหลัง ข้อสำคัญในการปลูกกิ่งตอน คือ อย่าปลูกให้ลึกโดยเฉพาะในการใช้วัตถุปลูกที่ทึบหรืออับอากาศ เช่น ดินเหนียว เป็นต้นเพราะจะทำให้รากเจริญช้า ควรจะปลูกให้กระเปาะฃตอนโผล่พ้นดินปลูกเล็กน้อย ประมาณหนึ่งในสี่ของกระเปาะตอน จากนั้นจึงนำกระถางปลูกไปตั้งไว้ในที่ร่มรำไร คือ ที่ที่มีแสงแดดส่องเล็กน้อย คอยพรมน้ำให้ใบกิ่งตอนชื้นอยู่เสมอๆ แต่ไม่ควรรดน้ำจนดินปลูกแฉะ และหลังจากยอดเริ่มเจริญหรือแตกยอดใหม่จึงเพิ่มแสงแดดให้มากขึ้น

...................................................................................................................................................................

การขยายพันธุ์พืชโดยวิธีการปักชำการปักการปักชำ

ชำ คือการใช้ส่วนต่างๆ ของพืช เช่น ราก ใบ หรือ ลำต้น ไปปักชำ และส่วนของพืชเหล่านี้จะเจริญงอกงามเป็นลำต้นต่อไป

การปักชำเป็นวิธีขยายพันธุ์พืชที่ดีวิธีหนึ่งซึ่งมีข้อดี ดังนี้

1. ประหยัดค่าใช้จ่าย

2. ขยายพันธุ์ได้ปริมาณมาก

3. ทำได้ง่ายโดยไม่ต้องอาศัยเทคนิคหรือความสามารถมาก

4. ต้นพืชเจริญเติบโตเร็ว โดยใช้ระยะเวลาไม่นาน

5. พืชต้นใหม่ที่ได้จะมีลักษณะเหมือนต้นเดิมทุกประการ

เทคโนโลยีสารสนเทศหมายถึงอะไรเทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง

ตอบ เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology)มาจากการผสมคำระหว่างสารสนเทศ (Information)กับคำว่าเทคโนโลยี(Technology) เทคโนโลยี หมายถึง เป็นการนำเอาแนวความคิด หลักการ เทคนิค ความรู้ ระเบียบวิธี กระบวนการ ตลอดจนผลผลิตทางวิทยาศาสตร์ทั้งในด้านสิ่งประดิษฐ์และวิธีปฏิบัติมาประยุกต์ใช้ในระบบงานเพื่อช่วยให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในการทำงานให้ดียิ่งขึ้นและเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลของงานให้มีมากยิ่งขึ้น สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิตของมนุษย์ หรืออาจกล่าวได้ว่า สารสนเทศ เกิดจากการนำข้อมูล ผ่านระบบการประมวลผล คำนวณ วิเคราะห์และแปลความหมายเป็นข้อความที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ เทคโนโลยีสารสนเทศจึงหมายถึง การติดต่อสื่อสาร การส่งข้อมูลทุกรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็น ข้อความ ตัวเลข เสียง ภาพโดยผ่านสื่อต่างๆ รวมทั้งการนำเสนอด้วยคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในระบบเครือข่าย โดยผ่านระบบโทรคมนาคม

เทคโนโลยีสารสนเทศจึง หมายถึงเทคโนโลยีสารสนเทศ คือ เทคโนโลยีที่ใช้จัดการสารสนเทศ โดยใช้เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องในการจัดหา วิเคราะห์ ประมวล จัดการและจัดเก็บ การพิมพ์ การสร้างรายงาน การเรียกใช้หรือแลกเปลี่ยน และเผยแพร่สื่อสารข้อมูล ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ ไม่ว่าจะอยู่ในรูปแบบของรูป เสียง ตัวอักษร หรือภาพเคลื่อนไหว รวมไปถึงการนำสารสนเทศและข้อมูลไปปฏิบัติตามเนื้อหาของสารสนเทศนั้น เพื่อให้บรรลุเป้าหมายของผู้ใช้

ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ

1. ช่วยในการจัดระบบข่าวสารจำนวนมหาศาลของแต่ละวัน

2. เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตสารสนเทศ เช่น การคำนวณตัวเลขที่ยุ่งยากซับซ้อน การจัดเรียงลำดับสารสนเทศ ฯลฯ

3. ช่วยให้สามารถเก็บสารสนเทศไว้ในรูปที่สามารถเรียกใช้ได้ทุกครั้งอย่างสะดวก

4. ช่วยให้สามารถจัดระบบอัตโนมัติ เพื่อการจัดเก็บประมวลผล และเรียกใช้สารสนเทศูล

5. ช่วยในการเข้าถึงสารสนเทศได้อย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพมากขึ้น

6. ช่วยในการสื่อสารระหว่างกันได้อย่างสะดวกรวดเร็ว ลดอุปสรรคเกี่ยวกับเวลา และระยะทาง โดยการใช้ระบบโทรศัพท์

เทคโนโลยีสารสนเทศที่ใช้ในชีวิตประจำวัน

กระทู้: 4

เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน

« เมื่อ: สิงหาคม 12, 2008, 01:28:27 pm »

--------------------------------------------------------------------------------

ประโยชน์ของเทคโนโลยีสารสนเทศ

การกำเนิดของคอมพิวเตอร์เมื่อประมาณห้าสิบกว่าปีที่แล้ว เป็นก้าวสำคัญที่นำไปสู่ยุคสารสนเทศ ในช่วงแรกมีการนำเอาคอมพิวเตอร์มาใช้เป็นเครื่องคำนวณ แต่ต่อมาได้มีความพยายามพัฒนาให้คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์สำคัญสำหรับการจัดการข้อมูล เมื่อเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ได้ก้าวหน้ามากขึ้น ทำให้สามารถสร้างคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กลง แต่ประสิทธิภาพสูงขึ้น สภาพการใช้งานจึงใช้งานกันอย่างแพร่หลาย ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีต่อชีวิตความเป็นอยู่และสังคมจึงมีมาก มีการเรียนรู้และใช้สารสนเทศกันอย่างกว้างขวาง ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศโดยรวมกล่าวได้ดังนี้

1. การสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สภาพความเป็นอยู่ของสังคมเมือง มีการพัฒนาใช้ระบบสื่อสารโทรคมนาคม เพื่อติดต่อสื่อสารให้สะดวกขึ้น มีการประยุกต์มาใช้กับเครื่องอำนวยความสะดวกภายในบ้าน เช่น ใช้ควบคุมเครื่องปรับอากาศ ใช้ควมคุมระบบไฟฟ้าภายในบ้าน เป็นต้น

2. เสริมสร้างความเท่าเทียมในสังคมและการกระจายโอกาส เทคโนโลยีสารสนเทศทำให้เกิดการกระจายไปทั่วทุกหนแห่ง แม้แต่ถิ่นทุรกันดาร ทำให้มีการกระจายโอกาสการเรียนรู้ มีการใช้ระบบการเรียนการสอนทางไกล เสริมสร้างการเรียนรู้ เพราะปัจจุบันมีสื่อการศึกษาที่ทันสมัยมากขึ้นนอกจากหนังสือเรียนธรรมดาแล้ว ยังมี วีดีทัศน์ อินเตอร์เน็ต เป็นต้น ที่ช่วยเสริมสร้างการเรียนรู้ด้วยตนเองของผู้เรียน

3. สารสนเทศกับการเรียนการสอนในโรงเรียน การเรียนการสอนในโรงเรียนมีการนำคอมพิวเตอร์และเครื่องมือประกอบช่วยในการเรียนรู้ เช่น วีดีทัศน์ เครื่องฉายภาพ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน คอมพิวเตอร์ช่วยจัดการศึกษา จัดตารางสอน คำนวณระดับคะแนน หรืออย่างที่ครูเป๋งให้เราฝึกทำBlog ไงล่ะคะ ปัจจุบันมีการเรียนการสอนทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศในโรงเรียนจึงมากขึ้น

4.เทคโนโลยีสารสนเทศกับสิ่งแวดล้อม การจัดการทรัพยากรธรรมชาติหลายอย่างจำเป็นต้องใช้สารสนเทศ เช่น การดูแลรักษาป่า จำเป็นต้องใช้ข้อมูล มีการใช้ภาพถ่ายดาวเทียม การติดตามข้อมูลสภาพอากาศ การพยากรณ์อากาศ การจำลองรูปแบบสภาวะสิ่งแวดล้อมเพื่อปรับปรุงแก้ไข การเก็บรวมรวมข้อมูลคุณภาพน้ำในแม่น้ำต่าง ๆ การตรวจวัดมลภาวะ ตลอดจนการใช้ระบบการตรวจวัดระยะไกลมาช่วย ที่เรียกว่าโทรมาตร เป็นต้น

เทคโนโลยีสารสนเทศกับการป้องกันประเทศ กิจการทางด้านการทหารมีการใช้เทคโนโลยี อาวุธยุทโธปกรณ์สมัยใหม่ล้วนแต่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์และระบบควบคุม มีการใช้ระบบป้องกันภัย ระบบเฝ้าระวังที่มีคอมพิวเตอร์ควบคุมการทำงาน

5. การผลิตในอุตสาหกรรม และการพาณิชยกรรม การแข่งขันทางด้านการผลิตสินค้าอุตสาหกรรมจำเป็นต้องหาวิธีการในการผลิตให้ได้มาก ราคาถูกลงเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทมาก มีการใช้ข้อมูลข่าวสารเพื่อการบริหารและการจัดการ การดำเนินการและยังรวมไปถึงการให้บริการกับลูกค้า เพื่อให้ซื้อสินค้าได้สะดวกขึ้น

เทคโนโลยีสารสนเทศมีผลเกี่ยวข้องกับทุกเรื่องในชีวิตประจำวัน บทบาทเหล่านี้มีแนวโน้มที่สำคัญมากยิ่งขึ้น ด้วยเหตุนี้เยาวชนคนรุ่นใหม่จึงควรเรียนรู้ และเข้าใจเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อจะได้เป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศให้ก้าวหน้าและเกิดประโยชน์ต่อประเทศต่อไป

ภาณุพงศ์ วงษ์สุวรรณ ห้อง ม 3/2 เลขที่ 10 บุญเรือง โสดากุล ม 3/2 เลขที่ 15 เพ็ญนภา ประทีป ม.3/1 เลขที่29 สินชัย ทองศรี ม.3/1เลขที่1 รัชนีกร ทิพประพันธ์ม.3/1 เลขที่23 บุญเรือง

การขยายพันธุ์พืชโดยวิธีการต่อกิ่งการต่อกิ่ง

การต่อกิ่ง คือ การต่อต้นพืชโดยใช้กิ่งพันธุ์ดีที่มีตามากกว่า ๑ ตาขึ้นไป แบ่งประเภทของการต่อกิ่งตามตำแหน่งที่ทำการต่อออกเป็น ๓ แบบ คือ

๑. การต่อราก (root grafting) คือ การนำเอากิ่งพันธุ์ดีมาต่อกับรากของต้นพืชโดยตรง ซึ่งรากที่นำมาต่อนั้น อาจจะเป็นรากทั้งหมด (whole root) หรืออาจเป็นท่อนราก (piece root) ก็ได้ เป็นวิธีที่ใช้กันทั่วไปในการต่อไม้ผลเมืองหนาว เช่น แอปเปิ้ล และแพร์ และโดยทั่วๆ ไปมักจะใช้รากต้นพืชที่เพาะจากเมล็ด และเมื่อจะต่อมักจะขุดรากที่กำลังอยู่ในระยะพักตัวมาต่อในโรงเรือน เรียกการต่อ กิ่งแบบนี้ว่า เบนซ์กราฟท์ (bench graft)

๒. การต่อต้นตอคอดิน (crown grafting) คือ การนำกิ่งพันธุ์ดีมาต่อบนต้นตอในระดับคอดิน (crown) เป็นวิธีที่นิยมใช้ในการเปลี่ยนพันธุ์องุ่นที่มี อายุมากๆ ให้เป็นพันธุ์ใหม่ที่ต้องการ

๓. การต่อยอด (top grafting) คือการนำกิ่งพันธุ์ดีมาต่อบนต้นตอเหนือระดับผิวดิน รวมทั้งการต่อต้นพืชเหนือระดับผิวดินมากๆ และเป็นต้นพืชที่มีขนาดโต ซึ่งมักจะให้ผลแล้ว เรียกการต่อเช่นนี้ว่าการต่อเปลี่ยนยอด (top working)

การขยายพันธุ์พืชโดยวิธีการตอนกิ่งการตอนกิ่ง (Layering)

การตอนกิ่ง เป็นวิธีการขยายพันธุ์พืชที่ใช้กันมานานและเป็นที่รู้จักกันดีในหมู่ชาวสวนทั่วๆไป วิธีการตอนกิ่งที่เราใช้กันอยู่ทุกวันนี้เป็นวิธีการที่ได้นำมาจากประเทศจีน แต่ได้ดัดแปลงไปบ้างเพื่อความสะดวกในการปฏิบัติ ในยุโรปและอเมริกาก็มีวิธีขยายพันธุ์พืชด้วยการตอนกิ่งเช่นเดียวกัน แต่วิธีการในการตอนกิ่งผิดไปจากวิธีที่รู้จักกันดีในบ้านเราและเรามักเรียกวิธีการตอนกิ่งแบบยุโรปว่า "การตอนทับกิ่ง" ในที่นี้จะขอกล่าวเฉพาะการตอนกิ่งแบบชาวจีน หรือการตอนกิ่งแบบตอนหุ้มกิ่ง ซึ่งมีวิธีการตอนหุ้มกิ่งหลายแบบ

ไม่ว่าจะเป็นการตอนกิ่งแบบชาวจีน หรือการตอนทับกิ่งแบบชาวยุโรป โดยหลักการในการ ตอนต้นพืชแล้วก็คือ การทำให้ต้นหรือกิ่งพืชออกรากขณะที่ยังติดอยู่กับต้นแม่ หลังจากต้นหรือกิ่งพืชออกรากดีแล้วจึงตัดไปปลูกภายหลัง ฉะนั้นโอกาสของการที่กิ่งพืชจะมีชีวิตอยู่รอด จึงดีกว่าการขยายพันธุ์ด้วยการตัดชำ แต่ก็มีข้อเสียอยู่ที่ว่าขยายได้ช้ากว่า ด้วยเหตุนี้ถ้าต้องการต้นพืชจำนวนมากๆ แล้วมักจะไม่ใช้การขยายพันธุ์ด้วยการตอนกิ่ง เว้นแต่ต้นพืชนั้นจะขยายพันธุ์ไม่ได้ด้วยการตัดชำ หรือออกรากยากกว่าการตอนกิ่งเท่านั้น การตอนกิ่งแบบชาวจีน หรือแบบที่เราใช้กันอยู่ทุกวันนี้เป็นวิธีที่ใช้ในการตอนกิ่งพืชพวกไม้พุ่ม และไม้ยืนต้นเป็นส่วนใหญ่ รวมทั้งพืชพวกไม้ผลและไม้ประดับ เช่น ลำไย ลิ้นจี่ ละมุด ส้มเขียวหวาน ส้มโอ กระท้อน กุหลาบ มะลิ ดอนย่า เป็นต้น ส่วนวิธีการตอนนั้นปฏิบัติเป็นขั้นๆ ดังนี้

ก. การเลือกกิ่ง กิ่งหรือต้นพืชที่จะตอนจะต้องเป็นกิ่งไม่อ่อนและไม่แก่เกินไป ใบงาม ไม่มีโรคหรือแมลงทำลาย ได้รับแสงแดดสม่ำเสมอ โดยปกติมักจะเลือกกิ่งกระโดง ซึ่งอาจจะเป็นกิ่งกระโดงตั้ง๑ หรือกระโดงครีบ๒ ก็ได้

ข. การทำแผลบนกิ่ง การทำแผลบนกิ่งจะขึ้นอยู่กับชนิดของพืช และความยากง่ายในการงอกราก ซึ่งบางพืชอาจไม่ต้องทำแผลเลยก็สามารถออกรากได้ ส่วนใหญ่มักเป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว เช่น ต้นสาวน้อยประแป้ง พลูด่าง และพลูฉีก พืชบางชนิด อาจใช้วิธีกรีดเปลือกตามยาวของกิ่ง เช่น กุหลาบ ยี่โถ หรือพืชบางชนิดอาจปาดท้องกิ่ง เช่น ต้นชวนชม แต่มีบางชนิดที่ต้องควั่นกิ่งโดยเฉพาะพืชที่ออกรากยาก มีความจำเป็นที่จะต้องทำแผลโดยการควั่นกิ่ง เพราะการควั่นนอกจากจะทำให้เกิดบริเวณออกรากแล้ว ยังมีผลเกี่ยวกับการสะสมธาตุอาหารรวมทั้งสารฮอร์โมน ให้เกิดขึ้นภายในกิ่งซึ่งจะมีผลดีในการออกรากด้วย ดังนั้นเพื่อความแน่นอนในเรื่องการออกราก ชาวสวนทั่วไปจึงใช้วิธีการทำแผลด้วยการควั่นกิ่งแทบทั้งสิ้น

ค. การทาฮอร์โมน การใช้ฮอร์โมนเร่งรากทาบริเวณที่ทำแผล หรือบริเวณที่กิ่งจะเกิดราก จะช่วยให้กิ่งพืชเกิดรากดีขึ้น คือ มีรากมากขึ้น รากเจริญเร็วขึ้น และอาจออกรากเร็วขึ้น การทาฮอร์โมนปกติจะทาเฉพาะบริเวณที่จะเกิดรากเท่านั้น เช่น บริเวณที่เป็นรอยกรีด หรือรอยปาด หรือรอยควั่นตอนบนเท่านั้น และการที่จะใช้ฮอร์โมนตอนต้นพืชฃชนิดใดนั้น ควรจะได้ศึกษาหรือทดลองมาก่อนเพราะต้นพืชแต่ละชนิดออกรากยากง่ายต่างกัน โดย ปกติต้นพืชที่ออกรากไม่ยาก อาจใช้ฮอร์โมนชนิดอ่อนหรือที่มีความเข้มข้นน้อยๆ ก็เพียงพอ ส่วนต้นพืชที่ออกรากยากๆ จำเป็นต้องใช้ฮอร์โมนแรงๆ หรือที่เข้มข้นมากๆ ตามลำดับ การใช้ฮอร์โมนที่ตรงกันข้ามกับที่กล่าวนี้ นอกจากจะไม่ได้ผลดีขึ้นแล้ว ยังเป็นการทำลายกิ่งพืชที่ตอน และทำให้ค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นอีกด้วย

ง. การหุ้มกิ่งตอน วัตถุที่จะใช้หุ้มกิ่งตอนอาจใช้วัตถุต่างๆ ได้หลายอย่าง ข้อสำคัญก็คือวัตถุนั้นๆ ต้องอมความชื้นได้พอ ไม่เป็นพิษกับกิ่งพืช มีราคาถูก และหาได้ง่าย เช่น หญ้ามอสส์ (sphagnum moss) กาบมะพร้าวชุบน้ำ ปุยมะพร้าวผ้ากระสอบป่าน หรือรากผักตบชวา แม้กระทั่งดินธรรมดาๆ ทั่วๆ ไปใช้ก็ได้ แต่วัตถุที่นิยมใช้จะ ต้องสะดวกต่อการหุ้ม เช่น ใช้กาบมะพร้าวชุ่มน้ำทุบให้แผ่ ตัดเป็นท่อนให้พอเหมาะกับขนาดกิ่งตอนซึ่งเมื่อจะหุ้มก็จะสามารถหุ้มกิ่งได้ง่าย ส่วนการหุ้มอาจใช้วัตถุชนิดเดียว เช่น หญ้ามอสส์ล้วนๆ หรือกาบมะพร้าวล้วนๆ หรืออาจใช้ดินหุ้มก่อนแล้วหุ้มหญ้ามอสส์ หรือกาบมะพร้าวอีกชั้นหนึ่งก็ได้ ข้อสำคัญก็คือ ต้องพันหรือหุ้มวัตถุหุ้มกิ่งให้แน่นพอสมควร อย่าให้หมุนหรือคลอนไปมาได้ง่าย และพยายามหุ้มให้กลางกระเปาะวัตถุที่หุ้มอยู่ตรงกับบริเวณที่ออกรากด้วย

จ. การรักษาความชื้น หลังจากตอนกิ่งแล้วโดยเฉพาะราว ๓-๕ วัน จากที่หุ้มกิ่ง จะต้องรดน้ำกระเปาะตอนหรือมัดวัตถุหุ้มกิ่งที่ตอนนั้นให้ชื้นสม่ำเสมอในการรักษาความชื้นนี้อาจใช้วิธีรดน้ำกระเปาะที่ตอนทุกวัน หรือใช้วิธีรดทั้งต้นแบบฝนตก แต่ที่สะดวกก็คือใช้ผ้าพลาสติกหุ้มให้มิด ทั้งนี้เพื่อมิให้น้ำจากกระเปาะวัตถุนั้นระเหยออกมาได้ การหุ้มผ้าพลาสติกกระเปาะที่ตอนแล้ว ควรจะได้หุ้มเสียแต่ตอนแรกขณะที่วัตถุนั้นยังชื้นอยู่ ซึ่งการหุ้มพลาสติกในทำนองนี้จะช่วยให้กระเปาะกิ่งตอนชื้นอยู่ตลอดเวลา จนกระทั่งกิ่งออกราก อย่างไรก็ตามในระหว่างรอการออกราก ควรจะได้ตรวจดูกระเปาะตอนบ้าง เพราะอาจมีมดกัดผ้าพลาสติกให้เป็นรู ทำให้กระเปาะตอนแห้งได้ การแก้ไขก็คือใช้เข็มฉีดยา ฉีดน้ำเข้าไปในกระเปาะตอนราว ๕-๗วันต่อครั้ง จนกว่ากิ่งจะออกรากมากพอและตัดมาปลูกได้

ฉ. การตัดกิ่งตอน เมื่อถึงเวลาอันควร กิ่งพืชที่ตอนไว้ก็จะเกิดราก เวลาของการออกรากนี้จะมากน้อยต่างกัน พวกไม้ประดับทั่วๆ ไปจะออกรากเร็วกว่าพวกไม้ผล แต่ไม้ผลแต่ละชนิดก็จะใช้เวลาในการออกรากแตกต่างกัน เช่น ชมพู่จะออกรากเร็วกว่าส้ม ส้มเร็วกว่าละมุด เป็นต้น แต่ส่วนใหญ่จะใช้เวลาไม่เกิน ๓ เดือน ในการตัดกิ่งตอนจะต้องดูจำนวนรากว่ามีรากมากพอหรือยัง และควรจะรอให้รากมีจำนวนมากพอได้สัดส่วนกับขนาดของกิ่งและใบ ซึ่งถ้ากิ่งยิ่งโตมีใบมากก็ต้องเป็นกิ่งที่มีรากมาก มิฉะนั้นรากจะดูดน้ำไปเลี้ยงใบไม่ทันกิ่งก็จะแห้งเหี่ยวตายไปในที่สุด หรือมิฉะนั้นก็จะต้องตัดกิ่งและใบทิ้งเสียบ้าง อย่างไรก็ตาม พวกไม้ดอกหรือไม้ประดับ ซึ่งรากมักเจริญได้เร็วหลังจากตัดกิ่งแล้ว เช่น กุหลาบ ดอนย่า ฯลฯ อาจตัดกิ่งได้เมื่อรากยังมีไม่มากนัก เพราะต้นพืชจะสร้างรากได้ไวหลังจากตัดมาปลูกแล้ว ส่วนพืชพวกไม้ผล จะต้องรอให้กิ่งมีรากมากพอ หรืออย่างน้อยจะต้องรอให้มีแขนงรากเกิดขึ้นให้มากพอ ฉะนั้นการตัดกิ่งตอนพวกไม้ผล จึงจำเป็นต้องใช้เวลายาว นานกว่าไม้ประดับโดยทั่วไป

ซ. การปลูกกิ่งตอน กิ่งตอนที่ตัดได้อาจมีจำนวนรากมากน้อยต่างกัน เพื่อป้องกันการเสียหายซึ่งอาจจะเกิดขึ้น ควรจะได้คัดกิ่งตอนออกเป็นพวกๆ ตามความมากน้อยของรากเสียก่อน คือ คัด กิ่งที่มีรากมากและรากน้อยออกคนละพวก พวกที่มีรากมากอาจปลูกลงกระถางหรือลงถุงปลูกได้ทันทีส่วนพวกที่รากยังไม่มากพอ ควรจะได้ตัดแต่งกิ่งและใบออกเสียบ้าง แล้วนำไปชำรวมกันไว้ในกระบะหรือภาชนะที่เหมาะสม เพื่อรอให้รากเกิดมากขึ้นจึงจะนำไปปลูกภายหลัง ข้อสำคัญในการปลูกกิ่งตอน คือ อย่าปลูกให้ลึกโดยเฉพาะในการใช้วัตถุปลูกที่ทึบหรืออับอากาศ เช่น ดินเหนียว เป็นต้นเพราะจะทำให้รากเจริญช้า ควรจะปลูกให้กระเปาะฃตอนโผล่พ้นดินปลูกเล็กน้อย ประมาณหนึ่งในสี่ของกระเปาะตอน จากนั้นจึงนำกระถางปลูกไปตั้งไว้ในที่ร่มรำไร คือ ที่ที่มีแสงแดดส่องเล็กน้อย คอยพรมน้ำให้ใบกิ่งตอนชื้นอยู่เสมอๆ แต่ไม่ควรรดน้ำจนดินปลูกแฉะ และหลังจากยอดเริ่มเจริญหรือแตกยอดใหม่จึงเพิ่มแสงแดดให้มากขึ้น

...................................................................................................................................................................

การขยายพันธุ์พืชโดยวิธีการปักชำการปักการปักชำ

ชำ คือการใช้ส่วนต่างๆ ของพืช เช่น ราก ใบ หรือ ลำต้น ไปปักชำ และส่วนของพืชเหล่านี้จะเจริญงอกงามเป็นลำต้นต่อไป

การปักชำเป็นวิธีขยายพันธุ์พืชที่ดีวิธีหนึ่งซึ่งมีข้อดี ดังนี้

1. ประหยัดค่าใช้จ่าย

2. ขยายพันธุ์ได้ปริมาณมาก

3. ทำได้ง่ายโดยไม่ต้องอาศัยเทคนิคหรือความสามารถมาก

4. ต้นพืชเจริญเติบโตเร็ว โดยใช้ระยะเวลาไม่นาน

5. พืชต้นใหม่ที่ได้จะมีลักษณะเหมือนต้นเดิมทุกประการ

เทคโนโลยีสารสนเทศหมายถึงอะไรเทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง

ตอบ เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology)มาจากการผสมคำระหว่างสารสนเทศ (Information)กับคำว่าเทคโนโลยี(Technology) เทคโนโลยี หมายถึง เป็นการนำเอาแนวความคิด หลักการ เทคนิค ความรู้ ระเบียบวิธี กระบวนการ ตลอดจนผลผลิตทางวิทยาศาสตร์ทั้งในด้านสิ่งประดิษฐ์และวิธีปฏิบัติมาประยุกต์ใช้ในระบบงานเพื่อช่วยให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในการทำงานให้ดียิ่งขึ้นและเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลของงานให้มีมากยิ่งขึ้น สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิตของมนุษย์ หรืออาจกล่าวได้ว่า สารสนเทศ เกิดจากการนำข้อมูล ผ่านระบบการประมวลผล คำนวณ วิเคราะห์และแปลความหมายเป็นข้อความที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ เทคโนโลยีสารสนเทศจึงหมายถึง การติดต่อสื่อสาร การส่งข้อมูลทุกรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็น ข้อความ ตัวเลข เสียง ภาพโดยผ่านสื่อต่างๆ รวมทั้งการนำเสนอด้วยคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในระบบเครือข่าย โดยผ่านระบบโทรคมนาคม

เทคโนโลยีสารสนเทศจึง หมายถึงเทคโนโลยีสารสนเทศ คือ เทคโนโลยีที่ใช้จัดการสารสนเทศ โดยใช้เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องในการจัดหา วิเคราะห์ ประมวล จัดการและจัดเก็บ การพิมพ์ การสร้างรายงาน การเรียกใช้หรือแลกเปลี่ยน และเผยแพร่สื่อสารข้อมูล ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ ไม่ว่าจะอยู่ในรูปแบบของรูป เสียง ตัวอักษร หรือภาพเคลื่อนไหว รวมไปถึงการนำสารสนเทศและข้อมูลไปปฏิบัติตามเนื้อหาของสารสนเทศนั้น เพื่อให้บรรลุเป้าหมายของผู้ใช้

ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ

1. ช่วยในการจัดระบบข่าวสารจำนวนมหาศาลของแต่ละวัน

2. เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตสารสนเทศ เช่น การคำนวณตัวเลขที่ยุ่งยากซับซ้อน การจัดเรียงลำดับสารสนเทศ ฯลฯ

3. ช่วยให้สามารถเก็บสารสนเทศไว้ในรูปที่สามารถเรียกใช้ได้ทุกครั้งอย่างสะดวก

4. ช่วยให้สามารถจัดระบบอัตโนมัติ เพื่อการจัดเก็บประมวลผล และเรียกใช้สารสนเทศูล

5. ช่วยในการเข้าถึงสารสนเทศได้อย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพมากขึ้น

6. ช่วยในการสื่อสารระหว่างกันได้อย่างสะดวกรวดเร็ว ลดอุปสรรคเกี่ยวกับเวลา และระยะทาง โดยการใช้ระบบโทรศัพท์

เทคโนโลยีสารสนเทศที่ใช้ในชีวิตประจำวัน

กระทู้: 4

เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน

« เมื่อ: สิงหาคม 12, 2008, 01:28:27 pm »

--------------------------------------------------------------------------------

ประโยชน์ของเทคโนโลยีสารสนเทศ

การกำเนิดของคอมพิวเตอร์เมื่อประมาณห้าสิบกว่าปีที่แล้ว เป็นก้าวสำคัญที่นำไปสู่ยุคสารสนเทศ ในช่วงแรกมีการนำเอาคอมพิวเตอร์มาใช้เป็นเครื่องคำนวณ แต่ต่อมาได้มีความพยายามพัฒนาให้คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์สำคัญสำหรับการจัดการข้อมูล เมื่อเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ได้ก้าวหน้ามากขึ้น ทำให้สามารถสร้างคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กลง แต่ประสิทธิภาพสูงขึ้น สภาพการใช้งานจึงใช้งานกันอย่างแพร่หลาย ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีต่อชีวิตความเป็นอยู่และสังคมจึงมีมาก มีการเรียนรู้และใช้สารสนเทศกันอย่างกว้างขวาง ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศโดยรวมกล่าวได้ดังนี้

1. การสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สภาพความเป็นอยู่ของสังคมเมือง มีการพัฒนาใช้ระบบสื่อสารโทรคมนาคม เพื่อติดต่อสื่อสารให้สะดวกขึ้น มีการประยุกต์มาใช้กับเครื่องอำนวยความสะดวกภายในบ้าน เช่น ใช้ควบคุมเครื่องปรับอากาศ ใช้ควมคุมระบบไฟฟ้าภายในบ้าน เป็นต้น

2. เสริมสร้างความเท่าเทียมในสังคมและการกระจายโอกาส เทคโนโลยีสารสนเทศทำให้เกิดการกระจายไปทั่วทุกหนแห่ง แม้แต่ถิ่นทุรกันดาร ทำให้มีการกระจายโอกาสการเรียนรู้ มีการใช้ระบบการเรียนการสอนทางไกล เสริมสร้างการเรียนรู้ เพราะปัจจุบันมีสื่อการศึกษาที่ทันสมัยมากขึ้นนอกจากหนังสือเรียนธรรมดาแล้ว ยังมี วีดีทัศน์ อินเตอร์เน็ต เป็นต้น ที่ช่วยเสริมสร้างการเรียนรู้ด้วยตนเองของผู้เรียน

3. สารสนเทศกับการเรียนการสอนในโรงเรียน การเรียนการสอนในโรงเรียนมีการนำคอมพิวเตอร์และเครื่องมือประกอบช่วยในการเรียนรู้ เช่น วีดีทัศน์ เครื่องฉายภาพ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน คอมพิวเตอร์ช่วยจัดการศึกษา จัดตารางสอน คำนวณระดับคะแนน หรืออย่างที่ครูเป๋งให้เราฝึกทำBlog ไงล่ะคะ ปัจจุบันมีการเรียนการสอนทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศในโรงเรียนจึงมากขึ้น

4.เทคโนโลยีสารสนเทศกับสิ่งแวดล้อม การจัดการทรัพยากรธรรมชาติหลายอย่างจำเป็นต้องใช้สารสนเทศ เช่น การดูแลรักษาป่า จำเป็นต้องใช้ข้อมูล มีการใช้ภาพถ่ายดาวเทียม การติดตามข้อมูลสภาพอากาศ การพยากรณ์อากาศ การจำลองรูปแบบสภาวะสิ่งแวดล้อมเพื่อปรับปรุงแก้ไข การเก็บรวมรวมข้อมูลคุณภาพน้ำในแม่น้ำต่าง ๆ การตรวจวัดมลภาวะ ตลอดจนการใช้ระบบการตรวจวัดระยะไกลมาช่วย ที่เรียกว่าโทรมาตร เป็นต้น

เทคโนโลยีสารสนเทศกับการป้องกันประเทศ กิจการทางด้านการทหารมีการใช้เทคโนโลยี อาวุธยุทโธปกรณ์สมัยใหม่ล้วนแต่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์และระบบควบคุม มีการใช้ระบบป้องกันภัย ระบบเฝ้าระวังที่มีคอมพิวเตอร์ควบคุมการทำงาน

5. การผลิตในอุตสาหกรรม และการพาณิชยกรรม การแข่งขันทางด้านการผลิตสินค้าอุตสาหกรรมจำเป็นต้องหาวิธีการในการผลิตให้ได้มาก ราคาถูกลงเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทมาก มีการใช้ข้อมูลข่าวสารเพื่อการบริหารและการจัดการ การดำเนินการและยังรวมไปถึงการให้บริการกับลูกค้า เพื่อให้ซื้อสินค้าได้สะดวกขึ้น

เทคโนโลยีสารสนเทศมีผลเกี่ยวข้องกับทุกเรื่องในชีวิตประจำวัน บทบาทเหล่านี้มีแนวโน้มที่สำคัญมากยิ่งขึ้น ด้วยเหตุนี้เยาวชนคนรุ่นใหม่จึงควรเรียนรู้ และเข้าใจเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อจะได้เป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศให้ก้าวหน้าและเกิดประโยชน์ต่อประเทศต่อไป

นายสิทธิเดช เสมอภักดิ์ เลขที่3 ชั้นม.3/2

1.1 การขยายพันธุ์โดยวิธีติดตาต่อกิ่ง (Propagation by grafting)

การติดตาต่อกิ่ง เป็นศิลปะของการเชื่อม ส่วนของต้นพืชเข้าด้วยกัน เพื่อที่จะให้ส่วนของพืชนั้นๆ ติดต่อกันและเจริญต่อไปเหมือนกับเป็นต้นพืชต้นเดียวกัน ส่วนของต้นพืชที่ต่ออยู่ทางส่วนฃ บนหรือที่ทำหน้าที่เป็นยอดของต้นพืชนั้น เรียกว่า กิ่งพันธุ์ดี (scion) และส่วนของพืชที่ต่ออยู่ทางส่วนล่างหรือที่ทำหน้าที่เป็นรากเรียกว่า ต้นตอ (stock or rootstock) จะเห็นได้ว่าในการขยายพันธุ์ด้วยวิธีการติดตาต่อกิ่ง ส่วนของต้นพืชที่เกี่ยวข้องก็คือต้นตอ และกิ่งพันธุ์ดี ด้วยเหตุนี้การศึกษาเกี่ยวกับต้นตและกิ่งพันธุ์ดีจึงเป็นเรื่องที่ควรทำเป็นอันดับแรกต้นตอ ในการขยายพันธุ์ด้วยวิธีการติดตาต่อกิ่ง การใช้ต้นตอที่ปฏิบัติกันอยู่ทั่วๆ ไปพอจะแบ่งออกได้เป็น ๒ ชนิด

๑. ต้นตอที่ได้จากการขยายพันธุ์ด้วยเมล็ดหมายถึงต้นพืชที่จะใช้เป็นต้นตอนั้นเพาะมาจากเมล็ด เมื่อต้นมีขนาดโตพอแล้วจึงนำมาใช้เป็นต้นตอสำหรับติดตาต่อกิ่งหรือทาบกิ่ง เรามักเรียกต้นตอชนิดนี้ว่า ต้นตอเพาะเมล็ด (seedling-rootstock)เนื่องจากต้นตอชนิดนี้เพาะมาจากเมล็ด อาจมีความผิดเพี้ยนหรือกลายพันธุ์ไปบ้าง จึงต้องมีการคัดเลือกต้นที่ไม่ตรงตามพันธุ์หรือผิดเพี้ยนไปจากลักษณะที่ต้องการออกเสีย ตลอดจนต้นที่อ่อนแอหรือมีลักษณะไม่เหมาะสมที่จะนำมาใช้เป็นต้นตอเช่น ลำต้นคดบิด หรือมีลักษณะของรอยต่อระหว่างต้นและราก เป็นแบบคอห่านซึ่งเกิดจากการวางเมล็ดเพาะผิดวิธี ถ้านำต้นพืชที่มีลักษณะดังกล่าวนี้ไปเป็นต้นตอแล้ว มักจะเกิดการหักโค่นตรงบริเวณที่ปเป็นคอห่านได้ง่าย ฉะนั้นจึงต้องคัดทิ้งเสีย เนื่องปจากต้นตอที่ขยายพันธุ์จากเมล็ดมีระบบรากที่หยั่งลึกสามารถจะยึดเกาะต้นได้แข็งแรง จึงได้รับความนิยมใช้เป็นต้นตอของไม้ยืนต้น เช่น มะม่วง ทุเรียน มะขาม เป็นต้น พืชพันธุ์ใดก็ตามที่จะนำมาใช้เป็นต้นตอนั้น ควรจะเป็นพันธุ์พืชที่หาเมล็ดได้ง่ายหรือมีเมล็ดมากด้วย

๒. ต้นตอที่ได้จากการตัดชำ การตอนหรือการแยกหน่อ มักเรียกต้นตอเช่นนี้ว่า ต้นตอตัดชำ(cutting stock) ข้อดีของต้นตอชนิดนี้ก็คือ เป็นต้นตอที่ตรงตามพันธุ์แน่นอน เหมาะที่จะใช้ในงานทดลองหรือใช้เพื่อวัตถุประสงค์บางอย่าง เช่น ใช้เป็นต้นตอ ทนโรค ทนแล้ง ทนแฉะ หรือทนสารบางอย่าง แต่เนื่องจากเป็นต้นตอที่มีระบบรากตื้น จึงไม่นิยมใช้กับไม้ยืนต้น แต่มักใช้กับไม้ดอกหรือไม้ประดับที่เป็นพุ่ม เช่น กุหลาบ ชบา ดอนย่า ฯลฯ และพืชพันธุ์ใดก็ตามที่จะนำมาใช้เป็นพันธุ์ต้นตอนั้น นอกจากจะมีคุณสมบัติพิเศษตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการแล้ว ควรจะมีคุณสมบัติในการเจริญเติบโตและการออกรากได้ดีด้วย

ต้นตอ เป็นปัจจัยสำคัญที่มีผลเกี่ยวกับความสำเร็จในการติดตาต่อกิ่ง การเลี้ยงดูต้นตอให้สมบูรณ์ และการเลือกขนาดของต้นตอให้พอเหมาะในการติดตาต่อกิ่งต้นพืชแต่ละชนิด จะช่วยให้ได้ผลดีขึ้นด้วย

กิ่งพันธุ์ดี คือ ส่วนของต้นพืชที่ทำหน้าที่เป็นส่วนยอดของต้นพืชที่ต่ออยู่ หรืออาจหมายถึงกิ่งพืชที่จะนำไปติดหรือต่อบนต้นตอก็ได้ ในการติดตาต่อกิ่งมีเรื่องที่เกี่ยวข้องกับกิ่งพันธุ์ดีที่ควรจะทราบ คือ

ก. การเลือกกี่พันธุ์ดี (selection of scion wood)

ข. การเก็บรักษากี่งพันธุ์ดี (storage of scion wood)

ค. การเตรียมกิ่งพันธุ์ดี

การเลือกกิ่งพันธุ์ดี (selection of scion wood)

ก. การเลือกกิ่งพันธุ์ดี (selection of scion wood)

ในการติดตาต่อกิ่ง ทั้งต้นตอและกิ่งพันธุ์ดีที่นำมาติดหรือต่อเข้าด้วยกันนั้น จะต้องมีการสร้างเนื้อเยื่อให้ประสานกัน การสร้างเนื้อเยื่อจะเร็ว หรือช้าขึ้นอยู่กับความสมบูรณ์หรืออาหารที่มีอยู่ในส่วนของพืชทั้งสอง โดยเฉพาะกิ่งพันธุ์ดีซึ่งเป็นชิ้น ส่วนที่เล็กย่อมจะมีอาหารสะสมอยู่น้อย จึงจำเป็นต้องเลือกให้เหมาะสม เพื่อให้การติดหรือต่อได้ผลดี การเลือกกิ่งพันธุ์ดีที่นิยมปฏิบัติกันทั่วๆไปนั้นอาจแบ่งออกได้เป็น ๒ ชนิด คือ

๑. กิ่งพันธุ์ดีเป็นกิ่งแก่หรือกิ่งที่กำลังพักตัว (brown bud wood) เป็นกิ่งที่เจริญในฤดูที่แล้ว หรือปีที่แล้ว ปกติจะมีอายุ ๑ ฤดูหรือไม่เกิน ๑ ปี ลักษณะกิ่งมีเปลือกสีน้ำตาลแข็ง มีอาหารสะสมอยู่มาก ทนต่อการเหี่ยวแห้งและชอกช้ำ สามารถเก็บรักษาไว้ได้นาน ข้อเสียของการใช้กิ่งชนิดนี้ก็ คือ ตาที่ติดมักจะเจริญช้า จะต้องมีการบังคับตาอย่างหนักจึงจะแตกเป็นกิ่งได้

๒. กิ่งพันธุ์ดีที่เป็นกิ่งอ่อน หรือกิ่งที่กำลังเจริญเติบโต (green wood or green bud) เป็นกิ่งอ่อนสีเขียวที่กำลังเจริญเติบโต มีอาหารสะสมน้อยเหี่ยวแห้งและชอกช้ำง่าย แต่ก็มีตาที่เจริญได้รวดเร็ว การบังคับตาให้แตกหลังจากติดตาหรือต่อกิ่งแล้วสามารถทำได้ง่าย ในการติดตาต่อกิ่งพันธุ์พืชทั่วๆ ไปเราอาจใช้กิ่งพันธุ์ดีได้ทั้งที่เป็นกิ่งแก่และกิ่งอ่อน ส่วนการเลือกกิ่ง ถือหลักเกณฑ์การปฏิบัติเช่นเดียวกัน

หลักเกณฑ์ในการเลือกกิ่งพันธุ์ดี

๑. เป็นกิ่งปีเดียวหรือฤดูเดียว คือ ถ้าเป็นกิ่งแก่ควรมีอายุไม่เกิน ๑ ปี ถ้าเป็นกิ่งอ่อนควรจะมีอายุไม่เกิน ๑ ฤดู เพราะกิ่งที่มีอายุแก่เกินไป ตาที่ติดมักไม่ค่อยเจริญ

๒. เป็นกิ่งที่มีตา (bud) แข็งแรง ไม่ว่าจะเป็นตายอดหรือตาข้าง มองเห็นได้ชัดว่าจะเจริญเป็นกิ่งหรือต้นได้งอกงาม ปกติเป็นตาที่อยู่ทางด้านปลายกิ่ง

๓. เป็นกิ่งที่สมบูรณ์ มีการเจริญปานกลาง คือ มีข้อไม่ห่างจนเกินไป ลักษณะกิ่งกลมไม่ขึ้นเหลี่ยมหรืออวบจนเห็นได้ชัด กิ่งมีความแข็งพอควร โดยเฉพาะกิ่งอ่อน ปกติมักใช้กิ่งกระโดงหรือกิ่งน้ำค้าง

๔. กิ่งมีขนาดพอเหมาะ คือ มีเส้นผ่านศูนย์กลางขนาดประมาณ ๑๔ - ๑๒ นิ้ว หรือมีขนาดประมาณดินสอดำ และมักใช้ ๒๓ ของกิ่ง ส่วนใหญ่จะอยู่ประมาณกลางกิ่งและปลายกิ่ง

๕. เป็นกิ่งที่ได้จากต้นแม่ที่แข็งแรง ได้รับการตรวจแล้วว่าไม่เป็นโรค โดยเฉพาะโรคที่ติดต่อถ่ายทอดกันได้ด้วยการติดตาต่อกิ่ง เช่น โรคไวรัสเป็นต้น เป็นต้นที่รู้พันธุ์แน่นอน และควรจะเป็นต้นที่ตัดแต่งไว้สำหรับใช้เป็นกิ่งพันธุ์ดีโดยเฉพาะ

การเก็บรักษากิ่งพันธุ์ดี (storage of scion wood)

ข. การเก็บรักษากิ่งพันธุ์ดี (storage of scion wood)

ในการติดตาต่อกิ่ง กิ่งพันธุ์ดีที่นำมาใช้อาจได้มาจากบริเวณใกล้เคียง ซึ่งสามารถจะติดหรือต่อให้แล้วเสร็จได้ภายในวันเดียว ซึ่งเรียกกิ่งพันธุ์ดีพวกนี้ว่ากิ่งสด (fresh scion) หรืออาจเป็นกิ่งที่เก็บไว้ใช้ในเวลาอื่น หรือฤดูอื่นที่เหมาะสม ซึ่งเรียกกิ่งพวกนี้ว่า กิ่งเก็บ (storage scion) ก็ได้ อย่างไรก็ตาม ไม่ว่ากิ่งแก่ที่พักตัวหรือกิ่งอ่อนสีเขียว และจะนำมาใช้ทันทีหรือนำมาใช้ในเวลาต่อไปก็ดี จะต้องปฏิบัติดูแลให้กิ่งที่ตัดมานั้นมีสภาพเหมือนกับอยู่บนต้นเดิมให้มากที่สุด วิธีที่จะรักษากิ่งพันธุ์ดีให้สดอยู่ได้นานๆ นั้น ควรจะปฏิบัติดังนี้

๑. หลังจากที่ตัดกิ่งพันธุ์ดีออกจากต้น จะต้องรีบลดการคายน้ำจากกิ่งที่ตัดทันที โดยเฉพาะกิ่งพันธุ์ดีที่เป็นกิ่งอ่อนและมีใบติดอยู่บนกิ่ง จะมีการคายน้ำออกจากใบได้อย่างรวดเร็ว จะต้องรีบตัดใบออกทันที เหลือแต่โคนก้านใบที่จะใช้จับเวลาสอดแผ่นตาเท่านั้น

๒. เก็บกิ่งที่ริดใบหมดแล้วไว้ในที่ชื้น เช่นในกาบกล้วย ในห่อผ้าที่ชื้นหรือในถุงพลาสติก โดยมีผ้า กระดาษ หรือสำลีชุบน้ำและบีบจนสะเด็ดน้ำใส่ไว้ในถุงแล้วรัดปากถุงพลาสติกให้แน่น

๓. เก็บห่อหรือถุงที่ใส่กิ่งพันธุ์ดีไว้ในที่ร่มชื้นหรือเย็น หรือในห้องที่มีการถ่ายเทอากาศดี

๔. ถ้ามีห้องเย็นหรือตู้เย็น ควรเก็บกิ่งพันธุ์ดีไว้ในอุณหภูมิ ๔๐°ฟ. หรือชั้นเก็บผลไม้สด ซึ่งการเก็บกิ่งในอุณหภูมิต่ำเช่นนี้จะสามารถเก็บกิ่งไว้ได้นาน ๒-๔ สัปดาห์

การเตรียมกิ่งพันธุ์ดี

ค. การเตรียมกิ่งพันธุ์ดี

ไม่ว่าจะเป็นการติดตา หรือการต่อกิ่งวิธีใดก็ตาม การเตรียมแผ่นตาในการติดตาและการเตรียมกิ่งตาในการต่อกิ่ง มักจะมีวิธีปฏิบัติคล้ายๆ กัน คือ

การเตรียมแผ่นตา

๑. การเฉือนแผ่นตา ควรเฉือนจากปลายแผ่นไปทางโคนแผ่น แต่จะเฉือนตาที่ปลายกิ่งหรือโคนกิ่งก่อนก็ได้ การเฉือนจากปลายแผ่นเช่นนี้เพื่อป้องกันการเฉือนหลุดที่ตา

๒. เฉือนให้แผ่นตา มีความยาว ๑ นิ้ว โดยเฉือนให้เหนือตาครึ่งนิ้วและใต้ตาครึ่งนิ้ว

๓. ถ้าเป็นพวกกิ่งสด ควรตัดก้านใบให้เหลือไว้สำหรับจับแผ่นตา แต่ถ้าเป็นกิ่งเก็บหรือกิ่งสดที่ก้านใบหลุดไปแล้ว ควรเฉือนให้แผ่นตาส่วนที่อยู่เหนือตามีความยาว ๑ นิ้ว เพื่อไว้เป็นที่จับสอดแผ่นตา และจะตัดส่วนที่จับนี้ออกเมื่อสอดแผ่นตาเรียบร้อยแล้ว

๔. ต้องเฉือนแผ่นตาให้ติดเนื้อไม้เล็กน้อยเพื่อให้เกิดบริเวณของแนวเยื่อเจริญ (cambium layer) ซึ่งจะทำให้เกิดรอยต่อ

๕. ควรเฉือนที่เดียวให้ตลอดแผ่นตา ไม่ควรขยับมีดหรือแต่งรอยเฉือนให้เรียบภายหลังเพราะจะทำให้รอยเฉือนเป็นคลื่น แนวเยื่อเจริญไม่แนบกันตลอด ทำให้รอยต่อติดกันไม่สนิท

๖. การติดตาบางวิธีที่ต้องลอกเนื้อไม้ออกต้องระวังมิให้เปลือกของแผ่นตาย่นหรือช้ำได้เพราะจะทำให้แผ่นตาเสียได้

การเตรียมกิ่งตา

กิ่งตาคือชิ้นส่วนของกิ่งพันธุ์ดีที่ใช้ในการต่อกิ่ง ซึ่งจะมีตาตั้งแต่หนึ่งตาขึ้นไป การเตรียมกิ่งตาควรปฏิบัติดังนี้

๑. เลือกกิ่งพันธุ์ดีที่จะเฉือนให้มีขนาดพอเหมาะกับแผลที่เตรียมบนต้นตอ และกะบริเวณแผลที่จะเฉือนให้มีขนาดที่จะสอดได้พอเหมาะ

๒. เฉือนกิ่งตาทั้งท่อนยาว โดยเฉือนท่อนโคนกิ่งก่อน การเฉือนต้องให้รอยแผลเรียบและตรงถ้ายังไม่เรียบต้องตั้งต้นเฉือนใหม่ ไม่ควรแต่งแผลที่เฉือน เพราะจะทำให้รอยแผลเป็นคลื่น และควรให้รอยแผลที่เฉือนยาว ๑-๑.๕ นิ้ว หรือเท่ากับรอยแผลที่เตรียมบนต้นตอ

๓. ตัดกิ่งให้มีตาเหลืออยู่บนกิ่งตา ๓-๕ ตาและยาวไม่เกิน ๓ นิ้วโดยตัดให้รอยตัดเหนือตาบนยาวประมาณ ๑๔ นิ้ว

๔. หลังจากสอดกิ่งตาและพันรอยต่อเรียบร้อยแล้ว ควรหาวัตถุคลุมเพื่อรักษากิ่งตาไม่ให้แห้งขณะรอการติด โดยเฉพาะกิ่งตาที่เป็นกิ่งอ่อนสีเขียว

การบังคับตา

ไม่ว่าการติดตาหรือต่อกิ่ง โดยเฉพาะการต่อกิ่งที่ไม่ตัดยอดต้นตอ หลังจากติดตาต่อกิ่งได้แล้ว จะต้องมีการบังคับตาหรือกิ่งตาที่ต่อให้เจริญเป็นยอดพันธุ์ดีตามที่ต้องการ การบังคับตาหรือกิ่งตาที่ต่อให้เจริญเป็นยอดพันธุ์ดีตามที่ต้อการ การบังคับตาดังกล่าวอาจจะทำทันที่หลังจากที่ทราบผลการติดหรือต่อแล้ว หรืออาจทำในระยะใดระยะหนึ่ง ที่มีสภาพเหมาะสมในการเจริญของกิ่งตาก็ได้สิ่งที่ต้องพิจารณาในการบังคับตาก็คือ เรื่องของฮอร์โมนที่ควบคุมการเจริญของตาที่อยู่บนกิ่ง เรื่องของอาหารภายในต้นตอ และเรื่องของสภาพแวดล้อมในการเจริญของตา ซึ่งจะได้กล่าวต่อไป

1.2 การขยายพันธุ์พืชโดยวิธีการปักชำ

คือ การนำส่วนต่าง ๆ ของพืชพันธุ์ดี เช่น ใบ และ ราก มาตัดและปักชำในวัสดุเพาะชำ เพื่อให้ได้พืชต้นใหม่จากสวนที่นำมาปักชำ แต่ในที่นี้จะขอแนะนำขั้นตอนการ

ตัดชำกิ่งซึ่ง

ขั้นตอนในการปักชำ

1. ตัดโคนกิ่งให้ชิดข้อยาวประมาณ 15 - 20 เซนติเมตร โดยตัดเฉียงเป็นรูปปากฉลาม และตัดปลายบนให้เหนือตาประมาณ 1 เซนติเมตร

2. ใช้มีดปลายแหลมกรีดบริเวณรอบโคนยาว 1 - 1.5 เซนติเมตร ประมาณ 2 - 3 รอย

3. ปักกิ่งชำลงในวัสดุเพาะชำ ลึกประมาณ 2.5 - 5 เซนติเมตร

4. นำเข้าโรงอบพลาสติก หรือถุงพลาสติกขนาดใหญ่

5. ประมาณ 25 - 30 วัน กิ่งตัดชำจะแตกยอดอ่อน พร้อมออกราก เมื่อมีจำนวนมากพอ จึงย้ายปลูกต่อไป

วัสดุที่ใช้ในการปักชำ

1. กิ่งไม้ที่ต้องการตัดปักชำ

2. ขุยมะพร้าว ผสมดินร่วน บรรจุในถุงพลาสติกหรือตะกร้า (ดังภาพ)

3. มีด หรือ คัตเตอร์

4. โรงเรือน หรือที่ร่ม

1.3. การขยายพันธุ์พืชโดยวิธีตอนกิ่ง

การตอนกิ่ง

การตอนกิ่ง

คือ การทำให้กิ่งหรือต้นพืชเกิดรากขณะติดอยู่กับต้นแม่ จะทำให้ได้ต้นพืชใหม่ ที่มีลักษณะทางสายพันธุ์ เหมือนกับต้นแม่ทุกประการ โดยมีขั้นตอนการปฏิบัติ ดังนี้

1. เลือกกิ่งกึ่งแก่กึ่งอ่อนที่สมบูรณ์ปราศจากโรคและแมลง

2. ควั่นกิ่ง ลอกเอาเปลือกออก แล้วขูดเยื่อเจริญที่เป็นเมือกลื่น ๆ ออก

3. นำตุ้มตอน (ขุยมะพร้าวที่แช่น้ำ แล้วบีบหมาด ๆ อัดลงในถุงพลาสติก ผูกปากถุงให้แน่น) มาผ่าตามความยาวแล้วนำไปหุ้มบนรอยแผลของกิ่งตอน มัดด้วยเชือกทั้งบนและล่างรอยแผล

4. เมื่อกิ่งตอนมีรากงอกแทงผ่านวัสดุ และเริ่มแก่เป็นสีเหลือง สีน้ำตาล ปลายรากมีสีขาว และมีจำนวนมากพอจึงตัดกิ่งตอนได้

5. นำกิ่งตอนไปชำในภาชนะ กระถางหรือถุงพลาสติก เพื่อรอการปลูกต่อไป

2. จงอธิบายเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ ดังนี้

2.1. เทคโนโลยีสารสนเทศหมายถึงอะไร

เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology: IT) หรือเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication Technologies: ICTs) ก็คือ เทคโนโลยีสองด้านหลัก ๆ ที่ประกอบด้วยเทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์ และ เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคมที่ผนวกเข้าด้วยกัน เพื่อใช้ในกระบวนการจัดหา จัดเก็บ สร้าง และเผยแพร่สารสนเทศในรูปต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นเสียง ภาพ ภาพเคลื่อนไหว ข้อความหรือตัวอักษร และตัวเลข เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ความถูกต้อง ความแม่นยำ และความรวดเร็วให้ทันต่อการนำไปใช้ประโยชน์

2.2. ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ

ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ

1.ช่วยในการจัดระบบข่าวสารจำนวนมหาศาลของแต่ละวัน

2. เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตสารสนเทศ เช่น การคำนวณตัวเลขที่ยุ่งยากซับซ้อน การจัดเรียงลำดับสารสนเทศ ฯลฯ

3. ช่วยให้สามารถเก็บสารสนเทศไว้ในรูปที่สามารถเรียกใช้ได้ทุกครั้งอย่างสะดวก

4. ช่วยให้สามารถจัดระบบอัตโนมัติ เพื่อการจัดเก็บประมวลผล และเรียกใช้สารสนเทศูล

5. ช่วยในการเข้าถึงสารสนเทศได้อย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพมากขึ้น

6. ช่วยในการสื่อสารระหว่างกันได้อย่างสะดวกรวดเร็ว ลดอุปสรรคเกี่ยวกับเวลา และระยะทาง โดยการใช้ระบบโทรศัพท์ และอื่นๆ

2.3 เทคโนโลยีสารสนเทศที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ได้แก่....

1. เสริมสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น เช่น การติดต่อสื่อสารที่สมัยก่อนมีการสื่อสารด้วยจดหมาย หรือโทรเลข แต่ปัจจุบันมีการติดต่อสื่อสารที่ง่ายขึ้น เช่น โทรศัพท์เคลื่อนที่ , Internet ที่แม้แต่อยู่คนละประเทศก็สามารถที่จะทราบถึงข่าวสารที่ง่ายขึ้น

2. ทำให้เกิดความเท่าเทียมกันในสังคม เช่น การศึกษาที่ปัจจุบันที่ได้หันเข้ามาศึกษาผ่านทางเว็บจำนวนมาก และการเข้าถึงข้อมูลเหล่านี้จึงไม่ได้จำกัดอยู่ที่ผู้ที่มีฐานะทางการเงินเท่านั้น เพียงแต่มีคอมพิวเตอร์กับระบบเครือข่ายก็สามารถที่จะเข้าถึงข้อมูลได้

3. ประโยชน์ต่อการเรียนการสอนในโรงเรียน เช่น การเยี่ยมชมเว็บ การเรียกผ่านทางคอมพิวเตอร์ช่วยสอน การสร้างสื่อการสอนด้วยคอมพิวเตอร์

4. ประโยชน์ด้านอุตสาหกรรมและพาณิชยกรรม เช่น เครื่องจักรต่างๆ ระบบสื่อสาร

5. ศึกษาค้นคว้าความแปลใหม่ที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา

นาย วีระยุทธ การะยุทธ เลขที่33 ชั้นม3/2

.1 การขยายพันธุ์โดยวิธีติดตาต่อกิ่ง (Propagation by grafting)

การติดตาต่อกิ่ง เป็นศิลปะของการเชื่อม ส่วนของต้นพืชเข้าด้วยกัน เพื่อที่จะให้ส่วนของพืชนั้นๆ ติดต่อกันและเจริญต่อไปเหมือนกับเป็นต้นพืชต้นเดียวกัน ส่วนของต้นพืชที่ต่ออยู่ทางส่วนฃ บนหรือที่ทำหน้าที่เป็นยอดของต้นพืชนั้น เรียกว่า กิ่งพันธุ์ดี (scion) และส่วนของพืชที่ต่ออยู่ทางส่วนล่างหรือที่ทำหน้าที่เป็นรากเรียกว่า ต้นตอ (stock or rootstock) จะเห็นได้ว่าในการขยายพันธุ์ด้วยวิธีการติดตาต่อกิ่ง ส่วนของต้นพืชที่เกี่ยวข้องก็คือต้นตอ และกิ่งพันธุ์ดี ด้วยเหตุนี้การศึกษาเกี่ยวกับต้นตและกิ่งพันธุ์ดีจึงเป็นเรื่องที่ควรทำเป็นอันดับแรกต้นตอ ในการขยายพันธุ์ด้วยวิธีการติดตาต่อกิ่ง การใช้ต้นตอที่ปฏิบัติกันอยู่ทั่วๆ ไปพอจะแบ่งออกได้เป็น ๒ ชนิด

๑. ต้นตอที่ได้จากการขยายพันธุ์ด้วยเมล็ดหมายถึงต้นพืชที่จะใช้เป็นต้นตอนั้นเพาะมาจากเมล็ด เมื่อต้นมีขนาดโตพอแล้วจึงนำมาใช้เป็นต้นตอสำหรับติดตาต่อกิ่งหรือทาบกิ่ง เรามักเรียกต้นตอชนิดนี้ว่า ต้นตอเพาะเมล็ด (seedling-rootstock)เนื่องจากต้นตอชนิดนี้เพาะมาจากเมล็ด อาจมีความผิดเพี้ยนหรือกลายพันธุ์ไปบ้าง จึงต้องมีการคัดเลือกต้นที่ไม่ตรงตามพันธุ์หรือผิดเพี้ยนไปจากลักษณะที่ต้องการออกเสีย ตลอดจนต้นที่อ่อนแอหรือมีลักษณะไม่เหมาะสมที่จะนำมาใช้เป็นต้นตอเช่น ลำต้นคดบิด หรือมีลักษณะของรอยต่อระหว่างต้นและราก เป็นแบบคอห่านซึ่งเกิดจากการวางเมล็ดเพาะผิดวิธี ถ้านำต้นพืชที่มีลักษณะดังกล่าวนี้ไปเป็นต้นตอแล้ว มักจะเกิดการหักโค่นตรงบริเวณที่ปเป็นคอห่านได้ง่าย ฉะนั้นจึงต้องคัดทิ้งเสีย เนื่องปจากต้นตอที่ขยายพันธุ์จากเมล็ดมีระบบรากที่หยั่งลึกสามารถจะยึดเกาะต้นได้แข็งแรง จึงได้รับความนิยมใช้เป็นต้นตอของไม้ยืนต้น เช่น มะม่วง ทุเรียน มะขาม เป็นต้น พืชพันธุ์ใดก็ตามที่จะนำมาใช้เป็นต้นตอนั้น ควรจะเป็นพันธุ์พืชที่หาเมล็ดได้ง่ายหรือมีเมล็ดมากด้วย

๒. ต้นตอที่ได้จากการตัดชำ การตอนหรือการแยกหน่อ มักเรียกต้นตอเช่นนี้ว่า ต้นตอตัดชำ(cutting stock) ข้อดีของต้นตอชนิดนี้ก็คือ เป็นต้นตอที่ตรงตามพันธุ์แน่นอน เหมาะที่จะใช้ในงานทดลองหรือใช้เพื่อวัตถุประสงค์บางอย่าง เช่น ใช้เป็นต้นตอ ทนโรค ทนแล้ง ทนแฉะ หรือทนสารบางอย่าง แต่เนื่องจากเป็นต้นตอที่มีระบบรากตื้น จึงไม่นิยมใช้กับไม้ยืนต้น แต่มักใช้กับไม้ดอกหรือไม้ประดับที่เป็นพุ่ม เช่น กุหลาบ ชบา ดอนย่า ฯลฯ และพืชพันธุ์ใดก็ตามที่จะนำมาใช้เป็นพันธุ์ต้นตอนั้น นอกจากจะมีคุณสมบัติพิเศษตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการแล้ว ควรจะมีคุณสมบัติในการเจริญเติบโตและการออกรากได้ดีด้วย

ต้นตอ เป็นปัจจัยสำคัญที่มีผลเกี่ยวกับความสำเร็จในการติดตาต่อกิ่ง การเลี้ยงดูต้นตอให้สมบูรณ์ และการเลือกขนาดของต้นตอให้พอเหมาะในการติดตาต่อกิ่งต้นพืชแต่ละชนิด จะช่วยให้ได้ผลดีขึ้นด้วย

กิ่งพันธุ์ดี คือ ส่วนของต้นพืชที่ทำหน้าที่เป็นส่วนยอดของต้นพืชที่ต่ออยู่ หรืออาจหมายถึงกิ่งพืชที่จะนำไปติดหรือต่อบนต้นตอก็ได้ ในการติดตาต่อกิ่งมีเรื่องที่เกี่ยวข้องกับกิ่งพันธุ์ดีที่ควรจะทราบ คือ

ก. การเลือกกี่พันธุ์ดี (selection of scion wood)

ข. การเก็บรักษากี่งพันธุ์ดี (storage of scion wood)

ค. การเตรียมกิ่งพันธุ์ดี

การเลือกกิ่งพันธุ์ดี (selection of scion wood)

ก. การเลือกกิ่งพันธุ์ดี (selection of scion wood)

ในการติดตาต่อกิ่ง ทั้งต้นตอและกิ่งพันธุ์ดีที่นำมาติดหรือต่อเข้าด้วยกันนั้น จะต้องมีการสร้างเนื้อเยื่อให้ประสานกัน การสร้างเนื้อเยื่อจะเร็ว หรือช้าขึ้นอยู่กับความสมบูรณ์หรืออาหารที่มีอยู่ในส่วนของพืชทั้งสอง โดยเฉพาะกิ่งพันธุ์ดีซึ่งเป็นชิ้น ส่วนที่เล็กย่อมจะมีอาหารสะสมอยู่น้อย จึงจำเป็นต้องเลือกให้เหมาะสม เพื่อให้การติดหรือต่อได้ผลดี การเลือกกิ่งพันธุ์ดีที่นิยมปฏิบัติกันทั่วๆไปนั้นอาจแบ่งออกได้เป็น ๒ ชนิด คือ

๑. กิ่งพันธุ์ดีเป็นกิ่งแก่หรือกิ่งที่กำลังพักตัว (brown bud wood) เป็นกิ่งที่เจริญในฤดูที่แล้ว หรือปีที่แล้ว ปกติจะมีอายุ ๑ ฤดูหรือไม่เกิน ๑ ปี ลักษณะกิ่งมีเปลือกสีน้ำตาลแข็ง มีอาหารสะสมอยู่มาก ทนต่อการเหี่ยวแห้งและชอกช้ำ สามารถเก็บรักษาไว้ได้นาน ข้อเสียของการใช้กิ่งชนิดนี้ก็ คือ ตาที่ติดมักจะเจริญช้า จะต้องมีการบังคับตาอย่างหนักจึงจะแตกเป็นกิ่งได้

๒. กิ่งพันธุ์ดีที่เป็นกิ่งอ่อน หรือกิ่งที่กำลังเจริญเติบโต (green wood or green bud) เป็นกิ่งอ่อนสีเขียวที่กำลังเจริญเติบโต มีอาหารสะสมน้อยเหี่ยวแห้งและชอกช้ำง่าย แต่ก็มีตาที่เจริญได้รวดเร็ว การบังคับตาให้แตกหลังจากติดตาหรือต่อกิ่งแล้วสามารถทำได้ง่าย ในการติดตาต่อกิ่งพันธุ์พืชทั่วๆ ไปเราอาจใช้กิ่งพันธุ์ดีได้ทั้งที่เป็นกิ่งแก่และกิ่งอ่อน ส่วนการเลือกกิ่ง ถือหลักเกณฑ์การปฏิบัติเช่นเดียวกัน

หลักเกณฑ์ในการเลือกกิ่งพันธุ์ดี

๑. เป็นกิ่งปีเดียวหรือฤดูเดียว คือ ถ้าเป็นกิ่งแก่ควรมีอายุไม่เกิน ๑ ปี ถ้าเป็นกิ่งอ่อนควรจะมีอายุไม่เกิน ๑ ฤดู เพราะกิ่งที่มีอายุแก่เกินไป ตาที่ติดมักไม่ค่อยเจริญ

๒. เป็นกิ่งที่มีตา (bud) แข็งแรง ไม่ว่าจะเป็นตายอดหรือตาข้าง มองเห็นได้ชัดว่าจะเจริญเป็นกิ่งหรือต้นได้งอกงาม ปกติเป็นตาที่อยู่ทางด้านปลายกิ่ง

๓. เป็นกิ่งที่สมบูรณ์ มีการเจริญปานกลาง คือ มีข้อไม่ห่างจนเกินไป ลักษณะกิ่งกลมไม่ขึ้นเหลี่ยมหรืออวบจนเห็นได้ชัด กิ่งมีความแข็งพอควร โดยเฉพาะกิ่งอ่อน ปกติมักใช้กิ่งกระโดงหรือกิ่งน้ำค้าง

๔. กิ่งมีขนาดพอเหมาะ คือ มีเส้นผ่านศูนย์กลางขนาดประมาณ ๑๔ - ๑๒ นิ้ว หรือมีขนาดประมาณดินสอดำ และมักใช้ ๒๓ ของกิ่ง ส่วนใหญ่จะอยู่ประมาณกลางกิ่งและปลายกิ่ง

๕. เป็นกิ่งที่ได้จากต้นแม่ที่แข็งแรง ได้รับการตรวจแล้วว่าไม่เป็นโรค โดยเฉพาะโรคที่ติดต่อถ่ายทอดกันได้ด้วยการติดตาต่อกิ่ง เช่น โรคไวรัสเป็นต้น เป็นต้นที่รู้พันธุ์แน่นอน และควรจะเป็นต้นที่ตัดแต่งไว้สำหรับใช้เป็นกิ่งพันธุ์ดีโดยเฉพาะ

การเก็บรักษากิ่งพันธุ์ดี (storage of scion wood)

ข. การเก็บรักษากิ่งพันธุ์ดี (storage of scion wood)

ในการติดตาต่อกิ่ง กิ่งพันธุ์ดีที่นำมาใช้อาจได้มาจากบริเวณใกล้เคียง ซึ่งสามารถจะติดหรือต่อให้แล้วเสร็จได้ภายในวันเดียว ซึ่งเรียกกิ่งพันธุ์ดีพวกนี้ว่ากิ่งสด (fresh scion) หรืออาจเป็นกิ่งที่เก็บไว้ใช้ในเวลาอื่น หรือฤดูอื่นที่เหมาะสม ซึ่งเรียกกิ่งพวกนี้ว่า กิ่งเก็บ (storage scion) ก็ได้ อย่างไรก็ตาม ไม่ว่ากิ่งแก่ที่พักตัวหรือกิ่งอ่อนสีเขียว และจะนำมาใช้ทันทีหรือนำมาใช้ในเวลาต่อไปก็ดี จะต้องปฏิบัติดูแลให้กิ่งที่ตัดมานั้นมีสภาพเหมือนกับอยู่บนต้นเดิมให้มากที่สุด วิธีที่จะรักษากิ่งพันธุ์ดีให้สดอยู่ได้นานๆ นั้น ควรจะปฏิบัติดังนี้

๑. หลังจากที่ตัดกิ่งพันธุ์ดีออกจากต้น จะต้องรีบลดการคายน้ำจากกิ่งที่ตัดทันที โดยเฉพาะกิ่งพันธุ์ดีที่เป็นกิ่งอ่อนและมีใบติดอยู่บนกิ่ง จะมีการคายน้ำออกจากใบได้อย่างรวดเร็ว จะต้องรีบตัดใบออกทันที เหลือแต่โคนก้านใบที่จะใช้จับเวลาสอดแผ่นตาเท่านั้น

๒. เก็บกิ่งที่ริดใบหมดแล้วไว้ในที่ชื้น เช่นในกาบกล้วย ในห่อผ้าที่ชื้นหรือในถุงพลาสติก โดยมีผ้า กระดาษ หรือสำลีชุบน้ำและบีบจนสะเด็ดน้ำใส่ไว้ในถุงแล้วรัดปากถุงพลาสติกให้แน่น

๓. เก็บห่อหรือถุงที่ใส่กิ่งพันธุ์ดีไว้ในที่ร่มชื้นหรือเย็น หรือในห้องที่มีการถ่ายเทอากาศดี

๔. ถ้ามีห้องเย็นหรือตู้เย็น ควรเก็บกิ่งพันธุ์ดีไว้ในอุณหภูมิ ๔๐°ฟ. หรือชั้นเก็บผลไม้สด ซึ่งการเก็บกิ่งในอุณหภูมิต่ำเช่นนี้จะสามารถเก็บกิ่งไว้ได้นาน ๒-๔ สัปดาห์

การเตรียมกิ่งพันธุ์ดี

ค. การเตรียมกิ่งพันธุ์ดี

ไม่ว่าจะเป็นการติดตา หรือการต่อกิ่งวิธีใดก็ตาม การเตรียมแผ่นตาในการติดตาและการเตรียมกิ่งตาในการต่อกิ่ง มักจะมีวิธีปฏิบัติคล้ายๆ กัน คือ

การเตรียมแผ่นตา

๑. การเฉือนแผ่นตา ควรเฉือนจากปลายแผ่นไปทางโคนแผ่น แต่จะเฉือนตาที่ปลายกิ่งหรือโคนกิ่งก่อนก็ได้ การเฉือนจากปลายแผ่นเช่นนี้เพื่อป้องกันการเฉือนหลุดที่ตา

๒. เฉือนให้แผ่นตา มีความยาว ๑ นิ้ว โดยเฉือนให้เหนือตาครึ่งนิ้วและใต้ตาครึ่งนิ้ว

๓. ถ้าเป็นพวกกิ่งสด ควรตัดก้านใบให้เหลือไว้สำหรับจับแผ่นตา แต่ถ้าเป็นกิ่งเก็บหรือกิ่งสดที่ก้านใบหลุดไปแล้ว ควรเฉือนให้แผ่นตาส่วนที่อยู่เหนือตามีความยาว ๑ นิ้ว เพื่อไว้เป็นที่จับสอดแผ่นตา และจะตัดส่วนที่จับนี้ออกเมื่อสอดแผ่นตาเรียบร้อยแล้ว

๔. ต้องเฉือนแผ่นตาให้ติดเนื้อไม้เล็กน้อยเพื่อให้เกิดบริเวณของแนวเยื่อเจริญ (cambium layer) ซึ่งจะทำให้เกิดรอยต่อ

๕. ควรเฉือนที่เดียวให้ตลอดแผ่นตา ไม่ควรขยับมีดหรือแต่งรอยเฉือนให้เรียบภายหลังเพราะจะทำให้รอยเฉือนเป็นคลื่น แนวเยื่อเจริญไม่แนบกันตลอด ทำให้รอยต่อติดกันไม่สนิท

๖. การติดตาบางวิธีที่ต้องลอกเนื้อไม้ออกต้องระวังมิให้เปลือกของแผ่นตาย่นหรือช้ำได้เพราะจะทำให้แผ่นตาเสียได้

การเตรียมกิ่งตา

กิ่งตาคือชิ้นส่วนของกิ่งพันธุ์ดีที่ใช้ในการต่อกิ่ง ซึ่งจะมีตาตั้งแต่หนึ่งตาขึ้นไป การเตรียมกิ่งตาควรปฏิบัติดังนี้

๑. เลือกกิ่งพันธุ์ดีที่จะเฉือนให้มีขนาดพอเหมาะกับแผลที่เตรียมบนต้นตอ และกะบริเวณแผลที่จะเฉือนให้มีขนาดที่จะสอดได้พอเหมาะ

๒. เฉือนกิ่งตาทั้งท่อนยาว โดยเฉือนท่อนโคนกิ่งก่อน การเฉือนต้องให้รอยแผลเรียบและตรงถ้ายังไม่เรียบต้องตั้งต้นเฉือนใหม่ ไม่ควรแต่งแผลที่เฉือน เพราะจะทำให้รอยแผลเป็นคลื่น และควรให้รอยแผลที่เฉือนยาว ๑-๑.๕ นิ้ว หรือเท่ากับรอยแผลที่เตรียมบนต้นตอ

๓. ตัดกิ่งให้มีตาเหลืออยู่บนกิ่งตา ๓-๕ ตาและยาวไม่เกิน ๓ นิ้วโดยตัดให้รอยตัดเหนือตาบนยาวประมาณ ๑๔ นิ้ว

๔. หลังจากสอดกิ่งตาและพันรอยต่อเรียบร้อยแล้ว ควรหาวัตถุคลุมเพื่อรักษากิ่งตาไม่ให้แห้งขณะรอการติด โดยเฉพาะกิ่งตาที่เป็นกิ่งอ่อนสีเขียว

การบังคับตา

ไม่ว่าการติดตาหรือต่อกิ่ง โดยเฉพาะการต่อกิ่งที่ไม่ตัดยอดต้นตอ หลังจากติดตาต่อกิ่งได้แล้ว จะต้องมีการบังคับตาหรือกิ่งตาที่ต่อให้เจริญเป็นยอดพันธุ์ดีตามที่ต้องการ การบังคับตาหรือกิ่งตาที่ต่อให้เจริญเป็นยอดพันธุ์ดีตามที่ต้อการ การบังคับตาดังกล่าวอาจจะทำทันที่หลังจากที่ทราบผลการติดหรือต่อแล้ว หรืออาจทำในระยะใดระยะหนึ่ง ที่มีสภาพเหมาะสมในการเจริญของกิ่งตาก็ได้สิ่งที่ต้องพิจารณาในการบังคับตาก็คือ เรื่องของฮอร์โมนที่ควบคุมการเจริญของตาที่อยู่บนกิ่ง เรื่องของอาหารภายในต้นตอ และเรื่องของสภาพแวดล้อมในการเจริญของตา ซึ่งจะได้กล่าวต่อไป

1.2 การขยายพันธุ์พืชโดยวิธีการปักชำ

คือ การนำส่วนต่าง ๆ ของพืชพันธุ์ดี เช่น ใบ และ ราก มาตัดและปักชำในวัสดุเพาะชำ เพื่อให้ได้พืชต้นใหม่จากสวนที่นำมาปักชำ แต่ในที่นี้จะขอแนะนำขั้นตอนการ

ตัดชำกิ่งซึ่ง

ขั้นตอนในการปักชำ

1. ตัดโคนกิ่งให้ชิดข้อยาวประมาณ 15 - 20 เซนติเมตร โดยตัดเฉียงเป็นรูปปากฉลาม และตัดปลายบนให้เหนือตาประมาณ 1 เซนติเมตร

2. ใช้มีดปลายแหลมกรีดบริเวณรอบโคนยาว 1 - 1.5 เซนติเมตร ประมาณ 2 - 3 รอย

3. ปักกิ่งชำลงในวัสดุเพาะชำ ลึกประมาณ 2.5 - 5 เซนติเมตร

4. นำเข้าโรงอบพลาสติก หรือถุงพลาสติกขนาดใหญ่

5. ประมาณ 25 - 30 วัน กิ่งตัดชำจะแตกยอดอ่อน พร้อมออกราก เมื่อมีจำนวนมากพอ จึงย้ายปลูกต่อไป

วัสดุที่ใช้ในการปักชำ

1. กิ่งไม้ที่ต้องการตัดปักชำ

2. ขุยมะพร้าว ผสมดินร่วน บรรจุในถุงพลาสติกหรือตะกร้า (ดังภาพ)

3. มีด หรือ คัตเตอร์

4. โรงเรือน หรือที่ร่ม

1.3. การขยายพันธุ์พืชโดยวิธีตอนกิ่ง

การตอนกิ่ง

การตอนกิ่ง

คือ การทำให้กิ่งหรือต้นพืชเกิดรากขณะติดอยู่กับต้นแม่ จะทำให้ได้ต้นพืชใหม่ ที่มีลักษณะทางสายพันธุ์ เหมือนกับต้นแม่ทุกประการ โดยมีขั้นตอนการปฏิบัติ ดังนี้

1. เลือกกิ่งกึ่งแก่กึ่งอ่อนที่สมบูรณ์ปราศจากโรคและแมลง

2. ควั่นกิ่ง ลอกเอาเปลือกออก แล้วขูดเยื่อเจริญที่เป็นเมือกลื่น ๆ ออก

3. นำตุ้มตอน (ขุยมะพร้าวที่แช่น้ำ แล้วบีบหมาด ๆ อัดลงในถุงพลาสติก ผูกปากถุงให้แน่น) มาผ่าตามความยาวแล้วนำไปหุ้มบนรอยแผลของกิ่งตอน มัดด้วยเชือกทั้งบนและล่างรอยแผล

4. เมื่อกิ่งตอนมีรากงอกแทงผ่านวัสดุ และเริ่มแก่เป็นสีเหลือง สีน้ำตาล ปลายรากมีสีขาว และมีจำนวนมากพอจึงตัดกิ่งตอนได้

5. นำกิ่งตอนไปชำในภาชนะ กระถางหรือถุงพลาสติก เพื่อรอการปลูกต่อไป

2. จงอธิบายเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ ดังนี้

2.1. เทคโนโลยีสารสนเทศหมายถึงอะไร

เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology: IT) หรือเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication Technologies: ICTs) ก็คือ เทคโนโลยีสองด้านหลัก ๆ ที่ประกอบด้วยเทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์ และ เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคมที่ผนวกเข้าด้วยกัน เพื่อใช้ในกระบวนการจัดหา จัดเก็บ สร้าง และเผยแพร่สารสนเทศในรูปต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นเสียง ภาพ ภาพเคลื่อนไหว ข้อความหรือตัวอักษร และตัวเลข เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ความถูกต้อง ความแม่นยำ และความรวดเร็วให้ทันต่อการนำไปใช้ประโยชน์

2.2. ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ

ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ

1.ช่วยในการจัดระบบข่าวสารจำนวนมหาศาลของแต่ละวัน

2. เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตสารสนเทศ เช่น การคำนวณตัวเลขที่ยุ่งยากซับซ้อน การจัดเรียงลำดับสารสนเทศ ฯลฯ

3. ช่วยให้สามารถเก็บสารสนเทศไว้ในรูปที่สามารถเรียกใช้ได้ทุกครั้งอย่างสะดวก

4. ช่วยให้สามารถจัดระบบอัตโนมัติ เพื่อการจัดเก็บประมวลผล และเรียกใช้สารสนเทศูล

5. ช่วยในการเข้าถึงสารสนเทศได้อย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพมากขึ้น

6. ช่วยในการสื่อสารระหว่างกันได้อย่างสะดวกรวดเร็ว ลดอุปสรรคเกี่ยวกับเวลา และระยะทาง โดยการใช้ระบบโทรศัพท์ และอื่นๆ

2.3 เทคโนโลยีสารสนเทศที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ได้แก่....

1. เสริมสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น เช่น การติดต่อสื่อสารที่สมัยก่อนมีการสื่อสารด้วยจดหมาย หรือโทรเลข แต่ปัจจุบันมีการติดต่อสื่อสารที่ง่ายขึ้น เช่น โทรศัพท์เคลื่อนที่ , Internet ที่แม้แต่อยู่คนละประเทศก็สามารถที่จะทราบถึงข่าวสารที่ง่ายขึ้น

2. ทำให้เกิดความเท่าเทียมกันในสังคม เช่น การศึกษาที่ปัจจุบันที่ได้หันเข้ามาศึกษาผ่านทางเว็บจำนวนมาก และการเข้าถึงข้อมูลเหล่านี้จึงไม่ได้จำกัดอยู่ที่ผู้ที่มีฐานะทางการเงินเท่านั้น เพียงแต่มีคอมพิวเตอร์กับระบบเครือข่ายก็สามารถที่จะเข้าถึงข้อมูลได้

3. ประโยชน์ต่อการเรียนการสอนในโรงเรียน เช่น การเยี่ยมชมเว็บ การเรียกผ่านทางคอมพิวเตอร์ช่วยสอน การสร้างสื่อการสอนด้วยคอมพิวเตอร์

4. ประโยชน์ด้านอุตสาหกรรมและพาณิชยกรรม เช่น เครื่องจักรต่างๆ ระบบสื่อสาร

5. ศึกษาค้นคว้าความแปลใหม่ที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา

ภาณุพงศ์ วงษ์สุวรรณ ห้อง ม 3/2 เลขที่ 10 บุญเรือง โสดากุล ม 3/2 เลขที่ 15 เพ็ญนภา ประทีป ม.3/1 เลขที่29 สินชัย ทองศรี ม.3/1เลขที่1 รัชนีกร ทิพประพันธ์ม.3/1 เลขที่23 บุญเรือง

การขยายพันธุ์พืชโดยวิธีการต่อกิ่งการต่อกิ่ง

การต่อกิ่ง คือ การต่อต้นพืชโดยใช้กิ่งพันธุ์ดีที่มีตามากกว่า ๑ ตาขึ้นไป แบ่งประเภทของการต่อกิ่งตามตำแหน่งที่ทำการต่อออกเป็น ๓ แบบ คือ

๑. การต่อราก (root grafting) คือ การนำเอากิ่งพันธุ์ดีมาต่อกับรากของต้นพืชโดยตรง ซึ่งรากที่นำมาต่อนั้น อาจจะเป็นรากทั้งหมด (whole root) หรืออาจเป็นท่อนราก (piece root) ก็ได้ เป็นวิธีที่ใช้กันทั่วไปในการต่อไม้ผลเมืองหนาว เช่น แอปเปิ้ล และแพร์ และโดยทั่วๆ ไปมักจะใช้รากต้นพืชที่เพาะจากเมล็ด และเมื่อจะต่อมักจะขุดรากที่กำลังอยู่ในระยะพักตัวมาต่อในโรงเรือน เรียกการต่อ กิ่งแบบนี้ว่า เบนซ์กราฟท์ (bench graft)

๒. การต่อต้นตอคอดิน (crown grafting) คือ การนำกิ่งพันธุ์ดีมาต่อบนต้นตอในระดับคอดิน (crown) เป็นวิธีที่นิยมใช้ในการเปลี่ยนพันธุ์องุ่นที่มี อายุมากๆ ให้เป็นพันธุ์ใหม่ที่ต้องการ

๓. การต่อยอด (top grafting) คือการนำกิ่งพันธุ์ดีมาต่อบนต้นตอเหนือระดับผิวดิน รวมทั้งการต่อต้นพืชเหนือระดับผิวดินมากๆ และเป็นต้นพืชที่มีขนาดโต ซึ่งมักจะให้ผลแล้ว เรียกการต่อเช่นนี้ว่าการต่อเปลี่ยนยอด (top working)

การขยายพันธุ์พืชโดยวิธีการตอนกิ่งการตอนกิ่ง (Layering)

การตอนกิ่ง เป็นวิธีการขยายพันธุ์พืชที่ใช้กันมานานและเป็นที่รู้จักกันดีในหมู่ชาวสวนทั่วๆไป วิธีการตอนกิ่งที่เราใช้กันอยู่ทุกวันนี้เป็นวิธีการที่ได้นำมาจากประเทศจีน แต่ได้ดัดแปลงไปบ้างเพื่อความสะดวกในการปฏิบัติ ในยุโรปและอเมริกาก็มีวิธีขยายพันธุ์พืชด้วยการตอนกิ่งเช่นเดียวกัน แต่วิธีการในการตอนกิ่งผิดไปจากวิธีที่รู้จักกันดีในบ้านเราและเรามักเรียกวิธีการตอนกิ่งแบบยุโรปว่า "การตอนทับกิ่ง" ในที่นี้จะขอกล่าวเฉพาะการตอนกิ่งแบบชาวจีน หรือการตอนกิ่งแบบตอนหุ้มกิ่ง ซึ่งมีวิธีการตอนหุ้มกิ่งหลายแบบ

ไม่ว่าจะเป็นการตอนกิ่งแบบชาวจีน หรือการตอนทับกิ่งแบบชาวยุโรป โดยหลักการในการ ตอนต้นพืชแล้วก็คือ การทำให้ต้นหรือกิ่งพืชออกรากขณะที่ยังติดอยู่กับต้นแม่ หลังจากต้นหรือกิ่งพืชออกรากดีแล้วจึงตัดไปปลูกภายหลัง ฉะนั้นโอกาสของการที่กิ่งพืชจะมีชีวิตอยู่รอด จึงดีกว่าการขยายพันธุ์ด้วยการตัดชำ แต่ก็มีข้อเสียอยู่ที่ว่าขยายได้ช้ากว่า ด้วยเหตุนี้ถ้าต้องการต้นพืชจำนวนมากๆ แล้วมักจะไม่ใช้การขยายพันธุ์ด้วยการตอนกิ่ง เว้นแต่ต้นพืชนั้นจะขยายพันธุ์ไม่ได้ด้วยการตัดชำ หรือออกรากยากกว่าการตอนกิ่งเท่านั้น การตอนกิ่งแบบชาวจีน หรือแบบที่เราใช้กันอยู่ทุกวันนี้เป็นวิธีที่ใช้ในการตอนกิ่งพืชพวกไม้พุ่ม และไม้ยืนต้นเป็นส่วนใหญ่ รวมทั้งพืชพวกไม้ผลและไม้ประดับ เช่น ลำไย ลิ้นจี่ ละมุด ส้มเขียวหวาน ส้มโอ กระท้อน กุหลาบ มะลิ ดอนย่า เป็นต้น ส่วนวิธีการตอนนั้นปฏิบัติเป็นขั้นๆ ดังนี้

ก. การเลือกกิ่ง กิ่งหรือต้นพืชที่จะตอนจะต้องเป็นกิ่งไม่อ่อนและไม่แก่เกินไป ใบงาม ไม่มีโรคหรือแมลงทำลาย ได้รับแสงแดดสม่ำเสมอ โดยปกติมักจะเลือกกิ่งกระโดง ซึ่งอาจจะเป็นกิ่งกระโดงตั้ง๑ หรือกระโดงครีบ๒ ก็ได้

ข. การทำแผลบนกิ่ง การทำแผลบนกิ่งจะขึ้นอยู่กับชนิดของพืช และความยากง่ายในการงอกราก ซึ่งบางพืชอาจไม่ต้องทำแผลเลยก็สามารถออกรากได้ ส่วนใหญ่มักเป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว เช่น ต้นสาวน้อยประแป้ง พลูด่าง และพลูฉีก พืชบางชนิด อาจใช้วิธีกรีดเปลือกตามยาวของกิ่ง เช่น กุหลาบ ยี่โถ หรือพืชบางชนิดอาจปาดท้องกิ่ง เช่น ต้นชวนชม แต่มีบางชนิดที่ต้องควั่นกิ่งโดยเฉพาะพืชที่ออกรากยาก มีความจำเป็นที่จะต้องทำแผลโดยการควั่นกิ่ง เพราะการควั่นนอกจากจะทำให้เกิดบริเวณออกรากแล้ว ยังมีผลเกี่ยวกับการสะสมธาตุอาหารรวมทั้งสารฮอร์โมน ให้เกิดขึ้นภายในกิ่งซึ่งจะมีผลดีในการออกรากด้วย ดังนั้นเพื่อความแน่นอนในเรื่องการออกราก ชาวสวนทั่วไปจึงใช้วิธีการทำแผลด้วยการควั่นกิ่งแทบทั้งสิ้น

ค. การทาฮอร์โมน การใช้ฮอร์โมนเร่งรากทาบริเวณที่ทำแผล หรือบริเวณที่กิ่งจะเกิดราก จะช่วยให้กิ่งพืชเกิดรากดีขึ้น คือ มีรากมากขึ้น รากเจริญเร็วขึ้น และอาจออกรากเร็วขึ้น การทาฮอร์โมนปกติจะทาเฉพาะบริเวณที่จะเกิดรากเท่านั้น เช่น บริเวณที่เป็นรอยกรีด หรือรอยปาด หรือรอยควั่นตอนบนเท่านั้น และการที่จะใช้ฮอร์โมนตอนต้นพืชฃชนิดใดนั้น ควรจะได้ศึกษาหรือทดลองมาก่อนเพราะต้นพืชแต่ละชนิดออกรากยากง่ายต่างกัน โดย ปกติต้นพืชที่ออกรากไม่ยาก อาจใช้ฮอร์โมนชนิดอ่อนหรือที่มีความเข้มข้นน้อยๆ ก็เพียงพอ ส่วนต้นพืชที่ออกรากยากๆ จำเป็นต้องใช้ฮอร์โมนแรงๆ หรือที่เข้มข้นมากๆ ตามลำดับ การใช้ฮอร์โมนที่ตรงกันข้ามกับที่กล่าวนี้ นอกจากจะไม่ได้ผลดีขึ้นแล้ว ยังเป็นการทำลายกิ่งพืชที่ตอน และทำให้ค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นอีกด้วย

ง. การหุ้มกิ่งตอน วัตถุที่จะใช้หุ้มกิ่งตอนอาจใช้วัตถุต่างๆ ได้หลายอย่าง ข้อสำคัญก็คือวัตถุนั้นๆ ต้องอมความชื้นได้พอ ไม่เป็นพิษกับกิ่งพืช มีราคาถูก และหาได้ง่าย เช่น หญ้ามอสส์ (sphagnum moss) กาบมะพร้าวชุบน้ำ ปุยมะพร้าวผ้ากระสอบป่าน หรือรากผักตบชวา แม้กระทั่งดินธรรมดาๆ ทั่วๆ ไปใช้ก็ได้ แต่วัตถุที่นิยมใช้จะ ต้องสะดวกต่อการหุ้ม เช่น ใช้กาบมะพร้าวชุ่มน้ำทุบให้แผ่ ตัดเป็นท่อนให้พอเหมาะกับขนาดกิ่งตอนซึ่งเมื่อจะหุ้มก็จะสามารถหุ้มกิ่งได้ง่าย ส่วนการหุ้มอาจใช้วัตถุชนิดเดียว เช่น หญ้ามอสส์ล้วนๆ หรือกาบมะพร้าวล้วนๆ หรืออาจใช้ดินหุ้มก่อนแล้วหุ้มหญ้ามอสส์ หรือกาบมะพร้าวอีกชั้นหนึ่งก็ได้ ข้อสำคัญก็คือ ต้องพันหรือหุ้มวัตถุหุ้มกิ่งให้แน่นพอสมควร อย่าให้หมุนหรือคลอนไปมาได้ง่าย และพยายามหุ้มให้กลางกระเปาะวัตถุที่หุ้มอยู่ตรงกับบริเวณที่ออกรากด้วย

จ. การรักษาความชื้น หลังจากตอนกิ่งแล้วโดยเฉพาะราว ๓-๕ วัน จากที่หุ้มกิ่ง จะต้องรดน้ำกระเปาะตอนหรือมัดวัตถุหุ้มกิ่งที่ตอนนั้นให้ชื้นสม่ำเสมอในการรักษาความชื้นนี้อาจใช้วิธีรดน้ำกระเปาะที่ตอนทุกวัน หรือใช้วิธีรดทั้งต้นแบบฝนตก แต่ที่สะดวกก็คือใช้ผ้าพลาสติกหุ้มให้มิด ทั้งนี้เพื่อมิให้น้ำจากกระเปาะวัตถุนั้นระเหยออกมาได้ การหุ้มผ้าพลาสติกกระเปาะที่ตอนแล้ว ควรจะได้หุ้มเสียแต่ตอนแรกขณะที่วัตถุนั้นยังชื้นอยู่ ซึ่งการหุ้มพลาสติกในทำนองนี้จะช่วยให้กระเปาะกิ่งตอนชื้นอยู่ตลอดเวลา จนกระทั่งกิ่งออกราก อย่างไรก็ตามในระหว่างรอการออกราก ควรจะได้ตรวจดูกระเปาะตอนบ้าง เพราะอาจมีมดกัดผ้าพลาสติกให้เป็นรู ทำให้กระเปาะตอนแห้งได้ การแก้ไขก็คือใช้เข็มฉีดยา ฉีดน้ำเข้าไปในกระเปาะตอนราว ๕-๗วันต่อครั้ง จนกว่ากิ่งจะออกรากมากพอและตัดมาปลูกได้

ฉ. การตัดกิ่งตอน เมื่อถึงเวลาอันควร กิ่งพืชที่ตอนไว้ก็จะเกิดราก เวลาของการออกรากนี้จะมากน้อยต่างกัน พวกไม้ประดับทั่วๆ ไปจะออกรากเร็วกว่าพวกไม้ผล แต่ไม้ผลแต่ละชนิดก็จะใช้เวลาในการออกรากแตกต่างกัน เช่น ชมพู่จะออกรากเร็วกว่าส้ม ส้มเร็วกว่าละมุด เป็นต้น แต่ส่วนใหญ่จะใช้เวลาไม่เกิน ๓ เดือน ในการตัดกิ่งตอนจะต้องดูจำนวนรากว่ามีรากมากพอหรือยัง และควรจะรอให้รากมีจำนวนมากพอได้สัดส่วนกับขนาดของกิ่งและใบ ซึ่งถ้ากิ่งยิ่งโตมีใบมากก็ต้องเป็นกิ่งที่มีรากมาก มิฉะนั้นรากจะดูดน้ำไปเลี้ยงใบไม่ทันกิ่งก็จะแห้งเหี่ยวตายไปในที่สุด หรือมิฉะนั้นก็จะต้องตัดกิ่งและใบทิ้งเสียบ้าง อย่างไรก็ตาม พวกไม้ดอกหรือไม้ประดับ ซึ่งรากมักเจริญได้เร็วหลังจากตัดกิ่งแล้ว เช่น กุหลาบ ดอนย่า ฯลฯ อาจตัดกิ่งได้เมื่อรากยังมีไม่มากนัก เพราะต้นพืชจะสร้างรากได้ไวหลังจากตัดมาปลูกแล้ว ส่วนพืชพวกไม้ผล จะต้องรอให้กิ่งมีรากมากพอ หรืออย่างน้อยจะต้องรอให้มีแขนงรากเกิดขึ้นให้มากพอ ฉะนั้นการตัดกิ่งตอนพวกไม้ผล จึงจำเป็นต้องใช้เวลายาว นานกว่าไม้ประดับโดยทั่วไป

ซ. การปลูกกิ่งตอน กิ่งตอนที่ตัดได้อาจมีจำนวนรากมากน้อยต่างกัน เพื่อป้องกันการเสียหายซึ่งอาจจะเกิดขึ้น ควรจะได้คัดกิ่งตอนออกเป็นพวกๆ ตามความมากน้อยของรากเสียก่อน คือ คัด กิ่งที่มีรากมากและรากน้อยออกคนละพวก พวกที่มีรากมากอาจปลูกลงกระถางหรือลงถุงปลูกได้ทันทีส่วนพวกที่รากยังไม่มากพอ ควรจะได้ตัดแต่งกิ่งและใบออกเสียบ้าง แล้วนำไปชำรวมกันไว้ในกระบะหรือภาชนะที่เหมาะสม เพื่อรอให้รากเกิดมากขึ้นจึงจะนำไปปลูกภายหลัง ข้อสำคัญในการปลูกกิ่งตอน คือ อย่าปลูกให้ลึกโดยเฉพาะในการใช้วัตถุปลูกที่ทึบหรืออับอากาศ เช่น ดินเหนียว เป็นต้นเพราะจะทำให้รากเจริญช้า ควรจะปลูกให้กระเปาะฃตอนโผล่พ้นดินปลูกเล็กน้อย ประมาณหนึ่งในสี่ของกระเปาะตอน จากนั้นจึงนำกระถางปลูกไปตั้งไว้ในที่ร่มรำไร คือ ที่ที่มีแสงแดดส่องเล็กน้อย คอยพรมน้ำให้ใบกิ่งตอนชื้นอยู่เสมอๆ แต่ไม่ควรรดน้ำจนดินปลูกแฉะ และหลังจากยอดเริ่มเจริญหรือแตกยอดใหม่จึงเพิ่มแสงแดดให้มากขึ้น

...................................................................................................................................................................

การขยายพันธุ์พืชโดยวิธีการปักชำการปักการปักชำ

ชำ คือการใช้ส่วนต่างๆ ของพืช เช่น ราก ใบ หรือ ลำต้น ไปปักชำ และส่วนของพืชเหล่านี้จะเจริญงอกงามเป็นลำต้นต่อไป

การปักชำเป็นวิธีขยายพันธุ์พืชที่ดีวิธีหนึ่งซึ่งมีข้อดี ดังนี้

1. ประหยัดค่าใช้จ่าย

2. ขยายพันธุ์ได้ปริมาณมาก

3. ทำได้ง่ายโดยไม่ต้องอาศัยเทคนิคหรือความสามารถมาก

4. ต้นพืชเจริญเติบโตเร็ว โดยใช้ระยะเวลาไม่นาน

5. พืชต้นใหม่ที่ได้จะมีลักษณะเหมือนต้นเดิมทุกประการ

เทคโนโลยีสารสนเทศหมายถึงอะไรเทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง

ตอบ เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology)มาจากการผสมคำระหว่างสารสนเทศ (Information)กับคำว่าเทคโนโลยี(Technology) เทคโนโลยี หมายถึง เป็นการนำเอาแนวความคิด หลักการ เทคนิค ความรู้ ระเบียบวิธี กระบวนการ ตลอดจนผลผลิตทางวิทยาศาสตร์ทั้งในด้านสิ่งประดิษฐ์และวิธีปฏิบัติมาประยุกต์ใช้ในระบบงานเพื่อช่วยให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในการทำงานให้ดียิ่งขึ้นและเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลของงานให้มีมากยิ่งขึ้น สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิตของมนุษย์ หรืออาจกล่าวได้ว่า สารสนเทศ เกิดจากการนำข้อมูล ผ่านระบบการประมวลผล คำนวณ วิเคราะห์และแปลความหมายเป็นข้อความที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ เทคโนโลยีสารสนเทศจึงหมายถึง การติดต่อสื่อสาร การส่งข้อมูลทุกรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็น ข้อความ ตัวเลข เสียง ภาพโดยผ่านสื่อต่างๆ รวมทั้งการนำเสนอด้วยคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในระบบเครือข่าย โดยผ่านระบบโทรคมนาคม

เทคโนโลยีสารสนเทศจึง หมายถึงเทคโนโลยีสารสนเทศ คือ เทคโนโลยีที่ใช้จัดการสารสนเทศ โดยใช้เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องในการจัดหา วิเคราะห์ ประมวล จัดการและจัดเก็บ การพิมพ์ การสร้างรายงาน การเรียกใช้หรือแลกเปลี่ยน และเผยแพร่สื่อสารข้อมูล ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ ไม่ว่าจะอยู่ในรูปแบบของรูป เสียง ตัวอักษร หรือภาพเคลื่อนไหว รวมไปถึงการนำสารสนเทศและข้อมูลไปปฏิบัติตามเนื้อหาของสารสนเทศนั้น เพื่อให้บรรลุเป้าหมายของผู้ใช้

ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ

1. ช่วยในการจัดระบบข่าวสารจำนวนมหาศาลของแต่ละวัน

2. เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตสารสนเทศ เช่น การคำนวณตัวเลขที่ยุ่งยากซับซ้อน การจัดเรียงลำดับสารสนเทศ ฯลฯ

3. ช่วยให้สามารถเก็บสารสนเทศไว้ในรูปที่สามารถเรียกใช้ได้ทุกครั้งอย่างสะดวก

4. ช่วยให้สามารถจัดระบบอัตโนมัติ เพื่อการจัดเก็บประมวลผล และเรียกใช้สารสนเทศูล

5. ช่วยในการเข้าถึงสารสนเทศได้อย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพมากขึ้น

6. ช่วยในการสื่อสารระหว่างกันได้อย่างสะดวกรวดเร็ว ลดอุปสรรคเกี่ยวกับเวลา และระยะทาง โดยการใช้ระบบโทรศัพท์

เทคโนโลยีสารสนเทศที่ใช้ในชีวิตประจำวัน

กระทู้: 4

เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน

« เมื่อ: สิงหาคม 12, 2008, 01:28:27 pm »

--------------------------------------------------------------------------------

ประโยชน์ของเทคโนโลยีสารสนเทศ

การกำเนิดของคอมพิวเตอร์เมื่อประมาณห้าสิบกว่าปีที่แล้ว เป็นก้าวสำคัญที่นำไปสู่ยุคสารสนเทศ ในช่วงแรกมีการนำเอาคอมพิวเตอร์มาใช้เป็นเครื่องคำนวณ แต่ต่อมาได้มีความพยายามพัฒนาให้คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์สำคัญสำหรับการจัดการข้อมูล เมื่อเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ได้ก้าวหน้ามากขึ้น ทำให้สามารถสร้างคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กลง แต่ประสิทธิภาพสูงขึ้น สภาพการใช้งานจึงใช้งานกันอย่างแพร่หลาย ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีต่อชีวิตความเป็นอยู่และสังคมจึงมีมาก มีการเรียนรู้และใช้สารสนเทศกันอย่างกว้างขวาง ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศโดยรวมกล่าวได้ดังนี้

1. การสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สภาพความเป็นอยู่ของสังคมเมือง มีการพัฒนาใช้ระบบสื่อสารโทรคมนาคม เพื่อติดต่อสื่อสารให้สะดวกขึ้น มีการประยุกต์มาใช้กับเครื่องอำนวยความสะดวกภายในบ้าน เช่น ใช้ควบคุมเครื่องปรับอากาศ ใช้ควมคุมระบบไฟฟ้าภายในบ้าน เป็นต้น

2. เสริมสร้างความเท่าเทียมในสังคมและการกระจายโอกาส เทคโนโลยีสารสนเทศทำให้เกิดการกระจายไปทั่วทุกหนแห่ง แม้แต่ถิ่นทุรกันดาร ทำให้มีการกระจายโอกาสการเรียนรู้ มีการใช้ระบบการเรียนการสอนทางไกล เสริมสร้างการเรียนรู้ เพราะปัจจุบันมีสื่อการศึกษาที่ทันสมัยมากขึ้นนอกจากหนังสือเรียนธรรมดาแล้ว ยังมี วีดีทัศน์ อินเตอร์เน็ต เป็นต้น ที่ช่วยเสริมสร้างการเรียนรู้ด้วยตนเองของผู้เรียน

3. สารสนเทศกับการเรียนการสอนในโรงเรียน การเรียนการสอนในโรงเรียนมีการนำคอมพิวเตอร์และเครื่องมือประกอบช่วยในการเรียนรู้ เช่น วีดีทัศน์ เครื่องฉายภาพ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน คอมพิวเตอร์ช่วยจัดการศึกษา จัดตารางสอน คำนวณระดับคะแนน หรืออย่างที่ครูเป๋งให้เราฝึกทำBlog ไงล่ะคะ ปัจจุบันมีการเรียนการสอนทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศในโรงเรียนจึงมากขึ้น

4.เทคโนโลยีสารสนเทศกับสิ่งแวดล้อม การจัดการทรัพยากรธรรมชาติหลายอย่างจำเป็นต้องใช้สารสนเทศ เช่น การดูแลรักษาป่า จำเป็นต้องใช้ข้อมูล มีการใช้ภาพถ่ายดาวเทียม การติดตามข้อมูลสภาพอากาศ การพยากรณ์อากาศ การจำลองรูปแบบสภาวะสิ่งแวดล้อมเพื่อปรับปรุงแก้ไข การเก็บรวมรวมข้อมูลคุณภาพน้ำในแม่น้ำต่าง ๆ การตรวจวัดมลภาวะ ตลอดจนการใช้ระบบการตรวจวัดระยะไกลมาช่วย ที่เรียกว่าโทรมาตร เป็นต้น

เทคโนโลยีสารสนเทศกับการป้องกันประเทศ กิจการทางด้านการทหารมีการใช้เทคโนโลยี อาวุธยุทโธปกรณ์สมัยใหม่ล้วนแต่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์และระบบควบคุม มีการใช้ระบบป้องกันภัย ระบบเฝ้าระวังที่มีคอมพิวเตอร์ควบคุมการทำงาน

5. การผลิตในอุตสาหกรรม และการพาณิชยกรรม การแข่งขันทางด้านการผลิตสินค้าอุตสาหกรรมจำเป็นต้องหาวิธีการในการผลิตให้ได้มาก ราคาถูกลงเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทมาก มีการใช้ข้อมูลข่าวสารเพื่อการบริหารและการจัดการ การดำเนินการและยังรวมไปถึงการให้บริการกับลูกค้า เพื่อให้ซื้อสินค้าได้สะดวกขึ้น

เทคโนโลยีสารสนเทศมีผลเกี่ยวข้องกับทุกเรื่องในชีวิตประจำวัน บทบาทเหล่านี้มีแนวโน้มที่สำคัญมากยิ่งขึ้น ด้วยเหตุนี้เยาวชนคนรุ่นใหม่จึงควรเรียนรู้ และเข้าใจเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อจะได้เป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศให้ก้าวหน้าและเกิดประโยชน์ต่อประเทศต่อไป

นายศรนิรันดร์ พันธุมาศ

1.การขยายพันธุ์พืชโดยวิธีต่อกิ่ง

การขยายพันธุ์โดยวิธีติดตาต่อกิ่ง (Propagation by grafting) โดย นายสนั่น ขำเลิศ

การติดตาต่อกิ่ง เป็นศิลปะของการเชื่อม ส่วนของต้นพืชเข้าด้วยกัน เพื่อที่จะให้ส่วนของพืชนั้นๆ ติดต่อกันและเจริญต่อไปเหมือนกับเป็นต้นพืชต้นเดียวกัน ส่วนของต้นพืชที่ต่ออยู่ทางส่วนฃ บนหรือที่ทำหน้าที่เป็นยอดของต้นพืชนั้น เรียกว่า กิ่งพันธุ์ดี (scion) และส่วนของพืชที่ต่ออยู่ทางส่วนล่างหรือที่ทำหน้าที่เป็นรากเรียกว่า ต้นตอ (stock or rootstock) จะเห็นได้ว่าในการขยายพันธุ์ด้วยวิธีการติดตาต่อกิ่ง ส่วนของต้นพืชที่เกี่ยวข้องก็คือต้นตอ และกิ่งพันธุ์ดี ด้วยเหตุนี้การศึกษาเกี่ยวกับต้นตและกิ่งพันธุ์ดีจึงเป็นเรื่องที่ควรทำเป็นอันดับแรกต้นตอ ในการขยายพันธุ์ด้วยวิธีการติดตาต่อกิ่ง การใช้ต้นตอที่ปฏิบัติกันอยู่ทั่วๆ ไปพอจะแบ่งออกได้เป็น ๒ ชนิด

๑. ต้นตอที่ได้จากการขยายพันธุ์ด้วยเมล็ดหมายถึงต้นพืชที่จะใช้เป็นต้นตอนั้นเพาะมาจากเมล็ด เมื่อต้นมีขนาดโตพอแล้วจึงนำมาใช้เป็นต้นตอสำหรับติดตาต่อกิ่งหรือทาบกิ่ง เรามักเรียกต้นตอชนิดนี้ว่า ต้นตอเพาะเมล็ด (seedling-rootstock)เนื่องจากต้นตอชนิดนี้เพาะมาจากเมล็ด อาจมีความผิดเพี้ยนหรือกลายพันธุ์ไปบ้าง จึงต้องมีการคัดเลือกต้นที่ไม่ตรงตามพันธุ์หรือผิดเพี้ยนไปจากลักษณะที่ต้องการออกเสีย ตลอดจนต้นที่อ่อนแอหรือมีลักษณะไม่เหมาะสมที่จะนำมาใช้เป็นต้นตอเช่น ลำต้นคดบิด หรือมีลักษณะของรอยต่อระหว่างต้นและราก เป็นแบบคอห่านซึ่งเกิดจากการวางเมล็ดเพาะผิดวิธี ถ้านำต้นพืชที่มีลักษณะดังกล่าวนี้ไปเป็นต้นตอแล้ว มักจะเกิดการหักโค่นตรงบริเวณที่ปเป็นคอห่านได้ง่าย ฉะนั้นจึงต้องคัดทิ้งเสีย เนื่องปจากต้นตอที่ขยายพันธุ์จากเมล็ดมีระบบรากที่หยั่งลึกสามารถจะยึดเกาะต้นได้แข็งแรง จึงได้รับความนิยมใช้เป็นต้นตอของไม้ยืนต้น เช่น มะม่วง ทุเรียน มะขาม เป็นต้น พืชพันธุ์ใดก็ตามที่จะนำมาใช้เป็นต้นตอนั้น ควรจะเป็นพันธุ์พืชที่หาเมล็ดได้ง่ายหรือมีเมล็ดมากด้วย

๒. ต้นตอที่ได้จากการตัดชำ การตอนหรือการแยกหน่อ มักเรียกต้นตอเช่นนี้ว่า ต้นตอตัดชำ(cutting stock) ข้อดีของต้นตอชนิดนี้ก็คือ เป็นต้นตอที่ตรงตามพันธุ์แน่นอน เหมาะที่จะใช้ในงานทดลองหรือใช้เพื่อวัตถุประสงค์บางอย่าง เช่น ใช้เป็นต้นตอ ทนโรค ทนแล้ง ทนแฉะ หรือทนสารบางอย่าง แต่เนื่องจากเป็นต้นตอที่มีระบบรากตื้น จึงไม่นิยมใช้กับไม้ยืนต้น แต่มักใช้กับไม้ดอกหรือไม้ประดับที่เป็นพุ่ม เช่น กุหลาบ ชบา ดอนย่า ฯลฯ และพืชพันธุ์ใดก็ตามที่จะนำมาใช้เป็นพันธุ์ต้นตอนั้น นอกจากจะมีคุณสมบัติพิเศษตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการแล้ว ควรจะมีคุณสมบัติในการเจริญเติบโตและการออกรากได้ดีด้วย

ต้นตอ เป็นปัจจัยสำคัญที่มีผลเกี่ยวกับความสำเร็จในการติดตาต่อกิ่ง การเลี้ยงดูต้นตอให้สมบูรณ์ และการเลือกขนาดของต้นตอให้พอเหมาะในการติดตาต่อกิ่งต้นพืชแต่ละชนิด จะช่วยให้ได้ผลดีขึ้นด้วย

กิ่งพันธุ์ดี คือ ส่วนของต้นพืชที่ทำหน้าที่เป็นส่วนยอดของต้นพืชที่ต่ออยู่ หรืออาจหมายถึงกิ่งพืชที่จะนำไปติดหรือต่อบนต้นตอก็ได้ ในการติดตาต่อกิ่งมีเรื่องที่เกี่ยวข้องกับกิ่งพันธุ์ดีที่ควรจะทราบ คือ

ก. การเลือกกี่พันธุ์ดี (selection of scion wood)

ข. การเก็บรักษากี่งพันธุ์ดี (storage of scion wood)

ค. การเตรียมกิ่งพันธุ์ดี

2. การปักชำ คือการใช้ส่วนต่างๆ ของพืช เช่น ราก ใบ หรือ ลำต้น ไปปักชำ และส่วนของพืชเหล่านี้จะเจริญงอกงามเป็นลำต้นต่อไป

การปักชำเป็นวิธีขยายพันธุ์พืชที่ดีวิธีหนึ่งซึ่งมีข้อดี ดังนี้

1. ประหยัดค่าใช้จ่าย

2. ขยายพันธุ์ได้ปริมาณมาก

3. ทำได้ง่ายโดยไม่ต้องอาศัยเทคนิคหรือความสามารถมาก

4. ต้นพืชเจริญเติบโตเร็ว โดยใช้ระยะเวลาไม่นาน

5. พืชต้นใหม่ที่ได้จะมีลักษณะเหมือนต้นเดิมทุกประการ

วัสดุที่ใช้ในการปักชำ

กระบะ ดิน ทราบ แกลบ ปุ๋ยคอก ขุยมะพร้าว ใบไม้ผุ

การปักชำสามารถทำได้หลายวิธี ดังนี้

1. การปักชำราก เป็นการเอารากของพืชมาปักชำ อาจปักลงไปในดิน ในทราย หรือในเถ้าแกลบก็ได้ เพื่อส่วนของรากนั้นงอกเป็นลำต้นต่อไป พืชที่ใช้รากปักชำ เช่น มันเทศ สน สาเก เข็มอินเดียเป็นต้น วิธีการชำรากทำได้ ดังนี้

1.1 ตัดรากไม้ออกเป็นท่อนๆ

1.2 วางรากบนดิน การปักชำรากไม่นิยมปักในแนวตั้ง แต่นิยมวางในแนวนอน หรือวางในแนวเฉียงเล็กน้อย

2. การปักชำใบ โดยทั่วไปแล้วใบจะแตกเป็นกิ่งไม่ได้ แต่มีพืชบางชนิดสามารถนำใบมาปักชำให้เจริญเติบโตเป็นต้นต่อไปได้ เช่น ลิ้นมังกร กุหลาบหิน คว่ำตายหงายเป็น เป็นต้น การปักชำใบมี 4 วิธี

วิธีที่ 1 การปักชำโดยใช้ใบ

ให้ นำใบที่ไม่ใช่ใบอ่อนมาตัดเป็นส่วนๆ หรือทั้งใบแล้วนำไปวางเป็นวัสดุ เช่น ทราย หรือดิน โดยให้ด้านบนของใบหงายขึ้น พืชที่นิยม เช่น คว่ำตายหงายเป็น กุหลาบหิน

วิธีที่ 2 การปักชำโดยใช้ก้านใบ

ให้ตัดก้านใบให้หลุดออกจากกิ่งแล้วนำไปปักชำก็จะเจริญเติบโตเป็นต้นใหม่ได้ เช่น กุหลาบหิน

วิธีที่ 3 การปักชำโดยใช้ก้านใบที่ส่วนของกิ่ง

ให้ เอาใบมา โดยเฉือนส่วนของกิ่งให้มีตาติดมาด้วย (มิใช่นำมาทั้งกิ่ง) แล้วนำไปปักชำ ส่วนตาที่ติดมากับกิ่งก็จะเจริญเติบโตเป็นต้นต่อไป วิธีนี้นิยมใช้กับ ฟิโลเดนดรอน ต้นยางอินเดีย

วิธีที่ 4 การใช้ใบติดกิ่งมาปักชำ

ให้ ตัดกิ่งที่จะนำมาปักชำ โดยกิ่งนั้นต้องมีตาเดียว และมีใบติดมาด้วยแล้วนำส่วนของกิ่งบางส่วนปักลงในดินให้ใบ และกิ่งส่วนหนึ่งโผล่ขึ้นมา เพียงเล็กน้อย พืชที่นิยมขยายพันธุ์แบบนี้ ได้แก่ ฟิโลเดนดรอน

การปักชำกิ่ง

เป็นวิธีที่นิยมกันมากและทำกัน มานานแล้ว เราไม่จำเป็นต้องพิถีพิถันกับวัสดุที่ใช้ในการปักชำมากนัก ปัจจุบันนิยมกัน แพร่หลายเพราะประหยัดค่าใช้จ่าย ใช้ระยะเวลาสั้น และได้ลักษณะพันธุ์เดิม การปักชำกิ่งแบ่งเป็น 3 ประเภท

1. การปักชำกิ่งประเภทที่มีเนื้ออวบน้ำ เช่น ฤาษีผสม กิ่งชนิดนี้จะอ่อน บอบบาง และช้ำง่าย ฉะนั้นจึงต้องการความประณีต ในการปฏิบัติ คือต้องระวังในเรื่องความชื้น แสง และอุณหภูมิ

2. การปักชำกิ่งที่มีความแข็งของเนื้อไม้ปานกลาง เช่น ว่านกวนอิม อายุของกิ่งประมาณ 3 - 6 เดือน ผิวเปลือกของกิ่งมี สีอมเขียว ยังไม่เป็นสีน้ำตาล กิ่งประเภทนี้มีเนื้อไม้อ่อนไม่แข็งแรงนัก ฉะนั้นจึงควรระมัดระวังเรื่องน้ำ อุณหภูมิ และแสงสว่างให้มาก เพราะกิ่งประเภทนี้จะเหี่ยวแห้งได้ง่าย

32. การปักชำไม้ที่มีอายุเกิน 1 ปีขึ้นไป วิธีนี้นิยมกันมาก การเลือกกิ่งไม้ที่จะนำมาปักชำ ควรเลือกกิ่งที่มีสีน้ำตาล ก่อนปักชำควร ปักกิ่งชำให้มีตาอย่างน้อย 2-3 ตา การตัดควรตัดเป็นท่อน ๆ ขนาด ยาว 6-8 เซนติเมตร การตัดท่อนปลายกิ่งให้ตัดเหนือข้อ ส่วนท่อนโคนให้ตัดต่ำกว่าข้อ โดยตัดให้เฉียง เราไม่ควรตัดตรงข้อพอดี เพราะจะทำให้กิ่งสูญเสียอาหารไป นอกจากนี้ บริเวณข้อยังมีเนื้อเยื่อ อัดตัวแน่นและแข็งแรง ช่วยป้องกันการระเหยของน้ำในกิ่งได้เป็นอย่างดี

การเตรียมกระบะชำ

ควร ทำกระบะ ขนาดกว้าง 50 เซนติเมตร ยาว 50 เซนติเมตร สูง 20 เซนติเมตรชั้นล่างวางอิฐหรือกรวด ชั้นบนใส่ทรายหยาบหรือเถ้าแกลบให้เหลือขอบกระบะไว้ 5 เซนติเมตร รดน้ำให้ชุ่มการปักชำกิ่ง หรือยอด ควรหาไม้สำหรับใช้ในการนำร่องก่อน ปักทำมุม 45 องศา แล้วจึงนำกิ่งที่จะปักชำใส่ลงไป ให้ส่วนโคนที่ตัดเป็นรูปเฉียงตรงรอยตัดคว่ำลง ให้ส่วนยอดโผล่พ้นวัสดุชำอย่างน้อย 1-2 ตา การดูแลกิ่งชำ รดน้ำกิ่งชำให้ชุ่ม เช้า เย็น ทุกวันจะช่วยให้กิ่งปักชำออกรากได้ดี เมื่อปักชำไปได้ประมาณ 3-4 สัปดาห์ รากจะงอก จึงย้ายไปปลูกในแปลง หรือในกระถางที่เตรียมไว้โดยใช้ช้อนปลูกแซะ หรือตักไปปลูก

3. การตอนกิ่งแบบทับกิ่ง ( Layering ) แบ่งออกเป็น 4 วิธีคือ

1. การตอนกิ่งแบบวิธีฝังยอด (Tip Layering ) เป็นการนำเอายอดอ่อนของกิ่งพันธุ์กลบหรือฝังลงไปในดิน โดยใช้เสียมขุดดินบริเวณโคนต้นแม่ให้เป็นหลุมลึกประมาณ 3-4 นิ้ว แล้วเอาปลายยอดสอดลงไปในหลุมกลบดินทับ กิ่งพันธุ์ดีที่ใช้ควรเป็นตายอดที่เจริญใหม่ พืชที่นิยมขยายพันธุ์โดยวิธีนี้ได้แก่ แบลคเบอรี่ และประทัดจีน

2. การตอนกิ่งแบบยอดโผล่ ( Simple Layering ) เป็นการโน้มกิ่งพันธุ์ดีลงสู่พื้นดิน ในลักษณะโค้งปลายให้ยอดโผล่ตั้งตรง ส่วนบริเวณที่โค้งให้กลบด้วยดิน หรือวัสดุเพาะชำหนาประมาณ 3-6 นิ้ว เพื่อช่วยให้เกิดรากและควรใช้ตะขอไม้ ไม้ง่าม หรือเหล็กโค้งยึดกิ่งให้อยู่กับที่ ส่วนปลายยอดให้ผูกไม้หลักยึดไว้ การช่วยให้กิ่งเกิดรากอาจทำได้หลายวิธีเช่น การบิดกิ่ง การใช้มีดปาดให้เกิดแผล กิ่งที่ใช้ตอนควรมีอายุไม่เกิน 1 ปี พืชที่นิยม ขยายพันธุ์ด้วยวิธีนี้คือ มะลิ

3. การตอนกิ่งแบบงูเลื้อย ( Compound Layering ) วิธีการตอนกิ่งแบบนี้คล้ายกับวิธีการตอนกิ่งแบบยอดโผล่ แตกต่างกันที่การกลบกิ่งพันธุ์เป็นตอนๆ คล้ายงูเลื้อย โดยปล่อยให้ยอดโผล่เหนือดิน นิยมทำรอยแผลบริเวณที่กลบดินเพื่อช่วยในการเกิดราก พืชที่นิยมขยายพันธุ์โดยวิธีนี้คือ องุ่น

4. การตอนกิ่งแบบขุดร่อง ( Trench Layering ) เป็นการตอนกิ่งพืชที่สามารถเอนกิ่งลงได้มากจนติดผิวดิน ที่มีร่องลึกประมาณ 2-3 นิ้ว แล้วใช้ดินกลบกิ่งและใช้ตะขอยึดกิ่งให้อยู่กับที่เพื่อให้เกิดราก พืชที่นิยมขยายพันธุ์ด้วยวิธีนี้คือ เชอรี่ แอปเปิ้ล

5. การตอนกิ่งแบบสุมโคน ( Mound layering ) เป็นการตอนพืชที่มีกิ่งแข็ง โน้มกิ่งลงดินได้ยากโดยตัดต้นพันธุ์ดีให้เหลือสั้นติดผิวดินในขณะที่พืชอยู่ในระยะพักตัว เมื่อตัดแล้วจะมีกิ่งอ่อนเกิดขึ้นกลบดินพูนโคนจนกิ่งอ่อนเกิดราก และสามารถแยกไปปลูกได้

2จงอธิบายเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ ดังนี้

2.1 เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง

ตอบ เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology)มาจากการผสมคำระหว่างสารสนเทศ (Information)กับคำว่าเทคโนโลยี(Technology) เทคโนโลยี หมายถึง เป็นการนำเอาแนวความคิด หลักการ เทคนิค ความรู้ ระเบียบวิธี กระบวนการ ตลอดจนผลผลิตทางวิทยาศาสตร์ทั้งในด้านสิ่งประดิษฐ์และวิธีปฏิบัติมาประยุกต์ใช้ในระบบงานเพื่อช่วยให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในการทำงานให้ดียิ่งขึ้นและเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลของงานให้มีมากยิ่งขึ้น สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิตของมนุษย์ หรืออาจกล่าวได้ว่า สารสนเทศ เกิดจากการนำข้อมูล ผ่านระบบการประมวลผล คำนวณ วิเคราะห์และแปลความหมายเป็นข้อความที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ เทคโนโลยีสารสนเทศจึงหมายถึง การติดต่อสื่อสาร การส่งข้อมูลทุกรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็น ข้อความ ตัวเลข เสียง ภาพโดยผ่านสื่อต่างๆ รวมทั้งการนำเสนอด้วยคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในระบบเครือข่าย โดยผ่านระบบโทรคมนาคม

เทคโนโลยีสารสนเทศจึง หมายถึงเทคโนโลยีสารสนเทศ คือ เทคโนโลยีที่ใช้จัดการสารสนเทศ โดยใช้เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องในการจัดหา วิเคราะห์ ประมวล จัดการและจัดเก็บ การพิมพ์ การสร้างรายงาน การเรียกใช้หรือแลกเปลี่ยน และเผยแพร่สื่อสารข้อมูล ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ ไม่ว่าจะอยู่ในรูปแบบของรูป เสียง ตัวอักษร หรือภาพเคลื่อนไหว รวมไปถึงการนำสารสนเทศและข้อมูลไปปฏิบัติตามเนื้อหาของสารสนเทศนั้น เพื่อให้บรรลุเป้าหมายของผู้ใช้

2.2. ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ

สารสนเทศ (Information) หมายถึง ข่าวสารที่ได้จากการนำข้อมูล มาคำนวณทางสถิติหรือประมวลผลอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งข่าวสารที่ได้ออกมานั้นจะอยู่ในรูปที่สามารถนำไปใช้งานได้ทันที สารสนเทศ (Information) หมายถึง ข่าวสารที่ได้จากการนำข้อมูล มาคำนวณทางสถิติหรือประมวลผลอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งข่าวสารที่ได้ออกมานั้นจะอยู่ในรูปที่สามารถนำไปใช้งานได้ทันที สารสนเทศ (Information) หมายถึง ข่าวสารที่ได้จากการนำข้อมูล มาคำนวณทางสถิติหรือประมวลผลอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งข่าวสารที่ได้ออกมานั้นจะอยู่ในรูปที่สามารถนำไปใช้งานได้ทันที

สารสนเทศ (Information) หมายถึง ข่าวสารที่ได้จากการนำข้อมูล มาคำนวณทางสถิติหรือประมวลผลอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งข่าวสารที่ได้ออกมานั้นจะอยู่ในรูปที่สามารถนำไปใช้งานได้ทันที

3. เทคโนโลยีสารสนเทศที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ได้แก่

ประโยชน์ของเทคโนโลยีสารสนเทศ

การกำเนิดของคอมพิวเตอร์เมื่อประมาณห้าสิบกว่าปีที่แล้ว เป็นก้าวสำคัญที่นำไปสู่ยุคสารสนเทศ ในช่วงแรกมีการนำเอาคอมพิวเตอร์มาใช้เป็นเครื่องคำนวณ แต่ต่อมาได้มีความพยายามพัฒนาให้คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์สำคัญสำหรับการจัดการข้อมูล เมื่อเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ได้ก้าวหน้ามากขึ้น ทำให้สามารถสร้างคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กลง แต่ประสิทธิภาพสูงขึ้น สภาพการใช้งานจึงใช้งานกันอย่างแพร่หลาย ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีต่อชีวิตความเป็นอยู่และสังคมจึงมีมาก มีการเรียนรู้และใช้สารสนเทศกันอย่างกว้างขวาง ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศโดยรวมกล่าวได้ดังนี้

1. การสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สภาพความเป็นอยู่ของสังคมเมือง มีการพัฒนาใช้ระบบสื่อสารโทรคมนาคม เพื่อติดต่อสื่อสารให้สะดวกขึ้น มีการประยุกต์มาใช้กับเครื่องอำนวยความสะดวกภายในบ้าน เช่น ใช้ควบคุมเครื่องปรับอากาศ ใช้ควมคุมระบบไฟฟ้าภายในบ้าน เป็นต้น

2. เสริมสร้างความเท่าเทียมในสังคมและการกระจายโอกาส เทคโนโลยีสารสนเทศทำให้เกิดการกระจายไปทั่วทุกหนแห่ง แม้แต่ถิ่นทุรกันดาร ทำให้มีการกระจายโอกาสการเรียนรู้ มีการใช้ระบบการเรียนการสอนทางไกล เสริมสร้างการเรียนรู้ เพราะปัจจุบันมีสื่อการศึกษาที่ทันสมัยมากขึ้นนอกจากหนังสือเรียนธรรมดาแล้ว ยังมี วีดีทัศน์ อินเตอร์เน็ต เป็นต้น ที่ช่วยเสริมสร้างการเรียนรู้ด้วยตนเองของผู้เรียน

3. สารสนเทศกับการเรียนการสอนในโรงเรียน การเรียนการสอนในโรงเรียนมีการนำคอมพิวเตอร์และเครื่องมือประกอบช่วยในการเรียนรู้ เช่น วีดีทัศน์ เครื่องฉายภาพ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน คอมพิวเตอร์ช่วยจัดการศึกษา จัดตารางสอน คำนวณระดับคะแนน หรืออย่างที่ครูเป๋งให้เราฝึกทำBlog ไงล่ะคะ ปัจจุบันมีการเรียนการสอนทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศในโรงเรียนจึงมากขึ้น

4.เทคโนโลยีสารสนเทศกับสิ่งแวดล้อม การจัดการทรัพยากรธรรมชาติหลายอย่างจำเป็นต้องใช้สารสนเทศ เช่น การดูแลรักษาป่า จำเป็นต้องใช้ข้อมูล มีการใช้ภาพถ่ายดาวเทียม การติดตามข้อมูลสภาพอากาศ การพยากรณ์อากาศ การจำลองรูปแบบสภาวะสิ่งแวดล้อมเพื่อปรับปรุงแก้ไข การเก็บรวมรวมข้อมูลคุณภาพน้ำในแม่น้ำต่าง ๆ การตรวจวัดมลภาวะ ตลอดจนการใช้ระบบการตรวจวัดระยะไกลมาช่วย ที่เรียกว่าโทรมาตร เป็นต้น

เทคโนโลยีสารสนเทศกับการป้องกันประเทศ กิจการทางด้านการทหารมีการใช้เทคโนโลยี อาวุธยุทโธปกรณ์สมัยใหม่ล้วนแต่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์และระบบควบคุม มีการใช้ระบบป้องกันภัย ระบบเฝ้าระวังที่มีคอมพิวเตอร์ควบคุมการทำงาน

5. การผลิตในอุตสาหกรรม และการพาณิชยกรรม การแข่งขันทางด้านการผลิตสินค้าอุตสาหกรรมจำเป็นต้องหาวิธีการในการผลิตให้ได้มาก ราคาถูกลงเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทมาก มีการใช้ข้อมูลข่าวสารเพื่อการบริหารและการจัดการ การดำเนินการและยังรวมไปถึงการให้บริการกับลูกค้า เพื่อให้ซื้อสินค้าได้สะดวกขึ้น

เทคโนโลยีสารสนเทศมีผลเกี่ยวข้องกับทุกเรื่องในชีวิตประจำวัน บทบาทเหล่านี้มีแนวโน้มที่สำคัญมากยิ่งขึ้น ด้วยเหตุนี้เยาวชนคนรุ่นใหม่จึงควรเรียนรู้ และเข้าใจเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อจะได้เป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศให้ก้าวหน้าและเกิดประโยชน์ต่อประเทศต่อไป

1. การต่อกิ่งเป็นวิธีการขยายพันธุ์พืชแบบไม่ใช้เพศด้วยวิธีการนำกิ่งพืชสอง ชนิดมาเชื่อมต่อกันให้เจริญเป็นต้นเดียวกันส่วนของพืชที่เจริญเป็นรากเรียกว่า ต้นตอ (rootstock หรือ stock) และส่วนที่นำมาต่ออยู่บนต้นตอเป็นส่วนที่เจริญ เป็นกิ่งก้าน ออกดอกติดผลต่อไป เรียกว่า กิ่งพันธุ์ดี (scion) ซึ่งเป็นส่วนของ กิ่งพืชที่มีตามากกว่าหนึ่งตาขึ้นไปมาเชื่อมต่อกับต้นตอความสำเร็จของการต่อกิ่ง จะเกิดขึ้นได้นั้นต้องมีการเชื่อมต่อ ระหว่างเนื้อเยื่อต้นตอและกิ่งพันธุ์ดี สามารถลำเลียงน้ำและอาหารผ่าน บริเวณรอยต่อ ได้เนื้อเยื่อบริเวณ รอยต่อ(graft union)นี้เกิดจากเนื้อเยื่อ ของต้นตอและกิ่งพันธุ์ดีมาเรียงตัว อยู่ด้วยกันโดยไม่เกิดการรวมตัวของเซลล์ระหว่างพืชทั้งสองชนิด

เนื้อเยื่อที่เกิดขึ้นถูกสร้างขึ้นมา สมานแผลเป็น เซลล์ parenchyma จำนวนมากประกอบกัน เป็นเนื้อเยื่อ callus เกิดขึ้นภายใน 2-3 วัน รอยแผลที่เกิดจาก การเฉือนกิ่งจะมีส่วนที่ตายไปและมีการสร้างสาร nicrotic เพื่อรักษาบาดแผล ส่วนมากสารเหล่านี้จะหายไป เมื่อเกิดการเชื่อมต่อกันดีแล้วหรือยังอยู่ในช่องว่างระหว่าง เซลล์ก็ได้อาจพบเป็นเซลล์ที่ตายและเยินจากเนื้อเยื่อ

การเกิดรอยต่อได้นั้นต้องวางให้เนื้อเยื่อแคมเบียมของต้นตอและกิ่งพันธุ์ดี อยู่แนบหรือใกล้กันมากที่สุดแล้วจะมีการสร้างเนื้อเยื่อแคลลัสใหม่เกิดขึ้น จากทั้งสองส่วนจนเต็มช่องว่างระหว่างกันเรียกว่า callus bridge ซึ่งจะมีการ พัฒนาไปเป็นเนื้อเยื่อเจริญ (vascular cambium) ภายใน 2-3 สัปดาห์และมี การสร้างท่อน้ำ (xylem) และท่ออาหาร (phloem) เชื่อมกันต่อไป การปรับสภาพแวดล้อมภายนอกให้เหมาะสมมีผลต่อความสำเร็จในการต่อกิ่งด้วย คือ อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการแบ่งเซลล์บริเวณรอยต่ออยู่ระหว่าง 12.8-32.0 องศาเซลเซียส เมื่อเกิดเนื้อเยื่อ callus ขึ้นต้องควบคุมความชื้นบริเวณรอยต่อให้เหมาะสมเนื่องจากเซลล์มีผนังบางและเต่งจึงแห้งตายได้ง่าย จำเป็นต้องพันพลาสติกหรือใช้ถุงพลาสติกคลุมทับ การป้องกันแผลไม่ให้มีการติดเชื้อที่จะทำให้เน่าตายได้เช่นกัน

นอกจากนั้นความสัมพันธ์ของระยะการเจริญเติบโตของตาบนกิ่งพันธุ์ดีจะต้องพอเหมาะกับการพัฒนาการของเนื้อเยื่อบริเวณรอยต่อด้วย กล่าวคือ ขั้นตอนการสร้างท่อน้ำท่ออาหาร ต้องเกิดขึ้นอย่างสมบูรณ์ก่อนที่จะมีใบใหม่เจริญจากตาของกิ่งพันธุ์ดี มิฉะนั้นจะเกิดการแห้งตายของตานั้นได้

การเข้ากันได้ (compatibility) ของพืชทั้งสองชนิดมีส่วนต่อความสำเร็จในการต่อกิ่งด้วย การเลือกใช้ต้นตอและกิ่งพันธุ์ที่มีความใกล้ชิดกันทางพฤกษศาสตร์จะต่อกันได้ดีและรอยต่อเจริญ เหมือนเป็นต้นเดียวกัน เช่น มะม่วงแต่ละพันธุ์จัดเป็นชนิด (species) เดียวกันจึงต่อกิ่งได้ง่าย แต่พืชบางชนิดสามารถเข้ากันได้ดีถึงแม้จะมีความแตกต่างกันมาก เช่น ส้มสามใบ (Poncitrus trifoliata) ต่อด้วยส้มเขียวหวาน (Citrus reticulata) มีพืชหลายคู่ที่สามารถต่อกันได้ในระยะแรก แต่เมื่อเวลาผ่านไปจะมีอาการของการเข้ากันไม่ได้ (incompatibility) เกิดรอยต่อแยกจากกันหรือมีการเติบโตผิดปกติ เช่น ต้นดอนย่าสีชมพูต่อบนดอนย่าสีขาวทักษะและประสบการณ์ของผู้ปฏิบัติงานมีส่วนสำคัญเช่นกัน นอกจากนั้นเครื่องมือที่ใช้ คือ มีดเฉือนกิ่ง ควรอยู่ในสภาพที่คมสามารถเฉือนกิ่งได้โดยไม่ทำให้เนื่อเยื่อชอกช้ำหรือเยินเสียหาย ผู้ปฏิบัติงานต้องทำงานอย่างรวดเร็วและรักษาความสะอาดของแผลบนกิ่งพันธุ์ดี และต้นตอด้วย การเลือกใช้วิธีการต่อกิ่งที่เหมาะสมกับพืชและระยะเวลาเป็นสิ่งสำคัญอีกประการหนึ่งที่ผู้ปฏิบัติงานต้องให้ความสำคัญด้วย กล่าวคือการเลือกใช้วิธีต่อกิ่งกับต้นพืชที่อยู่ในระยะการเจริญเติบโตสามารถลอกเปลือกได้ หรืออยู่ในระยะพักตัว นอกจากนั้นการดูแลเอาใจใส่อย่างใกล้ชิดภายหลังการปฏิบัติงานมีส่วนต่อความสำเร็จของงานด้วย

วิธีการต่อกิ่ง สามารถปฏิบัติได้หลายวิธี ขึ้นอยู่กับชนิดของพืช อายุและขนาดของพืชด้วย นอกจากนั้นยังเกี่ยวข้องกับวัตถุประสงค์ของการต่อกิ่งนั้นๆ ด้วย ในแต่ละวิธีที่จะกล่าวถึงต่อไปนั้นมีหลักพิจารณาในการเลือกปฏิบัติคือ การลอกเปลือกไม้ และการตัดยอดของต้นตอประโยชน์ของการต่อกิ่งและการนำไปใช้

1. เป็นวิธีการขยายพันธุ์พืชเพื่อเพิ่มจำนวนสายต้น (cultivar) ให้มีปริมาณมากโดยกิ่งพันธุ์ดีไม่ต้องใช้เวลานานในการออกดอกติดผล

2. เป็นทางเลือกในการขยายพันธุ์พืชที่ไม่สามารถใช้วิธีการอื่นได้ผลสำเร็จ เช่น การออกรากของกิ่งปักชำหรือกิ่งตอนไม่มาก

3. ต้องการใช้ประโยชน์จากความทนทานต่อสภาพแวดล้อมของระบบรากในต้นตอ เช่น รากของต้นตอที่เจริญเติบโตได้ในที่มีอุณหภูมิต่ำ น้ำท่วมขัง มีความต้านทานโรคและแมลงในดินได้ดี

4. สามารถนำกิ่งพันธุ์ ที่ช่วยในการผสมเกสรให้กับต้นพันธุ์ที่ต้องการเก็บผลผลิต เพื่อให้มีการผสมข้ามพันธุ์แล้วติดผลดีขึ้น หรือเป็นต้นที่แยกเพศ (dioecious plant)

5. ทำให้ในต้นหนึ่งต้นมีหลายพันธุ์อยู่ด้วยกันเพื่อเก็บผลผลิตต่างพันธุ์หรือความสวยงาม

6. ต้นพันธุ์บางชนิดมีการเจริญเติบโตได้ดีกว่าเมื่อต่ออยู่บนระบบรากของอีกพันธุ์หนึ่ง

7. ต้องการให้อิทธิพลของความแคระมีผลต่อต้นตอหรือกิ่งพันธุ์ดี ทำให้ขนาดทรงพุ่มเตี้ย

8. ช่วยให้พืชที่เข้ากันไม่ได้ (incompatibility) ประสานอยู่ด้วยกันได้ โดยใช้ interstock มาต่อกิ่งอยู่ระหว่างต้นตอและกิ่งพันธุ์ดี

9. ใช้สำหรับการซ่อมแซมความเสียหายที่เกิดขึ้นกับลำต้นที่เปลือกถูกแมลงหรือสัตว์กัดแทะหรือเครื่องมือในสวนทำให้เกิดความเสียหายจึงใช้การต่อกิ่งเชื่อมต่อส่วนเปลือกลำต้นให้เจริญเติบโตได้ตามปกติ เรียกว่า การต่อกิ่งแบบเชื่อมสะพาน

10. เพื่อการศึกษาโรคไวรัสที่สามารถถ่ายทอดจากกิ่งพันธุ์ที่สงสัยมีการติดโรคต่อกิ่งบนต้นที่อ่อนแอต่อโรค (indicator plant) ซึ่งสามารถแสดงอาการของโรคไวรัสได้ชัดเจน เป็นเทคนิคที่เรียกว่า virus indexing

2. การปักชำ คือการใช้ส่วนต่างๆ ของพืช เช่น ราก ใบ หรือ ลำต้น ไปปักชำ และส่วนของพืชเหล่านี้จะเจริญงอกงามเป็นลำต้นต่อไป

การปักชำเป็นวิธีขยายพันธุ์พืชที่ดีวิธีหนึ่งซึ่งมีข้อดี ดังนี้

1. ประหยัดค่าใช้จ่าย

2. ขยายพันธุ์ได้ปริมาณมาก

3. ทำได้ง่ายโดยไม่ต้องอาศัยเทคนิคหรือความสามารถมาก

4. ต้นพืชเจริญเติบโตเร็ว โดยใช้ระยะเวลาไม่นาน

5. พืชต้นใหม่ที่ได้จะมีลักษณะเหมือนต้นเดิมทุกประการ

วัสดุที่ใช้ในการปักชำ

กระบะ ดิน ทราบ แกลบ ปุ๋ยคอก ขุยมะพร้าว ใบไม้ผุ

การปักชำสามารถทำได้หลายวิธี ดังนี้

1. การปักชำราก เป็นการเอารากของพืชมาปักชำ อาจปักลงไปในดิน ในทราย หรือในเถ้าแกลบก็ได้ เพื่อส่วนของรากนั้นงอกเป็นลำต้นต่อไป พืชที่ใช้รากปักชำ เช่น มันเทศ สน สาเก เข็มอินเดียเป็นต้น วิธีการชำรากทำได้ ดังนี้

1.1 ตัดรากไม้ออกเป็นท่อนๆ

1.2 วางรากบนดิน การปักชำรากไม่นิยมปักในแนวตั้ง แต่นิยมวางในแนวนอน หรือวางในแนวเฉียงเล็กน้อย

2. การปักชำใบ โดยทั่วไปแล้วใบจะแตกเป็นกิ่งไม่ได้ แต่มีพืชบางชนิดสามารถนำใบมาปักชำให้เจริญเติบโตเป็นต้นต่อไปได้ เช่น ลิ้นมังกร กุหลาบหิน คว่ำตายหงายเป็น เป็นต้น การปักชำใบมี 4 วิธี

วิธีที่ 1 การปักชำโดยใช้ใบ

ให้ นำใบที่ไม่ใช่ใบอ่อนมาตัดเป็นส่วนๆ หรือทั้งใบแล้วนำไปวางเป็นวัสดุ เช่น ทราย หรือดิน โดยให้ด้านบนของใบหงายขึ้น พืชที่นิยม เช่น คว่ำตายหงายเป็น กุหลาบหิน

วิธีที่ 2 การปักชำโดยใช้ก้านใบ

ให้ตัดก้านใบให้หลุดออกจากกิ่งแล้วนำไปปักชำก็จะเจริญเติบโตเป็นต้นใหม่ได้ เช่น กุหลาบหิน

วิธีที่ 3 การปักชำโดยใช้ก้านใบที่ส่วนของกิ่ง

ให้ เอาใบมา โดยเฉือนส่วนของกิ่งให้มีตาติดมาด้วย (มิใช่นำมาทั้งกิ่ง) แล้วนำไปปักชำ ส่วนตาที่ติดมากับกิ่งก็จะเจริญเติบโตเป็นต้นต่อไป วิธีนี้นิยมใช้กับ ฟิโลเดนดรอน ต้นยางอินเดีย

วิธีที่ 4 การใช้ใบติดกิ่งมาปักชำ

ให้ ตัดกิ่งที่จะนำมาปักชำ โดยกิ่งนั้นต้องมีตาเดียว และมีใบติดมาด้วยแล้วนำส่วนของกิ่งบางส่วนปักลงในดินให้ใบ และกิ่งส่วนหนึ่งโผล่ขึ้นมา เพียงเล็กน้อย พืชที่นิยมขยายพันธุ์แบบนี้ ได้แก่ ฟิโลเดนดรอน

การปักชำกิ่ง

เป็นวิธีที่นิยมกันมากและทำกัน มานานแล้ว เราไม่จำเป็นต้องพิถีพิถันกับวัสดุที่ใช้ในการปักชำมากนัก ปัจจุบันนิยมกัน แพร่หลายเพราะประหยัดค่าใช้จ่าย ใช้ระยะเวลาสั้น และได้ลักษณะพันธุ์เดิม การปักชำกิ่งแบ่งเป็น 3 ประเภท

1. การปักชำกิ่งประเภทที่มีเนื้ออวบน้ำ เช่น ฤาษีผสม กิ่งชนิดนี้จะอ่อน บอบบาง และช้ำง่าย ฉะนั้นจึงต้องการความประณีต ในการปฏิบัติ คือต้องระวังในเรื่องความชื้น แสง และอุณหภูมิ

2. การปักชำกิ่งที่มีความแข็งของเนื้อไม้ปานกลาง เช่น ว่านกวนอิม อายุของกิ่งประมาณ 3 - 6 เดือน ผิวเปลือกของกิ่งมี สีอมเขียว ยังไม่เป็นสีน้ำตาล กิ่งประเภทนี้มีเนื้อไม้อ่อนไม่แข็งแรงนัก ฉะนั้นจึงควรระมัดระวังเรื่องน้ำ อุณหภูมิ และแสงสว่างให้มาก เพราะกิ่งประเภทนี้จะเหี่ยวแห้งได้ง่าย

2. การปักชำไม้ที่มีอายุเกิน 1 ปีขึ้นไป วิธีนี้นิยมกันมาก การเลือกกิ่งไม้ที่จะนำมาปักชำ ควรเลือกกิ่งที่มีสีน้ำตาล ก่อนปักชำควร ปักกิ่งชำให้มีตาอย่างน้อย 2-3 ตา การตัดควรตัดเป็นท่อน ๆ ขนาด ยาว 6-8 เซนติเมตร การตัดท่อนปลายกิ่งให้ตัดเหนือข้อ ส่วนท่อนโคนให้ตัดต่ำกว่าข้อ โดยตัดให้เฉียง เราไม่ควรตัดตรงข้อพอดี เพราะจะทำให้กิ่งสูญเสียอาหารไป นอกจากนี้ บริเวณข้อยังมีเนื้อเยื่อ อัดตัวแน่นและแข็งแรง ช่วยป้องกันการระเหยของน้ำในกิ่งได้เป็นอย่างดี

1.3 การขยายพันธุ์พืชโดยวิธีตอนกิ่ง

ทฤษฎีการตอนกิ่ง

ในการตอนกิ่งจะต้องทำให้เกิดแผลกับลำต้นหรือกิ่ง เพื่อตัดท่ออาหารและ เนื้อเยื่อเจริญของกิ่งนั้นให้ขาดจากกัน แต่ท่อน้ำยังคงอยู่เหมือนเดิม ทำให้สามารถส่งน้ำจากรากไปยอดได้ตามปกติ กิ่งและใบยอดจะยังคงสดอยู่เสมอ ซึ่งเป็นเหตุผลสำคัญของการที่พืชบางชนิดขยายพันธุ์ด้วยการตอนกิ่งได้เป็นผลสำเร็จมากกว่าการตัดชำท่ออาหารให้ขาดจากกัน ทำให้การขนส่งอาหารไม่เกิดขึ้น อาหารที่ส่งมาจากยอดจะไปสะสมตรงเหนือรอยแผลมาก ประกอบกับเนื้อเยื่อเจริญบริเวณแผลถูกตัดขาด เป็นการกระตุ้นเตือนให้เนื้อเยื่อเจริญส่วนนั้นเกิดการแบ่งเซลล์อย่างรวดเร็ว มีเซลล์ที่เกิดใหม่มากมาย (มีอาหารอุดมมบูรณ์จากการสะสมเหนือรอยแผล) จะมีเซลล์ส่วนหนึ่งที่พัฒนาไปเป็นราก ทำหน้าที่ดูดน้ำและธาตุอาหาร

พืชแต่ละชนิดมีความยากง่ายในการที่เนื้อเยื่อเจริญจะพัฒนาไปเป็นราก แตกต่างกัน และการจัดสภาพแวดล้อมให้กับเนื้อเยื่อเจริญที่จะเจริญพัฒนาไปเป็นรากได้ ก็ต้องมีความเหมาะสม โดยเฉพาะเกี่ยวกับอุณหภูมิ ความชื้น และบางครั้งอาจจำเป็นต้องใช้สารควบคุมการเจริญเติบโต

ข้อดีข้อจำกัดของการตอนกิ่ง

ข้อดี คือทำได้ง่าย ประสบผลสำเร็จมากกว่าการปักชำ และได้ต้นกล้าขนาด ใหญ่ ทำให้ได้ผลผลิตเร็ว ไม่กลายพันธุ์ ทรงต้นไม่สูงนัก

ข้อจำกัด คือ

2.1 ไม่มีรากแก้ว ทำให้ไม่สามารถ ทนต่อลมแรง ๆ โค่นล้มได้ง่าย

2.2 กิ่งตอนมีขนาดใหญ่กว่ากิ่งชำ การดูแลรักษาหลังตอนยากกว่ากิ่งตัดชำ

การตอนแบบควั่นกิ่ง

เป็นวิธีที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย ทำได้ง่ายและสะดวก มีขั้นตอนดังนี้

1.1 เลือกกิ่งที่แข็งแรง สมบูรณ์ ไม่เป็นโรคและแมลง

เป็นกิ่งที่อยู่ทางด้านนอกของทรงพุ่ม ได้รับแสงแดดเต็มที่ ถ้าเป็นสวนเพื่อการขยายพันธุ์อย่างเดียวจะเลือกตอนเกือบทุกกิ่ง เหลือไว้บางกิ่งเพื่อเป็นพี่เลี้ยงต้นหลังจากตัดกิ่งตอนออกไป

1.2 การควั่นกิ่ง

สำหรับไม้ผล ควรเลือกกิ่งยาวประมาณ 30-50 เซนติเมตร ส่วนไม้ประดับอาจสั้นกว่านี้ ขึ้นอยู่กับจำนวนต้นที่ต้องการและชนิดของพืช ไม่ควรให้กิ่งมีพุ่มขนาดใหญ่มากนักเพราะจะทำให้เกิดการเหี่ยวแห้งในระยะชำเนื่องจากมีจำนวนใบไม่สมดุลกับจำนวนราก ความยาวของรอยควั่นเท่ากับ 1-2 เท่าของเส้นรอบวงของกิ่ง หรือดูจากความสามารถในการออกราก พืชที่ออกรากง่ายรอยควั่นจะสั้น (ประมาณ 1 เท่าของเส้นรอบวง)ถ้าเป็นพืชที่ออกรากยากรอยควั่นจะห่างประมาณ 1.5-2 เท่าของเส้นรอบวงของกิ่งนั้น คุณบุญชอบ โพธิ์รักษา แนะนำว่า การตอนฝรั่งควรจะควั่นห่างเพียง ½ เซนติเมตร ปล่อยให้แห้งสักครู่จึงค่อยหุ้มขุยมะพร้าว (มีการเสริมด้วยไม้ท่อนเล็ก ๆ ก่อนหุ้มขุยมะพร้าวเพื่อป้องกันกิ่งหัก)

1.3 การขูดเยื่อเจริญ (เมือกลื่น ๆ อยู่ระหว่างส่วนของเปลือกกับเนื้อไม้)

พืชแต่ละชนิดต้องการการขูดเยื่อเจริญต่างกัน ควรจะสังเกตว่าพืชใดต้องขูดเยื่อเจริญมากน้อยเท่าใด พืชบางชนิดไม่ต้องขูดเยื่อเจริญ เช่น ฝรั่ง สนแผง ถ้าขูดแล้วกิ่งมักจะแห้งตายเนื่องจากท่อน้ำถูกทำลาย พืชบางชนิดอาจขูดเยื่อเจริญแล้วหุ้มตามได้เลย (พืชทั่วไป) แต่บางชนิดต้องควั่นทิ้งไว้ให้เยื่อเจริญแห้งประมาณ 1 สัปดาห์ จึงจะหุ้มด้วยขุยมะพร้าว เช่น ละมุด

1.4 การหุ้มรอยควั่น

ปัจจุบันนิยมใช้ถุงพลาสติกขนาดเล็กบรรจุขุยมะพร้าว รัดปากถุงให้แน่น ใช้มีดผ่าถุงหุ้มรอยควั่นให้มิด มัดให้แน่น อย่าให้กระเปาะขุยมะพร้าวหมุนหรือขยับได้ เพราะจะทำให้รากที่งอกหักได้ หุ้มทับด้วยกระดาษเพื่อช่วยลดอุษหภูมิและแสงในขุยมะพร้าว ซึ่งจะทำให้การเดินของรากดีขึ้น บางท่านนิยมหุ้มรอยควั่นด้วยดินเหนียว ก่อนหุ้มด้วยกาบมะพร้าวแช่น้ำทุบให้นิ่ม แล้วหุ้มทับด้วยใบตองแห้งหรือผ้าพลาสติก (ไม่นิยมทำในทางการค้า เนื่องจากต้องใช้เวลา) แต่บางสวนจะผ่าตุ้มมะพร้าวแล้วป้ายดินด้านในเล็กน้อยแทนการหุ้มด้วย

1.5 การดูแลรักษา

คอยดูแลรดน้ำอยู่เสมออย่าให้กระเปาะแห้ง ถ้าขุยมะพร้าวชื้นพอ รัดปากถุงให้แน่นจะไม่ต้องรดน้ำอีกเลย พร้อมกันนี้ต้องระวังไม่ให้มดมากัดทำลายด้วย

1.6 การตัดกิ่งตอนตัดเมื่อรากแก่

เมื่อรากแทงทะลุขุยมะพร้าวออกมา ปลายรากเริ่มมีสีน้ำตาล และกิ่งตอนมีใบแก่ทั้งหมด จึงตัดจากต้นแม่ใต้กระเปาะตอนไปชำ

การตอนแบบกรีดกิ่ง นิยมใช้กับกิ่งที่มีแก่นเล็ก หรือกิ่งที่เปราะหักง่าย มีขั้นตอนการปฏิบัติเช่นเดียวกับการตอนแบบควั่นกิ่ง ต่างกันตรงรอยแผลจะใช้มีดกรีดเปลือกยาวประมาณ 1 นิ้ว 3-4 รอย

การตอนกิ่งแบบปาดกิ่ง มีวิธีปฏิบัติเช่นเดียวกับการตอนแบบกรีดกิ่ง ต่างกันตรงรอยแผล ที่จะทำให้เกิดแผลโดยใช้มีดปาดเฉียงให้ลึกเข้าไปในเนื้อไม้เล็กน้อย ใช้เศษวัสดุ เช่น ไม้จิ้มฟัน ลวดฟิวส์ หรือก้านไม้ขีดขัดรอยแผลไว้ให้เผยอออกมาเป็นลิ้นป้องกันไม่ให้รอยแผลเชื่อมติดกันเท่าใด บริเวณที่สัมผัสดินควรจะยึดกิ่งให้ติดกับดินด้วยไม้ค้ำหรือลวดตัวยู บริเวณที่สัมผัสดินจะงอกรากออกมาบริเวณข้อและแตกตาบริเวณตา หลังจากยอดและรากสมบูรณ์ดีแล้ว จึงตัดให้ขาดจากกิ่งเดิม นำไปแยกปลูกต่อไป นิยมใช้กับต้นมะลิ ประทัดจีน สตรอเบอรี่ เป็นต้น

การตอนแบบกรีดกิ่งและปาดกิ่ง นิยมใช้ในพืชที่มีลำต้นเปราะ เช่น ชวนชม เชอรี่ เป็นต้น

การตอนกิ่งแบบโน้มกิ่ง

นิยมใช้กับกิ่งไม้เลื้อย เช่น มะลิ

ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการตอนกิ่ง

บางครั้งกิ่งตอนเกิดการเหี่ยวแห้ง ตอนแล้วไม่ออกราก มีปัจจัยที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้

1. การเลือกกิ่ง

ควรเลือกกิ่งเพสลาด มีสีน้ำตาล ไม่แก่หรืออ่อนเกินไป ใบยอดควรจะพ้นระยะใบอ่อนเปลือกล่อน ถ้ากิ่งแก่ไปจะออกรากยากและน้อย นอกจากนั้น กิ่งแก่มักจะเป็นกิ่งขนาดใหญ่ เมื่อออกรากแล้วมักจะมีปัญหาในการชำ เพราะขนาดของต้นใหญ่ มีรากน้อย ทำให้ใบกับรากไม่สมดุลกัน ใบจะเหี่ยวเนื่องจากขาดน้ำ กิ่งที่อยู่รอบในทรงพุ่มก็ไม่ควรตอน เพราะจะออกรากช้าและน้อย บางครั้งจะไม่ออกรากเลย นอกจากนั้นควรจะพิจารณาถึง

1.1 ขนาดของกิ่ง

ควรมีขนาดตั้งแต่ขนาดดินสอดำถึงขนาดหัวแม่มือ

1.2 ชนิดของกิ่ง

กิ่งกระโดงเหมาะที่สุด เพราะจะออกรากได้รอบด้าน ถ้าเป็นกิ่งนอกรากจะออกทางด้านบนของกิ่งแล้วห้อยลงตามแรงดึงดูดของโลก ทำให้ได้รากน้อยและรากโตช้า ถ้าจำเป็นต้องเลือกกิ่งนอนควรค้ำหรือโยงให้กิ่งตั้งตรงก่อนแล้วจึงตอน โดยทำไม้หลักไว้กลางพุ่มสำหรับผูกเชือกโยงกิ่งตอนทั้งหลายให้ตั้งขึ้น

2. ฤดูกาล

ควรตอนกิ่งในช่วงฤดูฝนซึ่งเป็นระยะที่พืชกำลังเจริญเติบโต ถ้าตอนกิ่งในฤดูร้อนต้องรดน้ำกระเปาะหุ้มให้ชื้นอยู่เสมอ สำหรับฤดูหนาวไม่แนะนำให้ตอน โดยทั่วไปชาวสวนจะนิยมตอนในฤดูแล้ง เนื่องจากกระเปาะหุ้มจะไม่แฉะซึ่งเป็นสาเหตุให้รากไม่เดิน

3. การใช้ฮอร์โมนเร่งราก

ปัจจุบันเป็นที่ยอมรับกันว่า ฮอร์โมนเร่งรากจะช่วยให้การเกิดรากของกิ่งตอนเร็วขึ้น โดยทาฮอร์โมนเร่งรากบริเวณเหนือรอยควั่น (บริเวณที่จะออกราก) ระวังอย่าทาถึงได้รอยควั่น บริเวณนี้จะเกิดรากเร็วกว่าบริเวณเหนือรอยควั่น เมื่อเห็นรากโผล่ออกมาจากตุ้ม หากตัดไปชำมักจะตาย เนื่องจากไม่สามารถส่งอาหารจากยอดมารากได้ (ท่ออาหารถูกตัดขาด) และพบว่าในระยะนี้รากบริเวณเหนือรอยควั่นมักจะยังเจริญไม่พอด้วย

การตัดและการชำกิ่งตอน

การตัดกิ่งตอนควรจะพิจารณาจากจำนวนรากที่สังเกตเห็นได้ โดยมองผ่านผ้าพลาสติกที่หุ้ม (ควรใช้พลาสติกสีขาวใส) ควรจะมีรากมากพอ ปลายรากมีสีน้ำตาลแก่ เมื่อตัดกิ่งตอนแล้วควรจะมีการตัดแต่งกิ่ง เนื่องจากกิ่งตอนย่อมมีระบบรากน้อยกว่าทางส่วนยอด ดังนั้น ถ้าไม่เอาใจใส่เป็นพิเศษจะไม่สามารถที่จะพยุงต้นไว้ได้ และจะเกิดการคายน้ำมาก ดังนั้นควรปฏิบัติดังนี้

1. ตัดแต่งกิ่งให้สมดุลกับราก

2. ทำการปลูกในภาชนะที่พอเหมาะกับขนาดของต้นและราก มีการค้ำยันด้วยไม้กันไม่ให้กิ่งชำโยก

3. นำกิ่งตอนมาไว้ในที่ชื้นและเย็น รดน้ำสม่ำเสมอ จนกิ่งตอนตั้งตัวดีแล้วจึงย้ายปลูก

ข้อพิจารณาในการตอน

1. ในกรณีที่ต้องการกิ่งตอนขนาดใหญ่ ควรจะมีการเพิ่มขนาดของตุ้ม โดยการหุ้มขุยมะพร้าวทับตุ้มเดิมอีกครั้งหนึ่ง หรือใช้ตุ้มครั้งแรกให้มีขนาดใหญ่ขึ้นอีกนิด ทั้งนี้ ต้องระวังปัญหาตุ้มใหญ่เกินไป อาจทำให้กิ่งหักได้

2. ในพืชบางชนิดกิ่งมีขนาดค่อนข้างเล็ก กิ่งเปราะหักง่ายการตอนควรจะมีการดามด้วยไม้เพื่อป้องกันไม่ให้กิ่งหัก

3. การหุ้มตุ้มตอนด้วยกระดาษเพื่อกรองแสงไม่ให้ตุ้มมีอุณหภูมิสูงเกินไป หากขุยมะพร้าวมีความชื้นสูงร่วมด้วย จะเกิดอันตรายกับรากได้ เพื่อความปลอดภัยจึงควรจะหุ้มตุ้มด้วยกระดาษอีกชั้นหนึ่ง ซึ่งมีประโยชน์อีกประการคือ ทำให้รากเดินดีขึ้น (ภายในถุงขุยมะพร้าวจะมืด)

เทคโนโลยีสารสนเทศหมายถึง อุปกรณ์หรือเครื่องมือที่เกี่ยวข้องกับการรวบรวมประมวล เก็บรักษา และเผยแพร่ข้อมูลและสารสนเทศโดยรวมทั้งฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ฐานข้อมูล และการสื่อสาร โทรคมนาคม ระบบสารสนเทศสร้างขึ้นมาเพื่อจุดมุ่งหมายหลายประการจุดมุ่งหมายพื้นฐานประการหนึ่ง คือ การประมวลข้อมูล (Data) ให้เป็นสารสนเทศ (Information) และนำไปสู่ความรู้ (Knowledge) ที่ช่วยแก้ปัญหาในการดำเนินงาน

ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ

1. ช่วยในการจัดระบบข่าวสารจำนวนมหาศาลของแต่ละวัน

2. เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตสารสนเทศ เช่น การคำนวณตัวเลขที่ยุ่งยากซับซ้อน การจัดเรียงลำดับสารสนเทศ ฯลฯ

3. ช่วยให้สามารถเก็บสารสนเทศไว้ในรูปที่สามารถเรียกใช้ได้ทุกครั้งอย่างสะดวก

4. ช่วยให้สามารถจัดระบบอัตโนมัติ เพื่อการจัดเก็บประมวลผล และเรียกใช้สารสนเทศูล

5. ช่วยในการเข้าถึงสารสนเทศได้อย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพมากขึ้น

6. ช่วยในการสื่อสารระหว่างกันได้อย่างสะดวกรวดเร็ว ลดอุปสรรคเกี่ยวกับเวลา และระยะทาง โดยการใช้ระบบโทรศัพท์ และอื่นๆ

ประโยชน์ของเทคโนโลยีสารสนเทศ

การกำเนิดของคอมพิวเตอร์เมื่อประมาณห้าสิบกว่าปีที่แล้ว เป็นก้าวสำคัญที่นำไปสู่ยุคสารสนเทศ ในช่วงแรกมีการนำเอาคอมพิวเตอร์มาใช้เป็นเครื่องคำนวณ แต่ต่อมาได้มีความพยายามพัฒนาให้คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์สำคัญสำหรับการจัดการข้อมูล เมื่อเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ได้ก้าวหน้ามากขึ้น ทำให้สามารถสร้างคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กลง แต่ประสิทธิภาพสูงขึ้น สภาพการใช้งานจึงใช้งานกันอย่างแพร่หลาย ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีต่อชีวิตความเป็นอยู่และสังคมจึงมีมาก มีการเรียนรู้และใช้สารสนเทศกันอย่างกว้างขวาง ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศโดยรวมกล่าวได้ดังนี้

1. การสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สภาพความเป็นอยู่ของสังคมเมือง มีการพัฒนาใช้ระบบสื่อสารโทรคมนาคม เพื่อติดต่อสื่อสารให้สะดวกขึ้น มีการประยุกต์มาใช้กับเครื่องอำนวยความสะดวกภายในบ้าน เช่น ใช้ควบคุมเครื่องปรับอากาศ ใช้ควมคุมระบบไฟฟ้าภายในบ้าน เป็นต้น

2. เสริมสร้างความเท่าเทียมในสังคมและการกระจายโอกาส เทคโนโลยีสารสนเทศทำให้เกิดการกระจายไปทั่วทุกหนแห่ง แม้แต่ถิ่นทุรกันดาร ทำให้มีการกระจายโอกาสการเรียนรู้ มีการใช้ระบบการเรียนการสอนทางไกล เสริมสร้างการเรียนรู้ เพราะปัจจุบันมีสื่อการศึกษาที่ทันสมัยมากขึ้นนอกจากหนังสือเรียนธรรมดาแล้ว ยังมี วีดีทัศน์ อินเตอร์เน็ต เป็นต้น ที่ช่วยเสริมสร้างการเรียนรู้ด้วยตนเองของผู้เรียน

3. สารสนเทศกับการเรียนการสอนในโรงเรียน การเรียนการสอนในโรงเรียนมีการนำคอมพิวเตอร์และเครื่องมือประกอบช่วยในการเรียนรู้ เช่น วีดีทัศน์ เครื่องฉายภาพ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน คอมพิวเตอร์ช่วยจัดการศึกษา จัดตารางสอน คำนวณระดับคะแนน หรืออย่างที่ครูเป๋งให้เราฝึกทำBlog ไงล่ะคะ ปัจจุบันมีการเรียนการสอนทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศในโรงเรียนจึงมากขึ้น

4.เทคโนโลยีสารสนเทศกับสิ่งแวดล้อม การจัดการทรัพยากรธรรมชาติหลายอย่างจำเป็นต้องใช้สารสนเทศ เช่น การดูแลรักษาป่า จำเป็นต้องใช้ข้อมูล มีการใช้ภาพถ่ายดาวเทียม การติดตามข้อมูลสภาพอากาศ การพยากรณ์อากาศ การจำลองรูปแบบสภาวะสิ่งแวดล้อมเพื่อปรับปรุงแก้ไข การเก็บรวมรวมข้อมูลคุณภาพน้ำในแม่น้ำต่าง ๆ การตรวจวัดมลภาวะ ตลอดจนการใช้ระบบการตรวจวัดระยะไกลมาช่วย ที่เรียกว่าโทรมาตร เป็นต้น

เทคโนโลยีสารสนเทศกับการป้องกันประเทศ กิจการทางด้านการทหารมีการใช้เทคโนโลยี อาวุธยุทโธปกรณ์สมัยใหม่ล้วนแต่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์และระบบควบคุม มีการใช้ระบบป้องกันภัย ระบบเฝ้าระวังที่มีคอมพิวเตอร์ควบคุมการทำงาน

น.ส.น้ำฝน ถึงปัชชา เลขที่21ม.3/1

1.การขยายพันธุ์โดยวิธีติดตาต่อกิ่ง (Propagation by grafting) โดย นายสนั่น ขำเลิศ

การติดตาต่อกิ่ง เป็นศิลปะของการเชื่อม ส่วนของต้นพืชเข้าด้วยกัน เพื่อที่จะให้ส่วนของพืชนั้นๆ ติดต่อกันและเจริญต่อไปเหมือนกับเป็นต้นพืชต้นเดียวกัน ส่วนของต้นพืชที่ต่ออยู่ทางส่วนฃ บนหรือที่ทำหน้าที่เป็นยอดของต้นพืชนั้น เรียกว่า กิ่งพันธุ์ดี (scion)

๑. ต้นตอที่ได้จากการขยายพันธุ์ด้วยเมล็ดหมายถึงต้นพืชที่จะใช้เป็นต้นตอนั้นเพาะมาจากเมล็ด เมื่อต้นมีขนาดโตพอแล้วจึงนำมาใช้เป็นต้นตอสำหรับติดตาต่อกิ่งหรือทาบกิ่ง เรามักเรียกต้นตอชนิดนี้ว่า ต้นตอเพาะเมล็ด (seedling-rootstock)เนื่องจากต้นตอชนิดนี้เพาะมาจากเมล็ด อาจมีความผิดเพี้ยนหรือกลายพันธุ์ไปบ้าง จึงต้องมีการคัดเลือกต้นที่ไม่ตรงตามพันธุ์หรือผิดเพี้ยน

๒. ต้นตอที่ได้จากการตัดชำ การตอนหรือการแยกหน่อ มักเรียกต้นตอเช่นนี้ว่า ต้นตอตัดชำ(cutting stock) ข้อดีของต้นตอชนิดนี้ก็คือ เป็นต้นตอที่ตรงตามพันธุ์แน่นอน เหมาะที่จะใช้ในงานทดลองหรือใช้เพื่อวัตถุประสงค์บางอย่าง เช่น ใช้เป็นต้นตอ ทนโรค ทนแล้ง ทนแฉะ หรือทนสารบางอย่าง ไปจากลักษณะที่ต้องการออกเสีย2.ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ

เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology: IT) หรือเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication Technologies: ICTs) ก็คือ เทคโนโลยีสองด้านหลัก ๆ ที่ประกอบด้วยเทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์ และ เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคมที่ผนวกเข้าด้วยกัน เพื่อใช้ในกระบวนการจัดหา จัดเก็บ สร้าง และเผยแพร่สารสนเทศในรูปต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นเสียง ภาพ ภาพเคลื่อนไหว ข้อความหรือตัวอักษร และตัวเลข เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ความถูกต้อง ความแม่นยำ และความรวดเร็วให้ทันต่อการนำไปใช้ประโยชน์

3. การตอนกิ่ง เป็นวิธีการขยายพันธุ์พืชที่ใช้กันมานานและเป็นที่รู้จักกันดีในหมู่ชาวสวนทั่วๆไป วิธีการตอนกิ่งที่เราใช้กันอยู่ทุกวันนี้เป็นวิธีการที่ได้นำมาจากประเทศจีน แต่ได้ดัดแปลงไปบ้างเพื่อความสะดวกในการปฏิบัติ ในยุโรปและอเมริกาก็มีวิธีขยายพันธุ์พืชด้วยการตอนกิ่งเช่นเดียวกัน แต่วิธีการในการตอนกิ่งผิดไปจากวิธีที่รู้จักกันดีในบ้านเราและเรามักเรียกวิธีการตอนกิ่งแบบยุโรปว่า "การ2.ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ

เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology: IT) หรือเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication Technologies: ICTs) ก็คือ เทคโนโลยีสองด้านหลัก ๆ ที่ประกอบด้วยเทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์ และ เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคมที่ผนวกเข้าด้วยกัน เพื่อใช้ในกระบวนการจัดหา จัดเก็บ สร้าง และเผยแพร่สารสนเทศในรูปต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นเสียง ภาพ ภาพเคลื่อนไหว ข้อความหรือตัวอักษร และตัวเลข เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ความถูกต้อง ความแม่นยำ และความรวดเร็วให้ทันต่อการนำไปใช้ประโยชน์

นางสาว สายมร ใจภักดี เลขที่ 37 นางสาว เพ็ณนภา ประทีป เลขที่29 นางสาว รัชนีกร ทิพประพันธ์ เลขที่ 23

การขยายพันธุ์โดยวิธีติดตาต่อกิ่ง (Propagation by grafting) โดย นายสนั่น ขำเลิศ

การติดตาต่อกิ่ง เป็นศิลปะของการเชื่อม ส่วนของต้นพืชเข้าด้วยกัน เพื่อที่จะให้ส่วนของพืชนั้นๆ ติดต่อกันและเจริญต่อไปเหมือนกับเป็นต้นพืชต้นเดียวกัน ส่วนของต้นพืชที่ต่ออยู่ทางส่วนฃ บนหรือที่ทำหน้าที่เป็นยอดของต้นพืชนั้น เรียกว่า กิ่งพันธุ์ดี (scion)

๑. ต้นตอที่ได้จากการขยายพันธุ์ด้วยเมล็ดหมายถึงต้นพืชที่จะใช้เป็นต้นตอนั้นเพาะมาจากเมล็ด เมื่อต้นมีขนาดโตพอแล้วจึงนำมาใช้เป็นต้นตอสำหรับติดตาต่อกิ่งหรือทาบกิ่ง เรามักเรียกต้นตอชนิดนี้ว่า ต้นตอเพาะเมล็ด (seedling-rootstock)เนื่องจากต้นตอชนิดนี้เพาะมาจากเมล็ด อาจมีความผิดเพี้ยนหรือกลายพันธุ์ไปบ้าง จึงต้องมีการคัดเลือกต้นที่ไม่ตรงตามพันธุ์หรือผิดเพี้ยน

๒. ต้นตอที่ได้จากการตัดชำ การตอนหรือการแยกหน่อ มักเรียกต้นตอเช่นนี้ว่า ต้นตอตัดชำ(cutting stock) ข้อดีของต้นตอชนิดนี้ก็คือ เป็นต้นตอที่ตรงตามพันธุ์แน่นอน เหมาะที่จะใช้ในงานทดลองหรือใช้เพื่อวัตถุประสงค์บางอย่าง เช่น ใช้เป็นต้นตอ ทนโรค ทนแล้ง ทนแฉะ หรือทนสารบางอย่าง ไปจากลักษณะที่ต้องการออกเสีย2.ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ

เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology: IT) หรือเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication Technologies: ICTs) ก็คือ เทคโนโลยีสองด้านหลัก ๆ ที่ประกอบด้วยเทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์ และ เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคมที่ผนวกเข้าด้วยกัน เพื่อใช้ในกระบวนการจัดหา จัดเก็บ สร้าง และเผยแพร่สารสนเทศในรูปต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นเสียง ภาพ ภาพเคลื่อนไหว ข้อความหรือตัวอักษร และตัวเลข เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ความถูกต้อง ความแม่นยำ และความรวดเร็วให้ทันต่อการนำไปใช้ประโยชน์

3. การตอนกิ่ง เป็นวิธีการขยายพันธุ์พืชที่ใช้กันมานานและเป็นที่รู้จักกันดีในหมู่ชาวสวนทั่วๆไป วิธีการตอนกิ่งที่เราใช้กันอยู่ทุกวันนี้เป็นวิธีการที่ได้นำมาจากประเทศจีน แต่ได้ดัดแปลงไปบ้างเพื่อความสะดวกในการปฏิบัติ ในยุโรปและอเมริกาก็มีวิธีขยายพันธุ์พืชด้วยการตอนกิ่งเช่นเดียวกัน แต่วิธีการในการตอนกิ่งผิดไปจากวิธีที่รู้จักกันดีในบ้านเราและเรามักเรียกวิธีการตอนกิ่งแบบยุโรปว่า "การ2.ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ

เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology: IT) หรือเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication Technologies: ICTs) ก็คือ เทคโนโลยีสองด้านหลัก ๆ ที่ประกอบด้วยเทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์ และ เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคมที่ผนวกเข้าด้วยกัน เพื่อใช้ในกระบวนการจัดหา จัดเก็บ สร้าง และเผยแพร่สารสนเทศในรูปต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นเสียง ภาพ ภาพเคลื่อนไหว ข้อความหรือตัวอักษร และตัวเลข เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ความถูกต้อง ความแม่นยำ และความรวดเร็วให้ทันต่อการนำไปใช้ประโยชน์

น.ส.จิราพร ดอนก้วางเลขที่22ม.3/1น.ส.ธิดารัตน์ อาจารีย์เลขที่30ม.3/1

1. การต่อกิ่งเป็นวิธีการขยายพันธุ์พืชแบบไม่ใช้เพศด้วยวิธีการนำกิ่งพืชสอง ชนิดมาเชื่อมต่อกันให้เจริญเป็นต้นเดียวกันส่วนของพืชที่เจริญเป็นรากเรียกว่า ต้นตอ (rootstock หรือ stock) และส่วนที่นำมาต่ออยู่บนต้นตอเป็นส่วนที่เจริญ เป็นกิ่งก้าน ออกดอกติดผลต่อไป เรียกว่า กิ่งพันธุ์ดี (scion) ซึ่งเป็นส่วนของ กิ่งพืชที่มีตามากกว่าหนึ่งตาขึ้นไปมาเชื่อมต่อกับต้นตอความสำเร็จของการต่อกิ่ง จะเกิดขึ้นได้นั้นต้องมีการเชื่อมต่อ ระหว่างเนื้อเยื่อต้นตอและกิ่งพันธุ์ดี สามารถลำเลียงน้ำและอาหารผ่าน บริเวณรอยต่อ ได้เนื้อเยื่อบริเวณ รอยต่อ(graft union)นี้เกิดจากเนื้อเยื่อ ของต้นตอและกิ่งพันธุ์ดีมาเรียงตัว อยู่ด้วยกันโดยไม่เกิดการรวมตัวของเซลล์ระหว่างพืชทั้งสองชนิด

เนื้อเยื่อที่เกิดขึ้นถูกสร้างขึ้นมา สมานแผลเป็น เซลล์ parenchyma จำนวนมากประกอบกัน เป็นเนื้อเยื่อ callus เกิดขึ้นภายใน 2-3 วัน รอยแผลที่เกิดจาก การเฉือนกิ่งจะมีส่วนที่ตายไปและมีการสร้างสาร nicrotic เพื่อรักษาบาดแผล ส่วนมากสารเหล่านี้จะหายไป เมื่อเกิดการเชื่อมต่อกันดีแล้วหรือยังอยู่ในช่องว่างระหว่าง เซลล์ก็ได้อาจพบเป็นเซลล์ที่ตายและเยินจากเนื้อเยื่อ

การเกิดรอยต่อได้นั้นต้องวางให้เนื้อเยื่อแคมเบียมของต้นตอและกิ่งพันธุ์ดี อยู่แนบหรือใกล้กันมากที่สุดแล้วจะมีการสร้างเนื้อเยื่อแคลลัสใหม่เกิดขึ้น จากทั้งสองส่วนจนเต็มช่องว่างระหว่างกันเรียกว่า callus bridge ซึ่งจะมีการ พัฒนาไปเป็นเนื้อเยื่อเจริญ (vascular cambium) ภายใน 2-3 สัปดาห์และมี การสร้างท่อน้ำ (xylem) และท่ออาหาร (phloem) เชื่อมกันต่อไป การปรับสภาพแวดล้อมภายนอกให้เหมาะสมมีผลต่อความสำเร็จในการต่อกิ่งด้วย คือ อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการแบ่งเซลล์บริเวณรอยต่ออยู่ระหว่าง 12.8-32.0 องศาเซลเซียส เมื่อเกิดเนื้อเยื่อ callus ขึ้นต้องควบคุมความชื้นบริเวณรอยต่อให้เหมาะสมเนื่องจากเซลล์มีผนังบางและเต่งจึงแห้งตายได้ง่าย จำเป็นต้องพันพลาสติกหรือใช้ถุงพลาสติกคลุมทับ การป้องกันแผลไม่ให้มีการติดเชื้อที่จะทำให้เน่าตายได้เช่นกัน

นอกจากนั้นความสัมพันธ์ของระยะการเจริญเติบโตของตาบนกิ่งพันธุ์ดีจะต้องพอเหมาะกับการพัฒนาการของเนื้อเยื่อบริเวณรอยต่อด้วย กล่าวคือ ขั้นตอนการสร้างท่อน้ำท่ออาหาร ต้องเกิดขึ้นอย่างสมบูรณ์ก่อนที่จะมีใบใหม่เจริญจากตาของกิ่งพันธุ์ดี มิฉะนั้นจะเกิดการแห้งตายของตานั้นได้

การเข้ากันได้ (compatibility) ของพืชทั้งสองชนิดมีส่วนต่อความสำเร็จในการต่อกิ่งด้วย การเลือกใช้ต้นตอและกิ่งพันธุ์ที่มีความใกล้ชิดกันทางพฤกษศาสตร์จะต่อกันได้ดีและรอยต่อเจริญ เหมือนเป็นต้นเดียวกัน เช่น มะม่วงแต่ละพันธุ์จัดเป็นชนิด (species) เดียวกันจึงต่อกิ่งได้ง่าย แต่พืชบางชนิดสามารถเข้ากันได้ดีถึงแม้จะมีความแตกต่างกันมาก เช่น ส้มสามใบ (Poncitrus trifoliata) ต่อด้วยส้มเขียวหวาน (Citrus reticulata) มีพืชหลายคู่ที่สามารถต่อกันได้ในระยะแรก แต่เมื่อเวลาผ่านไปจะมีอาการของการเข้ากันไม่ได้ (incompatibility) เกิดรอยต่อแยกจากกันหรือมีการเติบโตผิดปกติ เช่น ต้นดอนย่าสีชมพูต่อบนดอนย่าสีขาวทักษะและประสบการณ์ของผู้ปฏิบัติงานมีส่วนสำคัญเช่นกัน นอกจากนั้นเครื่องมือที่ใช้ คือ มีดเฉือนกิ่ง ควรอยู่ในสภาพที่คมสามารถเฉือนกิ่งได้โดยไม่ทำให้เนื่อเยื่อชอกช้ำหรือเยินเสียหาย ผู้ปฏิบัติงานต้องทำงานอย่างรวดเร็วและรักษาความสะอาดของแผลบนกิ่งพันธุ์ดี และต้นตอด้วย การเลือกใช้วิธีการต่อกิ่งที่เหมาะสมกับพืชและระยะเวลาเป็นสิ่งสำคัญอีกประการหนึ่งที่ผู้ปฏิบัติงานต้องให้ความสำคัญด้วย กล่าวคือการเลือกใช้วิธีต่อกิ่งกับต้นพืชที่อยู่ในระยะการเจริญเติบโตสามารถลอกเปลือกได้ หรืออยู่ในระยะพักตัว นอกจากนั้นการดูแลเอาใจใส่อย่างใกล้ชิดภายหลังการปฏิบัติงานมีส่วนต่อความสำเร็จของงานด้วย

วิธีการต่อกิ่ง สามารถปฏิบัติได้หลายวิธี ขึ้นอยู่กับชนิดของพืช อายุและขนาดของพืชด้วย นอกจากนั้นยังเกี่ยวข้องกับวัตถุประสงค์ของการต่อกิ่งนั้นๆ ด้วย ในแต่ละวิธีที่จะกล่าวถึงต่อไปนั้นมีหลักพิจารณาในการเลือกปฏิบัติคือ การลอกเปลือกไม้ และการตัดยอดของต้นตอประโยชน์ของการต่อกิ่งและการนำไปใช้

1. เป็นวิธีการขยายพันธุ์พืชเพื่อเพิ่มจำนวนสายต้น (cultivar) ให้มีปริมาณมากโดยกิ่งพันธุ์ดีไม่ต้องใช้เวลานานในการออกดอกติดผล

2. เป็นทางเลือกในการขยายพันธุ์พืชที่ไม่สามารถใช้วิธีการอื่นได้ผลสำเร็จ เช่น การออกรากของกิ่งปักชำหรือกิ่งตอนไม่มาก

3. ต้องการใช้ประโยชน์จากความทนทานต่อสภาพแวดล้อมของระบบรากในต้นตอ เช่น รากของต้นตอที่เจริญเติบโตได้ในที่มีอุณหภูมิต่ำ น้ำท่วมขัง มีความต้านทานโรคและแมลงในดินได้ดี

4. สามารถนำกิ่งพันธุ์ ที่ช่วยในการผสมเกสรให้กับต้นพันธุ์ที่ต้องการเก็บผลผลิต เพื่อให้มีการผสมข้ามพันธุ์แล้วติดผลดีขึ้น หรือเป็นต้นที่แยกเพศ (dioecious plant)

5. ทำให้ในต้นหนึ่งต้นมีหลายพันธุ์อยู่ด้วยกันเพื่อเก็บผลผลิตต่างพันธุ์หรือความสวยงาม

6. ต้นพันธุ์บางชนิดมีการเจริญเติบโตได้ดีกว่าเมื่อต่ออยู่บนระบบรากของอีกพันธุ์หนึ่ง

7. ต้องการให้อิทธิพลของความแคระมีผลต่อต้นตอหรือกิ่งพันธุ์ดี ทำให้ขนาดทรงพุ่มเตี้ย

8. ช่วยให้พืชที่เข้ากันไม่ได้ (incompatibility) ประสานอยู่ด้วยกันได้ โดยใช้ interstock มาต่อกิ่งอยู่ระหว่างต้นตอและกิ่งพันธุ์ดี

9. ใช้สำหรับการซ่อมแซมความเสียหายที่เกิดขึ้นกับลำต้นที่เปลือกถูกแมลงหรือสัตว์กัดแทะหรือเครื่องมือในสวนทำให้เกิดความเสียหายจึงใช้การต่อกิ่งเชื่อมต่อส่วนเปลือกลำต้นให้เจริญเติบโตได้ตามปกติ เรียกว่า การต่อกิ่งแบบเชื่อมสะพาน

10. เพื่อการศึกษาโรคไวรัสที่สามารถถ่ายทอดจากกิ่งพันธุ์ที่สงสัยมีการติดโรคต่อกิ่งบนต้นที่อ่อนแอต่อโรค (indicator plant) ซึ่งสามารถแสดงอาการของโรคไวรัสได้ชัดเจน เป็นเทคนิคที่เรียกว่า virus indexing

2. การปักชำ คือการใช้ส่วนต่างๆ ของพืช เช่น ราก ใบ หรือ ลำต้น ไปปักชำ และส่วนของพืชเหล่านี้จะเจริญงอกงามเป็นลำต้นต่อไป

การปักชำเป็นวิธีขยายพันธุ์พืชที่ดีวิธีหนึ่งซึ่งมีข้อดี ดังนี้

1. ประหยัดค่าใช้จ่าย

2. ขยายพันธุ์ได้ปริมาณมาก

3. ทำได้ง่ายโดยไม่ต้องอาศัยเทคนิคหรือความสามารถมาก

4. ต้นพืชเจริญเติบโตเร็ว โดยใช้ระยะเวลาไม่นาน

5. พืชต้นใหม่ที่ได้จะมีลักษณะเหมือนต้นเดิมทุกประการ

วัสดุที่ใช้ในการปักชำ

กระบะ ดิน ทราบ แกลบ ปุ๋ยคอก ขุยมะพร้าว ใบไม้ผุ

การปักชำสามารถทำได้หลายวิธี ดังนี้

1. การปักชำราก เป็นการเอารากของพืชมาปักชำ อาจปักลงไปในดิน ในทราย หรือในเถ้าแกลบก็ได้ เพื่อส่วนของรากนั้นงอกเป็นลำต้นต่อไป พืชที่ใช้รากปักชำ เช่น มันเทศ สน สาเก เข็มอินเดียเป็นต้น วิธีการชำรากทำได้ ดังนี้

1.1 ตัดรากไม้ออกเป็นท่อนๆ

1.2 วางรากบนดิน การปักชำรากไม่นิยมปักในแนวตั้ง แต่นิยมวางในแนวนอน หรือวางในแนวเฉียงเล็กน้อย

2. การปักชำใบ โดยทั่วไปแล้วใบจะแตกเป็นกิ่งไม่ได้ แต่มีพืชบางชนิดสามารถนำใบมาปักชำให้เจริญเติบโตเป็นต้นต่อไปได้ เช่น ลิ้นมังกร กุหลาบหิน คว่ำตายหงายเป็น เป็นต้น การปักชำใบมี 4 วิธี

วิธีที่ 1 การปักชำโดยใช้ใบ

ให้ นำใบที่ไม่ใช่ใบอ่อนมาตัดเป็นส่วนๆ หรือทั้งใบแล้วนำไปวางเป็นวัสดุ เช่น ทราย หรือดิน โดยให้ด้านบนของใบหงายขึ้น พืชที่นิยม เช่น คว่ำตายหงายเป็น กุหลาบหิน

วิธีที่ 2 การปักชำโดยใช้ก้านใบ

ให้ตัดก้านใบให้หลุดออกจากกิ่งแล้วนำไปปักชำก็จะเจริญเติบโตเป็นต้นใหม่ได้ เช่น กุหลาบหิน

วิธีที่ 3 การปักชำโดยใช้ก้านใบที่ส่วนของกิ่ง

ให้ เอาใบมา โดยเฉือนส่วนของกิ่งให้มีตาติดมาด้วย (มิใช่นำมาทั้งกิ่ง) แล้วนำไปปักชำ ส่วนตาที่ติดมากับกิ่งก็จะเจริญเติบโตเป็นต้นต่อไป วิธีนี้นิยมใช้กับ ฟิโลเดนดรอน ต้นยางอินเดีย

วิธีที่ 4 การใช้ใบติดกิ่งมาปักชำ

ให้ ตัดกิ่งที่จะนำมาปักชำ โดยกิ่งนั้นต้องมีตาเดียว และมีใบติดมาด้วยแล้วนำส่วนของกิ่งบางส่วนปักลงในดินให้ใบ และกิ่งส่วนหนึ่งโผล่ขึ้นมา เพียงเล็กน้อย พืชที่นิยมขยายพันธุ์แบบนี้ ได้แก่ ฟิโลเดนดรอน

การปักชำกิ่ง

เป็นวิธีที่นิยมกันมากและทำกัน มานานแล้ว เราไม่จำเป็นต้องพิถีพิถันกับวัสดุที่ใช้ในการปักชำมากนัก ปัจจุบันนิยมกัน แพร่หลายเพราะประหยัดค่าใช้จ่าย ใช้ระยะเวลาสั้น และได้ลักษณะพันธุ์เดิม การปักชำกิ่งแบ่งเป็น 3 ประเภท

1. การปักชำกิ่งประเภทที่มีเนื้ออวบน้ำ เช่น ฤาษีผสม กิ่งชนิดนี้จะอ่อน บอบบาง และช้ำง่าย ฉะนั้นจึงต้องการความประณีต ในการปฏิบัติ คือต้องระวังในเรื่องความชื้น แสง และอุณหภูมิ

2. การปักชำกิ่งที่มีความแข็งของเนื้อไม้ปานกลาง เช่น ว่านกวนอิม อายุของกิ่งประมาณ 3 - 6 เดือน ผิวเปลือกของกิ่งมี สีอมเขียว ยังไม่เป็นสีน้ำตาล กิ่งประเภทนี้มีเนื้อไม้อ่อนไม่แข็งแรงนัก ฉะนั้นจึงควรระมัดระวังเรื่องน้ำ อุณหภูมิ และแสงสว่างให้มาก เพราะกิ่งประเภทนี้จะเหี่ยวแห้งได้ง่าย

2. การปักชำไม้ที่มีอายุเกิน 1 ปีขึ้นไป วิธีนี้นิยมกันมาก การเลือกกิ่งไม้ที่จะนำมาปักชำ ควรเลือกกิ่งที่มีสีน้ำตาล ก่อนปักชำควร ปักกิ่งชำให้มีตาอย่างน้อย 2-3 ตา การตัดควรตัดเป็นท่อน ๆ ขนาด ยาว 6-8 เซนติเมตร การตัดท่อนปลายกิ่งให้ตัดเหนือข้อ ส่วนท่อนโคนให้ตัดต่ำกว่าข้อ โดยตัดให้เฉียง เราไม่ควรตัดตรงข้อพอดี เพราะจะทำให้กิ่งสูญเสียอาหารไป นอกจากนี้ บริเวณข้อยังมีเนื้อเยื่อ อัดตัวแน่นและแข็งแรง ช่วยป้องกันการระเหยของน้ำในกิ่งได้เป็นอย่างดี

1.3 การขยายพันธุ์พืชโดยวิธีตอนกิ่ง

ทฤษฎีการตอนกิ่ง

ในการตอนกิ่งจะต้องทำให้เกิดแผลกับลำต้นหรือกิ่ง เพื่อตัดท่ออาหารและ เนื้อเยื่อเจริญของกิ่งนั้นให้ขาดจากกัน แต่ท่อน้ำยังคงอยู่เหมือนเดิม ทำให้สามารถส่งน้ำจากรากไปยอดได้ตามปกติ กิ่งและใบยอดจะยังคงสดอยู่เสมอ ซึ่งเป็นเหตุผลสำคัญของการที่พืชบางชนิดขยายพันธุ์ด้วยการตอนกิ่งได้เป็นผลสำเร็จมากกว่าการตัดชำท่ออาหารให้ขาดจากกัน ทำให้การขนส่งอาหารไม่เกิดขึ้น อาหารที่ส่งมาจากยอดจะไปสะสมตรงเหนือรอยแผลมาก ประกอบกับเนื้อเยื่อเจริญบริเวณแผลถูกตัดขาด เป็นการกระตุ้นเตือนให้เนื้อเยื่อเจริญส่วนนั้นเกิดการแบ่งเซลล์อย่างรวดเร็ว มีเซลล์ที่เกิดใหม่มากมาย (มีอาหารอุดมมบูรณ์จากการสะสมเหนือรอยแผล) จะมีเซลล์ส่วนหนึ่งที่พัฒนาไปเป็นราก ทำหน้าที่ดูดน้ำและธาตุอาหาร

พืชแต่ละชนิดมีความยากง่ายในการที่เนื้อเยื่อเจริญจะพัฒนาไปเป็นราก แตกต่างกัน และการจัดสภาพแวดล้อมให้กับเนื้อเยื่อเจริญที่จะเจริญพัฒนาไปเป็นรากได้ ก็ต้องมีความเหมาะสม โดยเฉพาะเกี่ยวกับอุณหภูมิ ความชื้น และบางครั้งอาจจำเป็นต้องใช้สารควบคุมการเจริญเติบโต

ข้อดีข้อจำกัดของการตอนกิ่ง

ข้อดี คือทำได้ง่าย ประสบผลสำเร็จมากกว่าการปักชำ และได้ต้นกล้าขนาด ใหญ่ ทำให้ได้ผลผลิตเร็ว ไม่กลายพันธุ์ ทรงต้นไม่สูงนัก

ข้อจำกัด คือ

2.1 ไม่มีรากแก้ว ทำให้ไม่สามารถ ทนต่อลมแรง ๆ โค่นล้มได้ง่าย

2.2 กิ่งตอนมีขนาดใหญ่กว่ากิ่งชำ การดูแลรักษาหลังตอนยากกว่ากิ่งตัดชำ

การตอนแบบควั่นกิ่ง

เป็นวิธีที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย ทำได้ง่ายและสะดวก มีขั้นตอนดังนี้

1.1 เลือกกิ่งที่แข็งแรง สมบูรณ์ ไม่เป็นโรคและแมลง

เป็นกิ่งที่อยู่ทางด้านนอกของทรงพุ่ม ได้รับแสงแดดเต็มที่ ถ้าเป็นสวนเพื่อการขยายพันธุ์อย่างเดียวจะเลือกตอนเกือบทุกกิ่ง เหลือไว้บางกิ่งเพื่อเป็นพี่เลี้ยงต้นหลังจากตัดกิ่งตอนออกไป

1.2 การควั่นกิ่ง

สำหรับไม้ผล ควรเลือกกิ่งยาวประมาณ 30-50 เซนติเมตร ส่วนไม้ประดับอาจสั้นกว่านี้ ขึ้นอยู่กับจำนวนต้นที่ต้องการและชนิดของพืช ไม่ควรให้กิ่งมีพุ่มขนาดใหญ่มากนักเพราะจะทำให้เกิดการเหี่ยวแห้งในระยะชำเนื่องจากมีจำนวนใบไม่สมดุลกับจำนวนราก ความยาวของรอยควั่นเท่ากับ 1-2 เท่าของเส้นรอบวงของกิ่ง หรือดูจากความสามารถในการออกราก พืชที่ออกรากง่ายรอยควั่นจะสั้น (ประมาณ 1 เท่าของเส้นรอบวง)ถ้าเป็นพืชที่ออกรากยากรอยควั่นจะห่างประมาณ 1.5-2 เท่าของเส้นรอบวงของกิ่งนั้น คุณบุญชอบ โพธิ์รักษา แนะนำว่า การตอนฝรั่งควรจะควั่นห่างเพียง ½ เซนติเมตร ปล่อยให้แห้งสักครู่จึงค่อยหุ้มขุยมะพร้าว (มีการเสริมด้วยไม้ท่อนเล็ก ๆ ก่อนหุ้มขุยมะพร้าวเพื่อป้องกันกิ่งหัก)

1.3 การขูดเยื่อเจริญ (เมือกลื่น ๆ อยู่ระหว่างส่วนของเปลือกกับเนื้อไม้)

พืชแต่ละชนิดต้องการการขูดเยื่อเจริญต่างกัน ควรจะสังเกตว่าพืชใดต้องขูดเยื่อเจริญมากน้อยเท่าใด พืชบางชนิดไม่ต้องขูดเยื่อเจริญ เช่น ฝรั่ง สนแผง ถ้าขูดแล้วกิ่งมักจะแห้งตายเนื่องจากท่อน้ำถูกทำลาย พืชบางชนิดอาจขูดเยื่อเจริญแล้วหุ้มตามได้เลย (พืชทั่วไป) แต่บางชนิดต้องควั่นทิ้งไว้ให้เยื่อเจริญแห้งประมาณ 1 สัปดาห์ จึงจะหุ้มด้วยขุยมะพร้าว เช่น ละมุด

1.4 การหุ้มรอยควั่น

ปัจจุบันนิยมใช้ถุงพลาสติกขนาดเล็กบรรจุขุยมะพร้าว รัดปากถุงให้แน่น ใช้มีดผ่าถุงหุ้มรอยควั่นให้มิด มัดให้แน่น อย่าให้กระเปาะขุยมะพร้าวหมุนหรือขยับได้ เพราะจะทำให้รากที่งอกหักได้ หุ้มทับด้วยกระดาษเพื่อช่วยลดอุษหภูมิและแสงในขุยมะพร้าว ซึ่งจะทำให้การเดินของรากดีขึ้น บางท่านนิยมหุ้มรอยควั่นด้วยดินเหนียว ก่อนหุ้มด้วยกาบมะพร้าวแช่น้ำทุบให้นิ่ม แล้วหุ้มทับด้วยใบตองแห้งหรือผ้าพลาสติก (ไม่นิยมทำในทางการค้า เนื่องจากต้องใช้เวลา) แต่บางสวนจะผ่าตุ้มมะพร้าวแล้วป้ายดินด้านในเล็กน้อยแทนการหุ้มด้วย

1.5 การดูแลรักษา

คอยดูแลรดน้ำอยู่เสมออย่าให้กระเปาะแห้ง ถ้าขุยมะพร้าวชื้นพอ รัดปากถุงให้แน่นจะไม่ต้องรดน้ำอีกเลย พร้อมกันนี้ต้องระวังไม่ให้มดมากัดทำลายด้วย

1.6 การตัดกิ่งตอนตัดเมื่อรากแก่

เมื่อรากแทงทะลุขุยมะพร้าวออกมา ปลายรากเริ่มมีสีน้ำตาล และกิ่งตอนมีใบแก่ทั้งหมด จึงตัดจากต้นแม่ใต้กระเปาะตอนไปชำ

การตอนแบบกรีดกิ่ง นิยมใช้กับกิ่งที่มีแก่นเล็ก หรือกิ่งที่เปราะหักง่าย มีขั้นตอนการปฏิบัติเช่นเดียวกับการตอนแบบควั่นกิ่ง ต่างกันตรงรอยแผลจะใช้มีดกรีดเปลือกยาวประมาณ 1 นิ้ว 3-4 รอย

การตอนกิ่งแบบปาดกิ่ง มีวิธีปฏิบัติเช่นเดียวกับการตอนแบบกรีดกิ่ง ต่างกันตรงรอยแผล ที่จะทำให้เกิดแผลโดยใช้มีดปาดเฉียงให้ลึกเข้าไปในเนื้อไม้เล็กน้อย ใช้เศษวัสดุ เช่น ไม้จิ้มฟัน ลวดฟิวส์ หรือก้านไม้ขีดขัดรอยแผลไว้ให้เผยอออกมาเป็นลิ้นป้องกันไม่ให้รอยแผลเชื่อมติดกันเท่าใด บริเวณที่สัมผัสดินควรจะยึดกิ่งให้ติดกับดินด้วยไม้ค้ำหรือลวดตัวยู บริเวณที่สัมผัสดินจะงอกรากออกมาบริเวณข้อและแตกตาบริเวณตา หลังจากยอดและรากสมบูรณ์ดีแล้ว จึงตัดให้ขาดจากกิ่งเดิม นำไปแยกปลูกต่อไป นิยมใช้กับต้นมะลิ ประทัดจีน สตรอเบอรี่ เป็นต้น

การตอนแบบกรีดกิ่งและปาดกิ่ง นิยมใช้ในพืชที่มีลำต้นเปราะ เช่น ชวนชม เชอรี่ เป็นต้น

การตอนกิ่งแบบโน้มกิ่ง

นิยมใช้กับกิ่งไม้เลื้อย เช่น มะลิ

ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการตอนกิ่ง

บางครั้งกิ่งตอนเกิดการเหี่ยวแห้ง ตอนแล้วไม่ออกราก มีปัจจัยที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้

1. การเลือกกิ่ง

ควรเลือกกิ่งเพสลาด มีสีน้ำตาล ไม่แก่หรืออ่อนเกินไป ใบยอดควรจะพ้นระยะใบอ่อนเปลือกล่อน ถ้ากิ่งแก่ไปจะออกรากยากและน้อย นอกจากนั้น กิ่งแก่มักจะเป็นกิ่งขนาดใหญ่ เมื่อออกรากแล้วมักจะมีปัญหาในการชำ เพราะขนาดของต้นใหญ่ มีรากน้อย ทำให้ใบกับรากไม่สมดุลกัน ใบจะเหี่ยวเนื่องจากขาดน้ำ กิ่งที่อยู่รอบในทรงพุ่มก็ไม่ควรตอน เพราะจะออกรากช้าและน้อย บางครั้งจะไม่ออกรากเลย นอกจากนั้นควรจะพิจารณาถึง

1.1 ขนาดของกิ่ง

ควรมีขนาดตั้งแต่ขนาดดินสอดำถึงขนาดหัวแม่มือ

1.2 ชนิดของกิ่ง

กิ่งกระโดงเหมาะที่สุด เพราะจะออกรากได้รอบด้าน ถ้าเป็นกิ่งนอกรากจะออกทางด้านบนของกิ่งแล้วห้อยลงตามแรงดึงดูดของโลก ทำให้ได้รากน้อยและรากโตช้า ถ้าจำเป็นต้องเลือกกิ่งนอนควรค้ำหรือโยงให้กิ่งตั้งตรงก่อนแล้วจึงตอน โดยทำไม้หลักไว้กลางพุ่มสำหรับผูกเชือกโยงกิ่งตอนทั้งหลายให้ตั้งขึ้น

2. ฤดูกาล

ควรตอนกิ่งในช่วงฤดูฝนซึ่งเป็นระยะที่พืชกำลังเจริญเติบโต ถ้าตอนกิ่งในฤดูร้อนต้องรดน้ำกระเปาะหุ้มให้ชื้นอยู่เสมอ สำหรับฤดูหนาวไม่แนะนำให้ตอน โดยทั่วไปชาวสวนจะนิยมตอนในฤดูแล้ง เนื่องจากกระเปาะหุ้มจะไม่แฉะซึ่งเป็นสาเหตุให้รากไม่เดิน

3. การใช้ฮอร์โมนเร่งราก

ปัจจุบันเป็นที่ยอมรับกันว่า ฮอร์โมนเร่งรากจะช่วยให้การเกิดรากของกิ่งตอนเร็วขึ้น โดยทาฮอร์โมนเร่งรากบริเวณเหนือรอยควั่น (บริเวณที่จะออกราก) ระวังอย่าทาถึงได้รอยควั่น บริเวณนี้จะเกิดรากเร็วกว่าบริเวณเหนือรอยควั่น เมื่อเห็นรากโผล่ออกมาจากตุ้ม หากตัดไปชำมักจะตาย เนื่องจากไม่สามารถส่งอาหารจากยอดมารากได้ (ท่ออาหารถูกตัดขาด) และพบว่าในระยะนี้รากบริเวณเหนือรอยควั่นมักจะยังเจริญไม่พอด้วย

การตัดและการชำกิ่งตอน

การตัดกิ่งตอนควรจะพิจารณาจากจำนวนรากที่สังเกตเห็นได้ โดยมองผ่านผ้าพลาสติกที่หุ้ม (ควรใช้พลาสติกสีขาวใส) ควรจะมีรากมากพอ ปลายรากมีสีน้ำตาลแก่ เมื่อตัดกิ่งตอนแล้วควรจะมีการตัดแต่งกิ่ง เนื่องจากกิ่งตอนย่อมมีระบบรากน้อยกว่าทางส่วนยอด ดังนั้น ถ้าไม่เอาใจใส่เป็นพิเศษจะไม่สามารถที่จะพยุงต้นไว้ได้ และจะเกิดการคายน้ำมาก ดังนั้นควรปฏิบัติดังนี้

1. ตัดแต่งกิ่งให้สมดุลกับราก

2. ทำการปลูกในภาชนะที่พอเหมาะกับขนาดของต้นและราก มีการค้ำยันด้วยไม้กันไม่ให้กิ่งชำโยก

3. นำกิ่งตอนมาไว้ในที่ชื้นและเย็น รดน้ำสม่ำเสมอ จนกิ่งตอนตั้งตัวดีแล้วจึงย้ายปลูก

ข้อพิจารณาในการตอน

1. ในกรณีที่ต้องการกิ่งตอนขนาดใหญ่ ควรจะมีการเพิ่มขนาดของตุ้ม โดยการหุ้มขุยมะพร้าวทับตุ้มเดิมอีกครั้งหนึ่ง หรือใช้ตุ้มครั้งแรกให้มีขนาดใหญ่ขึ้นอีกนิด ทั้งนี้ ต้องระวังปัญหาตุ้มใหญ่เกินไป อาจทำให้กิ่งหักได้

2. ในพืชบางชนิดกิ่งมีขนาดค่อนข้างเล็ก กิ่งเปราะหักง่ายการตอนควรจะมีการดามด้วยไม้เพื่อป้องกันไม่ให้กิ่งหัก

3. การหุ้มตุ้มตอนด้วยกระดาษเพื่อกรองแสงไม่ให้ตุ้มมีอุณหภูมิสูงเกินไป หากขุยมะพร้าวมีความชื้นสูงร่วมด้วย จะเกิดอันตรายกับรากได้ เพื่อความปลอดภัยจึงควรจะหุ้มตุ้มด้วยกระดาษอีกชั้นหนึ่ง ซึ่งมีประโยชน์อีกประการคือ ทำให้รากเดินดีขึ้น (ภายในถุงขุยมะพร้าวจะมืด)

เทคโนโลยีสารสนเทศหมายถึง อุปกรณ์หรือเครื่องมือที่เกี่ยวข้องกับการรวบรวมประมวล เก็บรักษา และเผยแพร่ข้อมูลและสารสนเทศโดยรวมทั้งฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ฐานข้อมูล และการสื่อสาร โทรคมนาคม ระบบสารสนเทศสร้างขึ้นมาเพื่อจุดมุ่งหมายหลายประการจุดมุ่งหมายพื้นฐานประการหนึ่ง คือ การประมวลข้อมูล (Data) ให้เป็นสารสนเทศ (Information) และนำไปสู่ความรู้ (Knowledge) ที่ช่วยแก้ปัญหาในการดำเนินงาน

ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ

1. ช่วยในการจัดระบบข่าวสารจำนวนมหาศาลของแต่ละวัน

2. เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตสารสนเทศ เช่น การคำนวณตัวเลขที่ยุ่งยากซับซ้อน การจัดเรียงลำดับสารสนเทศ ฯลฯ

3. ช่วยให้สามารถเก็บสารสนเทศไว้ในรูปที่สามารถเรียกใช้ได้ทุกครั้งอย่างสะดวก

4. ช่วยให้สามารถจัดระบบอัตโนมัติ เพื่อการจัดเก็บประมวลผล และเรียกใช้สารสนเทศูล

5. ช่วยในการเข้าถึงสารสนเทศได้อย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพมากขึ้น

6. ช่วยในการสื่อสารระหว่างกันได้อย่างสะดวกรวดเร็ว ลดอุปสรรคเกี่ยวกับเวลา และระยะทาง โดยการใช้ระบบโทรศัพท์ และอื่นๆ

ประโยชน์ของเทคโนโลยีสารสนเทศ

การกำเนิดของคอมพิวเตอร์เมื่อประมาณห้าสิบกว่าปีที่แล้ว เป็นก้าวสำคัญที่นำไปสู่ยุคสารสนเทศ ในช่วงแรกมีการนำเอาคอมพิวเตอร์มาใช้เป็นเครื่องคำนวณ แต่ต่อมาได้มีความพยายามพัฒนาให้คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์สำคัญสำหรับการจัดการข้อมูล เมื่อเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ได้ก้าวหน้ามากขึ้น ทำให้สามารถสร้างคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กลง แต่ประสิทธิภาพสูงขึ้น สภาพการใช้งานจึงใช้งานกันอย่างแพร่หลาย ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีต่อชีวิตความเป็นอยู่และสังคมจึงมีมาก มีการเรียนรู้และใช้สารสนเทศกันอย่างกว้างขวาง ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศโดยรวมกล่าวได้ดังนี้

1. การสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สภาพความเป็นอยู่ของสังคมเมือง มีการพัฒนาใช้ระบบสื่อสารโทรคมนาคม เพื่อติดต่อสื่อสารให้สะดวกขึ้น มีการประยุกต์มาใช้กับเครื่องอำนวยความสะดวกภายในบ้าน เช่น ใช้ควบคุมเครื่องปรับอากาศ ใช้ควมคุมระบบไฟฟ้าภายในบ้าน เป็นต้น

2. เสริมสร้างความเท่าเทียมในสังคมและการกระจายโอกาส เทคโนโลยีสารสนเทศทำให้เกิดการกระจายไปทั่วทุกหนแห่ง แม้แต่ถิ่นทุรกันดาร ทำให้มีการกระจายโอกาสการเรียนรู้ มีการใช้ระบบการเรียนการสอนทางไกล เสริมสร้างการเรียนรู้ เพราะปัจจุบันมีสื่อการศึกษาที่ทันสมัยมากขึ้นนอกจากหนังสือเรียนธรรมดาแล้ว ยังมี วีดีทัศน์ อินเตอร์เน็ต เป็นต้น ที่ช่วยเสริมสร้างการเรียนรู้ด้วยตนเองของผู้เรียน

3. สารสนเทศกับการเรียนการสอนในโรงเรียน การเรียนการสอนในโรงเรียนมีการนำคอมพิวเตอร์และเครื่องมือประกอบช่วยในการเรียนรู้ เช่น วีดีทัศน์ เครื่องฉายภาพ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน คอมพิวเตอร์ช่วยจัดการศึกษา จัดตารางสอน คำนวณระดับคะแนน หรืออย่างที่ครูเป๋งให้เราฝึกทำBlog ไงล่ะคะ ปัจจุบันมีการเรียนการสอนทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศในโรงเรียนจึงมากขึ้น

4.เทคโนโลยีสารสนเทศกับสิ่งแวดล้อม การจัดการทรัพยากรธรรมชาติหลายอย่างจำเป็นต้องใช้สารสนเทศ เช่น การดูแลรักษาป่า จำเป็นต้องใช้ข้อมูล มีการใช้ภาพถ่ายดาวเทียม การติดตามข้อมูลสภาพอากาศ การพยากรณ์อากาศ การจำลองรูปแบบสภาวะสิ่งแวดล้อมเพื่อปรับปรุงแก้ไข การเก็บรวมรวมข้อมูลคุณภาพน้ำในแม่น้ำต่าง ๆ การตรวจวัดมลภาวะ ตลอดจนการใช้ระบบการตรวจวัดระยะไกลมาช่วย ที่เรียกว่าโทรมาตร เป็นต้น

เทคโนโลยีสารสนเทศกับการป้องกันประเทศ กิจการทางด้านการทหารมีการใช้เทคโนโลยี อาวุธยุทโธปกรณ์สมัยใหม่ล้วนแต่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์และระบบควบคุม มีการใช้ระบบป้องกันภัย ระบบเฝ้าระวังที่มีคอมพิวเตอร์ควบคุมการทำงาน

น.ส.จันทิมา จันทร์เพ็ญเลขที่35ม.3/1

.. การต่อกิ่งเป็นวิธีการขยายพันธุ์พืชแบบไม่ใช้เพศด้วยวิธีการนำกิ่งพืชสอง ชนิดมาเชื่อมต่อกันให้เจริญเป็นต้นเดียวกันส่วนของพืชที่เจริญเป็นรากเรียกว่า ต้นตอ (rootstock หรือ stock) และส่วนที่นำมาต่ออยู่บนต้นตอเป็นส่วนที่เจริญ เป็นกิ่งก้าน ออกดอกติดผลต่อไป เรียกว่า กิ่งพันธุ์ดี (scion) ซึ่งเป็นส่วนของ กิ่งพืชที่มีตามากกว่าหนึ่งตาขึ้นไปมาเชื่อมต่อกับต้นตอความสำเร็จของการต่อกิ่ง จะเกิดขึ้นได้นั้นต้องมีการเชื่อมต่อ ระหว่างเนื้อเยื่อต้นตอและกิ่งพันธุ์ดี สามารถลำเลียงน้ำและอาหารผ่าน บริเวณรอยต่อ ได้เนื้อเยื่อบริเวณ รอยต่อ(graft union)นี้เกิดจากเนื้อเยื่อ ของต้นตอและกิ่งพันธุ์ดีมาเรียงตัว อยู่ด้วยกันโดยไม่เกิดการรวมตัวของเซลล์ระหว่างพืชทั้งสองชนิด

เนื้อเยื่อที่เกิดขึ้นถูกสร้างขึ้นมา สมานแผลเป็น เซลล์ parenchyma จำนวนมากประกอบกัน เป็นเนื้อเยื่อ callus เกิดขึ้นภายใน 2-3 วัน รอยแผลที่เกิดจาก การเฉือนกิ่งจะมีส่วนที่ตายไปและมีการสร้างสาร nicrotic เพื่อรักษาบาดแผล ส่วนมากสารเหล่านี้จะหายไป เมื่อเกิดการเชื่อมต่อกันดีแล้วหรือยังอยู่ในช่องว่างระหว่าง เซลล์ก็ได้อาจพบเป็นเซลล์ที่ตายและเยินจากเนื้อเยื่อ

การเกิดรอยต่อได้นั้นต้องวางให้เนื้อเยื่อแคมเบียมของต้นตอและกิ่งพันธุ์ดี อยู่แนบหรือใกล้กันมากที่สุดแล้วจะมีการสร้างเนื้อเยื่อแคลลัสใหม่เกิดขึ้น จากทั้งสองส่วนจนเต็มช่องว่างระหว่างกันเรียกว่า callus bridge ซึ่งจะมีการ พัฒนาไปเป็นเนื้อเยื่อเจริญ (vascular cambium) ภายใน 2-3 สัปดาห์และมี การสร้างท่อน้ำ (xylem) และท่ออาหาร (phloem) เชื่อมกันต่อไป การปรับสภาพแวดล้อมภายนอกให้เหมาะสมมีผลต่อความสำเร็จในการต่อกิ่งด้วย คือ อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการแบ่งเซลล์บริเวณรอยต่ออยู่ระหว่าง 12.8-32.0 องศาเซลเซียส เมื่อเกิดเนื้อเยื่อ callus ขึ้นต้องควบคุมความชื้นบริเวณรอยต่อให้เหมาะสมเนื่องจากเซลล์มีผนังบางและเต่งจึงแห้งตายได้ง่าย จำเป็นต้องพันพลาสติกหรือใช้ถุงพลาสติกคลุมทับ การป้องกันแผลไม่ให้มีการติดเชื้อที่จะทำให้เน่าตายได้เช่นกัน

นอกจากนั้นความสัมพันธ์ของระยะการเจริญเติบโตของตาบนกิ่งพันธุ์ดีจะต้องพอเหมาะกับการพัฒนาการของเนื้อเยื่อบริเวณรอยต่อด้วย กล่าวคือ ขั้นตอนการสร้างท่อน้ำท่ออาหาร ต้องเกิดขึ้นอย่างสมบูรณ์ก่อนที่จะมีใบใหม่เจริญจากตาของกิ่งพันธุ์ดี มิฉะนั้นจะเกิดการแห้งตายของตานั้นได้

การเข้ากันได้ (compatibility) ของพืชทั้งสองชนิดมีส่วนต่อความสำเร็จในการต่อกิ่งด้วย การเลือกใช้ต้นตอและกิ่งพันธุ์ที่มีความใกล้ชิดกันทางพฤกษศาสตร์จะต่อกันได้ดีและรอยต่อเจริญ เหมือนเป็นต้นเดียวกัน เช่น มะม่วงแต่ละพันธุ์จัดเป็นชนิด (species) เดียวกันจึงต่อกิ่งได้ง่าย แต่พืชบางชนิดสามารถเข้ากันได้ดีถึงแม้จะมีความแตกต่างกันมาก เช่น ส้มสามใบ (Poncitrus trifoliata) ต่อด้วยส้มเขียวหวาน (Citrus reticulata) มีพืชหลายคู่ที่สามารถต่อกันได้ในระยะแรก แต่เมื่อเวลาผ่านไปจะมีอาการของการเข้ากันไม่ได้ (incompatibility) เกิดรอยต่อแยกจากกันหรือมีการเติบโตผิดปกติ เช่น ต้นดอนย่าสีชมพูต่อบนดอนย่าสีขาวทักษะและประสบการณ์ของผู้ปฏิบัติงานมีส่วนสำคัญเช่นกัน นอกจากนั้นเครื่องมือที่ใช้ คือ มีดเฉือนกิ่ง ควรอยู่ในสภาพที่คมสามารถเฉือนกิ่งได้โดยไม่ทำให้เนื่อเยื่อชอกช้ำหรือเยินเสียหาย ผู้ปฏิบัติงานต้องทำงานอย่างรวดเร็วและรักษาความสะอาดของแผลบนกิ่งพันธุ์ดี และต้นตอด้วย การเลือกใช้วิธีการต่อกิ่งที่เหมาะสมกับพืชและระยะเวลาเป็นสิ่งสำคัญอีกประการหนึ่งที่ผู้ปฏิบัติงานต้องให้ความสำคัญด้วย กล่าวคือการเลือกใช้วิธีต่อกิ่งกับต้นพืชที่อยู่ในระยะการเจริญเติบโตสามารถลอกเปลือกได้ หรืออยู่ในระยะพักตัว นอกจากนั้นการดูแลเอาใจใส่อย่างใกล้ชิดภายหลังการปฏิบัติงานมีส่วนต่อความสำเร็จของงานด้วย

วิธีการต่อกิ่ง สามารถปฏิบัติได้หลายวิธี ขึ้นอยู่กับชนิดของพืช อายุและขนาดของพืชด้วย นอกจากนั้นยังเกี่ยวข้องกับวัตถุประสงค์ของการต่อกิ่งนั้นๆ ด้วย ในแต่ละวิธีที่จะกล่าวถึงต่อไปนั้นมีหลักพิจารณาในการเลือกปฏิบัติคือ การลอกเปลือกไม้ และการตัดยอดของต้นตอประโยชน์ของการต่อกิ่งและการนำไปใช้

1. เป็นวิธีการขยายพันธุ์พืชเพื่อเพิ่มจำนวนสายต้น (cultivar) ให้มีปริมาณมากโดยกิ่งพันธุ์ดีไม่ต้องใช้เวลานานในการออกดอกติดผล

2. เป็นทางเลือกในการขยายพันธุ์พืชที่ไม่สามารถใช้วิธีการอื่นได้ผลสำเร็จ เช่น การออกรากของกิ่งปักชำหรือกิ่งตอนไม่มาก

3. ต้องการใช้ประโยชน์จากความทนทานต่อสภาพแวดล้อมของระบบรากในต้นตอ เช่น รากของต้นตอที่เจริญเติบโตได้ในที่มีอุณหภูมิต่ำ น้ำท่วมขัง มีความต้านทานโรคและแมลงในดินได้ดี

4. สามารถนำกิ่งพันธุ์ ที่ช่วยในการผสมเกสรให้กับต้นพันธุ์ที่ต้องการเก็บผลผลิต เพื่อให้มีการผสมข้ามพันธุ์แล้วติดผลดีขึ้น หรือเป็นต้นที่แยกเพศ (dioecious plant)

5. ทำให้ในต้นหนึ่งต้นมีหลายพันธุ์อยู่ด้วยกันเพื่อเก็บผลผลิตต่างพันธุ์หรือความสวยงาม

6. ต้นพันธุ์บางชนิดมีการเจริญเติบโตได้ดีกว่าเมื่อต่ออยู่บนระบบรากของอีกพันธุ์หนึ่ง

7. ต้องการให้อิทธิพลของความแคระมีผลต่อต้นตอหรือกิ่งพันธุ์ดี ทำให้ขนาดทรงพุ่มเตี้ย

8. ช่วยให้พืชที่เข้ากันไม่ได้ (incompatibility) ประสานอยู่ด้วยกันได้ โดยใช้ interstock มาต่อกิ่งอยู่ระหว่างต้นตอและกิ่งพันธุ์ดี

9. ใช้สำหรับการซ่อมแซมความเสียหายที่เกิดขึ้นกับลำต้นที่เปลือกถูกแมลงหรือสัตว์กัดแทะหรือเครื่องมือในสวนทำให้เกิดความเสียหายจึงใช้การต่อกิ่งเชื่อมต่อส่วนเปลือกลำต้นให้เจริญเติบโตได้ตามปกติ เรียกว่า การต่อกิ่งแบบเชื่อมสะพาน

10. เพื่อการศึกษาโรคไวรัสที่สามารถถ่ายทอดจากกิ่งพันธุ์ที่สงสัยมีการติดโรคต่อกิ่งบนต้นที่อ่อนแอต่อโรค (indicator plant) ซึ่งสามารถแสดงอาการของโรคไวรัสได้ชัดเจน เป็นเทคนิคที่เรียกว่า virus indexing

2. การปักชำ คือการใช้ส่วนต่างๆ ของพืช เช่น ราก ใบ หรือ ลำต้น ไปปักชำ และส่วนของพืชเหล่านี้จะเจริญงอกงามเป็นลำต้นต่อไป

การปักชำเป็นวิธีขยายพันธุ์พืชที่ดีวิธีหนึ่งซึ่งมีข้อดี ดังนี้

1. ประหยัดค่าใช้จ่าย

2. ขยายพันธุ์ได้ปริมาณมาก

3. ทำได้ง่ายโดยไม่ต้องอาศัยเทคนิคหรือความสามารถมาก

4. ต้นพืชเจริญเติบโตเร็ว โดยใช้ระยะเวลาไม่นาน

5. พืชต้นใหม่ที่ได้จะมีลักษณะเหมือนต้นเดิมทุกประการ

วัสดุที่ใช้ในการปักชำ

กระบะ ดิน ทราบ แกลบ ปุ๋ยคอก ขุยมะพร้าว ใบไม้ผุ

การปักชำสามารถทำได้หลายวิธี ดังนี้

1. การปักชำราก เป็นการเอารากของพืชมาปักชำ อาจปักลงไปในดิน ในทราย หรือในเถ้าแกลบก็ได้ เพื่อส่วนของรากนั้นงอกเป็นลำต้นต่อไป พืชที่ใช้รากปักชำ เช่น มันเทศ สน สาเก เข็มอินเดียเป็นต้น วิธีการชำรากทำได้ ดังนี้

1.1 ตัดรากไม้ออกเป็นท่อนๆ

1.2 วางรากบนดิน การปักชำรากไม่นิยมปักในแนวตั้ง แต่นิยมวางในแนวนอน หรือวางในแนวเฉียงเล็กน้อย

2. การปักชำใบ โดยทั่วไปแล้วใบจะแตกเป็นกิ่งไม่ได้ แต่มีพืชบางชนิดสามารถนำใบมาปักชำให้เจริญเติบโตเป็นต้นต่อไปได้ เช่น ลิ้นมังกร กุหลาบหิน คว่ำตายหงายเป็น เป็นต้น การปักชำใบมี 4 วิธี

วิธีที่ 1 การปักชำโดยใช้ใบ

ให้ นำใบที่ไม่ใช่ใบอ่อนมาตัดเป็นส่วนๆ หรือทั้งใบแล้วนำไปวางเป็นวัสดุ เช่น ทราย หรือดิน โดยให้ด้านบนของใบหงายขึ้น พืชที่นิยม เช่น คว่ำตายหงายเป็น กุหลาบหิน

วิธีที่ 2 การปักชำโดยใช้ก้านใบ

ให้ตัดก้านใบให้หลุดออกจากกิ่งแล้วนำไปปักชำก็จะเจริญเติบโตเป็นต้นใหม่ได้ เช่น กุหลาบหิน

วิธีที่ 3 การปักชำโดยใช้ก้านใบที่ส่วนของกิ่ง

ให้ เอาใบมา โดยเฉือนส่วนของกิ่งให้มีตาติดมาด้วย (มิใช่นำมาทั้งกิ่ง) แล้วนำไปปักชำ ส่วนตาที่ติดมากับกิ่งก็จะเจริญเติบโตเป็นต้นต่อไป วิธีนี้นิยมใช้กับ ฟิโลเดนดรอน ต้นยางอินเดีย

วิธีที่ 4 การใช้ใบติดกิ่งมาปักชำ

ให้ ตัดกิ่งที่จะนำมาปักชำ โดยกิ่งนั้นต้องมีตาเดียว และมีใบติดมาด้วยแล้วนำส่วนของกิ่งบางส่วนปักลงในดินให้ใบ และกิ่งส่วนหนึ่งโผล่ขึ้นมา เพียงเล็กน้อย พืชที่นิยมขยายพันธุ์แบบนี้ ได้แก่ ฟิโลเดนดรอน

การปักชำกิ่ง

เป็นวิธีที่นิยมกันมากและทำกัน มานานแล้ว เราไม่จำเป็นต้องพิถีพิถันกับวัสดุที่ใช้ในการปักชำมากนัก ปัจจุบันนิยมกัน แพร่หลายเพราะประหยัดค่าใช้จ่าย ใช้ระยะเวลาสั้น และได้ลักษณะพันธุ์เดิม การปักชำกิ่งแบ่งเป็น 3 ประเภท

1. การปักชำกิ่งประเภทที่มีเนื้ออวบน้ำ เช่น ฤาษีผสม กิ่งชนิดนี้จะอ่อน บอบบาง และช้ำง่าย ฉะนั้นจึงต้องการความประณีต ในการปฏิบัติ คือต้องระวังในเรื่องความชื้น แสง และอุณหภูมิ

2. การปักชำกิ่งที่มีความแข็งของเนื้อไม้ปานกลาง เช่น ว่านกวนอิม อายุของกิ่งประมาณ 3 - 6 เดือน ผิวเปลือกของกิ่งมี สีอมเขียว ยังไม่เป็นสีน้ำตาล กิ่งประเภทนี้มีเนื้อไม้อ่อนไม่แข็งแรงนัก ฉะนั้นจึงควรระมัดระวังเรื่องน้ำ อุณหภูมิ และแสงสว่างให้มาก เพราะกิ่งประเภทนี้จะเหี่ยวแห้งได้ง่าย

2. การปักชำไม้ที่มีอายุเกิน 1 ปีขึ้นไป วิธีนี้นิยมกันมาก การเลือกกิ่งไม้ที่จะนำมาปักชำ ควรเลือกกิ่งที่มีสีน้ำตาล ก่อนปักชำควร ปักกิ่งชำให้มีตาอย่างน้อย 2-3 ตา การตัดควรตัดเป็นท่อน ๆ ขนาด ยาว 6-8 เซนติเมตร การตัดท่อนปลายกิ่งให้ตัดเหนือข้อ ส่วนท่อนโคนให้ตัดต่ำกว่าข้อ โดยตัดให้เฉียง เราไม่ควรตัดตรงข้อพอดี เพราะจะทำให้กิ่งสูญเสียอาหารไป นอกจากนี้ บริเวณข้อยังมีเนื้อเยื่อ อัดตัวแน่นและแข็งแรง ช่วยป้องกันการระเหยของน้ำในกิ่งได้เป็นอย่างดี

1.3 การขยายพันธุ์พืชโดยวิธีตอนกิ่ง

ทฤษฎีการตอนกิ่ง

ในการตอนกิ่งจะต้องทำให้เกิดแผลกับลำต้นหรือกิ่ง เพื่อตัดท่ออาหารและ เนื้อเยื่อเจริญของกิ่งนั้นให้ขาดจากกัน แต่ท่อน้ำยังคงอยู่เหมือนเดิม ทำให้สามารถส่งน้ำจากรากไปยอดได้ตามปกติ กิ่งและใบยอดจะยังคงสดอยู่เสมอ ซึ่งเป็นเหตุผลสำคัญของการที่พืชบางชนิดขยายพันธุ์ด้วยการตอนกิ่งได้เป็นผลสำเร็จมากกว่าการตัดชำท่ออาหารให้ขาดจากกัน ทำให้การขนส่งอาหารไม่เกิดขึ้น อาหารที่ส่งมาจากยอดจะไปสะสมตรงเหนือรอยแผลมาก ประกอบกับเนื้อเยื่อเจริญบริเวณแผลถูกตัดขาด เป็นการกระตุ้นเตือนให้เนื้อเยื่อเจริญส่วนนั้นเกิดการแบ่งเซลล์อย่างรวดเร็ว มีเซลล์ที่เกิดใหม่มากมาย (มีอาหารอุดมมบูรณ์จากการสะสมเหนือรอยแผล) จะมีเซลล์ส่วนหนึ่งที่พัฒนาไปเป็นราก ทำหน้าที่ดูดน้ำและธาตุอาหาร

พืชแต่ละชนิดมีความยากง่ายในการที่เนื้อเยื่อเจริญจะพัฒนาไปเป็นราก แตกต่างกัน และการจัดสภาพแวดล้อมให้กับเนื้อเยื่อเจริญที่จะเจริญพัฒนาไปเป็นรากได้ ก็ต้องมีความเหมาะสม โดยเฉพาะเกี่ยวกับอุณหภูมิ ความชื้น และบางครั้งอาจจำเป็นต้องใช้สารควบคุมการเจริญเติบโต

ข้อดีข้อจำกัดของการตอนกิ่ง

ข้อดี คือทำได้ง่าย ประสบผลสำเร็จมากกว่าการปักชำ และได้ต้นกล้าขนาด ใหญ่ ทำให้ได้ผลผลิตเร็ว ไม่กลายพันธุ์ ทรงต้นไม่สูงนัก

ข้อจำกัด คือ

2.1 ไม่มีรากแก้ว ทำให้ไม่สามารถ ทนต่อลมแรง ๆ โค่นล้มได้ง่าย

2.2 กิ่งตอนมีขนาดใหญ่กว่ากิ่งชำ การดูแลรักษาหลังตอนยากกว่ากิ่งตัดชำ

การตอนแบบควั่นกิ่ง

เป็นวิธีที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย ทำได้ง่ายและสะดวก มีขั้นตอนดังนี้

1.1 เลือกกิ่งที่แข็งแรง สมบูรณ์ ไม่เป็นโรคและแมลง

เป็นกิ่งที่อยู่ทางด้านนอกของทรงพุ่ม ได้รับแสงแดดเต็มที่ ถ้าเป็นสวนเพื่อการขยายพันธุ์อย่างเดียวจะเลือกตอนเกือบทุกกิ่ง เหลือไว้บางกิ่งเพื่อเป็นพี่เลี้ยงต้นหลังจากตัดกิ่งตอนออกไป

1.2 การควั่นกิ่ง

สำหรับไม้ผล ควรเลือกกิ่งยาวประมาณ 30-50 เซนติเมตร ส่วนไม้ประดับอาจสั้นกว่านี้ ขึ้นอยู่กับจำนวนต้นที่ต้องการและชนิดของพืช ไม่ควรให้กิ่งมีพุ่มขนาดใหญ่มากนักเพราะจะทำให้เกิดการเหี่ยวแห้งในระยะชำเนื่องจากมีจำนวนใบไม่สมดุลกับจำนวนราก ความยาวของรอยควั่นเท่ากับ 1-2 เท่าของเส้นรอบวงของกิ่ง หรือดูจากความสามารถในการออกราก พืชที่ออกรากง่ายรอยควั่นจะสั้น (ประมาณ 1 เท่าของเส้นรอบวง)ถ้าเป็นพืชที่ออกรากยากรอยควั่นจะห่างประมาณ 1.5-2 เท่าของเส้นรอบวงของกิ่งนั้น คุณบุญชอบ โพธิ์รักษา แนะนำว่า การตอนฝรั่งควรจะควั่นห่างเพียง ½ เซนติเมตร ปล่อยให้แห้งสักครู่จึงค่อยหุ้มขุยมะพร้าว (มีการเสริมด้วยไม้ท่อนเล็ก ๆ ก่อนหุ้มขุยมะพร้าวเพื่อป้องกันกิ่งหัก)

1.3 การขูดเยื่อเจริญ (เมือกลื่น ๆ อยู่ระหว่างส่วนของเปลือกกับเนื้อไม้)

พืชแต่ละชนิดต้องการการขูดเยื่อเจริญต่างกัน ควรจะสังเกตว่าพืชใดต้องขูดเยื่อเจริญมากน้อยเท่าใด พืชบางชนิดไม่ต้องขูดเยื่อเจริญ เช่น ฝรั่ง สนแผง ถ้าขูดแล้วกิ่งมักจะแห้งตายเนื่องจากท่อน้ำถูกทำลาย พืชบางชนิดอาจขูดเยื่อเจริญแล้วหุ้มตามได้เลย (พืชทั่วไป) แต่บางชนิดต้องควั่นทิ้งไว้ให้เยื่อเจริญแห้งประมาณ 1 สัปดาห์ จึงจะหุ้มด้วยขุยมะพร้าว เช่น ละมุด

1.4 การหุ้มรอยควั่น

ปัจจุบันนิยมใช้ถุงพลาสติกขนาดเล็กบรรจุขุยมะพร้าว รัดปากถุงให้แน่น ใช้มีดผ่าถุงหุ้มรอยควั่นให้มิด มัดให้แน่น อย่าให้กระเปาะขุยมะพร้าวหมุนหรือขยับได้ เพราะจะทำให้รากที่งอกหักได้ หุ้มทับด้วยกระดาษเพื่อช่วยลดอุษหภูมิและแสงในขุยมะพร้าว ซึ่งจะทำให้การเดินของรากดีขึ้น บางท่านนิยมหุ้มรอยควั่นด้วยดินเหนียว ก่อนหุ้มด้วยกาบมะพร้าวแช่น้ำทุบให้นิ่ม แล้วหุ้มทับด้วยใบตองแห้งหรือผ้าพลาสติก (ไม่นิยมทำในทางการค้า เนื่องจากต้องใช้เวลา) แต่บางสวนจะผ่าตุ้มมะพร้าวแล้วป้ายดินด้านในเล็กน้อยแทนการหุ้มด้วย

1.5 การดูแลรักษา

คอยดูแลรดน้ำอยู่เสมออย่าให้กระเปาะแห้ง ถ้าขุยมะพร้าวชื้นพอ รัดปากถุงให้แน่นจะไม่ต้องรดน้ำอีกเลย พร้อมกันนี้ต้องระวังไม่ให้มดมากัดทำลายด้วย

1.6 การตัดกิ่งตอนตัดเมื่อรากแก่

เมื่อรากแทงทะลุขุยมะพร้าวออกมา ปลายรากเริ่มมีสีน้ำตาล และกิ่งตอนมีใบแก่ทั้งหมด จึงตัดจากต้นแม่ใต้กระเปาะตอนไปชำ

การตอนแบบกรีดกิ่ง นิยมใช้กับกิ่งที่มีแก่นเล็ก หรือกิ่งที่เปราะหักง่าย มีขั้นตอนการปฏิบัติเช่นเดียวกับการตอนแบบควั่นกิ่ง ต่างกันตรงรอยแผลจะใช้มีดกรีดเปลือกยาวประมาณ 1 นิ้ว 3-4 รอย

การตอนกิ่งแบบปาดกิ่ง มีวิธีปฏิบัติเช่นเดียวกับการตอนแบบกรีดกิ่ง ต่างกันตรงรอยแผล ที่จะทำให้เกิดแผลโดยใช้มีดปาดเฉียงให้ลึกเข้าไปในเนื้อไม้เล็กน้อย ใช้เศษวัสดุ เช่น ไม้จิ้มฟัน ลวดฟิวส์ หรือก้านไม้ขีดขัดรอยแผลไว้ให้เผยอออกมาเป็นลิ้นป้องกันไม่ให้รอยแผลเชื่อมติดกันเท่าใด บริเวณที่สัมผัสดินควรจะยึดกิ่งให้ติดกับดินด้วยไม้ค้ำหรือลวดตัวยู บริเวณที่สัมผัสดินจะงอกรากออกมาบริเวณข้อและแตกตาบริเวณตา หลังจากยอดและรากสมบูรณ์ดีแล้ว จึงตัดให้ขาดจากกิ่งเดิม นำไปแยกปลูกต่อไป นิยมใช้กับต้นมะลิ ประทัดจีน สตรอเบอรี่ เป็นต้น

การตอนแบบกรีดกิ่งและปาดกิ่ง นิยมใช้ในพืชที่มีลำต้นเปราะ เช่น ชวนชม เชอรี่ เป็นต้น

การตอนกิ่งแบบโน้มกิ่ง

นิยมใช้กับกิ่งไม้เลื้อย เช่น มะลิ

ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการตอนกิ่ง

บางครั้งกิ่งตอนเกิดการเหี่ยวแห้ง ตอนแล้วไม่ออกราก มีปัจจัยที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้

1. การเลือกกิ่ง

ควรเลือกกิ่งเพสลาด มีสีน้ำตาล ไม่แก่หรืออ่อนเกินไป ใบยอดควรจะพ้นระยะใบอ่อนเปลือกล่อน ถ้ากิ่งแก่ไปจะออกรากยากและน้อย นอกจากนั้น กิ่งแก่มักจะเป็นกิ่งขนาดใหญ่ เมื่อออกรากแล้วมักจะมีปัญหาในการชำ เพราะขนาดของต้นใหญ่ มีรากน้อย ทำให้ใบกับรากไม่สมดุลกัน ใบจะเหี่ยวเนื่องจากขาดน้ำ กิ่งที่อยู่รอบในทรงพุ่มก็ไม่ควรตอน เพราะจะออกรากช้าและน้อย บางครั้งจะไม่ออกรากเลย นอกจากนั้นควรจะพิจารณาถึง

1.1 ขนาดของกิ่ง

ควรมีขนาดตั้งแต่ขนาดดินสอดำถึงขนาดหัวแม่มือ

1.2 ชนิดของกิ่ง

กิ่งกระโดงเหมาะที่สุด เพราะจะออกรากได้รอบด้าน ถ้าเป็นกิ่งนอกรากจะออกทางด้านบนของกิ่งแล้วห้อยลงตามแรงดึงดูดของโลก ทำให้ได้รากน้อยและรากโตช้า ถ้าจำเป็นต้องเลือกกิ่งนอนควรค้ำหรือโยงให้กิ่งตั้งตรงก่อนแล้วจึงตอน โดยทำไม้หลักไว้กลางพุ่มสำหรับผูกเชือกโยงกิ่งตอนทั้งหลายให้ตั้งขึ้น

2. ฤดูกาล

ควรตอนกิ่งในช่วงฤดูฝนซึ่งเป็นระยะที่พืชกำลังเจริญเติบโต ถ้าตอนกิ่งในฤดูร้อนต้องรดน้ำกระเปาะหุ้มให้ชื้นอยู่เสมอ สำหรับฤดูหนาวไม่แนะนำให้ตอน โดยทั่วไปชาวสวนจะนิยมตอนในฤดูแล้ง เนื่องจากกระเปาะหุ้มจะไม่แฉะซึ่งเป็นสาเหตุให้รากไม่เดิน

3. การใช้ฮอร์โมนเร่งราก

ปัจจุบันเป็นที่ยอมรับกันว่า ฮอร์โมนเร่งรากจะช่วยให้การเกิดรากของกิ่งตอนเร็วขึ้น โดยทาฮอร์โมนเร่งรากบริเวณเหนือรอยควั่น (บริเวณที่จะออกราก) ระวังอย่าทาถึงได้รอยควั่น บริเวณนี้จะเกิดรากเร็วกว่าบริเวณเหนือรอยควั่น เมื่อเห็นรากโผล่ออกมาจากตุ้ม หากตัดไปชำมักจะตาย เนื่องจากไม่สามารถส่งอาหารจากยอดมารากได้ (ท่ออาหารถูกตัดขาด) และพบว่าในระยะนี้รากบริเวณเหนือรอยควั่นมักจะยังเจริญไม่พอด้วย

การตัดและการชำกิ่งตอน

การตัดกิ่งตอนควรจะพิจารณาจากจำนวนรากที่สังเกตเห็นได้ โดยมองผ่านผ้าพลาสติกที่หุ้ม (ควรใช้พลาสติกสีขาวใส) ควรจะมีรากมากพอ ปลายรากมีสีน้ำตาลแก่ เมื่อตัดกิ่งตอนแล้วควรจะมีการตัดแต่งกิ่ง เนื่องจากกิ่งตอนย่อมมีระบบรากน้อยกว่าทางส่วนยอด ดังนั้น ถ้าไม่เอาใจใส่เป็นพิเศษจะไม่สามารถที่จะพยุงต้นไว้ได้ และจะเกิดการคายน้ำมาก ดังนั้นควรปฏิบัติดังนี้

1. ตัดแต่งกิ่งให้สมดุลกับราก

2. ทำการปลูกในภาชนะที่พอเหมาะกับขนาดของต้นและราก มีการค้ำยันด้วยไม้กันไม่ให้กิ่งชำโยก

3. นำกิ่งตอนมาไว้ในที่ชื้นและเย็น รดน้ำสม่ำเสมอ จนกิ่งตอนตั้งตัวดีแล้วจึงย้ายปลูก

ข้อพิจารณาในการตอน

1. ในกรณีที่ต้องการกิ่งตอนขนาดใหญ่ ควรจะมีการเพิ่มขนาดของตุ้ม โดยการหุ้มขุยมะพร้าวทับตุ้มเดิมอีกครั้งหนึ่ง หรือใช้ตุ้มครั้งแรกให้มีขนาดใหญ่ขึ้นอีกนิด ทั้งนี้ ต้องระวังปัญหาตุ้มใหญ่เกินไป อาจทำให้กิ่งหักได้

2. ในพืชบางชนิดกิ่งมีขนาดค่อนข้างเล็ก กิ่งเปราะหักง่ายการตอนควรจะมีการดามด้วยไม้เพื่อป้องกันไม่ให้กิ่งหัก

3. การหุ้มตุ้มตอนด้วยกระดาษเพื่อกรองแสงไม่ให้ตุ้มมีอุณหภูมิสูงเกินไป หากขุยมะพร้าวมีความชื้นสูงร่วมด้วย จะเกิดอันตรายกับรากได้ เพื่อความปลอดภัยจึงควรจะหุ้มตุ้มด้วยกระดาษอีกชั้นหนึ่ง ซึ่งมีประโยชน์อีกประการคือ ทำให้รากเดินดีขึ้น (ภายในถุงขุยมะพร้าวจะมืด)

เทคโนโลยีสารสนเทศหมายถึง อุปกรณ์หรือเครื่องมือที่เกี่ยวข้องกับการรวบรวมประมวล เก็บรักษา และเผยแพร่ข้อมูลและสารสนเทศโดยรวมทั้งฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ฐานข้อมูล และการสื่อสาร โทรคมนาคม ระบบสารสนเทศสร้างขึ้นมาเพื่อจุดมุ่งหมายหลายประการจุดมุ่งหมายพื้นฐานประการหนึ่ง คือ การประมวลข้อมูล (Data) ให้เป็นสารสนเทศ (Information) และนำไปสู่ความรู้ (Knowledge) ที่ช่วยแก้ปัญหาในการดำเนินงาน

ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ

1. ช่วยในการจัดระบบข่าวสารจำนวนมหาศาลของแต่ละวัน

2. เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตสารสนเทศ เช่น การคำนวณตัวเลขที่ยุ่งยากซับซ้อน การจัดเรียงลำดับสารสนเทศ ฯลฯ

3. ช่วยให้สามารถเก็บสารสนเทศไว้ในรูปที่สามารถเรียกใช้ได้ทุกครั้งอย่างสะดวก

4. ช่วยให้สามารถจัดระบบอัตโนมัติ เพื่อการจัดเก็บประมวลผล และเรียกใช้สารสนเทศูล

5. ช่วยในการเข้าถึงสารสนเทศได้อย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพมากขึ้น

6. ช่วยในการสื่อสารระหว่างกันได้อย่างสะดวกรวดเร็ว ลดอุปสรรคเกี่ยวกับเวลา และระยะทาง โดยการใช้ระบบโทรศัพท์ และอื่นๆ

ประโยชน์ของเทคโนโลยีสารสนเทศ

การกำเนิดของคอมพิวเตอร์เมื่อประมาณห้าสิบกว่าปีที่แล้ว เป็นก้าวสำคัญที่นำไปสู่ยุคสารสนเทศ ในช่วงแรกมีการนำเอาคอมพิวเตอร์มาใช้เป็นเครื่องคำนวณ แต่ต่อมาได้มีความพยายามพัฒนาให้คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์สำคัญสำหรับการจัดการข้อมูล เมื่อเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ได้ก้าวหน้ามากขึ้น ทำให้สามารถสร้างคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กลง แต่ประสิทธิภาพสูงขึ้น สภาพการใช้งานจึงใช้งานกันอย่างแพร่หลาย ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีต่อชีวิตความเป็นอยู่และสังคมจึงมีมาก มีการเรียนรู้และใช้สารสนเทศกันอย่างกว้างขวาง ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศโดยรวมกล่าวได้ดังนี้

1. การสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สภาพความเป็นอยู่ของสังคมเมือง มีการพัฒนาใช้ระบบสื่อสารโทรคมนาคม เพื่อติดต่อสื่อสารให้สะดวกขึ้น มีการประยุกต์มาใช้กับเครื่องอำนวยความสะดวกภายในบ้าน เช่น ใช้ควบคุมเครื่องปรับอากาศ ใช้ควมคุมระบบไฟฟ้าภายในบ้าน เป็นต้น

2. เสริมสร้างความเท่าเทียมในสังคมและการกระจายโอกาส เทคโนโลยีสารสนเทศทำให้เกิดการกระจายไปทั่วทุกหนแห่ง แม้แต่ถิ่นทุรกันดาร ทำให้มีการกระจายโอกาสการเรียนรู้ มีการใช้ระบบการเรียนการสอนทางไกล เสริมสร้างการเรียนรู้ เพราะปัจจุบันมีสื่อการศึกษาที่ทันสมัยมากขึ้นนอกจากหนังสือเรียนธรรมดาแล้ว ยังมี วีดีทัศน์ อินเตอร์เน็ต เป็นต้น ที่ช่วยเสริมสร้างการเรียนรู้ด้วยตนเองของผู้เรียน

3. สารสนเทศกับการเรียนการสอนในโรงเรียน การเรียนการสอนในโรงเรียนมีการนำคอมพิวเตอร์และเครื่องมือประกอบช่วยในการเรียนรู้ เช่น วีดีทัศน์ เครื่องฉายภาพ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน คอมพิวเตอร์ช่วยจัดการศึกษา จัดตารางสอน คำนวณระดับคะแนน หรืออย่างที่ครูเป๋งให้เราฝึกทำBlog ไงล่ะคะ ปัจจุบันมีการเรียนการสอนทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศในโรงเรียนจึงมากขึ้น

4.เทคโนโลยีสารสนเทศกับสิ่งแวดล้อม การจัดการทรัพยากรธรรมชาติหลายอย่างจำเป็นต้องใช้สารสนเทศ เช่น การดูแลรักษาป่า จำเป็นต้องใช้ข้อมูล มีการใช้ภาพถ่ายดาวเทียม การติดตามข้อมูลสภาพอากาศ การพยากรณ์อากาศ การจำลองรูปแบบสภาวะสิ่งแวดล้อมเพื่อปรับปรุงแก้ไข การเก็บรวมรวมข้อมูลคุณภาพน้ำในแม่น้ำต่าง ๆ การตรวจวัดมลภาวะ ตลอดจนการใช้ระบบการตรวจวัดระยะไกลมาช่วย ที่เรียกว่าโทรมาตร เป็นต้น

เทคโนโลยีสารสนเทศกับการป้องกันประเทศ กิจการทางด้านการทหารมีการใช้เทคโนโลยี อาวุธยุทโธปกรณ์สมัยใหม่ล้วนแต่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์และระบบควบคุม มีการใช้ระบบป้องกันภัย ระบบเฝ้าระวังที่มีคอมพิวเตอร์ควบคุมการทำงาน

นายณรงค์ ศีรหันเลขที่14ม.3/1

1. การต่อกิ่งเป็นวิธีการขยายพันธุ์พืชแบบไม่ใช้เพศด้วยวิธีการนำกิ่งพืชสอง ชนิดมาเชื่อมต่อกันให้เจริญเป็นต้นเดียวกันส่วนของพืชที่เจริญเป็นรากเรียกว่า ต้นตอ (rootstock หรือ stock) และส่วนที่นำมาต่ออยู่บนต้นตอเป็นส่วนที่เจริญ เป็นกิ่งก้าน ออกดอกติดผลต่อไป เรียกว่า กิ่งพันธุ์ดี (scion) ซึ่งเป็นส่วนของ กิ่งพืชที่มีตามากกว่าหนึ่งตาขึ้นไปมาเชื่อมต่อกับต้นตอความสำเร็จของการต่อกิ่ง จะเกิดขึ้นได้นั้นต้องมีการเชื่อมต่อ ระหว่างเนื้อเยื่อต้นตอและกิ่งพันธุ์ดี สามารถลำเลียงน้ำและอาหารผ่าน บริเวณรอยต่อ ได้เนื้อเยื่อบริเวณ รอยต่อ(graft union)นี้เกิดจากเนื้อเยื่อ ของต้นตอและกิ่งพันธุ์ดีมาเรียงตัว อยู่ด้วยกันโดยไม่เกิดการรวมตัวของเซลล์ระหว่างพืชทั้งสองชนิด

เนื้อเยื่อที่เกิดขึ้นถูกสร้างขึ้นมา สมานแผลเป็น เซลล์ parenchyma จำนวนมากประกอบกัน เป็นเนื้อเยื่อ callus เกิดขึ้นภายใน 2-3 วัน รอยแผลที่เกิดจาก การเฉือนกิ่งจะมีส่วนที่ตายไปและมีการสร้างสาร nicrotic เพื่อรักษาบาดแผล ส่วนมากสารเหล่านี้จะหายไป เมื่อเกิดการเชื่อมต่อกันดีแล้วหรือยังอยู่ในช่องว่างระหว่าง เซลล์ก็ได้อาจพบเป็นเซลล์ที่ตายและเยินจากเนื้อเยื่อ

การเกิดรอยต่อได้นั้นต้องวางให้เนื้อเยื่อแคมเบียมของต้นตอและกิ่งพันธุ์ดี อยู่แนบหรือใกล้กันมากที่สุดแล้วจะมีการสร้างเนื้อเยื่อแคลลัสใหม่เกิดขึ้น จากทั้งสองส่วนจนเต็มช่องว่างระหว่างกันเรียกว่า callus bridge ซึ่งจะมีการ พัฒนาไปเป็นเนื้อเยื่อเจริญ (vascular cambium) ภายใน 2-3 สัปดาห์และมี การสร้างท่อน้ำ (xylem) และท่ออาหาร (phloem) เชื่อมกันต่อไป การปรับสภาพแวดล้อมภายนอกให้เหมาะสมมีผลต่อความสำเร็จในการต่อกิ่งด้วย คือ อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการแบ่งเซลล์บริเวณรอยต่ออยู่ระหว่าง 12.8-32.0 องศาเซลเซียส เมื่อเกิดเนื้อเยื่อ callus ขึ้นต้องควบคุมความชื้นบริเวณรอยต่อให้เหมาะสมเนื่องจากเซลล์มีผนังบางและเต่งจึงแห้งตายได้ง่าย จำเป็นต้องพันพลาสติกหรือใช้ถุงพลาสติกคลุมทับ การป้องกันแผลไม่ให้มีการติดเชื้อที่จะทำให้เน่าตายได้เช่นกัน

นอกจากนั้นความสัมพันธ์ของระยะการเจริญเติบโตของตาบนกิ่งพันธุ์ดีจะต้องพอเหมาะกับการพัฒนาการของเนื้อเยื่อบริเวณรอยต่อด้วย กล่าวคือ ขั้นตอนการสร้างท่อน้ำท่ออาหาร ต้องเกิดขึ้นอย่างสมบูรณ์ก่อนที่จะมีใบใหม่เจริญจากตาของกิ่งพันธุ์ดี มิฉะนั้นจะเกิดการแห้งตายของตานั้นได้

การเข้ากันได้ (compatibility) ของพืชทั้งสองชนิดมีส่วนต่อความสำเร็จในการต่อกิ่งด้วย การเลือกใช้ต้นตอและกิ่งพันธุ์ที่มีความใกล้ชิดกันทางพฤกษศาสตร์จะต่อกันได้ดีและรอยต่อเจริญ เหมือนเป็นต้นเดียวกัน เช่น มะม่วงแต่ละพันธุ์จัดเป็นชนิด (species) เดียวกันจึงต่อกิ่งได้ง่าย แต่พืชบางชนิดสามารถเข้ากันได้ดีถึงแม้จะมีความแตกต่างกันมาก เช่น ส้มสามใบ (Poncitrus trifoliata) ต่อด้วยส้มเขียวหวาน (Citrus reticulata) มีพืชหลายคู่ที่สามารถต่อกันได้ในระยะแรก แต่เมื่อเวลาผ่านไปจะมีอาการของการเข้ากันไม่ได้ (incompatibility) เกิดรอยต่อแยกจากกันหรือมีการเติบโตผิดปกติ เช่น ต้นดอนย่าสีชมพูต่อบนดอนย่าสีขาวทักษะและประสบการณ์ของผู้ปฏิบัติงานมีส่วนสำคัญเช่นกัน นอกจากนั้นเครื่องมือที่ใช้ คือ มีดเฉือนกิ่ง ควรอยู่ในสภาพที่คมสามารถเฉือนกิ่งได้โดยไม่ทำให้เนื่อเยื่อชอกช้ำหรือเยินเสียหาย ผู้ปฏิบัติงานต้องทำงานอย่างรวดเร็วและรักษาความสะอาดของแผลบนกิ่งพันธุ์ดี และต้นตอด้วย การเลือกใช้วิธีการต่อกิ่งที่เหมาะสมกับพืชและระยะเวลาเป็นสิ่งสำคัญอีกประการหนึ่งที่ผู้ปฏิบัติงานต้องให้ความสำคัญด้วย กล่าวคือการเลือกใช้วิธีต่อกิ่งกับต้นพืชที่อยู่ในระยะการเจริญเติบโตสามารถลอกเปลือกได้ หรืออยู่ในระยะพักตัว นอกจากนั้นการดูแลเอาใจใส่อย่างใกล้ชิดภายหลังการปฏิบัติงานมีส่วนต่อความสำเร็จของงานด้วย

วิธีการต่อกิ่ง สามารถปฏิบัติได้หลายวิธี ขึ้นอยู่กับชนิดของพืช อายุและขนาดของพืชด้วย นอกจากนั้นยังเกี่ยวข้องกับวัตถุประสงค์ของการต่อกิ่งนั้นๆ ด้วย ในแต่ละวิธีที่จะกล่าวถึงต่อไปนั้นมีหลักพิจารณาในการเลือกปฏิบัติคือ การลอกเปลือกไม้ และการตัดยอดของต้นตอประโยชน์ของการต่อกิ่งและการนำไปใช้

1. เป็นวิธีการขยายพันธุ์พืชเพื่อเพิ่มจำนวนสายต้น (cultivar) ให้มีปริมาณมากโดยกิ่งพันธุ์ดีไม่ต้องใช้เวลานานในการออกดอกติดผล

2. เป็นทางเลือกในการขยายพันธุ์พืชที่ไม่สามารถใช้วิธีการอื่นได้ผลสำเร็จ เช่น การออกรากของกิ่งปักชำหรือกิ่งตอนไม่มาก

3. ต้องการใช้ประโยชน์จากความทนทานต่อสภาพแวดล้อมของระบบรากในต้นตอ เช่น รากของต้นตอที่เจริญเติบโตได้ในที่มีอุณหภูมิต่ำ น้ำท่วมขัง มีความต้านทานโรคและแมลงในดินได้ดี

4. สามารถนำกิ่งพันธุ์ ที่ช่วยในการผสมเกสรให้กับต้นพันธุ์ที่ต้องการเก็บผลผลิต เพื่อให้มีการผสมข้ามพันธุ์แล้วติดผลดีขึ้น หรือเป็นต้นที่แยกเพศ (dioecious plant)

5. ทำให้ในต้นหนึ่งต้นมีหลายพันธุ์อยู่ด้วยกันเพื่อเก็บผลผลิตต่างพันธุ์หรือความสวยงาม

6. ต้นพันธุ์บางชนิดมีการเจริญเติบโตได้ดีกว่าเมื่อต่ออยู่บนระบบรากของอีกพันธุ์หนึ่ง

7. ต้องการให้อิทธิพลของความแคระมีผลต่อต้นตอหรือกิ่งพันธุ์ดี ทำให้ขนาดทรงพุ่มเตี้ย

8. ช่วยให้พืชที่เข้ากันไม่ได้ (incompatibility) ประสานอยู่ด้วยกันได้ โดยใช้ interstock มาต่อกิ่งอยู่ระหว่างต้นตอและกิ่งพันธุ์ดี

9. ใช้สำหรับการซ่อมแซมความเสียหายที่เกิดขึ้นกับลำต้นที่เปลือกถูกแมลงหรือสัตว์กัดแทะหรือเครื่องมือในสวนทำให้เกิดความเสียหายจึงใช้การต่อกิ่งเชื่อมต่อส่วนเปลือกลำต้นให้เจริญเติบโตได้ตามปกติ เรียกว่า การต่อกิ่งแบบเชื่อมสะพาน

10. เพื่อการศึกษาโรคไวรัสที่สามารถถ่ายทอดจากกิ่งพันธุ์ที่สงสัยมีการติดโรคต่อกิ่งบนต้นที่อ่อนแอต่อโรค (indicator plant) ซึ่งสามารถแสดงอาการของโรคไวรัสได้ชัดเจน เป็นเทคนิคที่เรียกว่า virus indexing

2. การปักชำ คือการใช้ส่วนต่างๆ ของพืช เช่น ราก ใบ หรือ ลำต้น ไปปักชำ และส่วนของพืชเหล่านี้จะเจริญงอกงามเป็นลำต้นต่อไป

การปักชำเป็นวิธีขยายพันธุ์พืชที่ดีวิธีหนึ่งซึ่งมีข้อดี ดังนี้

1. ประหยัดค่าใช้จ่าย

2. ขยายพันธุ์ได้ปริมาณมาก

3. ทำได้ง่ายโดยไม่ต้องอาศัยเทคนิคหรือความสามารถมาก

4. ต้นพืชเจริญเติบโตเร็ว โดยใช้ระยะเวลาไม่นาน

5. พืชต้นใหม่ที่ได้จะมีลักษณะเหมือนต้นเดิมทุกประการ

วัสดุที่ใช้ในการปักชำ

กระบะ ดิน ทราบ แกลบ ปุ๋ยคอก ขุยมะพร้าว ใบไม้ผุ

การปักชำสามารถทำได้หลายวิธี ดังนี้

1. การปักชำราก เป็นการเอารากของพืชมาปักชำ อาจปักลงไปในดิน ในทราย หรือในเถ้าแกลบก็ได้ เพื่อส่วนของรากนั้นงอกเป็นลำต้นต่อไป พืชที่ใช้รากปักชำ เช่น มันเทศ สน สาเก เข็มอินเดียเป็นต้น วิธีการชำรากทำได้ ดังนี้

1.1 ตัดรากไม้ออกเป็นท่อนๆ

1.2 วางรากบนดิน การปักชำรากไม่นิยมปักในแนวตั้ง แต่นิยมวางในแนวนอน หรือวางในแนวเฉียงเล็กน้อย

2. การปักชำใบ โดยทั่วไปแล้วใบจะแตกเป็นกิ่งไม่ได้ แต่มีพืชบางชนิดสามารถนำใบมาปักชำให้เจริญเติบโตเป็นต้นต่อไปได้ เช่น ลิ้นมังกร กุหลาบหิน คว่ำตายหงายเป็น เป็นต้น การปักชำใบมี 4 วิธี

วิธีที่ 1 การปักชำโดยใช้ใบ

ให้ นำใบที่ไม่ใช่ใบอ่อนมาตัดเป็นส่วนๆ หรือทั้งใบแล้วนำไปวางเป็นวัสดุ เช่น ทราย หรือดิน โดยให้ด้านบนของใบหงายขึ้น พืชที่นิยม เช่น คว่ำตายหงายเป็น กุหลาบหิน

วิธีที่ 2 การปักชำโดยใช้ก้านใบ

ให้ตัดก้านใบให้หลุดออกจากกิ่งแล้วนำไปปักชำก็จะเจริญเติบโตเป็นต้นใหม่ได้ เช่น กุหลาบหิน

วิธีที่ 3 การปักชำโดยใช้ก้านใบที่ส่วนของกิ่ง

ให้ เอาใบมา โดยเฉือนส่วนของกิ่งให้มีตาติดมาด้วย (มิใช่นำมาทั้งกิ่ง) แล้วนำไปปักชำ ส่วนตาที่ติดมากับกิ่งก็จะเจริญเติบโตเป็นต้นต่อไป วิธีนี้นิยมใช้กับ ฟิโลเดนดรอน ต้นยางอินเดีย

วิธีที่ 4 การใช้ใบติดกิ่งมาปักชำ

ให้ ตัดกิ่งที่จะนำมาปักชำ โดยกิ่งนั้นต้องมีตาเดียว และมีใบติดมาด้วยแล้วนำส่วนของกิ่งบางส่วนปักลงในดินให้ใบ และกิ่งส่วนหนึ่งโผล่ขึ้นมา เพียงเล็กน้อย พืชที่นิยมขยายพันธุ์แบบนี้ ได้แก่ ฟิโลเดนดรอน

การปักชำกิ่ง

เป็นวิธีที่นิยมกันมากและทำกัน มานานแล้ว เราไม่จำเป็นต้องพิถีพิถันกับวัสดุที่ใช้ในการปักชำมากนัก ปัจจุบันนิยมกัน แพร่หลายเพราะประหยัดค่าใช้จ่าย ใช้ระยะเวลาสั้น และได้ลักษณะพันธุ์เดิม การปักชำกิ่งแบ่งเป็น 3 ประเภท

1. การปักชำกิ่งประเภทที่มีเนื้ออวบน้ำ เช่น ฤาษีผสม กิ่งชนิดนี้จะอ่อน บอบบาง และช้ำง่าย ฉะนั้นจึงต้องการความประณีต ในการปฏิบัติ คือต้องระวังในเรื่องความชื้น แสง และอุณหภูมิ

2. การปักชำกิ่งที่มีความแข็งของเนื้อไม้ปานกลาง เช่น ว่านกวนอิม อายุของกิ่งประมาณ 3 - 6 เดือน ผิวเปลือกของกิ่งมี สีอมเขียว ยังไม่เป็นสีน้ำตาล กิ่งประเภทนี้มีเนื้อไม้อ่อนไม่แข็งแรงนัก ฉะนั้นจึงควรระมัดระวังเรื่องน้ำ อุณหภูมิ และแสงสว่างให้มาก เพราะกิ่งประเภทนี้จะเหี่ยวแห้งได้ง่าย

2. การปักชำไม้ที่มีอายุเกิน 1 ปีขึ้นไป วิธีนี้นิยมกันมาก การเลือกกิ่งไม้ที่จะนำมาปักชำ ควรเลือกกิ่งที่มีสีน้ำตาล ก่อนปักชำควร ปักกิ่งชำให้มีตาอย่างน้อย 2-3 ตา การตัดควรตัดเป็นท่อน ๆ ขนาด ยาว 6-8 เซนติเมตร การตัดท่อนปลายกิ่งให้ตัดเหนือข้อ ส่วนท่อนโคนให้ตัดต่ำกว่าข้อ โดยตัดให้เฉียง เราไม่ควรตัดตรงข้อพอดี เพราะจะทำให้กิ่งสูญเสียอาหารไป นอกจากนี้ บริเวณข้อยังมีเนื้อเยื่อ อัดตัวแน่นและแข็งแรง ช่วยป้องกันการระเหยของน้ำในกิ่งได้เป็นอย่างดี

1.3 การขยายพันธุ์พืชโดยวิธีตอนกิ่ง

ทฤษฎีการตอนกิ่ง

ในการตอนกิ่งจะต้องทำให้เกิดแผลกับลำต้นหรือกิ่ง เพื่อตัดท่ออาหารและ เนื้อเยื่อเจริญของกิ่งนั้นให้ขาดจากกัน แต่ท่อน้ำยังคงอยู่เหมือนเดิม ทำให้สามารถส่งน้ำจากรากไปยอดได้ตามปกติ กิ่งและใบยอดจะยังคงสดอยู่เสมอ ซึ่งเป็นเหตุผลสำคัญของการที่พืชบางชนิดขยายพันธุ์ด้วยการตอนกิ่งได้เป็นผลสำเร็จมากกว่าการตัดชำท่ออาหารให้ขาดจากกัน ทำให้การขนส่งอาหารไม่เกิดขึ้น อาหารที่ส่งมาจากยอดจะไปสะสมตรงเหนือรอยแผลมาก ประกอบกับเนื้อเยื่อเจริญบริเวณแผลถูกตัดขาด เป็นการกระตุ้นเตือนให้เนื้อเยื่อเจริญส่วนนั้นเกิดการแบ่งเซลล์อย่างรวดเร็ว มีเซลล์ที่เกิดใหม่มากมาย (มีอาหารอุดมมบูรณ์จากการสะสมเหนือรอยแผล) จะมีเซลล์ส่วนหนึ่งที่พัฒนาไปเป็นราก ทำหน้าที่ดูดน้ำและธาตุอาหาร

พืชแต่ละชนิดมีความยากง่ายในการที่เนื้อเยื่อเจริญจะพัฒนาไปเป็นราก แตกต่างกัน และการจัดสภาพแวดล้อมให้กับเนื้อเยื่อเจริญที่จะเจริญพัฒนาไปเป็นรากได้ ก็ต้องมีความเหมาะสม โดยเฉพาะเกี่ยวกับอุณหภูมิ ความชื้น และบางครั้งอาจจำเป็นต้องใช้สารควบคุมการเจริญเติบโต

ข้อดีข้อจำกัดของการตอนกิ่ง

ข้อดี คือทำได้ง่าย ประสบผลสำเร็จมากกว่าการปักชำ และได้ต้นกล้าขนาด ใหญ่ ทำให้ได้ผลผลิตเร็ว ไม่กลายพันธุ์ ทรงต้นไม่สูงนัก

ข้อจำกัด คือ

2.1 ไม่มีรากแก้ว ทำให้ไม่สามารถ ทนต่อลมแรง ๆ โค่นล้มได้ง่าย

2.2 กิ่งตอนมีขนาดใหญ่กว่ากิ่งชำ การดูแลรักษาหลังตอนยากกว่ากิ่งตัดชำ

การตอนแบบควั่นกิ่ง

เป็นวิธีที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย ทำได้ง่ายและสะดวก มีขั้นตอนดังนี้

1.1 เลือกกิ่งที่แข็งแรง สมบูรณ์ ไม่เป็นโรคและแมลง

เป็นกิ่งที่อยู่ทางด้านนอกของทรงพุ่ม ได้รับแสงแดดเต็มที่ ถ้าเป็นสวนเพื่อการขยายพันธุ์อย่างเดียวจะเลือกตอนเกือบทุกกิ่ง เหลือไว้บางกิ่งเพื่อเป็นพี่เลี้ยงต้นหลังจากตัดกิ่งตอนออกไป

1.2 การควั่นกิ่ง

สำหรับไม้ผล ควรเลือกกิ่งยาวประมาณ 30-50 เซนติเมตร ส่วนไม้ประดับอาจสั้นกว่านี้ ขึ้นอยู่กับจำนวนต้นที่ต้องการและชนิดของพืช ไม่ควรให้กิ่งมีพุ่มขนาดใหญ่มากนักเพราะจะทำให้เกิดการเหี่ยวแห้งในระยะชำเนื่องจากมีจำนวนใบไม่สมดุลกับจำนวนราก ความยาวของรอยควั่นเท่ากับ 1-2 เท่าของเส้นรอบวงของกิ่ง หรือดูจากความสามารถในการออกราก พืชที่ออกรากง่ายรอยควั่นจะสั้น (ประมาณ 1 เท่าของเส้นรอบวง)ถ้าเป็นพืชที่ออกรากยากรอยควั่นจะห่างประมาณ 1.5-2 เท่าของเส้นรอบวงของกิ่งนั้น คุณบุญชอบ โพธิ์รักษา แนะนำว่า การตอนฝรั่งควรจะควั่นห่างเพียง ½ เซนติเมตร ปล่อยให้แห้งสักครู่จึงค่อยหุ้มขุยมะพร้าว (มีการเสริมด้วยไม้ท่อนเล็ก ๆ ก่อนหุ้มขุยมะพร้าวเพื่อป้องกันกิ่งหัก)

1.3 การขูดเยื่อเจริญ (เมือกลื่น ๆ อยู่ระหว่างส่วนของเปลือกกับเนื้อไม้)

พืชแต่ละชนิดต้องการการขูดเยื่อเจริญต่างกัน ควรจะสังเกตว่าพืชใดต้องขูดเยื่อเจริญมากน้อยเท่าใด พืชบางชนิดไม่ต้องขูดเยื่อเจริญ เช่น ฝรั่ง สนแผง ถ้าขูดแล้วกิ่งมักจะแห้งตายเนื่องจากท่อน้ำถูกทำลาย พืชบางชนิดอาจขูดเยื่อเจริญแล้วหุ้มตามได้เลย (พืชทั่วไป) แต่บางชนิดต้องควั่นทิ้งไว้ให้เยื่อเจริญแห้งประมาณ 1 สัปดาห์ จึงจะหุ้มด้วยขุยมะพร้าว เช่น ละมุด

1.4 การหุ้มรอยควั่น

ปัจจุบันนิยมใช้ถุงพลาสติกขนาดเล็กบรรจุขุยมะพร้าว รัดปากถุงให้แน่น ใช้มีดผ่าถุงหุ้มรอยควั่นให้มิด มัดให้แน่น อย่าให้กระเปาะขุยมะพร้าวหมุนหรือขยับได้ เพราะจะทำให้รากที่งอกหักได้ หุ้มทับด้วยกระดาษเพื่อช่วยลดอุษหภูมิและแสงในขุยมะพร้าว ซึ่งจะทำให้การเดินของรากดีขึ้น บางท่านนิยมหุ้มรอยควั่นด้วยดินเหนียว ก่อนหุ้มด้วยกาบมะพร้าวแช่น้ำทุบให้นิ่ม แล้วหุ้มทับด้วยใบตองแห้งหรือผ้าพลาสติก (ไม่นิยมทำในทางการค้า เนื่องจากต้องใช้เวลา) แต่บางสวนจะผ่าตุ้มมะพร้าวแล้วป้ายดินด้านในเล็กน้อยแทนการหุ้มด้วย

1.5 การดูแลรักษา

คอยดูแลรดน้ำอยู่เสมออย่าให้กระเปาะแห้ง ถ้าขุยมะพร้าวชื้นพอ รัดปากถุงให้แน่นจะไม่ต้องรดน้ำอีกเลย พร้อมกันนี้ต้องระวังไม่ให้มดมากัดทำลายด้วย

1.6 การตัดกิ่งตอนตัดเมื่อรากแก่

เมื่อรากแทงทะลุขุยมะพร้าวออกมา ปลายรากเริ่มมีสีน้ำตาล และกิ่งตอนมีใบแก่ทั้งหมด จึงตัดจากต้นแม่ใต้กระเปาะตอนไปชำ

การตอนแบบกรีดกิ่ง นิยมใช้กับกิ่งที่มีแก่นเล็ก หรือกิ่งที่เปราะหักง่าย มีขั้นตอนการปฏิบัติเช่นเดียวกับการตอนแบบควั่นกิ่ง ต่างกันตรงรอยแผลจะใช้มีดกรีดเปลือกยาวประมาณ 1 นิ้ว 3-4 รอย

การตอนกิ่งแบบปาดกิ่ง มีวิธีปฏิบัติเช่นเดียวกับการตอนแบบกรีดกิ่ง ต่างกันตรงรอยแผล ที่จะทำให้เกิดแผลโดยใช้มีดปาดเฉียงให้ลึกเข้าไปในเนื้อไม้เล็กน้อย ใช้เศษวัสดุ เช่น ไม้จิ้มฟัน ลวดฟิวส์ หรือก้านไม้ขีดขัดรอยแผลไว้ให้เผยอออกมาเป็นลิ้นป้องกันไม่ให้รอยแผลเชื่อมติดกันเท่าใด บริเวณที่สัมผัสดินควรจะยึดกิ่งให้ติดกับดินด้วยไม้ค้ำหรือลวดตัวยู บริเวณที่สัมผัสดินจะงอกรากออกมาบริเวณข้อและแตกตาบริเวณตา หลังจากยอดและรากสมบูรณ์ดีแล้ว จึงตัดให้ขาดจากกิ่งเดิม นำไปแยกปลูกต่อไป นิยมใช้กับต้นมะลิ ประทัดจีน สตรอเบอรี่ เป็นต้น

การตอนแบบกรีดกิ่งและปาดกิ่ง นิยมใช้ในพืชที่มีลำต้นเปราะ เช่น ชวนชม เชอรี่ เป็นต้น

การตอนกิ่งแบบโน้มกิ่ง

นิยมใช้กับกิ่งไม้เลื้อย เช่น มะลิ

ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการตอนกิ่ง

บางครั้งกิ่งตอนเกิดการเหี่ยวแห้ง ตอนแล้วไม่ออกราก มีปัจจัยที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้

1. การเลือกกิ่ง

ควรเลือกกิ่งเพสลาด มีสีน้ำตาล ไม่แก่หรืออ่อนเกินไป ใบยอดควรจะพ้นระยะใบอ่อนเปลือกล่อน ถ้ากิ่งแก่ไปจะออกรากยากและน้อย นอกจากนั้น กิ่งแก่มักจะเป็นกิ่งขนาดใหญ่ เมื่อออกรากแล้วมักจะมีปัญหาในการชำ เพราะขนาดของต้นใหญ่ มีรากน้อย ทำให้ใบกับรากไม่สมดุลกัน ใบจะเหี่ยวเนื่องจากขาดน้ำ กิ่งที่อยู่รอบในทรงพุ่มก็ไม่ควรตอน เพราะจะออกรากช้าและน้อย บางครั้งจะไม่ออกรากเลย นอกจากนั้นควรจะพิจารณาถึง

1.1 ขนาดของกิ่ง

ควรมีขนาดตั้งแต่ขนาดดินสอดำถึงขนาดหัวแม่มือ

1.2 ชนิดของกิ่ง

กิ่งกระโดงเหมาะที่สุด เพราะจะออกรากได้รอบด้าน ถ้าเป็นกิ่งนอกรากจะออกทางด้านบนของกิ่งแล้วห้อยลงตามแรงดึงดูดของโลก ทำให้ได้รากน้อยและรากโตช้า ถ้าจำเป็นต้องเลือกกิ่งนอนควรค้ำหรือโยงให้กิ่งตั้งตรงก่อนแล้วจึงตอน โดยทำไม้หลักไว้กลางพุ่มสำหรับผูกเชือกโยงกิ่งตอนทั้งหลายให้ตั้งขึ้น

2. ฤดูกาล

ควรตอนกิ่งในช่วงฤดูฝนซึ่งเป็นระยะที่พืชกำลังเจริญเติบโต ถ้าตอนกิ่งในฤดูร้อนต้องรดน้ำกระเปาะหุ้มให้ชื้นอยู่เสมอ สำหรับฤดูหนาวไม่แนะนำให้ตอน โดยทั่วไปชาวสวนจะนิยมตอนในฤดูแล้ง เนื่องจากกระเปาะหุ้มจะไม่แฉะซึ่งเป็นสาเหตุให้รากไม่เดิน

3. การใช้ฮอร์โมนเร่งราก

ปัจจุบันเป็นที่ยอมรับกันว่า ฮอร์โมนเร่งรากจะช่วยให้การเกิดรากของกิ่งตอนเร็วขึ้น โดยทาฮอร์โมนเร่งรากบริเวณเหนือรอยควั่น (บริเวณที่จะออกราก) ระวังอย่าทาถึงได้รอยควั่น บริเวณนี้จะเกิดรากเร็วกว่าบริเวณเหนือรอยควั่น เมื่อเห็นรากโผล่ออกมาจากตุ้ม หากตัดไปชำมักจะตาย เนื่องจากไม่สามารถส่งอาหารจากยอดมารากได้ (ท่ออาหารถูกตัดขาด) และพบว่าในระยะนี้รากบริเวณเหนือรอยควั่นมักจะยังเจริญไม่พอด้วย

การตัดและการชำกิ่งตอน

การตัดกิ่งตอนควรจะพิจารณาจากจำนวนรากที่สังเกตเห็นได้ โดยมองผ่านผ้าพลาสติกที่หุ้ม (ควรใช้พลาสติกสีขาวใส) ควรจะมีรากมากพอ ปลายรากมีสีน้ำตาลแก่ เมื่อตัดกิ่งตอนแล้วควรจะมีการตัดแต่งกิ่ง เนื่องจากกิ่งตอนย่อมมีระบบรากน้อยกว่าทางส่วนยอด ดังนั้น ถ้าไม่เอาใจใส่เป็นพิเศษจะไม่สามารถที่จะพยุงต้นไว้ได้ และจะเกิดการคายน้ำมาก ดังนั้นควรปฏิบัติดังนี้

1. ตัดแต่งกิ่งให้สมดุลกับราก

2. ทำการปลูกในภาชนะที่พอเหมาะกับขนาดของต้นและราก มีการค้ำยันด้วยไม้กันไม่ให้กิ่งชำโยก

3. นำกิ่งตอนมาไว้ในที่ชื้นและเย็น รดน้ำสม่ำเสมอ จนกิ่งตอนตั้งตัวดีแล้วจึงย้ายปลูก

ข้อพิจารณาในการตอน

1. ในกรณีที่ต้องการกิ่งตอนขนาดใหญ่ ควรจะมีการเพิ่มขนาดของตุ้ม โดยการหุ้มขุยมะพร้าวทับตุ้มเดิมอีกครั้งหนึ่ง หรือใช้ตุ้มครั้งแรกให้มีขนาดใหญ่ขึ้นอีกนิด ทั้งนี้ ต้องระวังปัญหาตุ้มใหญ่เกินไป อาจทำให้กิ่งหักได้

2. ในพืชบางชนิดกิ่งมีขนาดค่อนข้างเล็ก กิ่งเปราะหักง่ายการตอนควรจะมีการดามด้วยไม้เพื่อป้องกันไม่ให้กิ่งหัก

3. การหุ้มตุ้มตอนด้วยกระดาษเพื่อกรองแสงไม่ให้ตุ้มมีอุณหภูมิสูงเกินไป หากขุยมะพร้าวมีความชื้นสูงร่วมด้วย จะเกิดอันตรายกับรากได้ เพื่อความปลอดภัยจึงควรจะหุ้มตุ้มด้วยกระดาษอีกชั้นหนึ่ง ซึ่งมีประโยชน์อีกประการคือ ทำให้รากเดินดีขึ้น (ภายในถุงขุยมะพร้าวจะมืด)

เทคโนโลยีสารสนเทศหมายถึง อุปกรณ์หรือเครื่องมือที่เกี่ยวข้องกับการรวบรวมประมวล เก็บรักษา และเผยแพร่ข้อมูลและสารสนเทศโดยรวมทั้งฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ฐานข้อมูล และการสื่อสาร โทรคมนาคม ระบบสารสนเทศสร้างขึ้นมาเพื่อจุดมุ่งหมายหลายประการจุดมุ่งหมายพื้นฐานประการหนึ่ง คือ การประมวลข้อมูล (Data) ให้เป็นสารสนเทศ (Information) และนำไปสู่ความรู้ (Knowledge) ที่ช่วยแก้ปัญหาในการดำเนินงาน

ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ

1. ช่วยในการจัดระบบข่าวสารจำนวนมหาศาลของแต่ละวัน

2. เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตสารสนเทศ เช่น การคำนวณตัวเลขที่ยุ่งยากซับซ้อน การจัดเรียงลำดับสารสนเทศ ฯลฯ

3. ช่วยให้สามารถเก็บสารสนเทศไว้ในรูปที่สามารถเรียกใช้ได้ทุกครั้งอย่างสะดวก

4. ช่วยให้สามารถจัดระบบอัตโนมัติ เพื่อการจัดเก็บประมวลผล และเรียกใช้สารสนเทศูล

5. ช่วยในการเข้าถึงสารสนเทศได้อย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพมากขึ้น

6. ช่วยในการสื่อสารระหว่างกันได้อย่างสะดวกรวดเร็ว ลดอุปสรรคเกี่ยวกับเวลา และระยะทาง โดยการใช้ระบบโทรศัพท์ และอื่นๆ

ประโยชน์ของเทคโนโลยีสารสนเทศ

การกำเนิดของคอมพิวเตอร์เมื่อประมาณห้าสิบกว่าปีที่แล้ว เป็นก้าวสำคัญที่นำไปสู่ยุคสารสนเทศ ในช่วงแรกมีการนำเอาคอมพิวเตอร์มาใช้เป็นเครื่องคำนวณ แต่ต่อมาได้มีความพยายามพัฒนาให้คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์สำคัญสำหรับการจัดการข้อมูล เมื่อเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ได้ก้าวหน้ามากขึ้น ทำให้สามารถสร้างคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กลง แต่ประสิทธิภาพสูงขึ้น สภาพการใช้งานจึงใช้งานกันอย่างแพร่หลาย ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีต่อชีวิตความเป็นอยู่และสังคมจึงมีมาก มีการเรียนรู้และใช้สารสนเทศกันอย่างกว้างขวาง ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศโดยรวมกล่าวได้ดังนี้

1. การสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สภาพความเป็นอยู่ของสังคมเมือง มีการพัฒนาใช้ระบบสื่อสารโทรคมนาคม เพื่อติดต่อสื่อสารให้สะดวกขึ้น มีการประยุกต์มาใช้กับเครื่องอำนวยความสะดวกภายในบ้าน เช่น ใช้ควบคุมเครื่องปรับอากาศ ใช้ควมคุมระบบไฟฟ้าภายในบ้าน เป็นต้น

2. เสริมสร้างความเท่าเทียมในสังคมและการกระจายโอกาส เทคโนโลยีสารสนเทศทำให้เกิดการกระจายไปทั่วทุกหนแห่ง แม้แต่ถิ่นทุรกันดาร ทำให้มีการกระจายโอกาสการเรียนรู้ มีการใช้ระบบการเรียนการสอนทางไกล เสริมสร้างการเรียนรู้ เพราะปัจจุบันมีสื่อการศึกษาที่ทันสมัยมากขึ้นนอกจากหนังสือเรียนธรรมดาแล้ว ยังมี วีดีทัศน์ อินเตอร์เน็ต เป็นต้น ที่ช่วยเสริมสร้างการเรียนรู้ด้วยตนเองของผู้เรียน

3. สารสนเทศกับการเรียนการสอนในโรงเรียน การเรียนการสอนในโรงเรียนมีการนำคอมพิวเตอร์และเครื่องมือประกอบช่วยในการเรียนรู้ เช่น วีดีทัศน์ เครื่องฉายภาพ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน คอมพิวเตอร์ช่วยจัดการศึกษา จัดตารางสอน คำนวณระดับคะแนน หรืออย่างที่ครูเป๋งให้เราฝึกทำBlog ไงล่ะคะ ปัจจุบันมีการเรียนการสอนทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศในโรงเรียนจึงมากขึ้น

4.เทคโนโลยีสารสนเทศ

นางสาวนลินี ศร๊มาลา เลขที่ 24 นางสาววนิดา ดวงผุยทอง เลขที่ 36

การต่อกิ่งเป็นวิธีการขยายพันธุ์พืชแบบไม่ใช้เพศด้วยวิธีการนำกิ่งพืชสอง ชนิดมาเชื่อมต่อกันให้เจริญเป็นต้นเดียวกันส่วนของพืชที่เจริญเป็นรากเรียกว่า ต้นตอ (rootstock หรือ stock) และส่วนที่นำมาต่ออยู่บนต้นตอเป็นส่วนที่เจริญ เป็นกิ่งก้าน ออกดอกติดผลต่อไป เรียกว่า กิ่งพันธุ์ดี (scion) ซึ่งเป็นส่วนของ กิ่งพืชที่มีตามากกว่าหนึ่งตาขึ้นไปมาเชื่อมต่อกับต้นตอความสำเร็จของการต่อกิ่ง จะเกิดขึ้นได้นั้นต้องมีการเชื่อมต่อ ระหว่างเนื้อเยื่อต้นตอและกิ่งพันธุ์ดี สามารถลำเลียงน้ำและอาหารผ่าน บริเวณรอยต่อ ได้เนื้อเยื่อบริเวณ รอยต่อ(graft union)นี้เกิดจากเนื้อเยื่อ ของต้นตอและกิ่งพันธุ์ดีมาเรียงตัว อยู่ด้วยกันโดยไม่เกิดการรวมตัวของเซลล์ระหว่างพืชทั้งสองชนิด

เนื้อเยื่อที่เกิดขึ้นถูกสร้างขึ้นมา สมานแผลเป็น เซลล์ parenchyma จำนวนมากประกอบกัน เป็นเนื้อเยื่อ callus เกิดขึ้นภายใน 2-3 วัน รอยแผลที่เกิดจาก การเฉือนกิ่งจะมีส่วนที่ตายไปและมีการสร้างสาร nicrotic เพื่อรักษาบาดแผล ส่วนมากสารเหล่านี้จะหายไป เมื่อเกิดการเชื่อมต่อกันดีแล้วหรือยังอยู่ในช่องว่างระหว่าง เซลล์ก็ได้อาจพบเป็นเซลล์ที่ตายและเยินจากเนื้อเยื่อ

การเกิดรอยต่อได้นั้นต้องวางให้เนื้อเยื่อแคมเบียมของต้นตอและกิ่งพันธุ์ดี อยู่แนบหรือใกล้กันมากที่สุดแล้วจะมีการสร้างเนื้อเยื่อแคลลัสใหม่เกิดขึ้น จากทั้งสองส่วนจนเต็มช่องว่างระหว่างกันเรียกว่า callus bridge ซึ่งจะมีการ พัฒนาไปเป็นเนื้อเยื่อเจริญ (vascular cambium) ภายใน 2-3 สัปดาห์และมี การสร้างท่อน้ำ (xylem) และท่ออาหาร (phloem) เชื่อมกันต่อไป การปรับสภาพแวดล้อมภายนอกให้เหมาะสมมีผลต่อความสำเร็จในการต่อกิ่งด้วย คือ อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการแบ่งเซลล์บริเวณรอยต่ออยู่ระหว่าง 12.8-32.0 องศาเซลเซียส เมื่อเกิดเนื้อเยื่อ callus ขึ้นต้องควบคุมความชื้นบริเวณรอยต่อให้เหมาะสมเนื่องจากเซลล์มีผนังบางและเต่งจึงแห้งตายได้ง่าย จำเป็นต้องพันพลาสติกหรือใช้ถุงพลาสติกคลุมทับ การป้องกันแผลไม่ให้มีการติดเชื้อที่จะทำให้เน่าตายได้เช่นกัน

นอกจากนั้นความสัมพันธ์ของระยะการเจริญเติบโตของตาบนกิ่งพันธุ์ดีจะต้องพอเหมาะกับการพัฒนาการของเนื้อเยื่อบริเวณรอยต่อด้วย กล่าวคือ ขั้นตอนการสร้างท่อน้ำท่ออาหาร ต้องเกิดขึ้นอย่างสมบูรณ์ก่อนที่จะมีใบใหม่เจริญจากตาของกิ่งพันธุ์ดี มิฉะนั้นจะเกิดการแห้งตายของตานั้นได้

การเข้ากันได้ (compatibility) ของพืชทั้งสองชนิดมีส่วนต่อความสำเร็จในการต่อกิ่งด้วย การเลือกใช้ต้นตอและกิ่งพันธุ์ที่มีความใกล้ชิดกันทางพฤกษศาสตร์จะต่อกันได้ดีและรอยต่อเจริญ เหมือนเป็นต้นเดียวกัน เช่น มะม่วงแต่ละพันธุ์จัดเป็นชนิด (species) เดียวกันจึงต่อกิ่งได้ง่าย แต่พืชบางชนิดสามารถเข้ากันได้ดีถึงแม้จะมีความแตกต่างกันมาก เช่น ส้มสามใบ (Poncitrus trifoliata) ต่อด้วยส้มเขียวหวาน (Citrus reticulata) มีพืชหลายคู่ที่สามารถต่อกันได้ในระยะแรก แต่เมื่อเวลาผ่านไปจะมีอาการของการเข้ากันไม่ได้ (incompatibility) เกิดรอยต่อแยกจากกันหรือมีการเติบโตผิดปกติ เช่น ต้นดอนย่าสีชมพูต่อบนดอนย่าสีขาวทักษะและประสบการณ์ของผู้ปฏิบัติงานมีส่วนสำคัญเช่นกัน นอกจากนั้นเครื่องมือที่ใช้ คือ มีดเฉือนกิ่ง ควรอยู่ในสภาพที่คมสามารถเฉือนกิ่งได้โดยไม่ทำให้เนื่อเยื่อชอกช้ำหรือเยินเสียหาย ผู้ปฏิบัติงานต้องทำงานอย่างรวดเร็วและรักษาความสะอาดของแผลบนกิ่งพันธุ์ดี และต้นตอด้วย การเลือกใช้วิธีการต่อกิ่งที่เหมาะสมกับพืชและระยะเวลาเป็นสิ่งสำคัญอีกประการหนึ่งที่ผู้ปฏิบัติงานต้องให้ความสำคัญด้วย กล่าวคือการเลือกใช้วิธีต่อกิ่งกับต้นพืชที่อยู่ในระยะการเจริญเติบโตสามารถลอกเปลือกได้ หรืออยู่ในระยะพักตัว นอกจากนั้นการดูแลเอาใจใส่อย่างใกล้ชิดภายหลังการปฏิบัติงานมีส่วนต่อความสำเร็จของงานด้วย

วิธีการต่อกิ่ง สามารถปฏิบัติได้หลายวิธี ขึ้นอยู่กับชนิดของพืช อายุและขนาดของพืชด้วย นอกจากนั้นยังเกี่ยวข้องกับวัตถุประสงค์ของการต่อกิ่งนั้นๆ ด้วย ในแต่ละวิธีที่จะกล่าวถึงต่อไปนั้นมีหลักพิจารณาในการเลือกปฏิบัติคือ การลอกเปลือกไม้ และการตัดยอดของต้นตอประโยชน์ของการต่อกิ่งและการนำไปใช้

1. เป็นวิธีการขยายพันธุ์พืชเพื่อเพิ่มจำนวนสายต้น (cultivar) ให้มีปริมาณมากโดยกิ่งพันธุ์ดีไม่ต้องใช้เวลานานในการออกดอกติดผล

2. เป็นทางเลือกในการขยายพันธุ์พืชที่ไม่สามารถใช้วิธีการอื่นได้ผลสำเร็จ เช่น การออกรากของกิ่งปักชำหรือกิ่งตอนไม่มาก

3. ต้องการใช้ประโยชน์จากความทนทานต่อสภาพแวดล้อมของระบบรากในต้นตอ เช่น รากของต้นตอที่เจริญเติบโตได้ในที่มีอุณหภูมิต่ำ น้ำท่วมขัง มีความต้านทานโรคและแมลงในดินได้ดี

4. สามารถนำกิ่งพันธุ์ ที่ช่วยในการผสมเกสรให้กับต้นพันธุ์ที่ต้องการเก็บผลผลิต เพื่อให้มีการผสมข้ามพันธุ์แล้วติดผลดีขึ้น หรือเป็นต้นที่แยกเพศ (dioecious plant)

5. ทำให้ในต้นหนึ่งต้นมีหลายพันธุ์อยู่ด้วยกันเพื่อเก็บผลผลิตต่างพันธุ์หรือความสวยงาม

6. ต้นพันธุ์บางชนิดมีการเจริญเติบโตได้ดีกว่าเมื่อต่ออยู่บนระบบรากของอีกพันธุ์หนึ่ง

7. ต้องการให้อิทธิพลของความแคระมีผลต่อต้นตอหรือกิ่งพันธุ์ดี ทำให้ขนาดทรงพุ่มเตี้ย

8. ช่วยให้พืชที่เข้ากันไม่ได้ (incompatibility) ประสานอยู่ด้วยกันได้ โดยใช้ interstock มาต่อกิ่งอยู่ระหว่างต้นตอและกิ่งพันธุ์ดี

9. ใช้สำหรับการซ่อมแซมความเสียหายที่เกิดขึ้นกับลำต้นที่เปลือกถูกแมลงหรือสัตว์กัดแทะหรือเครื่องมือในสวนทำให้เกิดความเสียหายจึงใช้การต่อกิ่งเชื่อมต่อส่วนเปลือกลำต้นให้เจริญเติบโตได้ตามปกติ เรียกว่า การต่อกิ่งแบบเชื่อมสะพาน

10. เพื่อการศึกษาโรคไวรัสที่สามารถถ่ายทอดจากกิ่งพันธุ์ที่สงสัยมีการติดโรคต่อกิ่งบนต้นที่อ่อนแอต่อโรค (indicator plant) ซึ่งสามารถแสดงอาการของโรคไวรัสได้ชัดเจน เป็นเทคนิคที่เรียกว่า virus indexing

2. การปักชำ คือการใช้ส่วนต่างๆ ของพืช เช่น ราก ใบ หรือ ลำต้น ไปปักชำ และส่วนของพืชเหล่านี้จะเจริญงอกงามเป็นลำต้นต่อไป

การปักชำเป็นวิธีขยายพันธุ์พืชที่ดีวิธีหนึ่งซึ่งมีข้อดี ดังนี้

1. ประหยัดค่าใช้จ่าย

2. ขยายพันธุ์ได้ปริมาณมาก

3. ทำได้ง่ายโดยไม่ต้องอาศัยเทคนิคหรือความสามารถมาก

4. ต้นพืชเจริญเติบโตเร็ว โดยใช้ระยะเวลาไม่นาน

5. พืชต้นใหม่ที่ได้จะมีลักษณะเหมือนต้นเดิมทุกประการ

วัสดุที่ใช้ในการปักชำ

กระบะ ดิน ทราบ แกลบ ปุ๋ยคอก ขุยมะพร้าว ใบไม้ผุ

การปักชำสามารถทำได้หลายวิธี ดังนี้

1. การปักชำราก เป็นการเอารากของพืชมาปักชำ อาจปักลงไปในดิน ในทราย หรือในเถ้าแกลบก็ได้ เพื่อส่วนของรากนั้นงอกเป็นลำต้นต่อไป พืชที่ใช้รากปักชำ เช่น มันเทศ สน สาเก เข็มอินเดียเป็นต้น วิธีการชำรากทำได้ ดังนี้

1.1 ตัดรากไม้ออกเป็นท่อนๆ

1.2 วางรากบนดิน การปักชำรากไม่นิยมปักในแนวตั้ง แต่นิยมวางในแนวนอน หรือวางในแนวเฉียงเล็กน้อย

2. การปักชำใบ โดยทั่วไปแล้วใบจะแตกเป็นกิ่งไม่ได้ แต่มีพืชบางชนิดสามารถนำใบมาปักชำให้เจริญเติบโตเป็นต้นต่อไปได้ เช่น ลิ้นมังกร กุหลาบหิน คว่ำตายหงายเป็น เป็นต้น การปักชำใบมี 4 วิธี

วิธีที่ 1 การปักชำโดยใช้ใบ

ให้ นำใบที่ไม่ใช่ใบอ่อนมาตัดเป็นส่วนๆ หรือทั้งใบแล้วนำไปวางเป็นวัสดุ เช่น ทราย หรือดิน โดยให้ด้านบนของใบหงายขึ้น พืชที่นิยม เช่น คว่ำตายหงายเป็น กุหลาบหิน

วิธีที่ 2 การปักชำโดยใช้ก้านใบ

ให้ตัดก้านใบให้หลุดออกจากกิ่งแล้วนำไปปักชำก็จะเจริญเติบโตเป็นต้นใหม่ได้ เช่น กุหลาบหิน

วิธีที่ 3 การปักชำโดยใช้ก้านใบที่ส่วนของกิ่ง

ให้ เอาใบมา โดยเฉือนส่วนของกิ่งให้มีตาติดมาด้วย (มิใช่นำมาทั้งกิ่ง) แล้วนำไปปักชำ ส่วนตาที่ติดมากับกิ่งก็จะเจริญเติบโตเป็นต้นต่อไป วิธีนี้นิยมใช้กับ ฟิโลเดนดรอน ต้นยางอินเดีย

วิธีที่ 4 การใช้ใบติดกิ่งมาปักชำ

ให้ ตัดกิ่งที่จะนำมาปักชำ โดยกิ่งนั้นต้องมีตาเดียว และมีใบติดมาด้วยแล้วนำส่วนของกิ่งบางส่วนปักลงในดินให้ใบ และกิ่งส่วนหนึ่งโผล่ขึ้นมา เพียงเล็กน้อย พืชที่นิยมขยายพันธุ์แบบนี้ ได้แก่ ฟิโลเดนดรอน

การปักชำกิ่ง

เป็นวิธีที่นิยมกันมากและทำกัน มานานแล้ว เราไม่จำเป็นต้องพิถีพิถันกับวัสดุที่ใช้ในการปักชำมากนัก ปัจจุบันนิยมกัน แพร่หลายเพราะประหยัดค่าใช้จ่าย ใช้ระยะเวลาสั้น และได้ลักษณะพันธุ์เดิม การปักชำกิ่งแบ่งเป็น 3 ประเภท

1. การปักชำกิ่งประเภทที่มีเนื้ออวบน้ำ เช่น ฤาษีผสม กิ่งชนิดนี้จะอ่อน บอบบาง และช้ำง่าย ฉะนั้นจึงต้องการความประณีต ในการปฏิบัติ คือต้องระวังในเรื่องความชื้น แสง และอุณหภูมิ

2. การปักชำกิ่งที่มีความแข็งของเนื้อไม้ปานกลาง เช่น ว่านกวนอิม อายุของกิ่งประมาณ 3 - 6 เดือน ผิวเปลือกของกิ่งมี สีอมเขียว ยังไม่เป็นสีน้ำตาล กิ่งประเภทนี้มีเนื้อไม้อ่อนไม่แข็งแรงนัก ฉะนั้นจึงควรระมัดระวังเรื่องน้ำ อุณหภูมิ และแสงสว่างให้มาก เพราะกิ่งประเภทนี้จะเหี่ยวแห้งได้ง่าย

2. การปักชำไม้ที่มีอายุเกิน 1 ปีขึ้นไป วิธีนี้นิยมกันมาก การเลือกกิ่งไม้ที่จะนำมาปักชำ ควรเลือกกิ่งที่มีสีน้ำตาล ก่อนปักชำควร ปักกิ่งชำให้มีตาอย่างน้อย 2-3 ตา การตัดควรตัดเป็นท่อน ๆ ขนาด ยาว 6-8 เซนติเมตร การตัดท่อนปลายกิ่งให้ตัดเหนือข้อ ส่วนท่อนโคนให้ตัดต่ำกว่าข้อ โดยตัดให้เฉียง เราไม่ควรตัดตรงข้อพอดี เพราะจะทำให้กิ่งสูญเสียอาหารไป นอกจากนี้ บริเวณข้อยังมีเนื้อเยื่อ อัดตัวแน่นและแข็งแรง ช่วยป้องกันการระเหยของน้ำในกิ่งได้เป็นอย่างดี

1.3 การขยายพันธุ์พืชโดยวิธีตอนกิ่ง

ทฤษฎีการตอนกิ่ง

ในการตอนกิ่งจะต้องทำให้เกิดแผลกับลำต้นหรือกิ่ง เพื่อตัดท่ออาหารและ เนื้อเยื่อเจริญของกิ่งนั้นให้ขาดจากกัน แต่ท่อน้ำยังคงอยู่เหมือนเดิม ทำให้สามารถส่งน้ำจากรากไปยอดได้ตามปกติ กิ่งและใบยอดจะยังคงสดอยู่เสมอ ซึ่งเป็นเหตุผลสำคัญของการที่พืชบางชนิดขยายพันธุ์ด้วยการตอนกิ่งได้เป็นผลสำเร็จมากกว่าการตัดชำท่ออาหารให้ขาดจากกัน ทำให้การขนส่งอาหารไม่เกิดขึ้น อาหารที่ส่งมาจากยอดจะไปสะสมตรงเหนือรอยแผลมาก ประกอบกับเนื้อเยื่อเจริญบริเวณแผลถูกตัดขาด เป็นการกระตุ้นเตือนให้เนื้อเยื่อเจริญส่วนนั้นเกิดการแบ่งเซลล์อย่างรวดเร็ว มีเซลล์ที่เกิดใหม่มากมาย (มีอาหารอุดมมบูรณ์จากการสะสมเหนือรอยแผล) จะมีเซลล์ส่วนหนึ่งที่พัฒนาไปเป็นราก ทำหน้าที่ดูดน้ำและธาตุอาหาร

พืชแต่ละชนิดมีความยากง่ายในการที่เนื้อเยื่อเจริญจะพัฒนาไปเป็นราก แตกต่างกัน และการจัดสภาพแวดล้อมให้กับเนื้อเยื่อเจริญที่จะเจริญพัฒนาไปเป็นรากได้ ก็ต้องมีความเหมาะสม โดยเฉพาะเกี่ยวกับอุณหภูมิ ความชื้น และบางครั้งอาจจำเป็นต้องใช้สารควบคุมการเจริญเติบโต

ข้อดีข้อจำกัดของการตอนกิ่ง

ข้อดี คือทำได้ง่าย ประสบผลสำเร็จมากกว่าการปักชำ และได้ต้นกล้าขนาด ใหญ่ ทำให้ได้ผลผลิตเร็ว ไม่กลายพันธุ์ ทรงต้นไม่สูงนัก

ข้อจำกัด คือ

2.1 ไม่มีรากแก้ว ทำให้ไม่สามารถ ทนต่อลมแรง ๆ โค่นล้มได้ง่าย

2.2 กิ่งตอนมีขนาดใหญ่กว่ากิ่งชำ การดูแลรักษาหลังตอนยากกว่ากิ่งตัดชำ

การตอนแบบควั่นกิ่ง

เป็นวิธีที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย ทำได้ง่ายและสะดวก มีขั้นตอนดังนี้

1.1 เลือกกิ่งที่แข็งแรง สมบูรณ์ ไม่เป็นโรคและแมลง

เป็นกิ่งที่อยู่ทางด้านนอกของทรงพุ่ม ได้รับแสงแดดเต็มที่ ถ้าเป็นสวนเพื่อการขยายพันธุ์อย่างเดียวจะเลือกตอนเกือบทุกกิ่ง เหลือไว้บางกิ่งเพื่อเป็นพี่เลี้ยงต้นหลังจากตัดกิ่งตอนออกไป

1.2 การควั่นกิ่ง

สำหรับไม้ผล ควรเลือกกิ่งยาวประมาณ 30-50 เซนติเมตร ส่วนไม้ประดับอาจสั้นกว่านี้ ขึ้นอยู่กับจำนวนต้นที่ต้องการและชนิดของพืช ไม่ควรให้กิ่งมีพุ่มขนาดใหญ่มากนักเพราะจะทำให้เกิดการเหี่ยวแห้งในระยะชำเนื่องจากมีจำนวนใบไม่สมดุลกับจำนวนราก ความยาวของรอยควั่นเท่ากับ 1-2 เท่าของเส้นรอบวงของกิ่ง หรือดูจากความสามารถในการออกราก พืชที่ออกรากง่ายรอยควั่นจะสั้น (ประมาณ 1 เท่าของเส้นรอบวง)ถ้าเป็นพืชที่ออกรากยากรอยควั่นจะห่างประมาณ 1.5-2 เท่าของเส้นรอบวงของกิ่งนั้น คุณบุญชอบ โพธิ์รักษา แนะนำว่า การตอนฝรั่งควรจะควั่นห่างเพียง ½ เซนติเมตร ปล่อยให้แห้งสักครู่จึงค่อยหุ้มขุยมะพร้าว (มีการเสริมด้วยไม้ท่อนเล็ก ๆ ก่อนหุ้มขุยมะพร้าวเพื่อป้องกันกิ่งหัก)

1.3 การขูดเยื่อเจริญ (เมือกลื่น ๆ อยู่ระหว่างส่วนของเปลือกกับเนื้อไม้)

พืชแต่ละชนิดต้องการการขูดเยื่อเจริญต่างกัน ควรจะสังเกตว่าพืชใดต้องขูดเยื่อเจริญมากน้อยเท่าใด พืชบางชนิดไม่ต้องขูดเยื่อเจริญ เช่น ฝรั่ง สนแผง ถ้าขูดแล้วกิ่งมักจะแห้งตายเนื่องจากท่อน้ำถูกทำลาย พืชบางชนิดอาจขูดเยื่อเจริญแล้วหุ้มตามได้เลย (พืชทั่วไป) แต่บางชนิดต้องควั่นทิ้งไว้ให้เยื่อเจริญแห้งประมาณ 1 สัปดาห์ จึงจะหุ้มด้วยขุยมะพร้าว เช่น ละมุด

1.4 การหุ้มรอยควั่น

ปัจจุบันนิยมใช้ถุงพลาสติกขนาดเล็กบรรจุขุยมะพร้าว รัดปากถุงให้แน่น ใช้มีดผ่าถุงหุ้มรอยควั่นให้มิด มัดให้แน่น อย่าให้กระเปาะขุยมะพร้าวหมุนหรือขยับได้ เพราะจะทำให้รากที่งอกหักได้ หุ้มทับด้วยกระดาษเพื่อช่วยลดอุษหภูมิและแสงในขุยมะพร้าว ซึ่งจะทำให้การเดินของรากดีขึ้น บางท่านนิยมหุ้มรอยควั่นด้วยดินเหนียว ก่อนหุ้มด้วยกาบมะพร้าวแช่น้ำทุบให้นิ่ม แล้วหุ้มทับด้วยใบตองแห้งหรือผ้าพลาสติก (ไม่นิยมทำในทางการค้า เนื่องจากต้องใช้เวลา) แต่บางสวนจะผ่าตุ้มมะพร้าวแล้วป้ายดินด้านในเล็กน้อยแทนการหุ้มด้วย

1.5 การดูแลรักษา

คอยดูแลรดน้ำอยู่เสมออย่าให้กระเปาะแห้ง ถ้าขุยมะพร้าวชื้นพอ รัดปากถุงให้แน่นจะไม่ต้องรดน้ำอีกเลย พร้อมกันนี้ต้องระวังไม่ให้มดมากัดทำลายด้วย

1.6 การตัดกิ่งตอนตัดเมื่อรากแก่

เมื่อรากแทงทะลุขุยมะพร้าวออกมา ปลายรากเริ่มมีสีน้ำตาล และกิ่งตอนมีใบแก่ทั้งหมด จึงตัดจากต้นแม่ใต้กระเปาะตอนไปชำ

การตอนแบบกรีดกิ่ง นิยมใช้กับกิ่งที่มีแก่นเล็ก หรือกิ่งที่เปราะหักง่าย มีขั้นตอนการปฏิบัติเช่นเดียวกับการตอนแบบควั่นกิ่ง ต่างกันตรงรอยแผลจะใช้มีดกรีดเปลือกยาวประมาณ 1 นิ้ว 3-4 รอย

การตอนกิ่งแบบปาดกิ่ง มีวิธีปฏิบัติเช่นเดียวกับการตอนแบบกรีดกิ่ง ต่างกันตรงรอยแผล ที่จะทำให้เกิดแผลโดยใช้มีดปาดเฉียงให้ลึกเข้าไปในเนื้อไม้เล็กน้อย ใช้เศษวัสดุ เช่น ไม้จิ้มฟัน ลวดฟิวส์ หรือก้านไม้ขีดขัดรอยแผลไว้ให้เผยอออกมาเป็นลิ้นป้องกันไม่ให้รอยแผลเชื่อมติดกันเท่าใด บริเวณที่สัมผัสดินควรจะยึดกิ่งให้ติดกับดินด้วยไม้ค้ำหรือลวดตัวยู บริเวณที่สัมผัสดินจะงอกรากออกมาบริเวณข้อและแตกตาบริเวณตา หลังจากยอดและรากสมบูรณ์ดีแล้ว จึงตัดให้ขาดจากกิ่งเดิม นำไปแยกปลูกต่อไป นิยมใช้กับต้นมะลิ ประทัดจีน สตรอเบอรี่ เป็นต้น

การตอนแบบกรีดกิ่งและปาดกิ่ง นิยมใช้ในพืชที่มีลำต้นเปราะ เช่น ชวนชม เชอรี่ เป็นต้น

การตอนกิ่งแบบโน้มกิ่ง

นิยมใช้กับกิ่งไม้เลื้อย เช่น มะลิ

ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการตอนกิ่ง

บางครั้งกิ่งตอนเกิดการเหี่ยวแห้ง ตอนแล้วไม่ออกราก มีปัจจัยที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้

1. การเลือกกิ่ง

ควรเลือกกิ่งเพสลาด มีสีน้ำตาล ไม่แก่หรืออ่อนเกินไป ใบยอดควรจะพ้นระยะใบอ่อนเปลือกล่อน ถ้ากิ่งแก่ไปจะออกรากยากและน้อย นอกจากนั้น กิ่งแก่มักจะเป็นกิ่งขนาดใหญ่ เมื่อออกรากแล้วมักจะมีปัญหาในการชำ เพราะขนาดของต้นใหญ่ มีรากน้อย ทำให้ใบกับรากไม่สมดุลกัน ใบจะเหี่ยวเนื่องจากขาดน้ำ กิ่งที่อยู่รอบในทรงพุ่มก็ไม่ควรตอน เพราะจะออกรากช้าและน้อย บางครั้งจะไม่ออกรากเลย นอกจากนั้นควรจะพิจารณาถึง

1.1 ขนาดของกิ่ง

ควรมีขนาดตั้งแต่ขนาดดินสอดำถึงขนาดหัวแม่มือ

1.2 ชนิดของกิ่ง

กิ่งกระโดงเหมาะที่สุด เพราะจะออกรากได้รอบด้าน ถ้าเป็นกิ่งนอกรากจะออกทางด้านบนของกิ่งแล้วห้อยลงตามแรงดึงดูดของโลก ทำให้ได้รากน้อยและรากโตช้า ถ้าจำเป็นต้องเลือกกิ่งนอนควรค้ำหรือโยงให้กิ่งตั้งตรงก่อนแล้วจึงตอน โดยทำไม้หลักไว้กลางพุ่มสำหรับผูกเชือกโยงกิ่งตอนทั้งหลายให้ตั้งขึ้น

2. ฤดูกาล

ควรตอนกิ่งในช่วงฤดูฝนซึ่งเป็นระยะที่พืชกำลังเจริญเติบโต ถ้าตอนกิ่งในฤดูร้อนต้องรดน้ำกระเปาะหุ้มให้ชื้นอยู่เสมอ สำหรับฤดูหนาวไม่แนะนำให้ตอน โดยทั่วไปชาวสวนจะนิยมตอนในฤดูแล้ง เนื่องจากกระเปาะหุ้มจะไม่แฉะซึ่งเป็นสาเหตุให้รากไม่เดิน

3. การใช้ฮอร์โมนเร่งราก

ปัจจุบันเป็นที่ยอมรับกันว่า ฮอร์โมนเร่งรากจะช่วยให้การเกิดรากของกิ่งตอนเร็วขึ้น โดยทาฮอร์โมนเร่งรากบริเวณเหนือรอยควั่น (บริเวณที่จะออกราก) ระวังอย่าทาถึงได้รอยควั่น บริเวณนี้จะเกิดรากเร็วกว่าบริเวณเหนือรอยควั่น เมื่อเห็นรากโผล่ออกมาจากตุ้ม หากตัดไปชำมักจะตาย เนื่องจากไม่สามารถส่งอาหารจากยอดมารากได้ (ท่ออาหารถูกตัดขาด) และพบว่าในระยะนี้รากบริเวณเหนือรอยควั่นมักจะยังเจริญไม่พอด้วย

การตัดและการชำกิ่งตอน

การตัดกิ่งตอนควรจะพิจารณาจากจำนวนรากที่สังเกตเห็นได้ โดยมองผ่านผ้าพลาสติกที่หุ้ม (ควรใช้พลาสติกสีขาวใส) ควรจะมีรากมากพอ ปลายรากมีสีน้ำตาลแก่ เมื่อตัดกิ่งตอนแล้วควรจะมีการตัดแต่งกิ่ง เนื่องจากกิ่งตอนย่อมมีระบบรากน้อยกว่าทางส่วนยอด ดังนั้น ถ้าไม่เอาใจใส่เป็นพิเศษจะไม่สามารถที่จะพยุงต้นไว้ได้ และจะเกิดการคายน้ำมาก ดังนั้นควรปฏิบัติดังนี้

1. ตัดแต่งกิ่งให้สมดุลกับราก

2. ทำการปลูกในภาชนะที่พอเหมาะกับขนาดของต้นและราก มีการค้ำยันด้วยไม้กันไม่ให้กิ่งชำโยก

3. นำกิ่งตอนมาไว้ในที่ชื้นและเย็น รดน้ำสม่ำเสมอ จนกิ่งตอนตั้งตัวดีแล้วจึงย้ายปลูก

ข้อพิจารณาในการตอน

1. ในกรณีที่ต้องการกิ่งตอนขนาดใหญ่ ควรจะมีการเพิ่มขนาดของตุ้ม โดยการหุ้มขุยมะพร้าวทับตุ้มเดิมอีกครั้งหนึ่ง หรือใช้ตุ้มครั้งแรกให้มีขนาดใหญ่ขึ้นอีกนิด ทั้งนี้ ต้องระวังปัญหาตุ้มใหญ่เกินไป อาจทำให้กิ่งหักได้

2. ในพืชบางชนิดกิ่งมีขนาดค่อนข้างเล็ก กิ่งเปราะหักง่ายการตอนควรจะมีการดามด้วยไม้เพื่อป้องกันไม่ให้กิ่งหัก

3. การหุ้มตุ้มตอนด้วยกระดาษเพื่อกรองแสงไม่ให้ตุ้มมีอุณหภูมิสูงเกินไป หากขุยมะพร้าวมีความชื้นสูงร่วมด้วย จะเกิดอันตรายกับรากได้ เพื่อความปลอดภัยจึงควรจะหุ้มตุ้มด้วยกระดาษอีกชั้นหนึ่ง ซึ่งมีประโยชน์อีกประการคือ ทำให้รากเดินดีขึ้น (ภายในถุงขุยมะพร้าวจะมืด)

เทคโนโลยีสารสนเทศหมายถึง อุปกรณ์หรือเครื่องมือที่เกี่ยวข้องกับการรวบรวมประมวล เก็บรักษา และเผยแพร่ข้อมูลและสารสนเทศโดยรวมทั้งฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ฐานข้อมูล และการสื่อสาร โทรคมนาคม ระบบสารสนเทศสร้างขึ้นมาเพื่อจุดมุ่งหมายหลายประการจุดมุ่งหมายพื้นฐานประการหนึ่ง คือ การประมวลข้อมูล (Data) ให้เป็นสารสนเทศ (Information) และนำไปสู่ความรู้ (Knowledge) ที่ช่วยแก้ปัญหาในการดำเนินงาน

ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ

1. ช่วยในการจัดระบบข่าวสารจำนวนมหาศาลของแต่ละวัน

2. เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตสารสนเทศ เช่น การคำนวณตัวเลขที่ยุ่งยากซับซ้อน การจัดเรียงลำดับสารสนเทศ ฯลฯ

3. ช่วยให้สามารถเก็บสารสนเทศไว้ในรูปที่สามารถเรียกใช้ได้ทุกครั้งอย่างสะดวก

4. ช่วยให้สามารถจัดระบบอัตโนมัติ เพื่อการจัดเก็บประมวลผล และเรียกใช้สารสนเทศูล

5. ช่วยในการเข้าถึงสารสนเทศได้อย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพมากขึ้น

6. ช่วยในการสื่อสารระหว่างกันได้อย่างสะดวกรวดเร็ว ลดอุปสรรคเกี่ยวกับเวลา และระยะทาง โดยการใช้ระบบโทรศัพท์ และอื่นๆ

ประโยชน์ของเทคโนโลยีสารสนเทศ

การกำเนิดของคอมพิวเตอร์เมื่อประมาณห้าสิบกว่าปีที่แล้ว เป็นก้าวสำคัญที่นำไปสู่ยุคสารสนเทศ ในช่วงแรกมีการนำเอาคอมพิวเตอร์มาใช้เป็นเครื่องคำนวณ แต่ต่อมาได้มีความพยายามพัฒนาให้คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์สำคัญสำหรับการจัดการข้อมูล เมื่อเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ได้ก้าวหน้ามากขึ้น ทำให้สามารถสร้างคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กลง แต่ประสิทธิภาพสูงขึ้น สภาพการใช้งานจึงใช้งานกันอย่างแพร่หลาย ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีต่อชีวิตความเป็นอยู่และสังคมจึงมีมาก มีการเรียนรู้และใช้สารสนเทศกันอย่างกว้างขวาง ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศโดยรวมกล่าวได้ดังนี้

1. การสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สภาพความเป็นอยู่ของสังคมเมือง มีการพัฒนาใช้ระบบสื่อสารโทรคมนาคม เพื่อติดต่อสื่อสารให้สะดวกขึ้น มีการประยุกต์มาใช้กับเครื่องอำนวยความสะดวกภายในบ้าน เช่น ใช้ควบคุมเครื่องปรับอากาศ ใช้ควมคุมระบบไฟฟ้าภายในบ้าน เป็นต้น

2. เสริมสร้างความเท่าเทียมในสังคมและการกระจายโอกาส เทคโนโลยีสารสนเทศทำให้เกิดการกระจายไปทั่วทุกหนแห่ง แม้แต่ถิ่นทุรกันดาร ทำให้มีการกระจายโอกาสการเรียนรู้ มีการใช้ระบบการเรียนการสอนทางไกล เสริมสร้างการเรียนรู้ เพราะปัจจุบันมีสื่อการศึกษาที่ทันสมัยมากขึ้นนอกจากหนังสือเรียนธรรมดาแล้ว ยังมี วีดีทัศน์ อินเตอร์เน็ต เป็นต้น ที่ช่วยเสริมสร้างการเรียนรู้ด้วยตนเองของผู้เรียน

3. สารสนเทศกับการเรียนการสอนในโรงเรียน การเรียนการสอนในโรงเรียนมีการนำคอมพิวเตอร์และเครื่องมือประกอบช่วยในการเรียนรู้ เช่น วีดีทัศน์ เครื่องฉายภาพ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน คอมพิวเตอร์ช่วยจัดการศึกษา จัดตารางสอน คำนวณระดับคะแนน หรืออย่างที่ครูเป๋งให้เราฝึกทำBlog ไงล่ะคะ ปัจจุบันมีการเรียนการสอนทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศในโรงเรียนจึงมากขึ้น

4.เทคโนโลยีสารสนเทศกับสิ่งแวดล้อม การจัดการทรัพยากรธรรมชาติหลายอย่างจำเป็นต้องใช้สารสนเทศ เช่น การดูแลรักษาป่า จำเป็นต้องใช้ข้อมูล มีการใช้ภาพถ่ายดาวเทียม การติดตามข้อมูลสภาพอากาศ การพยากรณ์อากาศ การจำลองรูปแบบสภาวะสิ่งแวดล้อมเพื่อปรับปรุงแก้ไข การเก็บรวมรวมข้อมูลคุณภาพน้ำในแม่น้ำต่าง ๆ การตรวจวัดมลภาวะ ตลอดจนการใช้ระบบการตรวจวัดระยะไกลมาช่วย ที่เรียกว่าโทรมาตร เป็นต้น

เทคโนโลยีสารสนเทศกับการป้องกันประเทศ กิจการทางด้านการทหารมีการใช้เทคโนโลยี อาวุธยุทโธปกรณ์สมัยใหม่ล้วนแต่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์และระบบควบคุม มีการใช้ระบบป้องกันภัย ระบบเฝ้าระวังที่มีคอมพิวเตอร์ควบคุมการทำงาน

ชไมพร อุวิทัต และ หนึ่งฤดี ใจทน

1.การขยายพันธุ์โดยวิธีติดตาต่อกิ่ง (Propagation by grafting) โดย นายสนั่น ขำเลิศ

การติดตาต่อกิ่ง เป็นศิลปะของการเชื่อม ส่วนของต้นพืชเข้าด้วยกัน เพื่อที่จะให้ส่วนของพืชนั้นๆ ติดต่อกันและเจริญต่อไปเหมือนกับเป็นต้นพืชต้นเดียวกัน ส่วนของต้นพืชที่ต่ออยู่ทางส่วนฃ บนหรือที่ทำหน้าที่เป็นยอดของต้นพืชนั้น เรียกว่า กิ่งพันธุ์ดี (scion)

๑. ต้นตอที่ได้จากการขยายพันธุ์ด้วยเมล็ดหมายถึงต้นพืชที่จะใช้เป็นต้นตอนั้นเพาะมาจากเมล็ด เมื่อต้นมีขนาดโตพอแล้วจึงนำมาใช้เป็นต้นตอสำหรับติดตาต่อกิ่งหรือทาบกิ่ง เรามักเรียกต้นตอชนิดนี้ว่า ต้นตอเพาะเมล็ด (seedling-rootstock)เนื่องจากต้นตอชนิดนี้เพาะมาจากเมล็ด อาจมีความผิดเพี้ยนหรือกลายพันธุ์ไปบ้าง จึงต้องมีการคัดเลือกต้นที่ไม่ตรงตามพันธุ์หรือผิดเพี้ยน

๒. ต้นตอที่ได้จากการตัดชำ การตอนหรือการแยกหน่อ มักเรียกต้นตอเช่นนี้ว่า ต้นตอตัดชำ(cutting stock) ข้อดีของต้นตอชนิดนี้ก็คือ เป็นต้นตอที่ตรงตามพันธุ์แน่นอน เหมาะที่จะใช้ในงานทดลองหรือใช้เพื่อวัตถุประสงค์บางอย่าง เช่น ใช้เป็นต้นตอ ทนโรค ทนแล้ง ทนแฉะ หรือทนสารบางอย่าง ไปจากลักษณะที่ต้องการออกเสีย2.ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ

เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology: IT) หรือเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication Technologies: ICTs) ก็คือ เทคโนโลยีสองด้านหลัก ๆ ที่ประกอบด้วยเทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์ และ เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคมที่ผนวกเข้าด้วยกัน เพื่อใช้ในกระบวนการจัดหา จัดเก็บ สร้าง และเผยแพร่สารสนเทศในรูปต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นเสียง ภาพ ภาพเคลื่อนไหว ข้อความหรือตัวอักษร และตัวเลข เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ความถูกต้อง ความแม่นยำ และความรวดเร็วให้ทันต่อการนำไปใช้ประโยชน์

3. การตอนกิ่ง เป็นวิธีการขยายพันธุ์พืชที่ใช้กันมานานและเป็นที่รู้จักกันดีในหมู่ชาวสวนทั่วๆไป วิธีการตอนกิ่งที่เราใช้กันอยู่ทุกวันนี้เป็นวิธีการที่ได้นำมาจากประเทศจีน แต่ได้ดัดแปลงไปบ้างเพื่อความสะดวกในการปฏิบัติ ในยุโรปและอเมริกาก็มีวิธีขยายพันธุ์พืชด้วยการตอนกิ่งเช่นเดียวกัน แต่วิธีการในการตอนกิ่งผิดไปจากวิธีที่รู้จักกันดีในบ้านเราและเรามักเรียกวิธีการตอนกิ่งแบบยุโรปว่า "การ2.ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ

เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology: IT) หรือเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication Technologies: ICTs) ก็คือ เทคโนโลยีสองด้านหลัก ๆ ที่ประกอบด้วยเทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์ และ เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคมที่ผนวกเข้าด้วยกัน เพื่อใช้ในกระบวนการจัดหา จัดเก็บ สร้าง และเผยแพร่สารสนเทศในรูปต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นเสียง ภาพ ภาพเคลื่อนไหว ข้อความหรือตัวอักษร และตัวเลข เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ความถูกต้อง ความแม่นยำ และความรวดเร็วให้ทันต่อการนำไปใช้ประโยชน์

นางสาวสาวิตี วิจารย์ ,ม3/2 เลขที๋20 นางสาวสายรุ้ง มากดี ม3/2 เลขที่ 19

การต่อกิ่งเป็นวิธีการขยายพันธุ์พืชแบบไม่ใช้เพศด้วยวิธีการนำกิ่งพืชสอง ชนิดมาเชื่อมต่อกันให้เจริญเป็นต้นเดียวกันส่วนของพืชที่เจริญเป็นรากเรียกว่า ต้นตอ (rootstock หรือ stock) และส่วนที่นำมาต่ออยู่บนต้นตอเป็นส่วนที่เจริญ เป็นกิ่งก้าน ออกดอกติดผลต่อไป เรียกว่า กิ่งพันธุ์ดี (scion) ซึ่งเป็นส่วนของ กิ่งพืชที่มีตามากกว่าหนึ่งตาขึ้นไปมาเชื่อมต่อกับต้นตอความสำเร็จของการต่อกิ่ง จะเกิดขึ้นได้นั้นต้องมีการเชื่อมต่อ ระหว่างเนื้อเยื่อต้นตอและกิ่งพันธุ์ดี สามารถลำเลียงน้ำและอาหารผ่าน บริเวณรอยต่อ ได้เนื้อเยื่อบริเวณ รอยต่อ(graft union)นี้เกิดจากเนื้อเยื่อ ของต้นตอและกิ่งพันธุ์ดีมาเรียงตัว อยู่ด้วยกันโดยไม่เกิดการรวมตัวของเซลล์ระหว่างพืชทั้งสองชนิด

เนื้อเยื่อที่เกิดขึ้นถูกสร้างขึ้นมา สมานแผลเป็น เซลล์ parenchyma จำนวนมากประกอบกัน เป็นเนื้อเยื่อ callus เกิดขึ้นภายใน 2-3 วัน รอยแผลที่เกิดจาก การเฉือนกิ่งจะมีส่วนที่ตายไปและมีการสร้างสาร nicrotic เพื่อรักษาบาดแผล ส่วนมากสารเหล่านี้จะหายไป เมื่อเกิดการเชื่อมต่อกันดีแล้วหรือยังอยู่ในช่องว่างระหว่าง เซลล์ก็ได้อาจพบเป็นเซลล์ที่ตายและเยินจากเนื้อเยื่อ

การเกิดรอยต่อได้นั้นต้องวางให้เนื้อเยื่อแคมเบียมของต้นตอและกิ่งพันธุ์ดี อยู่แนบหรือใกล้กันมากที่สุดแล้วจะมีการสร้างเนื้อเยื่อแคลลัสใหม่เกิดขึ้น จากทั้งสองส่วนจนเต็มช่องว่างระหว่างกันเรียกว่า callus bridge ซึ่งจะมีการ พัฒนาไปเป็นเนื้อเยื่อเจริญ (vascular cambium) ภายใน 2-3 สัปดาห์และมี การสร้างท่อน้ำ (xylem) และท่ออาหาร (phloem) เชื่อมกันต่อไป การปรับสภาพแวดล้อมภายนอกให้เหมาะสมมีผลต่อความสำเร็จในการต่อกิ่งด้วย คือ อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการแบ่งเซลล์บริเวณรอยต่ออยู่ระหว่าง 12.8-32.0 องศาเซลเซียส เมื่อเกิดเนื้อเยื่อ callus ขึ้นต้องควบคุมความชื้นบริเวณรอยต่อให้เหมาะสมเนื่องจากเซลล์มีผนังบางและเต่งจึงแห้งตายได้ง่าย จำเป็นต้องพันพลาสติกหรือใช้ถุงพลาสติกคลุมทับ การป้องกันแผลไม่ให้มีการติดเชื้อที่จะทำให้เน่าตายได้เช่นกัน

นอกจากนั้นความสัมพันธ์ของระยะการเจริญเติบโตของตาบนกิ่งพันธุ์ดีจะต้องพอเหมาะกับการพัฒนาการของเนื้อเยื่อบริเวณรอยต่อด้วย กล่าวคือ ขั้นตอนการสร้างท่อน้ำท่ออาหาร ต้องเกิดขึ้นอย่างสมบูรณ์ก่อนที่จะมีใบใหม่เจริญจากตาของกิ่งพันธุ์ดี มิฉะนั้นจะเกิดการแห้งตายของตานั้นได้

การเข้ากันได้ (compatibility) ของพืชทั้งสองชนิดมีส่วนต่อความสำเร็จในการต่อกิ่งด้วย การเลือกใช้ต้นตอและกิ่งพันธุ์ที่มีความใกล้ชิดกันทางพฤกษศาสตร์จะต่อกันได้ดีและรอยต่อเจริญ เหมือนเป็นต้นเดียวกัน เช่น มะม่วงแต่ละพันธุ์จัดเป็นชนิด (species) เดียวกันจึงต่อกิ่งได้ง่าย แต่พืชบางชนิดสามารถเข้ากันได้ดีถึงแม้จะมีความแตกต่างกันมาก เช่น ส้มสามใบ (Poncitrus trifoliata) ต่อด้วยส้มเขียวหวาน (Citrus reticulata) มีพืชหลายคู่ที่สามารถต่อกันได้ในระยะแรก แต่เมื่อเวลาผ่านไปจะมีอาการของการเข้ากันไม่ได้ (incompatibility) เกิดรอยต่อแยกจากกันหรือมีการเติบโตผิดปกติ เช่น ต้นดอนย่าสีชมพูต่อบนดอนย่าสีขาวทักษะและประสบการณ์ของผู้ปฏิบัติงานมีส่วนสำคัญเช่นกัน นอกจากนั้นเครื่องมือที่ใช้ คือ มีดเฉือนกิ่ง ควรอยู่ในสภาพที่คมสามารถเฉือนกิ่งได้โดยไม่ทำให้เนื่อเยื่อชอกช้ำหรือเยินเสียหาย ผู้ปฏิบัติงานต้องทำงานอย่างรวดเร็วและรักษาความสะอาดของแผลบนกิ่งพันธุ์ดี และต้นตอด้วย การเลือกใช้วิธีการต่อกิ่งที่เหมาะสมกับพืชและระยะเวลาเป็นสิ่งสำคัญอีกประการหนึ่งที่ผู้ปฏิบัติงานต้องให้ความสำคัญด้วย กล่าวคือการเลือกใช้วิธีต่อกิ่งกับต้นพืชที่อยู่ในระยะการเจริญเติบโตสามารถลอกเปลือกได้ หรืออยู่ในระยะพักตัว นอกจากนั้นการดูแลเอาใจใส่อย่างใกล้ชิดภายหลังการปฏิบัติงานมีส่วนต่อความสำเร็จของงานด้วย

วิธีการต่อกิ่ง สามารถปฏิบัติได้หลายวิธี ขึ้นอยู่กับชนิดของพืช อายุและขนาดของพืชด้วย นอกจากนั้นยังเกี่ยวข้องกับวัตถุประสงค์ของการต่อกิ่งนั้นๆ ด้วย ในแต่ละวิธีที่จะกล่าวถึงต่อไปนั้นมีหลักพิจารณาในการเลือกปฏิบัติคือ การลอกเปลือกไม้ และการตัดยอดของต้นตอประโยชน์ของการต่อกิ่งและการนำไปใช้

1. เป็นวิธีการขยายพันธุ์พืชเพื่อเพิ่มจำนวนสายต้น (cultivar) ให้มีปริมาณมากโดยกิ่งพันธุ์ดีไม่ต้องใช้เวลานานในการออกดอกติดผล

2. เป็นทางเลือกในการขยายพันธุ์พืชที่ไม่สามารถใช้วิธีการอื่นได้ผลสำเร็จ เช่น การออกรากของกิ่งปักชำหรือกิ่งตอนไม่มาก

3. ต้องการใช้ประโยชน์จากความทนทานต่อสภาพแวดล้อมของระบบรากในต้นตอ เช่น รากของต้นตอที่เจริญเติบโตได้ในที่มีอุณหภูมิต่ำ น้ำท่วมขัง มีความต้านทานโรคและแมลงในดินได้ดี

4. สามารถนำกิ่งพันธุ์ ที่ช่วยในการผสมเกสรให้กับต้นพันธุ์ที่ต้องการเก็บผลผลิต เพื่อให้มีการผสมข้ามพันธุ์แล้วติดผลดีขึ้น หรือเป็นต้นที่แยกเพศ (dioecious plant)

5. ทำให้ในต้นหนึ่งต้นมีหลายพันธุ์อยู่ด้วยกันเพื่อเก็บผลผลิตต่างพันธุ์หรือความสวยงาม

6. ต้นพันธุ์บางชนิดมีการเจริญเติบโตได้ดีกว่าเมื่อต่ออยู่บนระบบรากของอีกพันธุ์หนึ่ง

7. ต้องการให้อิทธิพลของความแคระมีผลต่อต้นตอหรือกิ่งพันธุ์ดี ทำให้ขนาดทรงพุ่มเตี้ย

8. ช่วยให้พืชที่เข้ากันไม่ได้ (incompatibility) ประสานอยู่ด้วยกันได้ โดยใช้ interstock มาต่อกิ่งอยู่ระหว่างต้นตอและกิ่งพันธุ์ดี

9. ใช้สำหรับการซ่อมแซมความเสียหายที่เกิดขึ้นกับลำต้นที่เปลือกถูกแมลงหรือสัตว์กัดแทะหรือเครื่องมือในสวนทำให้เกิดความเสียหายจึงใช้การต่อกิ่งเชื่อมต่อส่วนเปลือกลำต้นให้เจริญเติบโตได้ตามปกติ เรียกว่า การต่อกิ่งแบบเชื่อมสะพาน

10. เพื่อการศึกษาโรคไวรัสที่สามารถถ่ายทอดจากกิ่งพันธุ์ที่สงสัยมีการติดโรคต่อกิ่งบนต้นที่อ่อนแอต่อโรค (indicator plant) ซึ่งสามารถแสดงอาการของโรคไวรัสได้ชัดเจน เป็นเทคนิคที่เรียกว่า virus indexing

2. การปักชำ คือการใช้ส่วนต่างๆ ของพืช เช่น ราก ใบ หรือ ลำต้น ไปปักชำ และส่วนของพืชเหล่านี้จะเจริญงอกงามเป็นลำต้นต่อไป

การปักชำเป็นวิธีขยายพันธุ์พืชที่ดีวิธีหนึ่งซึ่งมีข้อดี ดังนี้

1. ประหยัดค่าใช้จ่าย

2. ขยายพันธุ์ได้ปริมาณมาก

3. ทำได้ง่ายโดยไม่ต้องอาศัยเทคนิคหรือความสามารถมาก

4. ต้นพืชเจริญเติบโตเร็ว โดยใช้ระยะเวลาไม่นาน

5. พืชต้นใหม่ที่ได้จะมีลักษณะเหมือนต้นเดิมทุกประการ

วัสดุที่ใช้ในการปักชำ

กระบะ ดิน ทราบ แกลบ ปุ๋ยคอก ขุยมะพร้าว ใบไม้ผุ

การปักชำสามารถทำได้หลายวิธี ดังนี้

1. การปักชำราก เป็นการเอารากของพืชมาปักชำ อาจปักลงไปในดิน ในทราย หรือในเถ้าแกลบก็ได้ เพื่อส่วนของรากนั้นงอกเป็นลำต้นต่อไป พืชที่ใช้รากปักชำ เช่น มันเทศ สน สาเก เข็มอินเดียเป็นต้น วิธีการชำรากทำได้ ดังนี้

1.1 ตัดรากไม้ออกเป็นท่อนๆ

1.2 วางรากบนดิน การปักชำรากไม่นิยมปักในแนวตั้ง แต่นิยมวางในแนวนอน หรือวางในแนวเฉียงเล็กน้อย

2. การปักชำใบ โดยทั่วไปแล้วใบจะแตกเป็นกิ่งไม่ได้ แต่มีพืชบางชนิดสามารถนำใบมาปักชำให้เจริญเติบโตเป็นต้นต่อไปได้ เช่น ลิ้นมังกร กุหลาบหิน คว่ำตายหงายเป็น เป็นต้น การปักชำใบมี 4 วิธี

วิธีที่ 1 การปักชำโดยใช้ใบ

ให้ นำใบที่ไม่ใช่ใบอ่อนมาตัดเป็นส่วนๆ หรือทั้งใบแล้วนำไปวางเป็นวัสดุ เช่น ทราย หรือดิน โดยให้ด้านบนของใบหงายขึ้น พืชที่นิยม เช่น คว่ำตายหงายเป็น กุหลาบหิน

วิธีที่ 2 การปักชำโดยใช้ก้านใบ

ให้ตัดก้านใบให้หลุดออกจากกิ่งแล้วนำไปปักชำก็จะเจริญเติบโตเป็นต้นใหม่ได้ เช่น กุหลาบหิน

วิธีที่ 3 การปักชำโดยใช้ก้านใบที่ส่วนของกิ่ง

ให้ เอาใบมา โดยเฉือนส่วนของกิ่งให้มีตาติดมาด้วย (มิใช่นำมาทั้งกิ่ง) แล้วนำไปปักชำ ส่วนตาที่ติดมากับกิ่งก็จะเจริญเติบโตเป็นต้นต่อไป วิธีนี้นิยมใช้กับ ฟิโลเดนดรอน ต้นยางอินเดีย

วิธีที่ 4 การใช้ใบติดกิ่งมาปักชำ

ให้ ตัดกิ่งที่จะนำมาปักชำ โดยกิ่งนั้นต้องมีตาเดียว และมีใบติดมาด้วยแล้วนำส่วนของกิ่งบางส่วนปักลงในดินให้ใบ และกิ่งส่วนหนึ่งโผล่ขึ้นมา เพียงเล็กน้อย พืชที่นิยมขยายพันธุ์แบบนี้ ได้แก่ ฟิโลเดนดรอน

การปักชำกิ่ง

เป็นวิธีที่นิยมกันมากและทำกัน มานานแล้ว เราไม่จำเป็นต้องพิถีพิถันกับวัสดุที่ใช้ในการปักชำมากนัก ปัจจุบันนิยมกัน แพร่หลายเพราะประหยัดค่าใช้จ่าย ใช้ระยะเวลาสั้น และได้ลักษณะพันธุ์เดิม การปักชำกิ่งแบ่งเป็น 3 ประเภท

1. การปักชำกิ่งประเภทที่มีเนื้ออวบน้ำ เช่น ฤาษีผสม กิ่งชนิดนี้จะอ่อน บอบบาง และช้ำง่าย ฉะนั้นจึงต้องการความประณีต ในการปฏิบัติ คือต้องระวังในเรื่องความชื้น แสง และอุณหภูมิ

2. การปักชำกิ่งที่มีความแข็งของเนื้อไม้ปานกลาง เช่น ว่านกวนอิม อายุของกิ่งประมาณ 3 - 6 เดือน ผิวเปลือกของกิ่งมี สีอมเขียว ยังไม่เป็นสีน้ำตาล กิ่งประเภทนี้มีเนื้อไม้อ่อนไม่แข็งแรงนัก ฉะนั้นจึงควรระมัดระวังเรื่องน้ำ อุณหภูมิ และแสงสว่างให้มาก เพราะกิ่งประเภทนี้จะเหี่ยวแห้งได้ง่าย

2. การปักชำไม้ที่มีอายุเกิน 1 ปีขึ้นไป วิธีนี้นิยมกันมาก การเลือกกิ่งไม้ที่จะนำมาปักชำ ควรเลือกกิ่งที่มีสีน้ำตาล ก่อนปักชำควร ปักกิ่งชำให้มีตาอย่างน้อย 2-3 ตา การตัดควรตัดเป็นท่อน ๆ ขนาด ยาว 6-8 เซนติเมตร การตัดท่อนปลายกิ่งให้ตัดเหนือข้อ ส่วนท่อนโคนให้ตัดต่ำกว่าข้อ โดยตัดให้เฉียง เราไม่ควรตัดตรงข้อพอดี เพราะจะทำให้กิ่งสูญเสียอาหารไป นอกจากนี้ บริเวณข้อยังมีเนื้อเยื่อ อัดตัวแน่นและแข็งแรง ช่วยป้องกันการระเหยของน้ำในกิ่งได้เป็นอย่างดี

1.3 การขยายพันธุ์พืชโดยวิธีตอนกิ่ง

ทฤษฎีการตอนกิ่ง

ในการตอนกิ่งจะต้องทำให้เกิดแผลกับลำต้นหรือกิ่ง เพื่อตัดท่ออาหารและ เนื้อเยื่อเจริญของกิ่งนั้นให้ขาดจากกัน แต่ท่อน้ำยังคงอยู่เหมือนเดิม ทำให้สามารถส่งน้ำจากรากไปยอดได้ตามปกติ กิ่งและใบยอดจะยังคงสดอยู่เสมอ ซึ่งเป็นเหตุผลสำคัญของการที่พืชบางชนิดขยายพันธุ์ด้วยการตอนกิ่งได้เป็นผลสำเร็จมากกว่าการตัดชำท่ออาหารให้ขาดจากกัน ทำให้การขนส่งอาหารไม่เกิดขึ้น อาหารที่ส่งมาจากยอดจะไปสะสมตรงเหนือรอยแผลมาก ประกอบกับเนื้อเยื่อเจริญบริเวณแผลถูกตัดขาด เป็นการกระตุ้นเตือนให้เนื้อเยื่อเจริญส่วนนั้นเกิดการแบ่งเซลล์อย่างรวดเร็ว มีเซลล์ที่เกิดใหม่มากมาย (มีอาหารอุดมมบูรณ์จากการสะสมเหนือรอยแผล) จะมีเซลล์ส่วนหนึ่งที่พัฒนาไปเป็นราก ทำหน้าที่ดูดน้ำและธาตุอาหาร

พืชแต่ละชนิดมีความยากง่ายในการที่เนื้อเยื่อเจริญจะพัฒนาไปเป็นราก แตกต่างกัน และการจัดสภาพแวดล้อมให้กับเนื้อเยื่อเจริญที่จะเจริญพัฒนาไปเป็นรากได้ ก็ต้องมีความเหมาะสม โดยเฉพาะเกี่ยวกับอุณหภูมิ ความชื้น และบางครั้งอาจจำเป็นต้องใช้สารควบคุมการเจริญเติบโต

ข้อดีข้อจำกัดของการตอนกิ่ง

ข้อดี คือทำได้ง่าย ประสบผลสำเร็จมากกว่าการปักชำ และได้ต้นกล้าขนาด ใหญ่ ทำให้ได้ผลผลิตเร็ว ไม่กลายพันธุ์ ทรงต้นไม่สูงนัก

ข้อจำกัด คือ

2.1 ไม่มีรากแก้ว ทำให้ไม่สามารถ ทนต่อลมแรง ๆ โค่นล้มได้ง่าย

2.2 กิ่งตอนมีขนาดใหญ่กว่ากิ่งชำ การดูแลรักษาหลังตอนยากกว่ากิ่งตัดชำ

การตอนแบบควั่นกิ่ง

เป็นวิธีที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย ทำได้ง่ายและสะดวก มีขั้นตอนดังนี้

1.1 เลือกกิ่งที่แข็งแรง สมบูรณ์ ไม่เป็นโรคและแมลง

เป็นกิ่งที่อยู่ทางด้านนอกของทรงพุ่ม ได้รับแสงแดดเต็มที่ ถ้าเป็นสวนเพื่อการขยายพันธุ์อย่างเดียวจะเลือกตอนเกือบทุกกิ่ง เหลือไว้บางกิ่งเพื่อเป็นพี่เลี้ยงต้นหลังจากตัดกิ่งตอนออกไป

1.2 การควั่นกิ่ง

สำหรับไม้ผล ควรเลือกกิ่งยาวประมาณ 30-50 เซนติเมตร ส่วนไม้ประดับอาจสั้นกว่านี้ ขึ้นอยู่กับจำนวนต้นที่ต้องการและชนิดของพืช ไม่ควรให้กิ่งมีพุ่มขนาดใหญ่มากนักเพราะจะทำให้เกิดการเหี่ยวแห้งในระยะชำเนื่องจากมีจำนวนใบไม่สมดุลกับจำนวนราก ความยาวของรอยควั่นเท่ากับ 1-2 เท่าของเส้นรอบวงของกิ่ง หรือดูจากความสามารถในการออกราก พืชที่ออกรากง่ายรอยควั่นจะสั้น (ประมาณ 1 เท่าของเส้นรอบวง)ถ้าเป็นพืชที่ออกรากยากรอยควั่นจะห่างประมาณ 1.5-2 เท่าของเส้นรอบวงของกิ่งนั้น คุณบุญชอบ โพธิ์รักษา แนะนำว่า การตอนฝรั่งควรจะควั่นห่างเพียง ½ เซนติเมตร ปล่อยให้แห้งสักครู่จึงค่อยหุ้มขุยมะพร้าว (มีการเสริมด้วยไม้ท่อนเล็ก ๆ ก่อนหุ้มขุยมะพร้าวเพื่อป้องกันกิ่งหัก)

1.3 การขูดเยื่อเจริญ (เมือกลื่น ๆ อยู่ระหว่างส่วนของเปลือกกับเนื้อไม้)

พืชแต่ละชนิดต้องการการขูดเยื่อเจริญต่างกัน ควรจะสังเกตว่าพืชใดต้องขูดเยื่อเจริญมากน้อยเท่าใด พืชบางชนิดไม่ต้องขูดเยื่อเจริญ เช่น ฝรั่ง สนแผง ถ้าขูดแล้วกิ่งมักจะแห้งตายเนื่องจากท่อน้ำถูกทำลาย พืชบางชนิดอาจขูดเยื่อเจริญแล้วหุ้มตามได้เลย (พืชทั่วไป) แต่บางชนิดต้องควั่นทิ้งไว้ให้เยื่อเจริญแห้งประมาณ 1 สัปดาห์ จึงจะหุ้มด้วยขุยมะพร้าว เช่น ละมุด

1.4 การหุ้มรอยควั่น

ปัจจุบันนิยมใช้ถุงพลาสติกขนาดเล็กบรรจุขุยมะพร้าว รัดปากถุงให้แน่น ใช้มีดผ่าถุงหุ้มรอยควั่นให้มิด มัดให้แน่น อย่าให้กระเปาะขุยมะพร้าวหมุนหรือขยับได้ เพราะจะทำให้รากที่งอกหักได้ หุ้มทับด้วยกระดาษเพื่อช่วยลดอุษหภูมิและแสงในขุยมะพร้าว ซึ่งจะทำให้การเดินของรากดีขึ้น บางท่านนิยมหุ้มรอยควั่นด้วยดินเหนียว ก่อนหุ้มด้วยกาบมะพร้าวแช่น้ำทุบให้นิ่ม แล้วหุ้มทับด้วยใบตองแห้งหรือผ้าพลาสติก (ไม่นิยมทำในทางการค้า เนื่องจากต้องใช้เวลา) แต่บางสวนจะผ่าตุ้มมะพร้าวแล้วป้ายดินด้านในเล็กน้อยแทนการหุ้มด้วย

1.5 การดูแลรักษา

คอยดูแลรดน้ำอยู่เสมออย่าให้กระเปาะแห้ง ถ้าขุยมะพร้าวชื้นพอ รัดปากถุงให้แน่นจะไม่ต้องรดน้ำอีกเลย พร้อมกันนี้ต้องระวังไม่ให้มดมากัดทำลายด้วย

1.6 การตัดกิ่งตอนตัดเมื่อรากแก่

เมื่อรากแทงทะลุขุยมะพร้าวออกมา ปลายรากเริ่มมีสีน้ำตาล และกิ่งตอนมีใบแก่ทั้งหมด จึงตัดจากต้นแม่ใต้กระเปาะตอนไปชำ

การตอนแบบกรีดกิ่ง นิยมใช้กับกิ่งที่มีแก่นเล็ก หรือกิ่งที่เปราะหักง่าย มีขั้นตอนการปฏิบัติเช่นเดียวกับการตอนแบบควั่นกิ่ง ต่างกันตรงรอยแผลจะใช้มีดกรีดเปลือกยาวประมาณ 1 นิ้ว 3-4 รอย

การตอนกิ่งแบบปาดกิ่ง มีวิธีปฏิบัติเช่นเดียวกับการตอนแบบกรีดกิ่ง ต่างกันตรงรอยแผล ที่จะทำให้เกิดแผลโดยใช้มีดปาดเฉียงให้ลึกเข้าไปในเนื้อไม้เล็กน้อย ใช้เศษวัสดุ เช่น ไม้จิ้มฟัน ลวดฟิวส์ หรือก้านไม้ขีดขัดรอยแผลไว้ให้เผยอออกมาเป็นลิ้นป้องกันไม่ให้รอยแผลเชื่อมติดกันเท่าใด บริเวณที่สัมผัสดินควรจะยึดกิ่งให้ติดกับดินด้วยไม้ค้ำหรือลวดตัวยู บริเวณที่สัมผัสดินจะงอกรากออกมาบริเวณข้อและแตกตาบริเวณตา หลังจากยอดและรากสมบูรณ์ดีแล้ว จึงตัดให้ขาดจากกิ่งเดิม นำไปแยกปลูกต่อไป นิยมใช้กับต้นมะลิ ประทัดจีน สตรอเบอรี่ เป็นต้น

การตอนแบบกรีดกิ่งและปาดกิ่ง นิยมใช้ในพืชที่มีลำต้นเปราะ เช่น ชวนชม เชอรี่ เป็นต้น

การตอนกิ่งแบบโน้มกิ่ง

นิยมใช้กับกิ่งไม้เลื้อย เช่น มะลิ

ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการตอนกิ่ง

บางครั้งกิ่งตอนเกิดการเหี่ยวแห้ง ตอนแล้วไม่ออกราก มีปัจจัยที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้

1. การเลือกกิ่ง

ควรเลือกกิ่งเพสลาด มีสีน้ำตาล ไม่แก่หรืออ่อนเกินไป ใบยอดควรจะพ้นระยะใบอ่อนเปลือกล่อน ถ้ากิ่งแก่ไปจะออกรากยากและน้อย นอกจากนั้น กิ่งแก่มักจะเป็นกิ่งขนาดใหญ่ เมื่อออกรากแล้วมักจะมีปัญหาในการชำ เพราะขนาดของต้นใหญ่ มีรากน้อย ทำให้ใบกับรากไม่สมดุลกัน ใบจะเหี่ยวเนื่องจากขาดน้ำ กิ่งที่อยู่รอบในทรงพุ่มก็ไม่ควรตอน เพราะจะออกรากช้าและน้อย บางครั้งจะไม่ออกรากเลย นอกจากนั้นควรจะพิจารณาถึง

1.1 ขนาดของกิ่ง

ควรมีขนาดตั้งแต่ขนาดดินสอดำถึงขนาดหัวแม่มือ

1.2 ชนิดของกิ่ง

กิ่งกระโดงเหมาะที่สุด เพราะจะออกรากได้รอบด้าน ถ้าเป็นกิ่งนอกรากจะออกทางด้านบนของกิ่งแล้วห้อยลงตามแรงดึงดูดของโลก ทำให้ได้รากน้อยและรากโตช้า ถ้าจำเป็นต้องเลือกกิ่งนอนควรค้ำหรือโยงให้กิ่งตั้งตรงก่อนแล้วจึงตอน โดยทำไม้หลักไว้กลางพุ่มสำหรับผูกเชือกโยงกิ่งตอนทั้งหลายให้ตั้งขึ้น

2. ฤดูกาล

ควรตอนกิ่งในช่วงฤดูฝนซึ่งเป็นระยะที่พืชกำลังเจริญเติบโต ถ้าตอนกิ่งในฤดูร้อนต้องรดน้ำกระเปาะหุ้มให้ชื้นอยู่เสมอ สำหรับฤดูหนาวไม่แนะนำให้ตอน โดยทั่วไปชาวสวนจะนิยมตอนในฤดูแล้ง เนื่องจากกระเปาะหุ้มจะไม่แฉะซึ่งเป็นสาเหตุให้รากไม่เดิน

3. การใช้ฮอร์โมนเร่งราก

ปัจจุบันเป็นที่ยอมรับกันว่า ฮอร์โมนเร่งรากจะช่วยให้การเกิดรากของกิ่งตอนเร็วขึ้น โดยทาฮอร์โมนเร่งรากบริเวณเหนือรอยควั่น (บริเวณที่จะออกราก) ระวังอย่าทาถึงได้รอยควั่น บริเวณนี้จะเกิดรากเร็วกว่าบริเวณเหนือรอยควั่น เมื่อเห็นรากโผล่ออกมาจากตุ้ม หากตัดไปชำมักจะตาย เนื่องจากไม่สามารถส่งอาหารจากยอดมารากได้ (ท่ออาหารถูกตัดขาด) และพบว่าในระยะนี้รากบริเวณเหนือรอยควั่นมักจะยังเจริญไม่พอด้วย

การตัดและการชำกิ่งตอน

การตัดกิ่งตอนควรจะพิจารณาจากจำนวนรากที่สังเกตเห็นได้ โดยมองผ่านผ้าพลาสติกที่หุ้ม (ควรใช้พลาสติกสีขาวใส) ควรจะมีรากมากพอ ปลายรากมีสีน้ำตาลแก่ เมื่อตัดกิ่งตอนแล้วควรจะมีการตัดแต่งกิ่ง เนื่องจากกิ่งตอนย่อมมีระบบรากน้อยกว่าทางส่วนยอด ดังนั้น ถ้าไม่เอาใจใส่เป็นพิเศษจะไม่สามารถที่จะพยุงต้นไว้ได้ และจะเกิดการคายน้ำมาก ดังนั้นควรปฏิบัติดังนี้

1. ตัดแต่งกิ่งให้สมดุลกับราก

2. ทำการปลูกในภาชนะที่พอเหมาะกับขนาดของต้นและราก มีการค้ำยันด้วยไม้กันไม่ให้กิ่งชำโยก

3. นำกิ่งตอนมาไว้ในที่ชื้นและเย็น รดน้ำสม่ำเสมอ จนกิ่งตอนตั้งตัวดีแล้วจึงย้ายปลูก

ข้อพิจารณาในการตอน

1. ในกรณีที่ต้องการกิ่งตอนขนาดใหญ่ ควรจะมีการเพิ่มขนาดของตุ้ม โดยการหุ้มขุยมะพร้าวทับตุ้มเดิมอีกครั้งหนึ่ง หรือใช้ตุ้มครั้งแรกให้มีขนาดใหญ่ขึ้นอีกนิด ทั้งนี้ ต้องระวังปัญหาตุ้มใหญ่เกินไป อาจทำให้กิ่งหักได้

2. ในพืชบางชนิดกิ่งมีขนาดค่อนข้างเล็ก กิ่งเปราะหักง่ายการตอนควรจะมีการดามด้วยไม้เพื่อป้องกันไม่ให้กิ่งหัก

3. การหุ้มตุ้มตอนด้วยกระดาษเพื่อกรองแสงไม่ให้ตุ้มมีอุณหภูมิสูงเกินไป หากขุยมะพร้าวมีความชื้นสูงร่วมด้วย จะเกิดอันตรายกับรากได้ เพื่อความปลอดภัยจึงควรจะหุ้มตุ้มด้วยกระดาษอีกชั้นหนึ่ง ซึ่งมีประโยชน์อีกประการคือ ทำให้รากเดินดีขึ้น (ภายในถุงขุยมะพร้าวจะมืด)

เทคโนโลยีสารสนเทศหมายถึง อุปกรณ์หรือเครื่องมือที่เกี่ยวข้องกับการรวบรวมประมวล เก็บรักษา และเผยแพร่ข้อมูลและสารสนเทศโดยรวมทั้งฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ฐานข้อมูล และการสื่อสาร โทรคมนาคม ระบบสารสนเทศสร้างขึ้นมาเพื่อจุดมุ่งหมายหลายประการจุดมุ่งหมายพื้นฐานประการหนึ่ง คือ การประมวลข้อมูล (Data) ให้เป็นสารสนเทศ (Information) และนำไปสู่ความรู้ (Knowledge) ที่ช่วยแก้ปัญหาในการดำเนินงาน

ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ

1. ช่วยในการจัดระบบข่าวสารจำนวนมหาศาลของแต่ละวัน

2. เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตสารสนเทศ เช่น การคำนวณตัวเลขที่ยุ่งยากซับซ้อน การจัดเรียงลำดับสารสนเทศ ฯลฯ

3. ช่วยให้สามารถเก็บสารสนเทศไว้ในรูปที่สามารถเรียกใช้ได้ทุกครั้งอย่างสะดวก

4. ช่วยให้สามารถจัดระบบอัตโนมัติ เพื่อการจัดเก็บประมวลผล และเรียกใช้สารสนเทศูล

5. ช่วยในการเข้าถึงสารสนเทศได้อย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพมากขึ้น

6. ช่วยในการสื่อสารระหว่างกันได้อย่างสะดวกรวดเร็ว ลดอุปสรรคเกี่ยวกับเวลา และระยะทาง โดยการใช้ระบบโทรศัพท์ และอื่นๆ

ประโยชน์ของเทคโนโลยีสารสนเทศ

การกำเนิดของคอมพิวเตอร์เมื่อประมาณห้าสิบกว่าปีที่แล้ว เป็นก้าวสำคัญที่นำไปสู่ยุคสารสนเทศ ในช่วงแรกมีการนำเอาคอมพิวเตอร์มาใช้เป็นเครื่องคำนวณ แต่ต่อมาได้มีความพยายามพัฒนาให้คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์สำคัญสำหรับการจัดการข้อมูล เมื่อเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ได้ก้าวหน้ามากขึ้น ทำให้สามารถสร้างคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กลง แต่ประสิทธิภาพสูงขึ้น สภาพการใช้งานจึงใช้งานกันอย่างแพร่หลาย ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีต่อชีวิตความเป็นอยู่และสังคมจึงมีมาก มีการเรียนรู้และใช้สารสนเทศกันอย่างกว้างขวาง ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศโดยรวมกล่าวได้ดังนี้

1. การสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สภาพความเป็นอยู่ของสังคมเมือง มีการพัฒนาใช้ระบบสื่อสารโทรคมนาคม เพื่อติดต่อสื่อสารให้สะดวกขึ้น มีการประยุกต์มาใช้กับเครื่องอำนวยความสะดวกภายในบ้าน เช่น ใช้ควบคุมเครื่องปรับอากาศ ใช้ควมคุมระบบไฟฟ้าภายในบ้าน เป็นต้น

2. เสริมสร้างความเท่าเทียมในสังคมและการกระจายโอกาส เทคโนโลยีสารสนเทศทำให้เกิดการกระจายไปทั่วทุกหนแห่ง แม้แต่ถิ่นทุรกันดาร ทำให้มีการกระจายโอกาสการเรียนรู้ มีการใช้ระบบการเรียนการสอนทางไกล เสริมสร้างการเรียนรู้ เพราะปัจจุบันมีสื่อการศึกษาที่ทันสมัยมากขึ้นนอกจากหนังสือเรียนธรรมดาแล้ว ยังมี วีดีทัศน์ อินเตอร์เน็ต เป็นต้น ที่ช่วยเสริมสร้างการเรียนรู้ด้วยตนเองของผู้เรียน

3. สารสนเทศกับการเรียนการสอนในโรงเรียน การเรียนการสอนในโรงเรียนมีการนำคอมพิวเตอร์และเครื่องมือประกอบช่วยในการเรียนรู้ เช่น วีดีทัศน์ เครื่องฉายภาพ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน คอมพิวเตอร์ช่วยจัดการศึกษา จัดตารางสอน คำนวณระดับคะแนน หรืออย่างที่ครูเป๋งให้เราฝึกทำBlog ไงล่ะคะ ปัจจุบันมีการเรียนการสอนทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศในโรงเรียนจึงมากขึ้น

4.เทคโนโลยีสารสนเทศกับสิ่งแวดล้อม การจัดการทรัพยากรธรรมชาติหลายอย่างจำเป็นต้องใช้สารสนเทศ เช่น การดูแลรักษาป่า จำเป็นต้องใช้ข้อมูล มีการใช้ภาพถ่ายดาวเทียม การติดตามข้อมูลสภาพอากาศ การพยากรณ์อากาศ การจำลองรูปแบบสภาวะสิ่งแวดล้อมเพื่อปรับปรุงแก้ไข การเก็บรวมรวมข้อมูลคุณภาพน้ำในแม่น้ำต่าง ๆ การตรวจวัดมลภาวะ ตลอดจนการใช้ระบบการตรวจวัดระยะไกลมาช่วย ที่เรียกว่าโทรมาตร เป็นต้น

เทคโนโลยีสารสนเทศกับการป้องกันประเทศ กิจการทางด้านการทหารมีการใช้เทคโนโลยี อาวุธยุทโธปกรณ์สมัยใหม่ล้วนแต่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์และระบบควบคุม มีการใช้ระบบป้องกันภัย ระบบเฝ้าระวังที่มีคอมพิวเตอร์ควบคุมการทำงาน

นางสาวรัชนี จันอร่าม ม3/2

การต่อกิ่งเป็นวิธีการขยายพันธุ์พืชแบบไม่ใช้เพศด้วยวิธีการนำกิ่งพืชสอง ชนิดมาเชื่อมต่อกันให้เจริญเป็นต้นเดียวกันส่วนของพืชที่เจริญเป็นรากเรียกว่า ต้นตอ (rootstock หรือ stock) และส่วนที่นำมาต่ออยู่บนต้นตอเป็นส่วนที่เจริญ เป็นกิ่งก้าน ออกดอกติดผลต่อไป เรียกว่า กิ่งพันธุ์ดี (scion) ซึ่งเป็นส่วนของ กิ่งพืชที่มีตามากกว่าหนึ่งตาขึ้นไปมาเชื่อมต่อกับต้นตอความสำเร็จของการต่อกิ่ง จะเกิดขึ้นได้นั้นต้องมีการเชื่อมต่อ ระหว่างเนื้อเยื่อต้นตอและกิ่งพันธุ์ดี สามารถลำเลียงน้ำและอาหารผ่าน บริเวณรอยต่อ ได้เนื้อเยื่อบริเวณ รอยต่อ(graft union)นี้เกิดจากเนื้อเยื่อ ของต้นตอและกิ่งพันธุ์ดีมาเรียงตัว อยู่ด้วยกันโดยไม่เกิดการรวมตัวของเซลล์ระหว่างพืชทั้งสองชนิด

เนื้อเยื่อที่เกิดขึ้นถูกสร้างขึ้นมา สมานแผลเป็น เซลล์ parenchyma จำนวนมากประกอบกัน เป็นเนื้อเยื่อ callus เกิดขึ้นภายใน 2-3 วัน รอยแผลที่เกิดจาก การเฉือนกิ่งจะมีส่วนที่ตายไปและมีการสร้างสาร nicrotic เพื่อรักษาบาดแผล ส่วนมากสารเหล่านี้จะหายไป เมื่อเกิดการเชื่อมต่อกันดีแล้วหรือยังอยู่ในช่องว่างระหว่าง เซลล์ก็ได้อาจพบเป็นเซลล์ที่ตายและเยินจากเนื้อเยื่อ

การเกิดรอยต่อได้นั้นต้องวางให้เนื้อเยื่อแคมเบียมของต้นตอและกิ่งพันธุ์ดี อยู่แนบหรือใกล้กันมากที่สุดแล้วจะมีการสร้างเนื้อเยื่อแคลลัสใหม่เกิดขึ้น จากทั้งสองส่วนจนเต็มช่องว่างระหว่างกันเรียกว่า callus bridge ซึ่งจะมีการ พัฒนาไปเป็นเนื้อเยื่อเจริญ (vascular cambium) ภายใน 2-3 สัปดาห์และมี การสร้างท่อน้ำ (xylem) และท่ออาหาร (phloem) เชื่อมกันต่อไป การปรับสภาพแวดล้อมภายนอกให้เหมาะสมมีผลต่อความสำเร็จในการต่อกิ่งด้วย คือ อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการแบ่งเซลล์บริเวณรอยต่ออยู่ระหว่าง 12.8-32.0 องศาเซลเซียส เมื่อเกิดเนื้อเยื่อ callus ขึ้นต้องควบคุมความชื้นบริเวณรอยต่อให้เหมาะสมเนื่องจากเซลล์มีผนังบางและเต่งจึงแห้งตายได้ง่าย จำเป็นต้องพันพลาสติกหรือใช้ถุงพลาสติกคลุมทับ การป้องกันแผลไม่ให้มีการติดเชื้อที่จะทำให้เน่าตายได้เช่นกัน

นอกจากนั้นความสัมพันธ์ของระยะการเจริญเติบโตของตาบนกิ่งพันธุ์ดีจะต้องพอเหมาะกับการพัฒนาการของเนื้อเยื่อบริเวณรอยต่อด้วย กล่าวคือ ขั้นตอนการสร้างท่อน้ำท่ออาหาร ต้องเกิดขึ้นอย่างสมบูรณ์ก่อนที่จะมีใบใหม่เจริญจากตาของกิ่งพันธุ์ดี มิฉะนั้นจะเกิดการแห้งตายของตานั้นได้

การเข้ากันได้ (compatibility) ของพืชทั้งสองชนิดมีส่วนต่อความสำเร็จในการต่อกิ่งด้วย การเลือกใช้ต้นตอและกิ่งพันธุ์ที่มีความใกล้ชิดกันทางพฤกษศาสตร์จะต่อกันได้ดีและรอยต่อเจริญ เหมือนเป็นต้นเดียวกัน เช่น มะม่วงแต่ละพันธุ์จัดเป็นชนิด (species) เดียวกันจึงต่อกิ่งได้ง่าย แต่พืชบางชนิดสามารถเข้ากันได้ดีถึงแม้จะมีความแตกต่างกันมาก เช่น ส้มสามใบ (Poncitrus trifoliata) ต่อด้วยส้มเขียวหวาน (Citrus reticulata) มีพืชหลายคู่ที่สามารถต่อกันได้ในระยะแรก แต่เมื่อเวลาผ่านไปจะมีอาการของการเข้ากันไม่ได้ (incompatibility) เกิดรอยต่อแยกจากกันหรือมีการเติบโตผิดปกติ เช่น ต้นดอนย่าสีชมพูต่อบนดอนย่าสีขาวทักษะและประสบการณ์ของผู้ปฏิบัติงานมีส่วนสำคัญเช่นกัน นอกจากนั้นเครื่องมือที่ใช้ คือ มีดเฉือนกิ่ง ควรอยู่ในสภาพที่คมสามารถเฉือนกิ่งได้โดยไม่ทำให้เนื่อเยื่อชอกช้ำหรือเยินเสียหาย ผู้ปฏิบัติงานต้องทำงานอย่างรวดเร็วและรักษาความสะอาดของแผลบนกิ่งพันธุ์ดี และต้นตอด้วย การเลือกใช้วิธีการต่อกิ่งที่เหมาะสมกับพืชและระยะเวลาเป็นสิ่งสำคัญอีกประการหนึ่งที่ผู้ปฏิบัติงานต้องให้ความสำคัญด้วย กล่าวคือการเลือกใช้วิธีต่อกิ่งกับต้นพืชที่อยู่ในระยะการเจริญเติบโตสามารถลอกเปลือกได้ หรืออยู่ในระยะพักตัว นอกจากนั้นการดูแลเอาใจใส่อย่างใกล้ชิดภายหลังการปฏิบัติงานมีส่วนต่อความสำเร็จของงานด้วย

วิธีการต่อกิ่ง สามารถปฏิบัติได้หลายวิธี ขึ้นอยู่กับชนิดของพืช อายุและขนาดของพืชด้วย นอกจากนั้นยังเกี่ยวข้องกับวัตถุประสงค์ของการต่อกิ่งนั้นๆ ด้วย ในแต่ละวิธีที่จะกล่าวถึงต่อไปนั้นมีหลักพิจารณาในการเลือกปฏิบัติคือ การลอกเปลือกไม้ และการตัดยอดของต้นตอประโยชน์ของการต่อกิ่งและการนำไปใช้

1. เป็นวิธีการขยายพันธุ์พืชเพื่อเพิ่มจำนวนสายต้น (cultivar) ให้มีปริมาณมากโดยกิ่งพันธุ์ดีไม่ต้องใช้เวลานานในการออกดอกติดผล

2. เป็นทางเลือกในการขยายพันธุ์พืชที่ไม่สามารถใช้วิธีการอื่นได้ผลสำเร็จ เช่น การออกรากของกิ่งปักชำหรือกิ่งตอนไม่มาก

3. ต้องการใช้ประโยชน์จากความทนทานต่อสภาพแวดล้อมของระบบรากในต้นตอ เช่น รากของต้นตอที่เจริญเติบโตได้ในที่มีอุณหภูมิต่ำ น้ำท่วมขัง มีความต้านทานโรคและแมลงในดินได้ดี

4. สามารถนำกิ่งพันธุ์ ที่ช่วยในการผสมเกสรให้กับต้นพันธุ์ที่ต้องการเก็บผลผลิต เพื่อให้มีการผสมข้ามพันธุ์แล้วติดผลดีขึ้น หรือเป็นต้นที่แยกเพศ (dioecious plant)

5. ทำให้ในต้นหนึ่งต้นมีหลายพันธุ์อยู่ด้วยกันเพื่อเก็บผลผลิตต่างพันธุ์หรือความสวยงาม

6. ต้นพันธุ์บางชนิดมีการเจริญเติบโตได้ดีกว่าเมื่อต่ออยู่บนระบบรากของอีกพันธุ์หนึ่ง

7. ต้องการให้อิทธิพลของความแคระมีผลต่อต้นตอหรือกิ่งพันธุ์ดี ทำให้ขนาดทรงพุ่มเตี้ย

8. ช่วยให้พืชที่เข้ากันไม่ได้ (incompatibility) ประสานอยู่ด้วยกันได้ โดยใช้ interstock มาต่อกิ่งอยู่ระหว่างต้นตอและกิ่งพันธุ์ดี

9. ใช้สำหรับการซ่อมแซมความเสียหายที่เกิดขึ้นกับลำต้นที่เปลือกถูกแมลงหรือสัตว์กัดแทะหรือเครื่องมือในสวนทำให้เกิดความเสียหายจึงใช้การต่อกิ่งเชื่อมต่อส่วนเปลือกลำต้นให้เจริญเติบโตได้ตามปกติ เรียกว่า การต่อกิ่งแบบเชื่อมสะพาน

10. เพื่อการศึกษาโรคไวรัสที่สามารถถ่ายทอดจากกิ่งพันธุ์ที่สงสัยมีการติดโรคต่อกิ่งบนต้นที่อ่อนแอต่อโรค (indicator plant) ซึ่งสามารถแสดงอาการของโรคไวรัสได้ชัดเจน เป็นเทคนิคที่เรียกว่า virus indexing

2. การปักชำ คือการใช้ส่วนต่างๆ ของพืช เช่น ราก ใบ หรือ ลำต้น ไปปักชำ และส่วนของพืชเหล่านี้จะเจริญงอกงามเป็นลำต้นต่อไป

การปักชำเป็นวิธีขยายพันธุ์พืชที่ดีวิธีหนึ่งซึ่งมีข้อดี ดังนี้

1. ประหยัดค่าใช้จ่าย

2. ขยายพันธุ์ได้ปริมาณมาก

3. ทำได้ง่ายโดยไม่ต้องอาศัยเทคนิคหรือความสามารถมาก

4. ต้นพืชเจริญเติบโตเร็ว โดยใช้ระยะเวลาไม่นาน

5. พืชต้นใหม่ที่ได้จะมีลักษณะเหมือนต้นเดิมทุกประการ

วัสดุที่ใช้ในการปักชำ

กระบะ ดิน ทราบ แกลบ ปุ๋ยคอก ขุยมะพร้าว ใบไม้ผุ

การปักชำสามารถทำได้หลายวิธี ดังนี้

1. การปักชำราก เป็นการเอารากของพืชมาปักชำ อาจปักลงไปในดิน ในทราย หรือในเถ้าแกลบก็ได้ เพื่อส่วนของรากนั้นงอกเป็นลำต้นต่อไป พืชที่ใช้รากปักชำ เช่น มันเทศ สน สาเก เข็มอินเดียเป็นต้น วิธีการชำรากทำได้ ดังนี้

1.1 ตัดรากไม้ออกเป็นท่อนๆ

1.2 วางรากบนดิน การปักชำรากไม่นิยมปักในแนวตั้ง แต่นิยมวางในแนวนอน หรือวางในแนวเฉียงเล็กน้อย

2. การปักชำใบ โดยทั่วไปแล้วใบจะแตกเป็นกิ่งไม่ได้ แต่มีพืชบางชนิดสามารถนำใบมาปักชำให้เจริญเติบโตเป็นต้นต่อไปได้ เช่น ลิ้นมังกร กุหลาบหิน คว่ำตายหงายเป็น เป็นต้น การปักชำใบมี 4 วิธี

วิธีที่ 1 การปักชำโดยใช้ใบ

ให้ นำใบที่ไม่ใช่ใบอ่อนมาตัดเป็นส่วนๆ หรือทั้งใบแล้วนำไปวางเป็นวัสดุ เช่น ทราย หรือดิน โดยให้ด้านบนของใบหงายขึ้น พืชที่นิยม เช่น คว่ำตายหงายเป็น กุหลาบหิน

วิธีที่ 2 การปักชำโดยใช้ก้านใบ

ให้ตัดก้านใบให้หลุดออกจากกิ่งแล้วนำไปปักชำก็จะเจริญเติบโตเป็นต้นใหม่ได้ เช่น กุหลาบหิน

วิธีที่ 3 การปักชำโดยใช้ก้านใบที่ส่วนของกิ่ง

ให้ เอาใบมา โดยเฉือนส่วนของกิ่งให้มีตาติดมาด้วย (มิใช่นำมาทั้งกิ่ง) แล้วนำไปปักชำ ส่วนตาที่ติดมากับกิ่งก็จะเจริญเติบโตเป็นต้นต่อไป วิธีนี้นิยมใช้กับ ฟิโลเดนดรอน ต้นยางอินเดีย

วิธีที่ 4 การใช้ใบติดกิ่งมาปักชำ

ให้ ตัดกิ่งที่จะนำมาปักชำ โดยกิ่งนั้นต้องมีตาเดียว และมีใบติดมาด้วยแล้วนำส่วนของกิ่งบางส่วนปักลงในดินให้ใบ และกิ่งส่วนหนึ่งโผล่ขึ้นมา เพียงเล็กน้อย พืชที่นิยมขยายพันธุ์แบบนี้ ได้แก่ ฟิโลเดนดรอน

การปักชำกิ่ง

เป็นวิธีที่นิยมกันมากและทำกัน มานานแล้ว เราไม่จำเป็นต้องพิถีพิถันกับวัสดุที่ใช้ในการปักชำมากนัก ปัจจุบันนิยมกัน แพร่หลายเพราะประหยัดค่าใช้จ่าย ใช้ระยะเวลาสั้น และได้ลักษณะพันธุ์เดิม การปักชำกิ่งแบ่งเป็น 3 ประเภท

1. การปักชำกิ่งประเภทที่มีเนื้ออวบน้ำ เช่น ฤาษีผสม กิ่งชนิดนี้จะอ่อน บอบบาง และช้ำง่าย ฉะนั้นจึงต้องการความประณีต ในการปฏิบัติ คือต้องระวังในเรื่องความชื้น แสง และอุณหภูมิ

2. การปักชำกิ่งที่มีความแข็งของเนื้อไม้ปานกลาง เช่น ว่านกวนอิม อายุของกิ่งประมาณ 3 - 6 เดือน ผิวเปลือกของกิ่งมี สีอมเขียว ยังไม่เป็นสีน้ำตาล กิ่งประเภทนี้มีเนื้อไม้อ่อนไม่แข็งแรงนัก ฉะนั้นจึงควรระมัดระวังเรื่องน้ำ อุณหภูมิ และแสงสว่างให้มาก เพราะกิ่งประเภทนี้จะเหี่ยวแห้งได้ง่าย

2. การปักชำไม้ที่มีอายุเกิน 1 ปีขึ้นไป วิธีนี้นิยมกันมาก การเลือกกิ่งไม้ที่จะนำมาปักชำ ควรเลือกกิ่งที่มีสีน้ำตาล ก่อนปักชำควร ปักกิ่งชำให้มีตาอย่างน้อย 2-3 ตา การตัดควรตัดเป็นท่อน ๆ ขนาด ยาว 6-8 เซนติเมตร การตัดท่อนปลายกิ่งให้ตัดเหนือข้อ ส่วนท่อนโคนให้ตัดต่ำกว่าข้อ โดยตัดให้เฉียง เราไม่ควรตัดตรงข้อพอดี เพราะจะทำให้กิ่งสูญเสียอาหารไป นอกจากนี้ บริเวณข้อยังมีเนื้อเยื่อ อัดตัวแน่นและแข็งแรง ช่วยป้องกันการระเหยของน้ำในกิ่งได้เป็นอย่างดี

1.3 การขยายพันธุ์พืชโดยวิธีตอนกิ่ง

ทฤษฎีการตอนกิ่ง

ในการตอนกิ่งจะต้องทำให้เกิดแผลกับลำต้นหรือกิ่ง เพื่อตัดท่ออาหารและ เนื้อเยื่อเจริญของกิ่งนั้นให้ขาดจากกัน แต่ท่อน้ำยังคงอยู่เหมือนเดิม ทำให้สามารถส่งน้ำจากรากไปยอดได้ตามปกติ กิ่งและใบยอดจะยังคงสดอยู่เสมอ ซึ่งเป็นเหตุผลสำคัญของการที่พืชบางชนิดขยายพันธุ์ด้วยการตอนกิ่งได้เป็นผลสำเร็จมากกว่าการตัดชำท่ออาหารให้ขาดจากกัน ทำให้การขนส่งอาหารไม่เกิดขึ้น อาหารที่ส่งมาจากยอดจะไปสะสมตรงเหนือรอยแผลมาก ประกอบกับเนื้อเยื่อเจริญบริเวณแผลถูกตัดขาด เป็นการกระตุ้นเตือนให้เนื้อเยื่อเจริญส่วนนั้นเกิดการแบ่งเซลล์อย่างรวดเร็ว มีเซลล์ที่เกิดใหม่มากมาย (มีอาหารอุดมมบูรณ์จากการสะสมเหนือรอยแผล) จะมีเซลล์ส่วนหนึ่งที่พัฒนาไปเป็นราก ทำหน้าที่ดูดน้ำและธาตุอาหาร

พืชแต่ละชนิดมีความยากง่ายในการที่เนื้อเยื่อเจริญจะพัฒนาไปเป็นราก แตกต่างกัน และการจัดสภาพแวดล้อมให้กับเนื้อเยื่อเจริญที่จะเจริญพัฒนาไปเป็นรากได้ ก็ต้องมีความเหมาะสม โดยเฉพาะเกี่ยวกับอุณหภูมิ ความชื้น และบางครั้งอาจจำเป็นต้องใช้สารควบคุมการเจริญเติบโต

ข้อดีข้อจำกัดของการตอนกิ่ง

ข้อดี คือทำได้ง่าย ประสบผลสำเร็จมากกว่าการปักชำ และได้ต้นกล้าขนาด ใหญ่ ทำให้ได้ผลผลิตเร็ว ไม่กลายพันธุ์ ทรงต้นไม่สูงนัก

ข้อจำกัด คือ

2.1 ไม่มีรากแก้ว ทำให้ไม่สามารถ ทนต่อลมแรง ๆ โค่นล้มได้ง่าย

2.2 กิ่งตอนมีขนาดใหญ่กว่ากิ่งชำ การดูแลรักษาหลังตอนยากกว่ากิ่งตัดชำ

การตอนแบบควั่นกิ่ง

เป็นวิธีที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย ทำได้ง่ายและสะดวก มีขั้นตอนดังนี้

1.1 เลือกกิ่งที่แข็งแรง สมบูรณ์ ไม่เป็นโรคและแมลง

เป็นกิ่งที่อยู่ทางด้านนอกของทรงพุ่ม ได้รับแสงแดดเต็มที่ ถ้าเป็นสวนเพื่อการขยายพันธุ์อย่างเดียวจะเลือกตอนเกือบทุกกิ่ง เหลือไว้บางกิ่งเพื่อเป็นพี่เลี้ยงต้นหลังจากตัดกิ่งตอนออกไป

1.2 การควั่นกิ่ง

สำหรับไม้ผล ควรเลือกกิ่งยาวประมาณ 30-50 เซนติเมตร ส่วนไม้ประดับอาจสั้นกว่านี้ ขึ้นอยู่กับจำนวนต้นที่ต้องการและชนิดของพืช ไม่ควรให้กิ่งมีพุ่มขนาดใหญ่มากนักเพราะจะทำให้เกิดการเหี่ยวแห้งในระยะชำเนื่องจากมีจำนวนใบไม่สมดุลกับจำนวนราก ความยาวของรอยควั่นเท่ากับ 1-2 เท่าของเส้นรอบวงของกิ่ง หรือดูจากความสามารถในการออกราก พืชที่ออกรากง่ายรอยควั่นจะสั้น (ประมาณ 1 เท่าของเส้นรอบวง)ถ้าเป็นพืชที่ออกรากยากรอยควั่นจะห่างประมาณ 1.5-2 เท่าของเส้นรอบวงของกิ่งนั้น คุณบุญชอบ โพธิ์รักษา แนะนำว่า การตอนฝรั่งควรจะควั่นห่างเพียง ½ เซนติเมตร ปล่อยให้แห้งสักครู่จึงค่อยหุ้มขุยมะพร้าว (มีการเสริมด้วยไม้ท่อนเล็ก ๆ ก่อนหุ้มขุยมะพร้าวเพื่อป้องกันกิ่งหัก)

1.3 การขูดเยื่อเจริญ (เมือกลื่น ๆ อยู่ระหว่างส่วนของเปลือกกับเนื้อไม้)

พืชแต่ละชนิดต้องการการขูดเยื่อเจริญต่างกัน ควรจะสังเกตว่าพืชใดต้องขูดเยื่อเจริญมากน้อยเท่าใด พืชบางชนิดไม่ต้องขูดเยื่อเจริญ เช่น ฝรั่ง สนแผง ถ้าขูดแล้วกิ่งมักจะแห้งตายเนื่องจากท่อน้ำถูกทำลาย พืชบางชนิดอาจขูดเยื่อเจริญแล้วหุ้มตามได้เลย (พืชทั่วไป) แต่บางชนิดต้องควั่นทิ้งไว้ให้เยื่อเจริญแห้งประมาณ 1 สัปดาห์ จึงจะหุ้มด้วยขุยมะพร้าว เช่น ละมุด

1.4 การหุ้มรอยควั่น

ปัจจุบันนิยมใช้ถุงพลาสติกขนาดเล็กบรรจุขุยมะพร้าว รัดปากถุงให้แน่น ใช้มีดผ่าถุงหุ้มรอยควั่นให้มิด มัดให้แน่น อย่าให้กระเปาะขุยมะพร้าวหมุนหรือขยับได้ เพราะจะทำให้รากที่งอกหักได้ หุ้มทับด้วยกระดาษเพื่อช่วยลดอุษหภูมิและแสงในขุยมะพร้าว ซึ่งจะทำให้การเดินของรากดีขึ้น บางท่านนิยมหุ้มรอยควั่นด้วยดินเหนียว ก่อนหุ้มด้วยกาบมะพร้าวแช่น้ำทุบให้นิ่ม แล้วหุ้มทับด้วยใบตองแห้งหรือผ้าพลาสติก (ไม่นิยมทำในทางการค้า เนื่องจากต้องใช้เวลา) แต่บางสวนจะผ่าตุ้มมะพร้าวแล้วป้ายดินด้านในเล็กน้อยแทนการหุ้มด้วย

1.5 การดูแลรักษา

คอยดูแลรดน้ำอยู่เสมออย่าให้กระเปาะแห้ง ถ้าขุยมะพร้าวชื้นพอ รัดปากถุงให้แน่นจะไม่ต้องรดน้ำอีกเลย พร้อมกันนี้ต้องระวังไม่ให้มดมากัดทำลายด้วย

1.6 การตัดกิ่งตอนตัดเมื่อรากแก่

เมื่อรากแทงทะลุขุยมะพร้าวออกมา ปลายรากเริ่มมีสีน้ำตาล และกิ่งตอนมีใบแก่ทั้งหมด จึงตัดจากต้นแม่ใต้กระเปาะตอนไปชำ

การตอนแบบกรีดกิ่ง นิยมใช้กับกิ่งที่มีแก่นเล็ก หรือกิ่งที่เปราะหักง่าย มีขั้นตอนการปฏิบัติเช่นเดียวกับการตอนแบบควั่นกิ่ง ต่างกันตรงรอยแผลจะใช้มีดกรีดเปลือกยาวประมาณ 1 นิ้ว 3-4 รอย

การตอนกิ่งแบบปาดกิ่ง มีวิธีปฏิบัติเช่นเดียวกับการตอนแบบกรีดกิ่ง ต่างกันตรงรอยแผล ที่จะทำให้เกิดแผลโดยใช้มีดปาดเฉียงให้ลึกเข้าไปในเนื้อไม้เล็กน้อย ใช้เศษวัสดุ เช่น ไม้จิ้มฟัน ลวดฟิวส์ หรือก้านไม้ขีดขัดรอยแผลไว้ให้เผยอออกมาเป็นลิ้นป้องกันไม่ให้รอยแผลเชื่อมติดกันเท่าใด บริเวณที่สัมผัสดินควรจะยึดกิ่งให้ติดกับดินด้วยไม้ค้ำหรือลวดตัวยู บริเวณที่สัมผัสดินจะงอกรากออกมาบริเวณข้อและแตกตาบริเวณตา หลังจากยอดและรากสมบูรณ์ดีแล้ว จึงตัดให้ขาดจากกิ่งเดิม นำไปแยกปลูกต่อไป นิยมใช้กับต้นมะลิ ประทัดจีน สตรอเบอรี่ เป็นต้น

การตอนแบบกรีดกิ่งและปาดกิ่ง นิยมใช้ในพืชที่มีลำต้นเปราะ เช่น ชวนชม เชอรี่ เป็นต้น

การตอนกิ่งแบบโน้มกิ่ง

นิยมใช้กับกิ่งไม้เลื้อย เช่น มะลิ

ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการตอนกิ่ง

บางครั้งกิ่งตอนเกิดการเหี่ยวแห้ง ตอนแล้วไม่ออกราก มีปัจจัยที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้

1. การเลือกกิ่ง

ควรเลือกกิ่งเพสลาด มีสีน้ำตาล ไม่แก่หรืออ่อนเกินไป ใบยอดควรจะพ้นระยะใบอ่อนเปลือกล่อน ถ้ากิ่งแก่ไปจะออกรากยากและน้อย นอกจากนั้น กิ่งแก่มักจะเป็นกิ่งขนาดใหญ่ เมื่อออกรากแล้วมักจะมีปัญหาในการชำ เพราะขนาดของต้นใหญ่ มีรากน้อย ทำให้ใบกับรากไม่สมดุลกัน ใบจะเหี่ยวเนื่องจากขาดน้ำ กิ่งที่อยู่รอบในทรงพุ่มก็ไม่ควรตอน เพราะจะออกรากช้าและน้อย บางครั้งจะไม่ออกรากเลย นอกจากนั้นควรจะพิจารณาถึง

1.1 ขนาดของกิ่ง

ควรมีขนาดตั้งแต่ขนาดดินสอดำถึงขนาดหัวแม่มือ

1.2 ชนิดของกิ่ง

กิ่งกระโดงเหมาะที่สุด เพราะจะออกรากได้รอบด้าน ถ้าเป็นกิ่งนอกรากจะออกทางด้านบนของกิ่งแล้วห้อยลงตามแรงดึงดูดของโลก ทำให้ได้รากน้อยและรากโตช้า ถ้าจำเป็นต้องเลือกกิ่งนอนควรค้ำหรือโยงให้กิ่งตั้งตรงก่อนแล้วจึงตอน โดยทำไม้หลักไว้กลางพุ่มสำหรับผูกเชือกโยงกิ่งตอนทั้งหลายให้ตั้งขึ้น

2. ฤดูกาล

ควรตอนกิ่งในช่วงฤดูฝนซึ่งเป็นระยะที่พืชกำลังเจริญเติบโต ถ้าตอนกิ่งในฤดูร้อนต้องรดน้ำกระเปาะหุ้มให้ชื้นอยู่เสมอ สำหรับฤดูหนาวไม่แนะนำให้ตอน โดยทั่วไปชาวสวนจะนิยมตอนในฤดูแล้ง เนื่องจากกระเปาะหุ้มจะไม่แฉะซึ่งเป็นสาเหตุให้รากไม่เดิน

3. การใช้ฮอร์โมนเร่งราก

ปัจจุบันเป็นที่ยอมรับกันว่า ฮอร์โมนเร่งรากจะช่วยให้การเกิดรากของกิ่งตอนเร็วขึ้น โดยทาฮอร์โมนเร่งรากบริเวณเหนือรอยควั่น (บริเวณที่จะออกราก) ระวังอย่าทาถึงได้รอยควั่น บริเวณนี้จะเกิดรากเร็วกว่าบริเวณเหนือรอยควั่น เมื่อเห็นรากโผล่ออกมาจากตุ้ม หากตัดไปชำมักจะตาย เนื่องจากไม่สามารถส่งอาหารจากยอดมารากได้ (ท่ออาหารถูกตัดขาด) และพบว่าในระยะนี้รากบริเวณเหนือรอยควั่นมักจะยังเจริญไม่พอด้วย

การตัดและการชำกิ่งตอน

การตัดกิ่งตอนควรจะพิจารณาจากจำนวนรากที่สังเกตเห็นได้ โดยมองผ่านผ้าพลาสติกที่หุ้ม (ควรใช้พลาสติกสีขาวใส) ควรจะมีรากมากพอ ปลายรากมีสีน้ำตาลแก่ เมื่อตัดกิ่งตอนแล้วควรจะมีการตัดแต่งกิ่ง เนื่องจากกิ่งตอนย่อมมีระบบรากน้อยกว่าทางส่วนยอด ดังนั้น ถ้าไม่เอาใจใส่เป็นพิเศษจะไม่สามารถที่จะพยุงต้นไว้ได้ และจะเกิดการคายน้ำมาก ดังนั้นควรปฏิบัติดังนี้

1. ตัดแต่งกิ่งให้สมดุลกับราก

2. ทำการปลูกในภาชนะที่พอเหมาะกับขนาดของต้นและราก มีการค้ำยันด้วยไม้กันไม่ให้กิ่งชำโยก

3. นำกิ่งตอนมาไว้ในที่ชื้นและเย็น รดน้ำสม่ำเสมอ จนกิ่งตอนตั้งตัวดีแล้วจึงย้ายปลูก

ข้อพิจารณาในการตอน

1. ในกรณีที่ต้องการกิ่งตอนขนาดใหญ่ ควรจะมีการเพิ่มขนาดของตุ้ม โดยการหุ้มขุยมะพร้าวทับตุ้มเดิมอีกครั้งหนึ่ง หรือใช้ตุ้มครั้งแรกให้มีขนาดใหญ่ขึ้นอีกนิด ทั้งนี้ ต้องระวังปัญหาตุ้มใหญ่เกินไป อาจทำให้กิ่งหักได้

2. ในพืชบางชนิดกิ่งมีขนาดค่อนข้างเล็ก กิ่งเปราะหักง่ายการตอนควรจะมีการดามด้วยไม้เพื่อป้องกันไม่ให้กิ่งหัก

3. การหุ้มตุ้มตอนด้วยกระดาษเพื่อกรองแสงไม่ให้ตุ้มมีอุณหภูมิสูงเกินไป หากขุยมะพร้าวมีความชื้นสูงร่วมด้วย จะเกิดอันตรายกับรากได้ เพื่อความปลอดภัยจึงควรจะหุ้มตุ้มด้วยกระดาษอีกชั้นหนึ่ง ซึ่งมีประโยชน์อีกประการคือ ทำให้รากเดินดีขึ้น (ภายในถุงขุยมะพร้าวจะมืด)

เทคโนโลยีสารสนเทศหมายถึง อุปกรณ์หรือเครื่องมือที่เกี่ยวข้องกับการรวบรวมประมวล เก็บรักษา และเผยแพร่ข้อมูลและสารสนเทศโดยรวมทั้งฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ฐานข้อมูล และการสื่อสาร โทรคมนาคม ระบบสารสนเทศสร้างขึ้นมาเพื่อจุดมุ่งหมายหลายประการจุดมุ่งหมายพื้นฐานประการหนึ่ง คือ การประมวลข้อมูล (Data) ให้เป็นสารสนเทศ (Information) และนำไปสู่ความรู้ (Knowledge) ที่ช่วยแก้ปัญหาในการดำเนินงาน

ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ

1. ช่วยในการจัดระบบข่าวสารจำนวนมหาศาลของแต่ละวัน

2. เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตสารสนเทศ เช่น การคำนวณตัวเลขที่ยุ่งยากซับซ้อน การจัดเรียงลำดับสารสนเทศ ฯลฯ

3. ช่วยให้สามารถเก็บสารสนเทศไว้ในรูปที่สามารถเรียกใช้ได้ทุกครั้งอย่างสะดวก

4. ช่วยให้สามารถจัดระบบอัตโนมัติ เพื่อการจัดเก็บประมวลผล และเรียกใช้สารสนเทศูล

5. ช่วยในการเข้าถึงสารสนเทศได้อย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพมากขึ้น

6. ช่วยในการสื่อสารระหว่างกันได้อย่างสะดวกรวดเร็ว ลดอุปสรรคเกี่ยวกับเวลา และระยะทาง โดยการใช้ระบบโทรศัพท์ และอื่นๆ

ประโยชน์ของเทคโนโลยีสารสนเทศ

การกำเนิดของคอมพิวเตอร์เมื่อประมาณห้าสิบกว่าปีที่แล้ว เป็นก้าวสำคัญที่นำไปสู่ยุคสารสนเทศ ในช่วงแรกมีการนำเอาคอมพิวเตอร์มาใช้เป็นเครื่องคำนวณ แต่ต่อมาได้มีความพยายามพัฒนาให้คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์สำคัญสำหรับการจัดการข้อมูล เมื่อเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ได้ก้าวหน้ามากขึ้น ทำให้สามารถสร้างคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กลง แต่ประสิทธิภาพสูงขึ้น สภาพการใช้งานจึงใช้งานกันอย่างแพร่หลาย ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีต่อชีวิตความเป็นอยู่และสังคมจึงมีมาก มีการเรียนรู้และใช้สารสนเทศกันอย่างกว้างขวาง ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศโดยรวมกล่าวได้ดังนี้

1. การสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สภาพความเป็นอยู่ของสังคมเมือง มีการพัฒนาใช้ระบบสื่อสารโทรคมนาคม เพื่อติดต่อสื่อสารให้สะดวกขึ้น มีการประยุกต์มาใช้กับเครื่องอำนวยความสะดวกภายในบ้าน เช่น ใช้ควบคุมเครื่องปรับอากาศ ใช้ควมคุมระบบไฟฟ้าภายในบ้าน เป็นต้น

2. เสริมสร้างความเท่าเทียมในสังคมและการกระจายโอกาส เทคโนโลยีสารสนเทศทำให้เกิดการกระจายไปทั่วทุกหนแห่ง แม้แต่ถิ่นทุรกันดาร ทำให้มีการกระจายโอกาสการเรียนรู้ มีการใช้ระบบการเรียนการสอนทางไกล เสริมสร้างการเรียนรู้ เพราะปัจจุบันมีสื่อการศึกษาที่ทันสมัยมากขึ้นนอกจากหนังสือเรียนธรรมดาแล้ว ยังมี วีดีทัศน์ อินเตอร์เน็ต เป็นต้น ที่ช่วยเสริมสร้างการเรียนรู้ด้วยตนเองของผู้เรียน

3. สารสนเทศกับการเรียนการสอนในโรงเรียน การเรียนการสอนในโรงเรียนมีการนำคอมพิวเตอร์และเครื่องมือประกอบช่วยในการเรียนรู้ เช่น วีดีทัศน์ เครื่องฉายภาพ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน คอมพิวเตอร์ช่วยจัดการศึกษา จัดตารางสอน คำนวณระดับคะแนน หรืออย่างที่ครูเป๋งให้เราฝึกทำBlog ไงล่ะคะ ปัจจุบันมีการเรียนการสอนทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศในโรงเรียนจึงมากขึ้น

4.เทคโนโลยีสารสนเทศกับสิ่งแวดล้อม การจัดการทรัพยากรธรรมชาติหลายอย่างจำเป็นต้องใช้สารสนเทศ เช่น การดูแลรักษาป่า จำเป็นต้องใช้ข้อมูล มีการใช้ภาพถ่ายดาวเทียม การติดตามข้อมูลสภาพอากาศ การพยากรณ์อากาศ การจำลองรูปแบบสภาวะสิ่งแวดล้อมเพื่อปรับปรุงแก้ไข การเก็บรวมรวมข้อมูลคุณภาพน้ำในแม่น้ำต่าง ๆ การตรวจวัดมลภาวะ ตลอดจนการใช้ระบบการตรวจวัดระยะไกลมาช่วย ที่เรียกว่าโทรมาตร เป็นต้น

เทคโนโลยีสารสนเทศกับการป้องกันประเทศ กิจการทางด้านการทหารมีการใช้เทคโนโลยี อาวุธยุทโธปกรณ์สมัยใหม่ล้วนแต่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์และระบบควบคุม มีการใช้ระบบป้องกันภัย ระบบเฝ้าระวังที่มีคอมพิวเตอร์ควบคุมการทำงาน

นางสาว หนึ่งฤดี ใจทน ชั้น ม3/2

1.การขยายพันธุ์โดยวิธีติดตาต่อกิ่ง (Propagation by grafting) โดย นายสนั่น ขำเลิศ

การติดตาต่อกิ่ง เป็นศิลปะของการเชื่อม ส่วนของต้นพืชเข้าด้วยกัน เพื่อที่จะให้ส่วนของพืชนั้นๆ ติดต่อกันและเจริญต่อไปเหมือนกับเป็นต้นพืชต้นเดียวกัน ส่วนของต้นพืชที่ต่ออยู่ทางส่วนฃ บนหรือที่ทำหน้าที่เป็นยอดของต้นพืชนั้น เรียกว่า กิ่งพันธุ์ดี (scion)

๑. ต้นตอที่ได้จากการขยายพันธุ์ด้วยเมล็ดหมายถึงต้นพืชที่จะใช้เป็นต้นตอนั้นเพาะมาจากเมล็ด เมื่อต้นมีขนาดโตพอแล้วจึงนำมาใช้เป็นต้นตอสำหรับติดตาต่อกิ่งหรือทาบกิ่ง เรามักเรียกต้นตอชนิดนี้ว่า ต้นตอเพาะเมล็ด (seedling-rootstock)เนื่องจากต้นตอชนิดนี้เพาะมาจากเมล็ด อาจมีความผิดเพี้ยนหรือกลายพันธุ์ไปบ้าง จึงต้องมีการคัดเลือกต้นที่ไม่ตรงตามพันธุ์หรือผิดเพี้ยน

๒. ต้นตอที่ได้จากการตัดชำ การตอนหรือการแยกหน่อ มักเรียกต้นตอเช่นนี้ว่า ต้นตอตัดชำ(cutting stock) ข้อดีของต้นตอชนิดนี้ก็คือ เป็นต้นตอที่ตรงตามพันธุ์แน่นอน เหมาะที่จะใช้ในงานทดลองหรือใช้เพื่อวัตถุประสงค์บางอย่าง เช่น ใช้เป็นต้นตอ ทนโรค ทนแล้ง ทนแฉะ หรือทนสารบางอย่าง ไปจากลักษณะที่ต้องการออกเสีย2.ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ

เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology: IT) หรือเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication Technologies: ICTs) ก็คือ เทคโนโลยีสองด้านหลัก ๆ ที่ประกอบด้วยเทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์ และ เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคมที่ผนวกเข้าด้วยกัน เพื่อใช้ในกระบวนการจัดหา จัดเก็บ สร้าง และเผยแพร่สารสนเทศในรูปต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นเสียง ภาพ ภาพเคลื่อนไหว ข้อความหรือตัวอักษร และตัวเลข เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ความถูกต้อง ความแม่นยำ และความรวดเร็วให้ทันต่อการนำไปใช้ประโยชน์

3. การตอนกิ่ง เป็นวิธีการขยายพันธุ์พืชที่ใช้กันมานานและเป็นที่รู้จักกันดีในหมู่ชาวสวนทั่วๆไป วิธีการตอนกิ่งที่เราใช้กันอยู่ทุกวันนี้เป็นวิธีการที่ได้นำมาจากประเทศจีน แต่ได้ดัดแปลงไปบ้างเพื่อความสะดวกในการปฏิบัติ ในยุโรปและอเมริกาก็มีวิธีขยายพันธุ์พืชด้วยการตอนกิ่งเช่นเดียวกัน แต่วิธีการในการตอนกิ่งผิดไปจากวิธีที่รู้จักกันดีในบ้านเราและเรามักเรียกวิธีการตอนกิ่งแบบยุโรปว่า "การ2.ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ

เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology: IT) หรือเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication Technologies: ICTs) ก็คือ เทคโนโลยีสองด้านหลัก ๆ ที่ประกอบด้วยเทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์ และ เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคมที่ผนวกเข้าด้วยกัน เพื่อใช้ในกระบวนการจัดหา จัดเก็บ สร้าง และเผยแพร่สารสนเทศในรูปต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นเสียง ภาพ ภาพเคลื่อนไหว ข้อความหรือตัวอักษร และตัวเลข เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ความถูกต้อง ความแม่นยำ และความรวดเร็วให้ทันต่อการนำไปใช้ประโยชน์

นางสาวพัชรี น้ำพุ ม.3 /2 เลขที่ 23

1.การขยายพันธุ์โดยวิธีติดตาต่อกิ่ง (Propagation by grafting) โดย นายสนั่น ขำเลิศ

การติดตาต่อกิ่ง เป็นศิลปะของการเชื่อม ส่วนของต้นพืชเข้าด้วยกัน เพื่อที่จะให้ส่วนของพืชนั้นๆ ติดต่อกันและเจริญต่อไปเหมือนกับเป็นต้นพืชต้นเดียวกัน ส่วนของต้นพืชที่ต่ออยู่ทางส่วนฃ บนหรือที่ทำหน้าที่เป็นยอดของต้นพืชนั้น เรียกว่า กิ่งพันธุ์ดี (scion)

๑. ต้นตอที่ได้จากการขยายพันธุ์ด้วยเมล็ดหมายถึงต้นพืชที่จะใช้เป็นต้นตอนั้นเพาะมาจากเมล็ด เมื่อต้นมีขนาดโตพอแล้วจึงนำมาใช้เป็นต้นตอสำหรับติดตาต่อกิ่งหรือทาบกิ่ง เรามักเรียกต้นตอชนิดนี้ว่า ต้นตอเพาะเมล็ด (seedling-rootstock)เนื่องจากต้นตอชนิดนี้เพาะมาจากเมล็ด อาจมีความผิดเพี้ยนหรือกลายพันธุ์ไปบ้าง จึงต้องมีการคัดเลือกต้นที่ไม่ตรงตามพันธุ์หรือผิดเพี้ยน

๒. ต้นตอที่ได้จากการตัดชำ การตอนหรือการแยกหน่อ มักเรียกต้นตอเช่นนี้ว่า ต้นตอตัดชำ(cutting stock) ข้อดีของต้นตอชนิดนี้ก็คือ เป็นต้นตอที่ตรงตามพันธุ์แน่นอน เหมาะที่จะใช้ในงานทดลองหรือใช้เพื่อวัตถุประสงค์บางอย่าง เช่น ใช้เป็นต้นตอ ทนโรค ทนแล้ง ทนแฉะ หรือทนสารบางอย่าง ไปจากลักษณะที่ต้องการออกเสีย2.ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ

เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology: IT) หรือเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication Technologies: ICTs) ก็คือ เทคโนโลยีสองด้านหลัก ๆ ที่ประกอบด้วยเทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์ และ เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคมที่ผนวกเข้าด้วยกัน เพื่อใช้ในกระบวนการจัดหา จัดเก็บ สร้าง และเผยแพร่สารสนเทศในรูปต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นเสียง ภาพ ภาพเคลื่อนไหว ข้อความหรือตัวอักษร และตัวเลข เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ความถูกต้อง ความแม่นยำ และความรวดเร็วให้ทันต่อการนำไปใช้ประโยชน์

3. การตอนกิ่ง เป็นวิธีการขยายพันธุ์พืชที่ใช้กันมานานและเป็นที่รู้จักกันดีในหมู่ชาวสวนทั่วๆไป วิธีการตอนกิ่งที่เราใช้กันอยู่ทุกวันนี้เป็นวิธีการที่ได้นำมาจากประเทศจีน แต่ได้ดัดแปลงไปบ้างเพื่อความสะดวกในการปฏิบัติ ในยุโรปและอเมริกาก็มีวิธีขยายพันธุ์พืชด้วยการตอนกิ่งเช่นเดียวกัน แต่วิธีการในการตอนกิ่งผิดไปจากวิธีที่รู้จักกันดีในบ้านเราและเรามักเรียกวิธีการตอนกิ่งแบบยุโรปว่า "การ2.ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ

เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology: IT) หรือเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication Technologies: ICTs) ก็คือ เทคโนโลยีสองด้านหลัก ๆ ที่ประกอบด้วยเทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์ และ เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคมที่ผนวกเข้าด้วยกัน เพื่อใช้ในกระบวนการจัดหา จัดเก็บ สร้าง และเผยแพร่สารสนเทศในรูปต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นเสียง ภาพ ภาพเคลื่อนไหว ข้อความหรือตัวอักษร และตัวเลข เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ความถูกต้อง ความแม่นยำ และความรวดเร็วให้ทันต่อการนำไปใช้ประโยชน์

สมหมาย รอบโลก เลขที่ 5 พรพรรณ ประสมสาย เลขที่ 17 ประสาน กอบแก้ว ม.3/2 เลขที่2ประวิทย์ สักขันม. 3/2 เลขที่ 1

การขยายพันธุ์โดยวิธีติดตาต่อกิ่ง (Propagation by grafting) โดย นายสนั่น ขำเลิศ

การติดตาต่อกิ่ง เป็นศิลปะของการเชื่อม ส่วนของต้นพืชเข้าด้วยกัน เพื่อที่จะให้ส่วนของพืชนั้นๆ ติดต่อกันและเจริญต่อไปเหมือนกับเป็นต้นพืชต้นเดียวกัน ส่วนของต้นพืชที่ต่ออยู่ทางส่วนฃ บนหรือที่ทำหน้าที่เป็นยอดของต้นพืชนั้น เรียกว่า กิ่งพันธุ์ดี (scion)

๑. ต้นตอที่ได้จากการขยายพันธุ์ด้วยเมล็ดหมายถึงต้นพืชที่จะใช้เป็นต้นตอนั้นเพาะมาจากเมล็ด เมื่อต้นมีขนาดโตพอแล้วจึงนำมาใช้เป็นต้นตอสำหรับติดตาต่อกิ่งหรือทาบกิ่ง เรามักเรียกต้นตอชนิดนี้ว่า ต้นตอเพาะเมล็ด (seedling-rootstock)เนื่องจากต้นตอชนิดนี้เพาะมาจากเมล็ด อาจมีความผิดเพี้ยนหรือกลายพันธุ์ไปบ้าง จึงต้องมีการคัดเลือกต้นที่ไม่ตรงตามพันธุ์หรือผิดเพี้ยน

๒. ต้นตอที่ได้จากการตัดชำ การตอนหรือการแยกหน่อ มักเรียกต้นตอเช่นนี้ว่า ต้นตอตัดชำ(cutting stock) ข้อดีของต้นตอชนิดนี้ก็คือ เป็นต้นตอที่ตรงตามพันธุ์แน่นอน เหมาะที่จะใช้ในงานทดลองหรือใช้เพื่อวัตถุประสงค์บางอย่าง เช่น ใช้เป็นต้นตอ ทนโรค ทนแล้ง ทนแฉะ หรือทนสารบางอย่าง ไปจากลักษณะที่ต้องการออกเสีย2.ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ

เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology: IT) หรือเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication Technologies: ICTs) ก็คือ เทคโนโลยีสองด้านหลัก ๆ ที่ประกอบด้วยเทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์ และ เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคมที่ผนวกเข้าด้วยกัน เพื่อใช้ในกระบวนการจัดหา จัดเก็บ สร้าง และเผยแพร่สารสนเทศในรูปต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นเสียง ภาพ ภาพเคลื่อนไหว ข้อความหรือตัวอักษร และตัวเลข เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ความถูกต้อง ความแม่นยำ และความรวดเร็วให้ทันต่อการนำไปใช้ประโยชน์

3. การตอนกิ่ง เป็นวิธีการขยายพันธุ์พืชที่ใช้กันมานานและเป็นที่รู้จักกันดีในหมู่ชาวสวนทั่วๆไป วิธีการตอนกิ่งที่เราใช้กันอยู่ทุกวันนี้เป็นวิธีการที่ได้นำมาจากประเทศจีน แต่ได้ดัดแปลงไปบ้างเพื่อความสะดวกในการปฏิบัติ ในยุโรปและอเมริกาก็มีวิธีขยายพันธุ์พืชด้วยการตอนกิ่งเช่นเดียวกัน แต่วิธีการในการตอนกิ่งผิดไปจากวิธีที่รู้จักกันดีในบ้านเราและเรามักเรียกวิธีการตอนกิ่งแบบยุโรปว่า "การ2.ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ

เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology: IT) หรือเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication Technologies: ICTs) ก็คือ เทคโนโลยีสองด้านหลัก ๆ ที่ประกอบด้วยเทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์ และ เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคมที่ผนวกเข้าด้วยกัน เพื่อใช้ในกระบวนการจัดหา จัดเก็บ สร้าง และเผยแพร่สารสนเทศในรูปต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นเสียง ภาพ ภาพเคลื่อนไหว ข้อความหรือตัวอักษร และตัวเลข เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ความถูกต้อง ความแม่นยำ และความรวดเร็วให้ทันต่อการนำไปใช้ประโยชน์

ภาณุพงศ์ วงษ์สุวรรณ ม. 3/2 เลขที่ 10

การติดตาต่อกิ่ง เป็นศิลปะของการเชื่อม ส่วนของต้นพืชเข้าด้วยกัน เพื่อที่จะให้ส่วนของพืชนั้นๆ ติดต่อกันและเจริญต่อไปเหมือนกับเป็นต้นพืชต้นเดียวกัน ส่วนของต้นพืชที่ต่ออยู่ทางส่วนฃ บนหรือที่ทำหน้าที่เป็นยอดของต้นพืชนั้น เรียกว่า กิ่งพันธุ์ดี (scion)

การปักชำ ไม้ที่มีอายุเกิน 1 ปีขึ้นไป วิธีนี้นิยมกันมาก การเลือกกิ่งไม้ที่จะนำมาปักชำ ควรเลือกกิ่งที่มีสีน้ำตาล ก่อนปักชำควร ปักกิ่งชำให้มีตาอย่างน้อย 2-3 ตา การตัดควรตัดเป็นท่อน ๆ ขนาด ยาว 6-8 เซนติเมตร การตัดท่อนปลายกิ่งให้ตัดเหนือข้อ ส่วนท่อนโคนให้ตัดต่ำกว่าข้อ โดยตัดให้เฉียง เราไม่ควรตัดตรงข้อพอดี เพราะจะทำให้กิ่งสูญเสียอาหารไป นอกจากนี้ บริเวณข้อยังมีเนื้อเยื่อ อัดตัวแน่นและแข็งแรง ช่วยป้องกันการระเหยของน้ำในกิ่งได้เป็นอย่างดี

ตอนกิ่ง จะต้องทำให้เกิดแผลกับลำต้นหรือกิ่ง เพื่อตัดท่ออาหารและ เนื้อเยื่อเจริญของกิ่งนั้นให้ขาดจากกัน แต่ท่อน้ำยังคงอยู่เหมือนเดิม ทำให้สามารถส่งน้ำจากรากไปยอดได้ตามปกติ กิ่งและใบยอดจะยังคงสดอยู่เสมอ ซึ่งเป็นเหตุผลสำคัญของการที่พืชบางชนิดขยายพันธุ์ด้วยการตอนกิ่งได้เป็นผลสำเร็จมากกว่าการตัดชำท่ออาหารให้ขาดจากกัน

เทคโนโลยีสารสนเทศจึง หมายถึง เทคโนโลยีสารสนเทศ คือ เทคโนโลยีที่ใช้จัดการสารสนเทศ โดยใช้เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องในการจัดหา วิเคราะห์ ประมวล จัดการและจัดเก็บ การพิมพ์ การสร้างรายงาน การเรียกใช้หรือแลกเปลี่ยน และเผยแพร่สื่อสารข้อมูล ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ ไม่ว่าจะอยู่ในรูปแบบของรูป เสียง ตัวอักษร หรือภาพเคลื่อนไหว รวมไปถึงการนำสารสนเทศและข้อมูลไปปฏิบัติตามเนื้อหาของสารสนเทศนั้น เพื่อให้บรรลุเป้าหมายของผู้ใช้

ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ

1. ช่วยในการจัดระบบข่าวสารจำนวนมหาศาลของแต่ละวัน

2. เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตสารสนเทศ เช่น การคำนวณตัวเลขที่ยุ่งยากซับซ้อน การจัดเรียงลำดับสารสนเทศ ฯลฯ

3. ช่วยให้สามารถเก็บสารสนเทศไว้ในรูปที่สามารถเรียกใช้ได้ทุกครั้งอย่างสะดวก

4. ช่วยให้สามารถจัดระบบอัตโนมัติ เพื่อการจัดเก็บประมวลผล และเรียกใช้สารสนเทศูล

5. ช่วยในการเข้าถึงสารสนเทศได้อย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพมากขึ้น

6. ช่วยในการสื่อสารระหว่างกันได้อย่างสะดวกรวดเร็ว ลดอุปสรรคเกี่ยวกับเวลา และระยะทาง โดยการใช้ระบบโทรศัพท์

เทคโนโลยีสารสนเทศที่ใช้ในชีวิตประจำวัน

เทคโนโลยีสารสนเทศที่ใช้ในชีวิตประจำวัน มีผลเกี่ยวข้องกับทุกเรื่องในชีวิตประจำวัน บทบาทเหล่านี้มีแนวโน้มที่สำคัญ มากยิ่งขึ้น ด้วยเหตุนี้เยาวชนคนรุ่นใหม่จึงควรเรียนรู้ และเข้าใจเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อจะได้เป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศให้ก้าวหน้าและเกิดประโยชน์ต่อประเทศต่อไป

นายสิทธิเดช เสมอภักดิ์ เลที่ 3 นางสาวพรพรรณ ประสมสาย นายณัฐพล บัวแดง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 / 2

ข้อที่ 1

วิธีการต่อกิ่ง

สามารถปฏิบัติได้หลายวิธี ขึ้นอยู่กับชนิดของพืช อายุและขนาดของพืชด้วย นอกจากนั้นยังเกี่ยวข้องกับวัตถุประสงค์ของการต่อกิ่งนั้นๆ ด้วย ในแต่ละวิธีที่จะกล่าวถึงต่อไปนั้นมีหลักพิจารณาในการเลือกปฏิบัติคือ การลอกเปลือกไม้ และการตัดยอดของต้นตอประโยชน์ของการต่อกิ่งและการนำไปใช้

1. เป็นวิธีการขยายพันธุ์พืชเพื่อเพิ่มจำนวนสายต้น (cultivar) ให้มีปริมาณมากโดยกิ่งพันธุ์ดีไม่ต้องใช้เวลานานในการออกดอกติดผล

2. เป็นทางเลือกในการขยายพันธุ์พืชที่ไม่สามารถใช้วิธีการอื่นได้ผลสำเร็จ เช่น การออกรากของกิ่งปักชำหรือกิ่งตอนไม่มาก

3. ต้องการใช้ประโยชน์จากความทนทานต่อสภาพแวดล้อมของระบบรากในต้นตอ เช่น รากของต้นตอที่เจริญเติบโตได้ในที่มีอุณหภูมิต่ำ น้ำท่วมขัง มีความต้านทานโรคและแมลงในดินได้ดี

4. สามารถนำกิ่งพันธุ์ ที่ช่วยในการผสมเกสรให้กับต้นพันธุ์ที่ต้องการเก็บผลผลิต เพื่อให้มีการผสมข้ามพันธุ์แล้วติดผลดีขึ้น หรือเป็นต้นที่แยกเพศ (dioecious plant)

5. ทำให้ในต้นหนึ่งต้นมีหลายพันธุ์อยู่ด้วยกันเพื่อเก็บผลผลิตต่างพันธุ์หรือความสวยงาม

6. ต้นพันธุ์บางชนิดมีการเจริญเติบโตได้ดีกว่าเมื่อต่ออยู่บนระบบรากของอีกพันธุ์หนึ่ง

7. ต้องการให้อิทธิพลของความแคระมีผลต่อต้นตอหรือกิ่งพันธุ์ดี ทำให้ขนาดทรงพุ่มเตี้ย

8. ช่วยให้พืชที่เข้ากันไม่ได้ (incompatibility) ประสานอยู่ด้วยกันได้ โดยใช้ interstock มาต่อกิ่งอยู่ระหว่างต้นตอและกิ่งพันธุ์ดี

9. ใช้สำหรับการซ่อมแซมความเสียหายที่เกิดขึ้นกับลำต้นที่เปลือกถูกแมลงหรือสัตว์กัดแทะหรือเครื่องมือในสวนทำให้เกิดความเสียหายจึงใช้การต่อกิ่งเชื่อมต่อส่วนเปลือกลำต้นให้เจริญเติบโตได้ตามปกติ เรียกว่า การต่อกิ่งแบบเชื่อมสะพาน

10. เพื่อการศึกษาโรคไวรัสที่สามารถถ่ายทอดจากกิ่งพันธุ์ที่สงสัยมีการติดโรคต่อกิ่งบนต้นที่อ่อนแอต่อโรค (indicator plant) ซึ่งสามารถแสดงอาการของโรคไวรัสได้ชัดเจน เป็นเทคนิคที่เรียกว่า virus indexing

ข้อที่ 2

การปักชำ

คือการใช้ส่วนต่างๆ ของพืช เช่น ราก ใบ หรือ ลำต้น ไปปักชำ และส่วนของพืชเหล่านี้จะเจริญงอกงามเป็นลำต้นต่อไป

การปักชำเป็นวิธีขยายพันธุ์พืชที่ดีวิธีหนึ่งซึ่งมีข้อดี ดังนี้

1. ประหยัดค่าใช้จ่าย

2. ขยายพันธุ์ได้ปริมาณมาก

3. ทำได้ง่ายโดยไม่ต้องอาศัยเทคนิคหรือความสามารถมาก

4. ต้นพืชเจริญเติบโตเร็ว โดยใช้ระยะเวลาไม่นาน

5. พืชต้นใหม่ที่ได้จะมีลักษณะเหมือนต้นเดิมทุกประการ

วัสดุที่ใช้ในการปักชำ

กระบะ ดิน ทราบ แกลบ ปุ๋ยคอก ขุยมะพร้าว ใบไม้ผุ

การปักชำสามารถทำได้หลายวิธี ดังนี้

1. การปักชำราก เป็นการเอารากของพืชมาปักชำ อาจปักลงไปในดิน ในทราย หรือในเถ้าแกลบก็ได้ เพื่อส่วนของรากนั้นงอกเป็นลำต้นต่อไป พืชที่ใช้รากปักชำ เช่น มันเทศ สน สาเก เข็มอินเดียเป็นต้น วิธีการชำรากทำได้ ดังนี้

1.1 ตัดรากไม้ออกเป็นท่อนๆ

1.2 วางรากบนดิน การปักชำรากไม่นิยมปักในแนวตั้ง แต่นิยมวางในแนวนอน หรือวางในแนวเฉียงเล็กน้อย

2. การปักชำใบ โดยทั่วไปแล้วใบจะแตกเป็นกิ่งไม่ได้ แต่มีพืชบางชนิดสามารถนำใบมาปักชำให้เจริญเติบโตเป็นต้นต่อไปได้ เช่น ลิ้นมังกร กุหลาบหิน คว่ำตายหงายเป็น เป็นต้น การปักชำใบมี 4 วิธี

วิธีที่ 1 การปักชำโดยใช้ใบ

ให้ นำใบที่ไม่ใช่ใบอ่อนมาตัดเป็นส่วนๆ หรือทั้งใบแล้วนำไปวางเป็นวัสดุ เช่น ทราย หรือดิน โดยให้ด้านบนของใบหงายขึ้น พืชที่นิยม เช่น คว่ำตายหงายเป็น กุหลาบหิน

วิธีที่ 2 การปักชำโดยใช้ก้านใบ

ให้ตัดก้านใบให้หลุดออกจากกิ่งแล้วนำไปปักชำก็จะเจริญเติบโตเป็นต้นใหม่ได้ เช่น กุหลาบหิน

วิธีที่ 3 การปักชำโดยใช้ก้านใบที่ส่วนของกิ่ง

ให้ เอาใบมา โดยเฉือนส่วนของกิ่งให้มีตาติดมาด้วย (มิใช่นำมาทั้งกิ่ง) แล้วนำไปปักชำ ส่วนตาที่ติดมากับกิ่งก็จะเจริญเติบโตเป็นต้นต่อไป วิธีนี้นิยมใช้กับ ฟิโลเดนดรอน ต้นยางอินเดีย

วิธีที่ 4 การใช้ใบติดกิ่งมาปักชำ

ให้ ตัดกิ่งที่จะนำมาปักชำ โดยกิ่งนั้นต้องมีตาเดียว และมีใบติดมาด้วยแล้วนำส่วนของกิ่งบางส่วนปักลงในดินให้ใบ และกิ่งส่วนหนึ่งโผล่ขึ้นมา เพียงเล็กน้อย พืชที่นิยมขยายพันธุ์แบบนี้ ได้แก่ ฟิโลเดนดรอน

ข้อที่ 3

การขยายพันธุ์พืชโดยวิธีตอนกิ่ง

การตอนกิ่ง

ในการตอนกิ่งจะต้องทำให้เกิดแผลกับลำต้นหรือกิ่ง เพื่อตัดท่ออาหารและ เนื้อเยื่อเจริญของกิ่งนั้นให้ขาดจากกัน แต่ท่อน้ำยังคงอยู่เหมือนเดิม ทำให้สามารถส่งน้ำจากรากไปยอดได้ตามปกติ กิ่งและใบยอดจะยังคงสดอยู่เสมอ ซึ่งเป็นเหตุผลสำคัญของการที่พืชบางชนิดขยายพันธุ์ด้วยการตอนกิ่งได้เป็นผลสำเร็จมากกว่าการตัดชำท่ออาหารให้ขาดจากกัน ทำให้การขนส่งอาหารไม่เกิดขึ้น อาหารที่ส่งมาจากยอดจะไปสะสมตรงเหนือรอยแผลมาก ประกอบกับเนื้อเยื่อเจริญบริเวณแผลถูกตัดขาด เป็นการกระตุ้นเตือนให้เนื้อเยื่อเจริญส่วนนั้นเกิดการแบ่งเซลล์อย่างรวดเร็ว มีเซลล์ที่เกิดใหม่มากมาย (มีอาหารอุดมสมบูรณ์จากการสะสมเหนือรอยแผล) จะมีเซลล์ส่วนหนึ่งที่พัฒนาไปเป็นราก ทำหน้าที่ดูดน้ำและธาตุอาหาร

พืชแต่ละชนิดมีความยากง่ายในการที่เนื้อเยื่อเจริญจะพัฒนาไปเป็นราก แตกต่างกัน และการจัดสภาพแวดล้อมให้กับเนื้อเยื่อเจริญที่จะเจริญพัฒนาไปเป็นรากได้ ก็ต้องมีความเหมาะสม โดยเฉพาะเกี่ยวกับอุณหภูมิ ความชื้น และบางครั้งอาจจำเป็นต้องใช้สารควบคุมการเจริญเติบโต

ข้อดีข้อจำกัดของการตอนกิ่ง

ข้อดี คือทำได้ง่าย ประสบผลสำเร็จมากกว่าการปักชำ และได้ต้นกล้าขนาด ใหญ่ ทำให้ได้ผลผลิตเร็ว ไม่กลายพันธุ์ ทรงต้นไม่สูงนัก

ข้อจำกัด คือ

2.1 ไม่มีรากแก้ว ทำให้ไม่สามารถ ทนต่อลมแรง ๆ โค่นล้มได้ง่าย

2.2 กิ่งตอนมีขนาดใหญ่กว่ากิ่งชำ การดูแลรักษาหลังตอนยากกว่ากิ่งตัดชำ

การตอนแบบควั่นกิ่ง

เป็นวิธีที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย ทำได้ง่ายและสะดวก มีขั้นตอนดังนี้

1.1 เลือกกิ่งที่แข็งแรง สมบูรณ์ ไม่เป็นโรคและแมลง

เป็นกิ่งที่อยู่ทางด้านนอกของทรงพุ่ม ได้รับแสงแดดเต็มที่ ถ้าเป็นสวนเพื่อการขยายพันธุ์อย่างเดียวจะเลือกตอนเกือบทุกกิ่ง เหลือไว้บางกิ่งเพื่อเป็นพี่เลี้ยงต้นหลังจากตัดกิ่งตอนออกไป

1.2 การควั่นกิ่ง

สำหรับไม้ผล ควรเลือกกิ่งยาวประมาณ 30-50 เซนติเมตร ส่วนไม้ประดับอาจสั้นกว่านี้ ขึ้นอยู่กับจำนวนต้นที่ต้องการและชนิดของพืช ไม่ควรให้กิ่งมีพุ่มขนาดใหญ่มากนักเพราะจะทำให้เกิดการเหี่ยวแห้งในระยะชำเนื่องจากมีจำนวนใบไม่สมดุลกับจำนวนราก ความยาวของรอยควั่นเท่ากับ 1-2 เท่าของเส้นรอบวงของกิ่ง หรือดูจากความสามารถในการออกราก พืชที่ออกรากง่ายรอยควั่นจะสั้น (ประมาณ 1 เท่าของเส้นรอบวง)ถ้าเป็นพืชที่ออกรากยากรอยควั่นจะห่างประมาณ 1.5-2 เท่าของเส้นรอบวงของกิ่งนั้น คุณบุญชอบ โพธิ์รักษา แนะนำว่า การตอนฝรั่งควรจะควั่นห่างเพียง ½ เซนติเมตร ปล่อยให้แห้งสักครู่จึงค่อยหุ้มขุยมะพร้าว (มีการเสริมด้วยไม้ท่อนเล็ก ๆ ก่อนหุ้มขุยมะพร้าวเพื่อป้องกันกิ่งหัก)

1.3 การขูดเยื่อเจริญ (เมือกลื่น ๆ อยู่ระหว่างส่วนของเปลือกกับเนื้อไม้)

พืชแต่ละชนิดต้องการการขูดเยื่อเจริญต่างกัน ควรจะสังเกตว่าพืชใดต้องขูดเยื่อเจริญมากน้อยเท่าใด พืชบางชนิดไม่ต้องขูดเยื่อเจริญ เช่น ฝรั่ง สนแผง ถ้าขูดแล้วกิ่งมักจะแห้งตายเนื่องจากท่อน้ำถูกทำลาย พืชบางชนิดอาจขูดเยื่อเจริญแล้วหุ้มตามได้เลย (พืชทั่วไป) แต่บางชนิดต้องควั่นทิ้งไว้ให้เยื่อเจริญแห้งประมาณ 1 สัปดาห์ จึงจะหุ้มด้วยขุยมะพร้าว เช่น ละมุด

1.4 การหุ้มรอยควั่น

ปัจจุบันนิยมใช้ถุงพลาสติกขนาดเล็กบรรจุขุยมะพร้าว รัดปากถุงให้แน่น ใช้มีดผ่าถุงหุ้มรอยควั่นให้มิด มัดให้แน่น อย่าให้กระเปาะขุยมะพร้าวหมุนหรือขยับได้ เพราะจะทำให้รากที่งอกหักได้ หุ้มทับด้วยกระดาษเพื่อช่วยลดอุษหภูมิและแสงในขุยมะพร้าว ซึ่งจะทำให้การเดินของรากดีขึ้น บางท่านนิยมหุ้มรอยควั่นด้วยดินเหนียว ก่อนหุ้มด้วยกาบมะพร้าวแช่น้ำทุบให้นิ่ม แล้วหุ้มทับด้วยใบตองแห้งหรือผ้าพลาสติก (ไม่นิยมทำในทางการค้า เนื่องจากต้องใช้เวลา) แต่บางสวนจะผ่าตุ้มมะพร้าวแล้วป้ายดินด้านในเล็กน้อยแทนการหุ้มด้วย

1.5 การดูแลรักษา

คอยดูแลรดน้ำอยู่เสมออย่าให้กระเปาะแห้ง ถ้าขุยมะพร้าวชื้นพอ รัดปากถุงให้แน่นจะไม่ต้องรดน้ำอีกเลย พร้อมกันนี้ต้องระวังไม่ให้มดมากัดทำลายด้วย

1.6 การตัดกิ่งตอนตัดเมื่อรากแก่

เมื่อรากแทงทะลุขุยมะพร้าวออกมา ปลายรากเริ่มมีสีน้ำตาล และกิ่งตอนมีใบแก่ทั้งหมด จึงตัดจากต้นแม่ใต้กระเปาะตอนไปชำ

การตอนแบบกรีดกิ่ง นิยมใช้กับกิ่งที่มีแก่นเล็ก หรือกิ่งที่เปราะหักง่าย มีขั้นตอนการปฏิบัติเช่นเดียวกับการตอนแบบควั่นกิ่ง ต่างกันตรงรอยแผลจะใช้มีดกรีดเปลือกยาวประมาณ 1 นิ้ว 3-4 รอย

เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง

อุปกรณ์หรือเครื่องมือที่เกี่ยวข้องกับการรวบรวมประมวล เก็บรักษา และเผยแพร่ข้อมูลและสารสนเทศโดยรวมทั้งฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ฐานข้อมูล และการสื่อสาร โทรคมนาคม ระบบสารสนเทศสร้างขึ้นมาเพื่อจุดมุ่งหมายหลายประการจุดมุ่งหมายพื้นฐานประการหนึ่ง คือ การประมวลข้อมูล (Data) ให้เป็นสารสนเทศ (Information) และนำไปสู่ความรู้ (Knowledge) ที่ช่วยแก้ปัญหาในการดำเนินงาน

ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ

ช่วยในการจัดระบบข่าวสารจำนวนมหาศาลของแต่ละวัน เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตสารสนเทศ เช่น การคำนวณตัวเลขที่ยุ่งยากซับซ้อน การจัดเรียงลำดับสารสนเทศ ฯ ช่วยให้สามารถเก็บสารสนเทศไว้ในรูปที่สามารถเรียกใช้ได้ทุกครั้งอย่างสะดวก

ช่วยให้สามารถจัดระบบอัตโนมัติ เพื่อการจัดเก็บประมวลผล และเรียกใช้สารสนเทศ

ช่วยในการเข้าถึงสารสนเทศได้อย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพมากขึ้น ช่วยในการสื่อสารระหว่างกันได้อย่างสะดวกรวดเร็ว ลดอุปสรรคเกี่ยวกับเวลา และระยะทาง โดยการใช้ระบบโทรศัพท์ และอื่นๆ

ประโยชน์ของเทคโนโลยีสารสนเทศ

การกำเนิดของคอมพิวเตอร์เมื่อประมาณห้าสิบกว่าปีที่แล้ว เป็นก้าวสำคัญที่นำไปสู่ยุคสารสนเทศ ในช่วงแรกมีการนำเอาคอมพิวเตอร์มาใช้เป็นเครื่องคำนวณ แต่ต่อมาได้มีความพยายามพัฒนาให้คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์สำคัญสำหรับการจัดการข้อมูล เมื่อเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ได้ก้าวหน้ามากขึ้น ทำให้สามารถสร้างคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กลง แต่ประสิทธิภาพสูงขึ้น สภาพการใช้งานจึงใช้งานกันอย่างแพร่หลาย ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีต่อชีวิตความเป็นอยู่และสังคมจึงมีมาก มีการเรียนรู้และใช้สารสนเทศกันอย่างกว้างขวาง ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศโดยรวมกล่าวได้ดังนี้

การสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สภาพความเป็นอยู่ของสังคมเมือง มีการพัฒนาใช้ระบบสื่อสารโทรคมนาคม เพื่อติดต่อสื่อสารให้สะดวกขึ้น มีการประยุกต์มาใช้กับเครื่องอำนวยความสะดวกภายในบ้าน เช่น ใช้ควบคุมเครื่องปรับอากาศ ใช้ควมคุมระบบไฟฟ้าภายในบ้าน เป็นต้น

สวัสดีครับคุณครู ผมขอส่งงานเพิ่มเติม ครับนายณัฐกิจ ทาบุดดี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/1 เลขที่ 15 นายจันดี เสนา นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/1 เลขที่ 16 นายศรนิรันดร์ พันธุมาศ นักรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/1 เลขที่ 5

1. จงบอกอธิบายรายละเอียด ดังนี้

1.1 การขยายพันธุ์พืชโดยวิธีต่อกิ่ง

การต่อกิ่งเป็นวิธีการขยายพันธุ์พืชแบบไม่ใช้เพศด้วยวิธีการนำกิ่งพืชสอง ชนิดมาเชื่อมต่อกันให้เจริญเป็นต้นเดียวกันส่วนของพืชที่เจริญเป็นรากเรียกว่า ต้นตอ (rootstock หรือ stock) และส่วนที่นำมาต่ออยู่บนต้นตอเป็นส่วนที่เจริญ เป็นกิ่งก้าน ออกดอกติดผลต่อไป เรียกว่า กิ่งพันธุ์ดี (scion) ซึ่งเป็นส่วนของ กิ่งพืชที่มีตามากกว่าหนึ่งตาขึ้นไปมาเชื่อมต่อกับต้นตอ

ความสำเร็จของการต่อกิ่ง จะเกิดขึ้นได้นั้นต้องมีการเชื่อมต่อ ระหว่างเนื้อเยื่อต้นตอและกิ่งพันธุ์ดี สามารถลำเลียงน้ำและอาหารผ่าน บริเวณรอยต่อ ได้เนื้อเยื่อบริเวณ รอยต่อ(graft union)นี้เกิดจากเนื้อเยื่อ ของต้นตอและกิ่งพันธุ์ดีมาเรียงตัว อยู่ด้วยกันโดยไม่เกิดการรวมตัวของเซลล์ระหว่างพืชทั้งสองชนิด

เนื้อเยื่อที่เกิดขึ้นถูกสร้างขึ้นมา สมานแผลเป็น เซลล์ parenchyma จำนวนมากประกอบกัน เป็นเนื้อเยื่อ callus เกิดขึ้นภายใน 2-3 วัน รอยแผลที่เกิดจาก การเฉือนกิ่งจะมีส่วนที่ตายไปและมีการสร้างสาร nicrotic เพื่อรักษาบาดแผล ส่วนมากสารเหล่านี้จะหายไป เมื่อเกิดการเชื่อมต่อกันดีแล้วหรือยังอยู่ในช่องว่างระหว่าง เซลล์ก็ได้อาจพบเป็นเซลล์ที่ตายและเยินจากเนื้อเยื่อ

การเกิดรอยต่อได้นั้นต้องวางให้เนื้อเยื่อแคมเบียมของต้นตอและกิ่งพันธุ์ดี อยู่แนบหรือใกล้กันมากที่สุดแล้วจะมีการสร้างเนื้อเยื่อแคลลัสใหม่เกิดขึ้น จากทั้งสองส่วนจนเต็มช่องว่างระหว่างกันเรียกว่า callus bridge ซึ่งจะมีการ พัฒนาไปเป็นเนื้อเยื่อเจริญ (vascular cambium) ภายใน 2-3 สัปดาห์และมี การสร้างท่อน้ำ (xylem) และท่ออาหาร (phloem) เชื่อมกันต่อไป

การปรับสภาพแวดล้อมภายนอกให้เหมาะสมมีผลต่อความสำเร็จในการต่อกิ่งด้วย คือ อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการแบ่งเซลล์บริเวณรอยต่ออยู่ระหว่าง 12.8-32.0 องศาเซลเซียส เมื่อเกิดเนื้อเยื่อ callus ขึ้นต้องควบคุมความชื้นบริเวณรอยต่อให้เหมาะสมเนื่องจากเซลล์มีผนังบางและเต่งจึงแห้งตายได้ง่าย จำเป็นต้องพันพลาสติกหรือใช้ถุงพลาสติกคลุมทับ การป้องกันแผลไม่ให้มีการติดเชื้อที่จะทำให้เน่าตายได้เช่นกัน

นอกจากนั้นความสัมพันธ์ของระยะการเจริญเติบโตของตาบนกิ่งพันธุ์ดีจะต้องพอเหมาะกับการพัฒนาการของเนื้อเยื่อบริเวณรอยต่อด้วย กล่าวคือ ขั้นตอนการสร้างท่อน้ำท่ออาหาร ต้องเกิดขึ้นอย่างสมบูรณ์ก่อนที่จะมีใบใหม่เจริญจากตาของกิ่งพันธุ์ดี มิฉะนั้นจะเกิดการแห้งตายของตานั้นได้

การเข้ากันได้ (compatibility) ของพืชทั้งสองชนิดมีส่วนต่อความสำเร็จในการต่อกิ่งด้วย การเลือกใช้ต้นตอและกิ่งพันธุ์ที่มีความใกล้ชิดกันทางพฤกษศาสตร์จะต่อกันได้ดีและรอยต่อเจริญ เหมือนเป็นต้นเดียวกัน เช่น มะม่วงแต่ละพันธุ์จัดเป็นชนิด (species) เดียวกันจึงต่อกิ่งได้ง่าย แต่พืชบางชนิดสามารถเข้ากันได้ดีถึงแม้จะมีความแตกต่างกันมาก เช่น ส้มสามใบ (Poncitrus trifoliata) ต่อด้วยส้มเขียวหวาน (Citrus reticulata) มีพืชหลายคู่ที่สามารถต่อกันได้ในระยะแรก แต่เมื่อเวลาผ่านไปจะมีอาการของการเข้ากันไม่ได้ (incompatibility) เกิดรอยต่อแยกจากกันหรือมีการเติบโตผิดปกติ เช่น ต้นดอนย่าสีชมพูต่อบนดอนย่าสีขาว

ทักษะและประสบการณ์ของผู้ปฏิบัติงานมีส่วนสำคัญเช่นกัน นอกจากนั้นเครื่องมือที่ใช้ คือ มีดเฉือนกิ่ง ควรอยู่ในสภาพที่คมสามารถเฉือนกิ่งได้โดยไม่ทำให้เนื่อเยื่อชอกช้ำหรือเยินเสียหาย ผู้ปฏิบัติงานต้องทำงานอย่างรวดเร็วและรักษาความสะอาดของแผลบนกิ่งพันธุ์ดี และต้นตอด้วย การเลือกใช้วิธีการต่อกิ่งที่เหมาะสมกับพืชและระยะเวลาเป็นสิ่งสำคัญอีกประการหนึ่งที่ผู้ปฏิบัติงานต้องให้ความสำคัญด้วย กล่าวคือการเลือกใช้วิธีต่อกิ่งกับต้นพืชที่อยู่ในระยะการเจริญเติบโตสามารถลอกเปลือกได้ หรืออยู่ในระยะพักตัว นอกจากนั้นการดูแลเอาใจใส่อย่างใกล้ชิดภายหลังการปฏิบัติงานมีส่วนต่อความสำเร็จของงานด้วย

วิธีที่ 1 การต่อกิ่งไม้เนื้ออ่อน

(Herbaceous grafting)

ใช้กับไม้เนื้ออ่อนหรือไม้ อวบน้ำ (herbaceous หรือ succulent plants) และยอดของไม้เนื้อแข็งทั่วๆ ไป เช่น ชวนชม โป๊ยเซียน มะละกอ

1.1 การต่อกิ่งแบบฝานบวบ (Spliced grafting)

ขนาดของกิ่งพันธุ์ดีและต้นตอควรมีขนาดใกล้เคียงกันและมีลักษณะ ที่ต่อเรียบและตรงโดยการเฉือนกิ่งต้นตอและกิ่งพันธุ์ดีให้เฉียงเป็นแนว ยาวประมาณ 1.0-1.5 นิ้ว ประกบแผลทั้งสองกิ่งให้เข้ากันพอดี การพันด้วยผ้าพลาสติกของวิธีนี้ไม่สามารถทำงานได้สะดวกนัก

1.2 การต่อกิ่งแบบเข้าเดือย (Saddle grafting)

นิยมใช้กับการขยายพันธุ์โป๊ยเซียนโดยตัดยอด ต้นตอออกแล้วเฉือนให้เฉียง ทั้งสองข้างของกิ่งเข้า มาจรดกันตรงกัน

การเตรียมกิ่งพันธุ์ดีให้เฉือนเป็นรูปลิ่มรูปร่าง พอดีกับแผลที่เตรียมไว้บนต้นตอแล้วคร่อมบนต้นตอ

ประโยชน์ของการต่อกิ่งและการนำไปใช้

1. เป็นวิธีการขยายพันธุ์พืชเพื่อเพิ่มจำนวนสายต้น (cultivar) ให้มีปริมาณมากโดยกิ่งพันธุ์ดีไม่ต้องใช้เวลานานในการออกดอกติดผล

2. เป็นทางเลือกในการขยายพันธุ์พืชที่ไม่สามารถใช้วิธีการอื่นได้ผลสำเร็จ เช่น การออกรากของกิ่งปักชำหรือกิ่งตอนไม่มาก

3. ต้องการใช้ประโยชน์จากความทนทานต่อสภาพแวดล้อมของระบบรากในต้นตอ เช่น รากของต้นตอที่เจริญเติบโตได้ในที่มีอุณหภูมิต่ำ น้ำท่วมขัง มีความต้านทานโรคและแมลงในดินได้ดี

4. สามารถนำกิ่งพันธุ์ ที่ช่วยในการผสมเกสรให้กับต้นพันธุ์ที่ต้องการเก็บผลผลิต เพื่อให้มีการผสมข้ามพันธุ์แล้วติดผลดีขึ้น หรือเป็นต้นที่แยกเพศ (dioecious plant)

5. ทำให้ในต้นหนึ่งต้นมีหลายพันธุ์อยู่ด้วยกันเพื่อเก็บผลผลิตต่างพันธุ์หรือความสวยงาม

6. ต้นพันธุ์บางชนิดมีการเจริญเติบโตได้ดีกว่าเมื่อต่ออยู่บนระบบรากของอีกพันธุ์หนึ่ง

7. ต้องการให้อิทธิพลของความแคระมีผลต่อต้นตอหรือกิ่งพันธุ์ดี ทำให้ขนาดทรงพุ่มเตี้ย

8. ช่วยให้พืชที่เข้ากันไม่ได้ (incompatibility) ประสานอยู่ด้วยกันได้ โดยใช้ interstock มาต่อกิ่งอยู่ระหว่างต้นตอและกิ่งพันธุ์ดี

9. ใช้สำหรับการซ่อมแซมความเสียหายที่เกิดขึ้นกับลำต้นที่เปลือกถูกแมลงหรือสัตว์กัดแทะหรือเครื่องมือในสวนทำให้เกิดความเสียหายจึงใช้การต่อกิ่งเชื่อมต่อส่วนเปลือกลำต้นให้เจริญเติบโตได้ตามปกติ เรียกว่า การต่อกิ่งแบบเชื่อมสะพาน (bridge grafting)

10. เพื่อการศึกษาโรคไวรัสที่สามารถถ่ายทอดจากกิ่งพันธุ์ที่สงสัยมีการติดโรคต่อกิ่งบนต้นที่อ่อนแอต่อโรค (indicator plant) ซึ่งสามารถแสดงอาการของโรคไวรัสได้ชัดเจน เป็นเทคนิคที่เรียกว่า virus indexing

1.2 การขยายพันธุ์พืชโดยวิธีปักชำ

คือ การนำส่วนต่าง ๆ ของพืชพันธุ์ดี เช่น ใบ และ ราก มาตัดและปักชำในวัสดุเพาะชำ เพื่อให้ได้พืชต้นใหม่จากสวนที่นำมาปักชำ แต่ในที่นี้จะขอแนะนำขั้นตอนการ

ตัดชำกิ่งซึ่ง

ขั้นตอนในการปักชำ

1. ตัดโคนกิ่งให้ชิดข้อยาวประมาณ 15 - 20 เซนติเมตร โดยตัดเฉียงเป็นรูปปากฉลาม และตัดปลายบนให้เหนือตาประมาณ 1 เซนติเมตร

2. ใช้มีดปลายแหลมกรีดบริเวณรอบโคนยาว 1 - 1.5 เซนติเมตร ประมาณ 2 - 3 รอย

3. ปักกิ่งชำลงในวัสดุเพาะชำ ลึกประมาณ 2.5 - 5 เซนติเมตร

4. นำเข้าโรงอบพลาสติก หรือถุงพลาสติกขนาดใหญ่

5. ประมาณ 25 - 30 วัน กิ่งตัดชำจะแตกยอดอ่อน พร้อมออกราก เมื่อมีจำนวนมากพอ จึงย้ายปลูกต่อไป

วัสดุที่ใช้ในการปักชำ

1. กิ่งไม้ที่ต้องการตัดปักชำ

2. ขุยมะพร้าว ผสมดินร่วน บรรจุในถุงพลาสติกหรือตะกร้า (ดังภาพ)

3. มีด หรือ คัตเตอร์

4. โรงเรือน หรือที่ร่ม

1.3. การขยายพันธุ์พืชโดยวิธีตอนกิ่ง

คือ การทำให้กิ่งหรือต้นพืชเกิดรากขณะติดอยู่กับต้นแม่ จะทำให้ได้ต้นพืชใหม่ ที่มีลักษณะทางสายพันธุ์ เหมือนกับต้นแม่ทุกประการ โดยมีขั้นตอนการปฏิบัติ ดังนี้

1. เลือกกิ่งกึ่งแก่กึ่งอ่อนที่สมบูรณ์ปราศจากโรคและแมลง

2. ควั่นกิ่ง ลอกเอาเปลือกออก แล้วขูดเยื่อเจริญที่เป็นเมือกลื่น ๆ ออก

3. นำตุ้มตอน (ขุยมะพร้าวที่แช่น้ำ แล้วบีบหมาด ๆ อัดลงในถุงพลาสติก ผูกปากถุงให้แน่น) มาผ่าตามความยาวแล้วนำไปหุ้มบนรอยแผลของกิ่งตอน มัดด้วยเชือกทั้งบนและล่างรอยแผล

4. เมื่อกิ่งตอนมีรากงอกแทงผ่านวัสดุ และเริ่มแก่เป็นสีเหลือง สีน้ำตาล ปลายรากมีสีขาว และมีจำนวนมากพอจึงตัดกิ่งตอนได้

5. นำกิ่งตอนไปชำในภาชนะ กระถางหรือถุงพลาสติก เพื่อรอการปลูกต่อไป

2. จงอธิบายเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ ดังนี้

2.1 เทคโนโลยีสารสนเทศหมายถึงอะไร

เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology)มาจากการผสมคำระหว่างสารสนเทศ (Information)กับคำว่าเทคโนโลยี(Technology) เทคโนโลยี หมายถึง เป็นการนำเอาแนวความคิด หลักการ เทคนิค ความรู้ ระเบียบวิธี กระบวนการ ตลอดจนผลผลิตทางวิทยาศาสตร์ทั้งในด้านสิ่งประดิษฐ์และวิธีปฏิบัติมาประยุกต์ใช้ในระบบงานเพื่อช่วยให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในการทำงานให้ดียิ่งขึ้นและเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลของงานให้มีมากยิ่งขึ้น สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิตของมนุษย์ หรืออาจกล่าวได้ว่า สารสนเทศ เกิดจากการนำข้อมูล ผ่านระบบการประมวลผล คำนวณ วิเคราะห์และแปลความหมายเป็นข้อความที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ เทคโนโลยีสารสนเทศจึงหมายถึง การติดต่อสื่อสาร การส่งข้อมูลทุกรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็น ข้อความ ตัวเลข เสียง ภาพโดยผ่านสื่อต่างๆ รวมทั้งการนำเสนอด้วยคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในระบบเครือข่าย โดยผ่านระบบโทรคมนาคม

เทคโนโลยีสารสนเทศจึง หมายถึงเทคโนโลยีสารสนเทศ คือ เทคโนโลยีที่ใช้จัดการสารสนเทศ โดยใช้เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องในการจัดหา วิเคราะห์ ประมวล จัดการและจัดเก็บ การพิมพ์ การสร้างรายงาน การเรียกใช้หรือแลกเปลี่ยน และเผยแพร่สื่อสารข้อมูล ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ ไม่ว่าจะอยู่ในรูปแบบของรูป เสียง ตัวอักษร หรือภาพเคลื่อนไหว รวมไปถึงการนำสารสนเทศและข้อมูลไปปฏิบัติตามเนื้อหาของสารสนเทศนั้น เพื่อให้บรรลุเป้าหมายของผู้ใช้

2.2. ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ

ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ

1.ช่วยในการจัดระบบข่าวสารจำนวนมหาศาลของแต่ละวัน

2. เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตสารสนเทศ เช่น การคำนวณตัวเลขที่ยุ่งยากซับซ้อน การจัดเรียงลำดับสารสนเทศ ฯลฯ

3. ช่วยให้สามารถเก็บสารสนเทศไว้ในรูปที่สามารถเรียกใช้ได้ทุกครั้งอย่างสะดวก

4. ช่วยให้สามารถจัดระบบอัตโนมัติ เพื่อการจัดเก็บประมวลผล และเรียกใช้สารสนเทศูล

5. ช่วยในการเข้าถึงสารสนเทศได้อย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพมากขึ้น

6. ช่วยในการสื่อสารระหว่างกันได้อย่างสะดวกรวดเร็ว ลดอุปสรรคเกี่ยวกับเวลา และระยะทาง โดยการใช้ระบบโทรศัพท์ และอื่นๆ

2.3 เทคโนโลยีสารสนเทศที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ได้แก่....

1. เสริมสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น เช่น การติดต่อสื่อสารที่สมัยก่อนมีการสื่อสารด้วยจดหมาย หรือโทรเลข แต่ปัจจุบันมีการติดต่อสื่อสารที่ง่ายขึ้น เช่น โทรศัพท์เคลื่อนที่ , Internet ที่แม้แต่อยู่คนละประเทศก็สามารถที่จะทราบถึงข่าวสารที่ง่ายขึ้น

2. ทำให้เกิดความเท่าเทียมกันในสังคม เช่น การศึกษาที่ปัจจุบันที่ได้หันเข้ามาศึกษาผ่านทางเว็บจำนวนมาก และการเข้าถึงข้อมูลเหล่านี้จึงไม่ได้จำกัดอยู่ที่ผู้ที่มีฐานะทางการเงินเท่านั้น เพียงแต่มีคอมพิวเตอร์กับระบบเครือข่ายก็สามารถที่จะเข้าถึงข้อมูลได้

3. ประโยชน์ต่อการเรียนการสอนในโรงเรียน เช่น การเยี่ยมชมเว็บ การเรียกผ่านทางคอมพิวเตอร์ช่วยสอน การสร้างสื่อการสอนด้วยคอมพิวเตอร์

4. ประโยชน์ด้านอุตสาหกรรมและพาณิชยกรรม เช่น เครื่องจักรต่างๆ ระบบสื่อสาร

5. ศึกษาค้นคว้าความแปลใหม่ที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา

6.ด้านการสาธารณสุข ปัจจุบันมีระบบออนไลน์ในการรักษาผู้ป่วย แพทย์ในโรงพยาบาลต่างๆ สามารถร่วมมือกันรักษาโรคแก่ผู้ป่วย ในกรณีร้ายแรงต้องการผู้เชี่ยวชาญเฉพาะโรค ข้อมูลจากห้องปฏิบัติการทางเทคนิคการแพทย์สามารถออนไลน์ถึงกันได้ทั่วประเทศและทั่วโลก มีการใช้ฐานข้อมูลกับงานระเบียนคนไข้ ทำให้สะดวกแก่การให้บริการผู้ป่วย เป็นต้น

7.ระบบทางด่วนข้อมูล เป็นเทคโนโลยีสื่อสารข้อมูลที่ทำให้การส่งผ่านข้อมูลในปริมาณมาก ๆ ทุกรูปแบบ เป็นไปอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านธุรกิจ มีการใช้ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อการทำธุรกิจประเภทต่าง ๆ รวมทั้งระบบธนาคาร (e-Banking, Internet Banking, Mobile Banking) พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (e-Commerce) เป็นการทำธุรกรรมทางธุรกิจแทบทุกอย่าง รวมทั้งการจ่ายเงิน (e-Payment) ผ่านระบบอินเทอร์เน็ตซึ่งทำให้เกิดความคล่องตัวและมีโอกาสขยายงานธุรกิจการค้าบนระบบเครือข่าย

8การประชุมทางไกล ได้แก่ Video Conferencing และ Computer Conferencing ทำให้เป็นการสะดวกและประหยัดเวลาของผู้บริหาร ประหยัดค่าใช้จ่ายขององค์กร ทำให้ผู้เกี่ยวข้องในองค์กร สามารถประชุมร่วมกันได้ในเวลาเดียวกัน

ความบันเทิงทุกรูปแบบ เราสามารถชมภาพยนตร์ ฟังเพลง เล่นเกม ดูแฟชั่น ได้ตลอดเวลาบนคอมพิวเตอร์โดยผ่านระบบอินเทอร์เน็ต

9การท่องเที่ยว สามารถสำรวจแหล่งท่องเที่ยว สอบถามโปรแกรมการท่องเที่ยวและติดต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้อย่างสะดวกรวดเร็ว สามารถจองตั๋วเครื่องบิน โรงแรมที่พัก โดยผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต หรือเราสามารถเลือกสถานที่ท่องเที่ยวที่ต้องการแล้วท่องเที่ยวไปกับโลกออนไลน์บนหน้าจอคอมพิวเตอร์ เป็นต้น

น.ส.รุ่งนภา สายบุญ

ข้อที่ 1

วิธีการต่อกิ่ง

สามารถปฏิบัติได้หลายวิธี ขึ้นอยู่กับชนิดของพืช อายุและขนาดของพืชด้วย นอกจากนั้นยังเกี่ยวข้องกับวัตถุประสงค์ของการต่อกิ่งนั้นๆ ด้วย ในแต่ละวิธีที่จะกล่าวถึงต่อไปนั้นมีหลักพิจารณาในการเลือกปฏิบัติคือ การลอกเปลือกไม้ และการตัดยอดของต้นตอประโยชน์ของการต่อกิ่งและการนำไปใช้

1. เป็นวิธีการขยายพันธุ์พืชเพื่อเพิ่มจำนวนสายต้น (cultivar) ให้มีปริมาณมากโดยกิ่งพันธุ์ดีไม่ต้องใช้เวลานานในการออกดอกติดผล

2. เป็นทางเลือกในการขยายพันธุ์พืชที่ไม่สามารถใช้วิธีการอื่นได้ผลสำเร็จ เช่น การออกรากของกิ่งปักชำหรือกิ่งตอนไม่มาก

3. ต้องการใช้ประโยชน์จากความทนทานต่อสภาพแวดล้อมของระบบรากในต้นตอ เช่น รากของต้นตอที่เจริญเติบโตได้ในที่มีอุณหภูมิต่ำ น้ำท่วมขัง มีความต้านทานโรคและแมลงในดินได้ดี

4. สามารถนำกิ่งพันธุ์ ที่ช่วยในการผสมเกสรให้กับต้นพันธุ์ที่ต้องการเก็บผลผลิต เพื่อให้มีการผสมข้ามพันธุ์แล้วติดผลดีขึ้น หรือเป็นต้นที่แยกเพศ (dioecious plant)

5. ทำให้ในต้นหนึ่งต้นมีหลายพันธุ์อยู่ด้วยกันเพื่อเก็บผลผลิตต่างพันธุ์หรือความสวยงาม

6. ต้นพันธุ์บางชนิดมีการเจริญเติบโตได้ดีกว่าเมื่อต่ออยู่บนระบบรากของอีกพันธุ์หนึ่ง

7. ต้องการให้อิทธิพลของความแคระมีผลต่อต้นตอหรือกิ่งพันธุ์ดี ทำให้ขนาดทรงพุ่มเตี้ย

8. ช่วยให้พืชที่เข้ากันไม่ได้ (incompatibility) ประสานอยู่ด้วยกันได้ โดยใช้ interstock มาต่อกิ่งอยู่ระหว่างต้นตอและกิ่งพันธุ์ดี

9. ใช้สำหรับการซ่อมแซมความเสียหายที่เกิดขึ้นกับลำต้นที่เปลือกถูกแมลงหรือสัตว์กัดแทะหรือเครื่องมือในสวนทำให้เกิดความเสียหายจึงใช้การต่อกิ่งเชื่อมต่อส่วนเปลือกลำต้นให้เจริญเติบโตได้ตามปกติ เรียกว่า การต่อกิ่งแบบเชื่อมสะพาน

10. เพื่อการศึกษาโรคไวรัสที่สามารถถ่ายทอดจากกิ่งพันธุ์ที่สงสัยมีการติดโรคต่อกิ่งบนต้นที่อ่อนแอต่อโรค (indicator plant) ซึ่งสามารถแสดงอาการของโรคไวรัสได้ชัดเจน เป็นเทคนิคที่เรียกว่า virus indexing

ข้อที่ 2

การปักชำ

คือการใช้ส่วนต่างๆ ของพืช เช่น ราก ใบ หรือ ลำต้น ไปปักชำ และส่วนของพืชเหล่านี้จะเจริญงอกงามเป็นลำต้นต่อไป

การปักชำเป็นวิธีขยายพันธุ์พืชที่ดีวิธีหนึ่งซึ่งมีข้อดี ดังนี้

1. ประหยัดค่าใช้จ่าย

2. ขยายพันธุ์ได้ปริมาณมาก

3. ทำได้ง่ายโดยไม่ต้องอาศัยเทคนิคหรือความสามารถมาก

4. ต้นพืชเจริญเติบโตเร็ว โดยใช้ระยะเวลาไม่นาน

5. พืชต้นใหม่ที่ได้จะมีลักษณะเหมือนต้นเดิมทุกประการ

วัสดุที่ใช้ในการปักชำ

กระบะ ดิน ทราบ แกลบ ปุ๋ยคอก ขุยมะพร้าว ใบไม้ผุ

การปักชำสามารถทำได้หลายวิธี ดังนี้

1. การปักชำราก เป็นการเอารากของพืชมาปักชำ อาจปักลงไปในดิน ในทราย หรือในเถ้าแกลบก็ได้ เพื่อส่วนของรากนั้นงอกเป็นลำต้นต่อไป พืชที่ใช้รากปักชำ เช่น มันเทศ สน สาเก เข็มอินเดียเป็นต้น วิธีการชำรากทำได้ ดังนี้

1.1 ตัดรากไม้ออกเป็นท่อนๆ

1.2 วางรากบนดิน การปักชำรากไม่นิยมปักในแนวตั้ง แต่นิยมวางในแนวนอน หรือวางในแนวเฉียงเล็กน้อย

2. การปักชำใบ โดยทั่วไปแล้วใบจะแตกเป็นกิ่งไม่ได้ แต่มีพืชบางชนิดสามารถนำใบมาปักชำให้เจริญเติบโตเป็นต้นต่อไปได้ เช่น ลิ้นมังกร กุหลาบหิน คว่ำตายหงายเป็น เป็นต้น การปักชำใบมี 4 วิธี

วิธีที่ 1 การปักชำโดยใช้ใบ

ให้ นำใบที่ไม่ใช่ใบอ่อนมาตัดเป็นส่วนๆ หรือทั้งใบแล้วนำไปวางเป็นวัสดุ เช่น ทราย หรือดิน โดยให้ด้านบนของใบหงายขึ้น พืชที่นิยม เช่น คว่ำตายหงายเป็น กุหลาบหิน

วิธีที่ 2 การปักชำโดยใช้ก้านใบ

ให้ตัดก้านใบให้หลุดออกจากกิ่งแล้วนำไปปักชำก็จะเจริญเติบโตเป็นต้นใหม่ได้ เช่น กุหลาบหิน

วิธีที่ 3 การปักชำโดยใช้ก้านใบที่ส่วนของกิ่ง

ให้ เอาใบมา โดยเฉือนส่วนของกิ่งให้มีตาติดมาด้วย (มิใช่นำมาทั้งกิ่ง) แล้วนำไปปักชำ ส่วนตาที่ติดมากับกิ่งก็จะเจริญเติบโตเป็นต้นต่อไป วิธีนี้นิยมใช้กับ ฟิโลเดนดรอน ต้นยางอินเดีย

วิธีที่ 4 การใช้ใบติดกิ่งมาปักชำ

ให้ ตัดกิ่งที่จะนำมาปักชำ โดยกิ่งนั้นต้องมีตาเดียว และมีใบติดมาด้วยแล้วนำส่วนของกิ่งบางส่วนปักลงในดินให้ใบ และกิ่งส่วนหนึ่งโผล่ขึ้นมา เพียงเล็กน้อย พืชที่นิยมขยายพันธุ์แบบนี้ ได้แก่ ฟิโลเดนดรอน

ข้อที่ 3

การขยายพันธุ์พืชโดยวิธีตอนกิ่ง

การตอนกิ่ง

ในการตอนกิ่งจะต้องทำให้เกิดแผลกับลำต้นหรือกิ่ง เพื่อตัดท่ออาหารและ เนื้อเยื่อเจริญของกิ่งนั้นให้ขาดจากกัน แต่ท่อน้ำยังคงอยู่เหมือนเดิม ทำให้สามารถส่งน้ำจากรากไปยอดได้ตามปกติ กิ่งและใบยอดจะยังคงสดอยู่เสมอ ซึ่งเป็นเหตุผลสำคัญของการที่พืชบางชนิดขยายพันธุ์ด้วยการตอนกิ่งได้เป็นผลสำเร็จมากกว่าการตัดชำท่ออาหารให้ขาดจากกัน ทำให้การขนส่งอาหารไม่เกิดขึ้น อาหารที่ส่งมาจากยอดจะไปสะสมตรงเหนือรอยแผลมาก ประกอบกับเนื้อเยื่อเจริญบริเวณแผลถูกตัดขาด เป็นการกระตุ้นเตือนให้เนื้อเยื่อเจริญส่วนนั้นเกิดการแบ่งเซลล์อย่างรวดเร็ว มีเซลล์ที่เกิดใหม่มากมาย (มีอาหารอุดมสมบูรณ์จากการสะสมเหนือรอยแผล) จะมีเซลล์ส่วนหนึ่งที่พัฒนาไปเป็นราก ทำหน้าที่ดูดน้ำและธาตุอาหาร

พืชแต่ละชนิดมีความยากง่ายในการที่เนื้อเยื่อเจริญจะพัฒนาไปเป็นราก แตกต่างกัน และการจัดสภาพแวดล้อมให้กับเนื้อเยื่อเจริญที่จะเจริญพัฒนาไปเป็นรากได้ ก็ต้องมีความเหมาะสม โดยเฉพาะเกี่ยวกับอุณหภูมิ ความชื้น และบางครั้งอาจจำเป็นต้องใช้สารควบคุมการเจริญเติบโต

ข้อดีข้อจำกัดของการตอนกิ่ง

ข้อดี คือทำได้ง่าย ประสบผลสำเร็จมากกว่าการปักชำ และได้ต้นกล้าขนาด ใหญ่ ทำให้ได้ผลผลิตเร็ว ไม่กลายพันธุ์ ทรงต้นไม่สูงนัก

ข้อจำกัด คือ

2.1 ไม่มีรากแก้ว ทำให้ไม่สามารถ ทนต่อลมแรง ๆ โค่นล้มได้ง่าย

2.2 กิ่งตอนมีขนาดใหญ่กว่ากิ่งชำ การดูแลรักษาหลังตอนยากกว่ากิ่งตัดชำ

การตอนแบบควั่นกิ่ง

เป็นวิธีที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย ทำได้ง่ายและสะดวก มีขั้นตอนดังนี้

1.1 เลือกกิ่งที่แข็งแรง สมบูรณ์ ไม่เป็นโรคและแมลง

เป็นกิ่งที่อยู่ทางด้านนอกของทรงพุ่ม ได้รับแสงแดดเต็มที่ ถ้าเป็นสวนเพื่อการขยายพันธุ์อย่างเดียวจะเลือกตอนเกือบทุกกิ่ง เหลือไว้บางกิ่งเพื่อเป็นพี่เลี้ยงต้นหลังจากตัดกิ่งตอนออกไป

1.2 การควั่นกิ่ง

สำหรับไม้ผล ควรเลือกกิ่งยาวประมาณ 30-50 เซนติเมตร ส่วนไม้ประดับอาจสั้นกว่านี้ ขึ้นอยู่กับจำนวนต้นที่ต้องการและชนิดของพืช ไม่ควรให้กิ่งมีพุ่มขนาดใหญ่มากนักเพราะจะทำให้เกิดการเหี่ยวแห้งในระยะชำเนื่องจากมีจำนวนใบไม่สมดุลกับจำนวนราก ความยาวของรอยควั่นเท่ากับ 1-2 เท่าของเส้นรอบวงของกิ่ง หรือดูจากความสามารถในการออกราก พืชที่ออกรากง่ายรอยควั่นจะสั้น (ประมาณ 1 เท่าของเส้นรอบวง)ถ้าเป็นพืชที่ออกรากยากรอยควั่นจะห่างประมาณ 1.5-2 เท่าของเส้นรอบวงของกิ่งนั้น คุณบุญชอบ โพธิ์รักษา แนะนำว่า การตอนฝรั่งควรจะควั่นห่างเพียง ½ เซนติเมตร ปล่อยให้แห้งสักครู่จึงค่อยหุ้มขุยมะพร้าว (มีการเสริมด้วยไม้ท่อนเล็ก ๆ ก่อนหุ้มขุยมะพร้าวเพื่อป้องกันกิ่งหัก)

1.3 การขูดเยื่อเจริญ (เมือกลื่น ๆ อยู่ระหว่างส่วนของเปลือกกับเนื้อไม้)

พืชแต่ละชนิดต้องการการขูดเยื่อเจริญต่างกัน ควรจะสังเกตว่าพืชใดต้องขูดเยื่อเจริญมากน้อยเท่าใด พืชบางชนิดไม่ต้องขูดเยื่อเจริญ เช่น ฝรั่ง สนแผง ถ้าขูดแล้วกิ่งมักจะแห้งตายเนื่องจากท่อน้ำถูกทำลาย พืชบางชนิดอาจขูดเยื่อเจริญแล้วหุ้มตามได้เลย (พืชทั่วไป) แต่บางชนิดต้องควั่นทิ้งไว้ให้เยื่อเจริญแห้งประมาณ 1 สัปดาห์ จึงจะหุ้มด้วยขุยมะพร้าว เช่น ละมุด

1.4 การหุ้มรอยควั่น

ปัจจุบันนิยมใช้ถุงพลาสติกขนาดเล็กบรรจุขุยมะพร้าว รัดปากถุงให้แน่น ใช้มีดผ่าถุงหุ้มรอยควั่นให้มิด มัดให้แน่น อย่าให้กระเปาะขุยมะพร้าวหมุนหรือขยับได้ เพราะจะทำให้รากที่งอกหักได้ หุ้มทับด้วยกระดาษเพื่อช่วยลดอุษหภูมิและแสงในขุยมะพร้าว ซึ่งจะทำให้การเดินของรากดีขึ้น บางท่านนิยมหุ้มรอยควั่นด้วยดินเหนียว ก่อนหุ้มด้วยกาบมะพร้าวแช่น้ำทุบให้นิ่ม แล้วหุ้มทับด้วยใบตองแห้งหรือผ้าพลาสติก (ไม่นิยมทำในทางการค้า เนื่องจากต้องใช้เวลา) แต่บางสวนจะผ่าตุ้มมะพร้าวแล้วป้ายดินด้านในเล็กน้อยแทนการหุ้มด้วย

1.5 การดูแลรักษา

คอยดูแลรดน้ำอยู่เสมออย่าให้กระเปาะแห้ง ถ้าขุยมะพร้าวชื้นพอ รัดปากถุงให้แน่นจะไม่ต้องรดน้ำอีกเลย พร้อมกันนี้ต้องระวังไม่ให้มดมากัดทำลายด้วย

1.6 การตัดกิ่งตอนตัดเมื่อรากแก่

เมื่อรากแทงทะลุขุยมะพร้าวออกมา ปลายรากเริ่มมีสีน้ำตาล และกิ่งตอนมีใบแก่ทั้งหมด จึงตัดจากต้นแม่ใต้กระเปาะตอนไปชำ

การตอนแบบกรีดกิ่ง นิยมใช้กับกิ่งที่มีแก่นเล็ก หรือกิ่งที่เปราะหักง่าย มีขั้นตอนการปฏิบัติเช่นเดียวกับการตอนแบบควั่นกิ่ง ต่างกันตรงรอยแผลจะใช้มีดกรีดเปลือกยาวประมาณ 1 นิ้ว 3-4 รอย

เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง

อุปกรณ์หรือเครื่องมือที่เกี่ยวข้องกับการรวบรวมประมวล เก็บรักษา และเผยแพร่ข้อมูลและสารสนเทศโดยรวมทั้งฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ฐานข้อมูล และการสื่อสาร โทรคมนาคม ระบบสารสนเทศสร้างขึ้นมาเพื่อจุดมุ่งหมายหลายประการจุดมุ่งหมายพื้นฐานประการหนึ่ง คือ การประมวลข้อมูล (Data) ให้เป็นสารสนเทศ (Information) และนำไปสู่ความรู้ (Knowledge) ที่ช่วยแก้ปัญหาในการดำเนินงาน

ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ

ช่วยในการจัดระบบข่าวสารจำนวนมหาศาลของแต่ละวัน เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตสารสนเทศ เช่น การคำนวณตัวเลขที่ยุ่งยากซับซ้อน การจัดเรียงลำดับสารสนเทศ ฯ ช่วยให้สามารถเก็บสารสนเทศไว้ในรูปที่สามารถเรียกใช้ได้ทุกครั้งอย่างสะดวก

ช่วยให้สามารถจัดระบบอัตโนมัติ เพื่อการจัดเก็บประมวลผล และเรียกใช้สารสนเทศ

ช่วยในการเข้าถึงสารสนเทศได้อย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพมากขึ้น ช่วยในการสื่อสารระหว่างกันได้อย่างสะดวกรวดเร็ว ลดอุปสรรคเกี่ยวกับเวลา และระยะทาง โดยการใช้ระบบโทรศัพท์ และอื่นๆ

ประโยชน์ของเทคโนโลยีสารสนเทศ

การกำเนิดของคอมพิวเตอร์เมื่อประมาณห้าสิบกว่าปีที่แล้ว เป็นก้าวสำคัญที่นำไปสู่ยุคสารสนเทศ ในช่วงแรกมีการนำเอาคอมพิวเตอร์มาใช้เป็นเครื่องคำนวณ แต่ต่อมาได้มีความพยายามพัฒนาให้คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์สำคัญสำหรับการจัดการข้อมูล เมื่อเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ได้ก้าวหน้ามากขึ้น ทำให้สามารถสร้างคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กลง แต่ประสิทธิภาพสูงขึ้น สภาพการใช้งานจึงใช้งานกันอย่างแพร่หลา

น.ส. รุ่งนภา สายบุญ เลขที่34 ม3/2 น.ส.สุภาพร แสนวงษ์ เลขที่ 25ม3/2 นาย ณัฐพล บัวแดง เลขที่ 13 ม3/2

การต่อกิ่งเป็นวิธีการขยายพันธุ์พืชแบบไม่ใช้เพศด้วยวิธีการนำกิ่งพืชสอง ชนิดมาเชื่อมต่อกันให้เจริญเป็นต้นเดียวกันส่วนของพืชที่เจริญเป็นรากเรียกว่า ต้นตอ (rootstock หรือ stock) และส่วนที่นำมาต่ออยู่บนต้นตอเป็นส่วนที่เจริญ เป็นกิ่งก้าน ออกดอกติดผลต่อไป เรียกว่า กิ่งพันธุ์ดี (scion) ซึ่งเป็นส่วนของ กิ่งพืชที่มีตามากกว่าหนึ่งตาขึ้นไปมาเชื่อมต่อกับต้นตอความสำเร็จของการต่อกิ่ง จะเกิดขึ้นได้นั้นต้องมีการเชื่อมต่อ ระหว่างเนื้อเยื่อต้นตอและกิ่งพันธุ์ดี สามารถลำเลียงน้ำและอาหารผ่าน บริเวณรอยต่อ ได้เนื้อเยื่อบริเวณ รอยต่อ(graft union)นี้เกิดจากเนื้อเยื่อ ของต้นตอและกิ่งพันธุ์ดีมาเรียงตัว อยู่ด้วยกันโดยไม่เกิดการรวมตัวของเซลล์ระหว่างพืชทั้งสองชนิด

เนื้อเยื่อที่เกิดขึ้นถูกสร้างขึ้นมา สมานแผลเป็น เซลล์ parenchyma จำนวนมากประกอบกัน เป็นเนื้อเยื่อ callus เกิดขึ้นภายใน 2-3 วัน รอยแผลที่เกิดจาก การเฉือนกิ่งจะมีส่วนที่ตายไปและมีการสร้างสาร nicrotic เพื่อรักษาบาดแผล ส่วนมากสารเหล่านี้จะหายไป เมื่อเกิดการเชื่อมต่อกันดีแล้วหรือยังอยู่ในช่องว่างระหว่าง เซลล์ก็ได้อาจพบเป็นเซลล์ที่ตายและเยินจากเนื้อเยื่อ

การเกิดรอยต่อได้นั้นต้องวางให้เนื้อเยื่อแคมเบียมของต้นตอและกิ่งพันธุ์ดี อยู่แนบหรือใกล้กันมากที่สุดแล้วจะมีการสร้างเนื้อเยื่อแคลลัสใหม่เกิดขึ้น จากทั้งสองส่วนจนเต็มช่องว่างระหว่างกันเรียกว่า callus bridge ซึ่งจะมีการ พัฒนาไปเป็นเนื้อเยื่อเจริญ (vascular cambium) ภายใน 2-3 สัปดาห์และมี การสร้างท่อน้ำ (xylem) และท่ออาหาร (phloem) เชื่อมกันต่อไป การปรับสภาพแวดล้อมภายนอกให้เหมาะสมมีผลต่อความสำเร็จในการต่อกิ่งด้วย คือ อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการแบ่งเซลล์บริเวณรอยต่ออยู่ระหว่าง 12.8-32.0 องศาเซลเซียส เมื่อเกิดเนื้อเยื่อ callus ขึ้นต้องควบคุมความชื้นบริเวณรอยต่อให้เหมาะสมเนื่องจากเซลล์มีผนังบางและเต่งจึงแห้งตายได้ง่าย จำเป็นต้องพันพลาสติกหรือใช้ถุงพลาสติกคลุมทับ การป้องกันแผลไม่ให้มีการติดเชื้อที่จะทำให้เน่าตายได้เช่นกัน

นอกจากนั้นความสัมพันธ์ของระยะการเจริญเติบโตของตาบนกิ่งพันธุ์ดีจะต้องพอเหมาะกับการพัฒนาการของเนื้อเยื่อบริเวณรอยต่อด้วย กล่าวคือ ขั้นตอนการสร้างท่อน้ำท่ออาหาร ต้องเกิดขึ้นอย่างสมบูรณ์ก่อนที่จะมีใบใหม่เจริญจากตาของกิ่งพันธุ์ดี มิฉะนั้นจะเกิดการแห้งตายของตานั้นได้

การเข้ากันได้ (compatibility) ของพืชทั้งสองชนิดมีส่วนต่อความสำเร็จในการต่อกิ่งด้วย การเลือกใช้ต้นตอและกิ่งพันธุ์ที่มีความใกล้ชิดกันทางพฤกษศาสตร์จะต่อกันได้ดีและรอยต่อเจริญ เหมือนเป็นต้นเดียวกัน เช่น มะม่วงแต่ละพันธุ์จัดเป็นชนิด (species) เดียวกันจึงต่อกิ่งได้ง่าย แต่พืชบางชนิดสามารถเข้ากันได้ดีถึงแม้จะมีความแตกต่างกันมาก เช่น ส้มสามใบ (Poncitrus trifoliata) ต่อด้วยส้มเขียวหวาน (Citrus reticulata) มีพืชหลายคู่ที่สามารถต่อกันได้ในระยะแรก แต่เมื่อเวลาผ่านไปจะมีอาการของการเข้ากันไม่ได้ (incompatibility) เกิดรอยต่อแยกจากกันหรือมีการเติบโตผิดปกติ เช่น ต้นดอนย่าสีชมพูต่อบนดอนย่าสีขาวทักษะและประสบการณ์ของผู้ปฏิบัติงานมีส่วนสำคัญเช่นกัน นอกจากนั้นเครื่องมือที่ใช้ คือ มีดเฉือนกิ่ง ควรอยู่ในสภาพที่คมสามารถเฉือนกิ่งได้โดยไม่ทำให้เนื่อเยื่อชอกช้ำหรือเยินเสียหาย ผู้ปฏิบัติงานต้องทำงานอย่างรวดเร็วและรักษาความสะอาดของแผลบนกิ่งพันธุ์ดี และต้นตอด้วย การเลือกใช้วิธีการต่อกิ่งที่เหมาะสมกับพืชและระยะเวลาเป็นสิ่งสำคัญอีกประการหนึ่งที่ผู้ปฏิบัติงานต้องให้ความสำคัญด้วย กล่าวคือการเลือกใช้วิธีต่อกิ่งกับต้นพืชที่อยู่ในระยะการเจริญเติบโตสามารถลอกเปลือกได้ หรืออยู่ในระยะพักตัว นอกจากนั้นการดูแลเอาใจใส่อย่างใกล้ชิดภายหลังการปฏิบัติงานมีส่วนต่อความสำเร็จของงานด้วย

วิธีการต่อกิ่ง สามารถปฏิบัติได้หลายวิธี ขึ้นอยู่กับชนิดของพืช อายุและขนาดของพืชด้วย นอกจากนั้นยังเกี่ยวข้องกับวัตถุประสงค์ของการต่อกิ่งนั้นๆ ด้วย ในแต่ละวิธีที่จะกล่าวถึงต่อไปนั้นมีหลักพิจารณาในการเลือกปฏิบัติคือ การลอกเปลือกไม้ และการตัดยอดของต้นตอประโยชน์ของการต่อกิ่งและการนำไปใช้

1. เป็นวิธีการขยายพันธุ์พืชเพื่อเพิ่มจำนวนสายต้น (cultivar) ให้มีปริมาณมากโดยกิ่งพันธุ์ดีไม่ต้องใช้เวลานานในการออกดอกติดผล

2. เป็นทางเลือกในการขยายพันธุ์พืชที่ไม่สามารถใช้วิธีการอื่นได้ผลสำเร็จ เช่น การออกรากของกิ่งปักชำหรือกิ่งตอนไม่มาก

3. ต้องการใช้ประโยชน์จากความทนทานต่อสภาพแวดล้อมของระบบรากในต้นตอ เช่น รากของต้นตอที่เจริญเติบโตได้ในที่มีอุณหภูมิต่ำ น้ำท่วมขัง มีความต้านทานโรคและแมลงในดินได้ดี

4. สามารถนำกิ่งพันธุ์ ที่ช่วยในการผสมเกสรให้กับต้นพันธุ์ที่ต้องการเก็บผลผลิต เพื่อให้มีการผสมข้ามพันธุ์แล้วติดผลดีขึ้น หรือเป็นต้นที่แยกเพศ (dioecious plant)

5. ทำให้ในต้นหนึ่งต้นมีหลายพันธุ์อยู่ด้วยกันเพื่อเก็บผลผลิตต่างพันธุ์หรือความสวยงาม

6. ต้นพันธุ์บางชนิดมีการเจริญเติบโตได้ดีกว่าเมื่อต่ออยู่บนระบบรากของอีกพันธุ์หนึ่ง

7. ต้องการให้อิทธิพลของความแคระมีผลต่อต้นตอหรือกิ่งพันธุ์ดี ทำให้ขนาดทรงพุ่มเตี้ย

8. ช่วยให้พืชที่เข้ากันไม่ได้ (incompatibility) ประสานอยู่ด้วยกันได้ โดยใช้ interstock มาต่อกิ่งอยู่ระหว่างต้นตอและกิ่งพันธุ์ดี

9. ใช้สำหรับการซ่อมแซมความเสียหายที่เกิดขึ้นกับลำต้นที่เปลือกถูกแมลงหรือสัตว์กัดแทะหรือเครื่องมือในสวนทำให้เกิดความเสียหายจึงใช้การต่อกิ่งเชื่อมต่อส่วนเปลือกลำต้นให้เจริญเติบโตได้ตามปกติ เรียกว่า การต่อกิ่งแบบเชื่อมสะพาน

10. เพื่อการศึกษาโรคไวรัสที่สามารถถ่ายทอดจากกิ่งพันธุ์ที่สงสัยมีการติดโรคต่อกิ่งบนต้นที่อ่อนแอต่อโรค (indicator plant) ซึ่งสามารถแสดงอาการของโรคไวรัสได้ชัดเจน เป็นเทคนิคที่เรียกว่า virus indexing

2. การปักชำ คือการใช้ส่วนต่างๆ ของพืช เช่น ราก ใบ หรือ ลำต้น ไปปักชำ และส่วนของพืชเหล่านี้จะเจริญงอกงามเป็นลำต้นต่อไป

การปักชำเป็นวิธีขยายพันธุ์พืชที่ดีวิธีหนึ่งซึ่งมีข้อดี ดังนี้

1. ประหยัดค่าใช้จ่าย

2. ขยายพันธุ์ได้ปริมาณมาก

3. ทำได้ง่ายโดยไม่ต้องอาศัยเทคนิคหรือความสามารถมาก

4. ต้นพืชเจริญเติบโตเร็ว โดยใช้ระยะเวลาไม่นาน

5. พืชต้นใหม่ที่ได้จะมีลักษณะเหมือนต้นเดิมทุกประการ

วัสดุที่ใช้ในการปักชำ

กระบะ ดิน ทราบ แกลบ ปุ๋ยคอก ขุยมะพร้าว ใบไม้ผุ

การปักชำสามารถทำได้หลายวิธี ดังนี้

1. การปักชำราก เป็นการเอารากของพืชมาปักชำ อาจปักลงไปในดิน ในทราย หรือในเถ้าแกลบก็ได้ เพื่อส่วนของรากนั้นงอกเป็นลำต้นต่อไป พืชที่ใช้รากปักชำ เช่น มันเทศ สน สาเก เข็มอินเดียเป็นต้น วิธีการชำรากทำได้ ดังนี้

1.1 ตัดรากไม้ออกเป็นท่อนๆ

1.2 วางรากบนดิน การปักชำรากไม่นิยมปักในแนวตั้ง แต่นิยมวางในแนวนอน หรือวางในแนวเฉียงเล็กน้อย

2. การปักชำใบ โดยทั่วไปแล้วใบจะแตกเป็นกิ่งไม่ได้ แต่มีพืชบางชนิดสามารถนำใบมาปักชำให้เจริญเติบโตเป็นต้นต่อไปได้ เช่น ลิ้นมังกร กุหลาบหิน คว่ำตายหงายเป็น เป็นต้น การปักชำใบมี 4 วิธี

วิธีที่ 1 การปักชำโดยใช้ใบ

ให้ นำใบที่ไม่ใช่ใบอ่อนมาตัดเป็นส่วนๆ หรือทั้งใบแล้วนำไปวางเป็นวัสดุ เช่น ทราย หรือดิน โดยให้ด้านบนของใบหงายขึ้น พืชที่นิยม เช่น คว่ำตายหงายเป็น กุหลาบหิน

วิธีที่ 2 การปักชำโดยใช้ก้านใบ

ให้ตัดก้านใบให้หลุดออกจากกิ่งแล้วนำไปปักชำก็จะเจริญเติบโตเป็นต้นใหม่ได้ เช่น กุหลาบหิน

วิธีที่ 3 การปักชำโดยใช้ก้านใบที่ส่วนของกิ่ง

ให้ เอาใบมา โดยเฉือนส่วนของกิ่งให้มีตาติดมาด้วย (มิใช่นำมาทั้งกิ่ง) แล้วนำไปปักชำ ส่วนตาที่ติดมากับกิ่งก็จะเจริญเติบโตเป็นต้นต่อไป วิธีนี้นิยมใช้กับ ฟิโลเดนดรอน ต้นยางอินเดีย

วิธีที่ 4 การใช้ใบติดกิ่งมาปักชำ

ให้ ตัดกิ่งที่จะนำมาปักชำ โดยกิ่งนั้นต้องมีตาเดียว และมีใบติดมาด้วยแล้วนำส่วนของกิ่งบางส่วนปักลงในดินให้ใบ และกิ่งส่วนหนึ่งโผล่ขึ้นมา เพียงเล็กน้อย พืชที่นิยมขยายพันธุ์แบบนี้ ได้แก่ ฟิโลเดนดรอน

การปักชำกิ่ง

เป็นวิธีที่นิยมกันมากและทำกัน มานานแล้ว เราไม่จำเป็นต้องพิถีพิถันกับวัสดุที่ใช้ในการปักชำมากนัก ปัจจุบันนิยมกัน แพร่หลายเพราะประหยัดค่าใช้จ่าย ใช้ระยะเวลาสั้น และได้ลักษณะพันธุ์เดิม การปักชำกิ่งแบ่งเป็น 3 ประเภท

1. การปักชำกิ่งประเภทที่มีเนื้ออวบน้ำ เช่น ฤาษีผสม กิ่งชนิดนี้จะอ่อน บอบบาง และช้ำง่าย ฉะนั้นจึงต้องการความประณีต ในการปฏิบัติ คือต้องระวังในเรื่องความชื้น แสง และอุณหภูมิ

2. การปักชำกิ่งที่มีความแข็งของเนื้อไม้ปานกลาง เช่น ว่านกวนอิม อายุของกิ่งประมาณ 3 - 6 เดือน ผิวเปลือกของกิ่งมี สีอมเขียว ยังไม่เป็นสีน้ำตาล กิ่งประเภทนี้มีเนื้อไม้อ่อนไม่แข็งแรงนัก ฉะนั้นจึงควรระมัดระวังเรื่องน้ำ อุณหภูมิ และแสงสว่างให้มาก เพราะกิ่งประเภทนี้จะเหี่ยวแห้งได้ง่าย

2. การปักชำไม้ที่มีอายุเกิน 1 ปีขึ้นไป วิธีนี้นิยมกันมาก การเลือกกิ่งไม้ที่จะนำมาปักชำ ควรเลือกกิ่งที่มีสีน้ำตาล ก่อนปักชำควร ปักกิ่งชำให้มีตาอย่างน้อย 2-3 ตา การตัดควรตัดเป็นท่อน ๆ ขนาด ยาว 6-8 เซนติเมตร การตัดท่อนปลายกิ่งให้ตัดเหนือข้อ ส่วนท่อนโคนให้ตัดต่ำกว่าข้อ โดยตัดให้เฉียง เราไม่ควรตัดตรงข้อพอดี เพราะจะทำให้กิ่งสูญเสียอาหารไป นอกจากนี้ บริเวณข้อยังมีเนื้อเยื่อ อัดตัวแน่นและแข็งแรง ช่วยป้องกันการระเหยของน้ำในกิ่งได้เป็นอย่างดี

1.3 การขยายพันธุ์พืชโดยวิธีตอนกิ่ง

ทฤษฎีการตอนกิ่ง

ในการตอนกิ่งจะต้องทำให้เกิดแผลกับลำต้นหรือกิ่ง เพื่อตัดท่ออาหารและ เนื้อเยื่อเจริญของกิ่งนั้นให้ขาดจากกัน แต่ท่อน้ำยังคงอยู่เหมือนเดิม ทำให้สามารถส่งน้ำจากรากไปยอดได้ตามปกติ กิ่งและใบยอดจะยังคงสดอยู่เสมอ ซึ่งเป็นเหตุผลสำคัญของการที่พืชบางชนิดขยายพันธุ์ด้วยการตอนกิ่งได้เป็นผลสำเร็จมากกว่าการตัดชำท่ออาหารให้ขาดจากกัน ทำให้การขนส่งอาหารไม่เกิดขึ้น อาหารที่ส่งมาจากยอดจะไปสะสมตรงเหนือรอยแผลมาก ประกอบกับเนื้อเยื่อเจริญบริเวณแผลถูกตัดขาด เป็นการกระตุ้นเตือนให้เนื้อเยื่อเจริญส่วนนั้นเกิดการแบ่งเซลล์อย่างรวดเร็ว มีเซลล์ที่เกิดใหม่มากมาย (มีอาหารอุดมมบูรณ์จากการสะสมเหนือรอยแผล) จะมีเซลล์ส่วนหนึ่งที่พัฒนาไปเป็นราก ทำหน้าที่ดูดน้ำและธาตุอาหาร

พืชแต่ละชนิดมีความยากง่ายในการที่เนื้อเยื่อเจริญจะพัฒนาไปเป็นราก แตกต่างกัน และการจัดสภาพแวดล้อมให้กับเนื้อเยื่อเจริญที่จะเจริญพัฒนาไปเป็นรากได้ ก็ต้องมีความเหมาะสม โดยเฉพาะเกี่ยวกับอุณหภูมิ ความชื้น และบางครั้งอาจจำเป็นต้องใช้สารควบคุมการเจริญเติบโต

ข้อดีข้อจำกัดของการตอนกิ่ง

ข้อดี คือทำได้ง่าย ประสบผลสำเร็จมากกว่าการปักชำ และได้ต้นกล้าขนาด ใหญ่ ทำให้ได้ผลผลิตเร็ว ไม่กลายพันธุ์ ทรงต้นไม่สูงนัก

ข้อจำกัด คือ

2.1 ไม่มีรากแก้ว ทำให้ไม่สามารถ ทนต่อลมแรง ๆ โค่นล้มได้ง่าย

2.2 กิ่งตอนมีขนาดใหญ่กว่ากิ่งชำ การดูแลรักษาหลังตอนยากกว่ากิ่งตัดชำ

การตอนแบบควั่นกิ่ง

เป็นวิธีที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย ทำได้ง่ายและสะดวก มีขั้นตอนดังนี้

1.1 เลือกกิ่งที่แข็งแรง สมบูรณ์ ไม่เป็นโรคและแมลง

เป็นกิ่งที่อยู่ทางด้านนอกของทรงพุ่ม ได้รับแสงแดดเต็มที่ ถ้าเป็นสวนเพื่อการขยายพันธุ์อย่างเดียวจะเลือกตอนเกือบทุกกิ่ง เหลือไว้บางกิ่งเพื่อเป็นพี่เลี้ยงต้นหลังจากตัดกิ่งตอนออกไป

1.2 การควั่นกิ่ง

สำหรับไม้ผล ควรเลือกกิ่งยาวประมาณ 30-50 เซนติเมตร ส่วนไม้ประดับอาจสั้นกว่านี้ ขึ้นอยู่กับจำนวนต้นที่ต้องการและชนิดของพืช ไม่ควรให้กิ่งมีพุ่มขนาดใหญ่มากนักเพราะจะทำให้เกิดการเหี่ยวแห้งในระยะชำเนื่องจากมีจำนวนใบไม่สมดุลกับจำนวนราก ความยาวของรอยควั่นเท่ากับ 1-2 เท่าของเส้นรอบวงของกิ่ง หรือดูจากความสามารถในการออกราก พืชที่ออกรากง่ายรอยควั่นจะสั้น (ประมาณ 1 เท่าของเส้นรอบวง)ถ้าเป็นพืชที่ออกรากยากรอยควั่นจะห่างประมาณ 1.5-2 เท่าของเส้นรอบวงของกิ่งนั้น คุณบุญชอบ โพธิ์รักษา แนะนำว่า การตอนฝรั่งควรจะควั่นห่างเพียง ½ เซนติเมตร ปล่อยให้แห้งสักครู่จึงค่อยหุ้มขุยมะพร้าว (มีการเสริมด้วยไม้ท่อนเล็ก ๆ ก่อนหุ้มขุยมะพร้าวเพื่อป้องกันกิ่งหัก)

1.3 การขูดเยื่อเจริญ (เมือกลื่น ๆ อยู่ระหว่างส่วนของเปลือกกับเนื้อไม้)

พืชแต่ละชนิดต้องการการขูดเยื่อเจริญต่างกัน ควรจะสังเกตว่าพืชใดต้องขูดเยื่อเจริญมากน้อยเท่าใด พืชบางชนิดไม่ต้องขูดเยื่อเจริญ เช่น ฝรั่ง สนแผง ถ้าขูดแล้วกิ่งมักจะแห้งตายเนื่องจากท่อน้ำถูกทำลาย พืชบางชนิดอาจขูดเยื่อเจริญแล้วหุ้มตามได้เลย (พืชทั่วไป) แต่บางชนิดต้องควั่นทิ้งไว้ให้เยื่อเจริญแห้งประมาณ 1 สัปดาห์ จึงจะหุ้มด้วยขุยมะพร้าว เช่น ละมุด

1.4 การหุ้มรอยควั่น

ปัจจุบันนิยมใช้ถุงพลาสติกขนาดเล็กบรรจุขุยมะพร้าว รัดปากถุงให้แน่น ใช้มีดผ่าถุงหุ้มรอยควั่นให้มิด มัดให้แน่น อย่าให้กระเปาะขุยมะพร้าวหมุนหรือขยับได้ เพราะจะทำให้รากที่งอกหักได้ หุ้มทับด้วยกระดาษเพื่อช่วยลดอุษหภูมิและแสงในขุยมะพร้าว ซึ่งจะทำให้การเดินของรากดีขึ้น บางท่านนิยมหุ้มรอยควั่นด้วยดินเหนียว ก่อนหุ้มด้วยกาบมะพร้าวแช่น้ำทุบให้นิ่ม แล้วหุ้มทับด้วยใบตองแห้งหรือผ้าพลาสติก (ไม่นิยมทำในทางการค้า เนื่องจากต้องใช้เวลา) แต่บางสวนจะผ่าตุ้มมะพร้าวแล้วป้ายดินด้านในเล็กน้อยแทนการหุ้มด้วย

1.5 การดูแลรักษา

คอยดูแลรดน้ำอยู่เสมออย่าให้กระเปาะแห้ง ถ้าขุยมะพร้าวชื้นพอ รัดปากถุงให้แน่นจะไม่ต้องรดน้ำอีกเลย พร้อมกันนี้ต้องระวังไม่ให้มดมากัดทำลายด้วย

1.6 การตัดกิ่งตอนตัดเมื่อรากแก่

เมื่อรากแทงทะลุขุยมะพร้าวออกมา ปลายรากเริ่มมีสีน้ำตาล และกิ่งตอนมีใบแก่ทั้งหมด จึงตัดจากต้นแม่ใต้กระเปาะตอนไปชำ

การตอนแบบกรีดกิ่ง นิยมใช้กับกิ่งที่มีแก่นเล็ก หรือกิ่งที่เปราะหักง่าย มีขั้นตอนการปฏิบัติเช่นเดียวกับการตอนแบบควั่นกิ่ง ต่างกันตรงรอยแผลจะใช้มีดกรีดเปลือกยาวประมาณ 1 นิ้ว 3-4 รอย

การตอนกิ่งแบบปาดกิ่ง มีวิธีปฏิบัติเช่นเดียวกับการตอนแบบกรีดกิ่ง ต่างกันตรงรอยแผล ที่จะทำให้เกิดแผลโดยใช้มีดปาดเฉียงให้ลึกเข้าไปในเนื้อไม้เล็กน้อย ใช้เศษวัสดุ เช่น ไม้จิ้มฟัน ลวดฟิวส์ หรือก้านไม้ขีดขัดรอยแผลไว้ให้เผยอออกมาเป็นลิ้นป้องกันไม่ให้รอยแผลเชื่อมติดกันเท่าใด บริเวณที่สัมผัสดินควรจะยึดกิ่งให้ติดกับดินด้วยไม้ค้ำหรือลวดตัวยู บริเวณที่สัมผัสดินจะงอกรากออกมาบริเวณข้อและแตกตาบริเวณตา หลังจากยอดและรากสมบูรณ์ดีแล้ว จึงตัดให้ขาดจากกิ่งเดิม นำไปแยกปลูกต่อไป นิยมใช้กับต้นมะลิ ประทัดจีน สตรอเบอรี่ เป็นต้น

การตอนแบบกรีดกิ่งและปาดกิ่ง นิยมใช้ในพืชที่มีลำต้นเปราะ เช่น ชวนชม เชอรี่ เป็นต้น

การตอนกิ่งแบบโน้มกิ่ง

นิยมใช้กับกิ่งไม้เลื้อย เช่น มะลิ

ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการตอนกิ่ง

บางครั้งกิ่งตอนเกิดการเหี่ยวแห้ง ตอนแล้วไม่ออกราก มีปัจจัยที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้

1. การเลือกกิ่ง

ควรเลือกกิ่งเพสลาด มีสีน้ำตาล ไม่แก่หรืออ่อนเกินไป ใบยอดควรจะพ้นระยะใบอ่อนเปลือกล่อน ถ้ากิ่งแก่ไปจะออกรากยากและน้อย นอกจากนั้น กิ่งแก่มักจะเป็นกิ่งขนาดใหญ่ เมื่อออกรากแล้วมักจะมีปัญหาในการชำ เพราะขนาดของต้นใหญ่ มีรากน้อย ทำให้ใบกับรากไม่สมดุลกัน ใบจะเหี่ยวเนื่องจากขาดน้ำ กิ่งที่อยู่รอบในทรงพุ่มก็ไม่ควรตอน เพราะจะออกรากช้าและน้อย บางครั้งจะไม่ออกรากเลย นอกจากนั้นควรจะพิจารณาถึง

1.1 ขนาดของกิ่ง

ควรมีขนาดตั้งแต่ขนาดดินสอดำถึงขนาดหัวแม่มือ

1.2 ชนิดของกิ่ง

กิ่งกระโดงเหมาะที่สุด เพราะจะออกรากได้รอบด้าน ถ้าเป็นกิ่งนอกรากจะออกทางด้านบนของกิ่งแล้วห้อยลงตามแรงดึงดูดของโลก ทำให้ได้รากน้อยและรากโตช้า ถ้าจำเป็นต้องเลือกกิ่งนอนควรค้ำหรือโยงให้กิ่งตั้งตรงก่อนแล้วจึงตอน โดยทำไม้หลักไว้กลางพุ่มสำหรับผูกเชือกโยงกิ่งตอนทั้งหลายให้ตั้งขึ้น

2. ฤดูกาล

ควรตอนกิ่งในช่วงฤดูฝนซึ่งเป็นระยะที่พืชกำลังเจริญเติบโต ถ้าตอนกิ่งในฤดูร้อนต้องรดน้ำกระเปาะหุ้มให้ชื้นอยู่เสมอ สำหรับฤดูหนาวไม่แนะนำให้ตอน โดยทั่วไปชาวสวนจะนิยมตอนในฤดูแล้ง เนื่องจากกระเปาะหุ้มจะไม่แฉะซึ่งเป็นสาเหตุให้รากไม่เดิน

3. การใช้ฮอร์โมนเร่งราก

ปัจจุบันเป็นที่ยอมรับกันว่า ฮอร์โมนเร่งรากจะช่วยให้การเกิดรากของกิ่งตอนเร็วขึ้น โดยทาฮอร์โมนเร่งรากบริเวณเหนือรอยควั่น (บริเวณที่จะออกราก) ระวังอย่าทาถึงได้รอยควั่น บริเวณนี้จะเกิดรากเร็วกว่าบริเวณเหนือรอยควั่น เมื่อเห็นรากโผล่ออกมาจากตุ้ม หากตัดไปชำมักจะตาย เนื่องจากไม่สามารถส่งอาหารจากยอดมารากได้ (ท่ออาหารถูกตัดขาด) และพบว่าในระยะนี้รากบริเวณเหนือรอยควั่นมักจะยังเจริญไม่พอด้วย

การตัดและการชำกิ่งตอน

การตัดกิ่งตอนควรจะพิจารณาจากจำนวนรากที่สังเกตเห็นได้ โดยมองผ่านผ้าพลาสติกที่หุ้ม (ควรใช้พลาสติกสีขาวใส) ควรจะมีรากมากพอ ปลายรากมีสีน้ำตาลแก่ เมื่อตัดกิ่งตอนแล้วควรจะมีการตัดแต่งกิ่ง เนื่องจากกิ่งตอนย่อมมีระบบรากน้อยกว่าทางส่วนยอด ดังนั้น ถ้าไม่เอาใจใส่เป็นพิเศษจะไม่สามารถที่จะพยุงต้นไว้ได้ และจะเกิดการคายน้ำมาก ดังนั้นควรปฏิบัติดังนี้

1. ตัดแต่งกิ่งให้สมดุลกับราก

2. ทำการปลูกในภาชนะที่พอเหมาะกับขนาดของต้นและราก มีการค้ำยันด้วยไม้กันไม่ให้กิ่งชำโยก

3. นำกิ่งตอนมาไว้ในที่ชื้นและเย็น รดน้ำสม่ำเสมอ จนกิ่งตอนตั้งตัวดีแล้วจึงย้ายปลูก

ข้อพิจารณาในการตอน

1. ในกรณีที่ต้องการกิ่งตอนขนาดใหญ่ ควรจะมีการเพิ่มขนาดของตุ้ม โดยการหุ้มขุยมะพร้าวทับตุ้มเดิมอีกครั้งหนึ่ง หรือใช้ตุ้มครั้งแรกให้มีขนาดใหญ่ขึ้นอีกนิด ทั้งนี้ ต้องระวังปัญหาตุ้มใหญ่เกินไป อาจทำให้กิ่งหักได้

2. ในพืชบางชนิดกิ่งมีขนาดค่อนข้างเล็ก กิ่งเปราะหักง่ายการตอนควรจะมีการดามด้วยไม้เพื่อป้องกันไม่ให้กิ่งหัก

3. การหุ้มตุ้มตอนด้วยกระดาษเพื่อกรองแสงไม่ให้ตุ้มมีอุณหภูมิสูงเกินไป หากขุยมะพร้าวมีความชื้นสูงร่วมด้วย จะเกิดอันตรายกับรากได้ เพื่อความปลอดภัยจึงควรจะหุ้มตุ้มด้วยกระดาษอีกชั้นหนึ่ง ซึ่งมีประโยชน์อีกประการคือ ทำให้รากเดินดีขึ้น (ภายในถุงขุยมะพร้าวจะมืด)

เทคโนโลยีสารสนเทศหมายถึง อุปกรณ์หรือเครื่องมือที่เกี่ยวข้องกับการรวบรวมประมวล เก็บรักษา และเผยแพร่ข้อมูลและสารสนเทศโดยรวมทั้งฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ฐานข้อมูล และการสื่อสาร โทรคมนาคม ระบบสารสนเทศสร้างขึ้นมาเพื่อจุดมุ่งหมายหลายประการจุดมุ่งหมายพื้นฐานประการหนึ่ง คือ การประมวลข้อมูล (Data) ให้เป็นสารสนเทศ (Information) และนำไปสู่ความรู้ (Knowledge) ที่ช่วยแก้ปัญหาในการดำเนินงาน

ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ

1. ช่วยในการจัดระบบข่าวสารจำนวนมหาศาลของแต่ละวัน

2. เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตสารสนเทศ เช่น การคำนวณตัวเลขที่ยุ่งยากซับซ้อน การจัดเรียงลำดับสารสนเทศ ฯลฯ

3. ช่วยให้สามารถเก็บสารสนเทศไว้ในรูปที่สามารถเรียกใช้ได้ทุกครั้งอย่างสะดวก

4. ช่วยให้สามารถจัดระบบอัตโนมัติ เพื่อการจัดเก็บประมวลผล และเรียกใช้สารสนเทศูล

5. ช่วยในการเข้าถึงสารสนเทศได้อย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพมากขึ้น

6. ช่วยในการสื่อสารระหว่างกันได้อย่างสะดวกรวดเร็ว ลดอุปสรรคเกี่ยวกับเวลา และระยะทาง โดยการใช้ระบบโทรศัพท์ และอื่นๆ

ประโยชน์ของเทคโนโลยีสารสนเทศ

การกำเนิดของคอมพิวเตอร์เมื่อประมาณห้าสิบกว่าปีที่แล้ว เป็นก้าวสำคัญที่นำไปสู่ยุคสารสนเทศ ในช่วงแรกมีการนำเอาคอมพิวเตอร์มาใช้เป็นเครื่องคำนวณ แต่ต่อมาได้มีความพยายามพัฒนาให้คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์สำคัญสำหรับการจัดการข้อมูล เมื่อเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ได้ก้าวหน้ามากขึ้น ทำให้สามารถสร้างคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กลง แต่ประสิทธิภาพสูงขึ้น สภาพการใช้งานจึงใช้งานกันอย่างแพร่หลาย ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีต่อชีวิตความเป็นอยู่และสังคมจึงมีมาก มีการเรียนรู้และใช้สารสนเทศกันอย่างกว้างขวาง ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศโดยรวมกล่าวได้ดังนี้

1. การสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สภาพความเป็นอยู่ของสังคมเมือง มีการพัฒนาใช้ระบบสื่อสารโทรคมนาคม เพื่อติดต่อสื่อสารให้สะดวกขึ้น มีการประยุกต์มาใช้กับเครื่องอำนวยความสะดวกภายในบ้าน เช่น ใช้ควบคุมเครื่องปรับอากาศ ใช้ควมคุมระบบไฟฟ้าภายในบ้าน เป็นต้น

2. เสริมสร้างความเท่าเทียมในสังคมและการกระจายโอกาส เทคโนโลยีสารสนเทศทำให้เกิดการกระจายไปทั่วทุกหนแห่ง แม้แต่ถิ่นทุรกันดาร ทำให้มีการกระจายโอกาสการเรียนรู้ มีการใช้ระบบการเรียนการสอนทางไกล เสริมสร้างการเรียนรู้ เพราะปัจจุบันมีสื่อการศึกษาที่ทันสมัยมากขึ้นนอกจากหนังสือเรียนธรรมดาแล้ว ยังมี วีดีทัศน์ อินเตอร์เน็ต เป็นต้น ที่ช่วยเสริมสร้างการเรียนรู้ด้วยตนเองของผู้เรียน

3. สารสนเทศกับการเรียนการสอนในโรงเรียน การเรียนการสอนในโรงเรียนมีการนำคอมพิวเตอร์และเครื่องมือประกอบช่วยในการเรียนรู้ เช่น วีดีทัศน์ เครื่องฉายภาพ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน คอมพิวเตอร์ช่วยจัดการศึกษา จัดตารางสอน คำนวณระดับคะแนน หรืออย่างที่ครูเป๋งให้เราฝึกทำBlog ไงล่ะคะ ปัจจุบันมีการเรียนการสอนทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศในโรงเรียนจึงมากขึ้น

4.เทคโนโลยีสารสนเทศกับสิ่งแวดล้อม การจัดการทรัพยากรธรรมชาติหลายอย่างจำเป็นต้องใช้สารสนเทศ เช่น การดูแลรักษาป่า จำเป็นต้องใช้ข้อมูล มีการใช้ภาพถ่ายดาวเทียม การติดตามข้อมูลสภาพอากาศ การพยากรณ์อากาศ การจำลองรูปแบบสภาวะสิ่งแวดล้อมเพื่อปรับปรุงแก้ไข การเก็บรวมรวมข้อมูลคุณภาพน้ำในแม่น้ำต่าง ๆ การตรวจวัดมลภาวะ ตลอดจนการใช้ระบบการตรวจวัดระยะไกลมาช่วย ที่เรียกว่าโทรมาตร เป็นต้น

นายธัวัชชัย สามเวลา เลขที่11 ม.3/2 น.ส.อินทุอร บุตตะโคตร เลขที่21 ม.3/2

การต่อกิ่งเป็นวิธีการขยายพันธุ์พืชแบบไม่ใช้เพศด้วยวิธีการนำกิ่งพืชสอง ชนิดมาเชื่อมต่อกันให้เจริญเป็นต้นเดียวกันส่วนของพืชที่เจริญเป็นรากเรียกว่า ต้นตอ (rootstock หรือ stock) และส่วนที่นำมาต่ออยู่บนต้นตอเป็นส่วนที่เจริญ เป็นกิ่งก้าน ออกดอกติดผลต่อไป เรียกว่า กิ่งพันธุ์ดี (scion) ซึ่งเป็นส่วนของ กิ่งพืชที่มีตามากกว่าหนึ่งตาขึ้นไปมาเชื่อมต่อกับต้นตอความสำเร็จของการต่อกิ่ง จะเกิดขึ้นได้นั้นต้องมีการเชื่อมต่อ ระหว่างเนื้อเยื่อต้นตอและกิ่งพันธุ์ดี สามารถลำเลียงน้ำและอาหารผ่าน บริเวณรอยต่อ ได้เนื้อเยื่อบริเวณ รอยต่อ(graft union)นี้เกิดจากเนื้อเยื่อ ของต้นตอและกิ่งพันธุ์ดีมาเรียงตัว อยู่ด้วยกันโดยไม่เกิดการรวมตัวของเซลล์ระหว่างพืชทั้งสองชนิด

เนื้อเยื่อที่เกิดขึ้นถูกสร้างขึ้นมา สมานแผลเป็น เซลล์ parenchyma จำนวนมากประกอบกัน เป็นเนื้อเยื่อ callus เกิดขึ้นภายใน 2-3 วัน รอยแผลที่เกิดจาก การเฉือนกิ่งจะมีส่วนที่ตายไปและมีการสร้างสาร nicrotic เพื่อรักษาบาดแผล ส่วนมากสารเหล่านี้จะหายไป เมื่อเกิดการเชื่อมต่อกันดีแล้วหรือยังอยู่ในช่องว่างระหว่าง เซลล์ก็ได้อาจพบเป็นเซลล์ที่ตายและเยินจากเนื้อเยื่อ

การเกิดรอยต่อได้นั้นต้องวางให้เนื้อเยื่อแคมเบียมของต้นตอและกิ่งพันธุ์ดี อยู่แนบหรือใกล้กันมากที่สุดแล้วจะมีการสร้างเนื้อเยื่อแคลลัสใหม่เกิดขึ้น จากทั้งสองส่วนจนเต็มช่องว่างระหว่างกันเรียกว่า callus bridge ซึ่งจะมีการ พัฒนาไปเป็นเนื้อเยื่อเจริญ (vascular cambium) ภายใน 2-3 สัปดาห์และมี การสร้างท่อน้ำ (xylem) และท่ออาหาร (phloem) เชื่อมกันต่อไป การปรับสภาพแวดล้อมภายนอกให้เหมาะสมมีผลต่อความสำเร็จในการต่อกิ่งด้วย คือ อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการแบ่งเซลล์บริเวณรอยต่ออยู่ระหว่าง 12.8-32.0 องศาเซลเซียส เมื่อเกิดเนื้อเยื่อ callus ขึ้นต้องควบคุมความชื้นบริเวณรอยต่อให้เหมาะสมเนื่องจากเซลล์มีผนังบางและเต่งจึงแห้งตายได้ง่าย จำเป็นต้องพันพลาสติกหรือใช้ถุงพลาสติกคลุมทับ การป้องกันแผลไม่ให้มีการติดเชื้อที่จะทำให้เน่าตายได้เช่นกัน

นอกจากนั้นความสัมพันธ์ของระยะการเจริญเติบโตของตาบนกิ่งพันธุ์ดีจะต้องพอเหมาะกับการพัฒนาการของเนื้อเยื่อบริเวณรอยต่อด้วย กล่าวคือ ขั้นตอนการสร้างท่อน้ำท่ออาหาร ต้องเกิดขึ้นอย่างสมบูรณ์ก่อนที่จะมีใบใหม่เจริญจากตาของกิ่งพันธุ์ดี มิฉะนั้นจะเกิดการแห้งตายของตานั้นได้

การเข้ากันได้ (compatibility) ของพืชทั้งสองชนิดมีส่วนต่อความสำเร็จในการต่อกิ่งด้วย การเลือกใช้ต้นตอและกิ่งพันธุ์ที่มีความใกล้ชิดกันทางพฤกษศาสตร์จะต่อกันได้ดีและรอยต่อเจริญ เหมือนเป็นต้นเดียวกัน เช่น มะม่วงแต่ละพันธุ์จัดเป็นชนิด (species) เดียวกันจึงต่อกิ่งได้ง่าย แต่พืชบางชนิดสามารถเข้ากันได้ดีถึงแม้จะมีความแตกต่างกันมาก เช่น ส้มสามใบ (Poncitrus trifoliata) ต่อด้วยส้มเขียวหวาน (Citrus reticulata) มีพืชหลายคู่ที่สามารถต่อกันได้ในระยะแรก แต่เมื่อเวลาผ่านไปจะมีอาการของการเข้ากันไม่ได้ (incompatibility) เกิดรอยต่อแยกจากกันหรือมีการเติบโตผิดปกติ เช่น ต้นดอนย่าสีชมพูต่อบนดอนย่าสีขาวทักษะและประสบการณ์ของผู้ปฏิบัติงานมีส่วนสำคัญเช่นกัน นอกจากนั้นเครื่องมือที่ใช้ คือ มีดเฉือนกิ่ง ควรอยู่ในสภาพที่คมสามารถเฉือนกิ่งได้โดยไม่ทำให้เนื่อเยื่อชอกช้ำหรือเยินเสียหาย ผู้ปฏิบัติงานต้องทำงานอย่างรวดเร็วและรักษาความสะอาดของแผลบนกิ่งพันธุ์ดี และต้นตอด้วย การเลือกใช้วิธีการต่อกิ่งที่เหมาะสมกับพืชและระยะเวลาเป็นสิ่งสำคัญอีกประการหนึ่งที่ผู้ปฏิบัติงานต้องให้ความสำคัญด้วย กล่าวคือการเลือกใช้วิธีต่อกิ่งกับต้นพืชที่อยู่ในระยะการเจริญเติบโตสามารถลอกเปลือกได้ หรืออยู่ในระยะพักตัว นอกจากนั้นการดูแลเอาใจใส่อย่างใกล้ชิดภายหลังการปฏิบัติงานมีส่วนต่อความสำเร็จของงานด้วย

วิธีการต่อกิ่ง สามารถปฏิบัติได้หลายวิธี ขึ้นอยู่กับชนิดของพืช อายุและขนาดของพืชด้วย นอกจากนั้นยังเกี่ยวข้องกับวัตถุประสงค์ของการต่อกิ่งนั้นๆ ด้วย ในแต่ละวิธีที่จะกล่าวถึงต่อไปนั้นมีหลักพิจารณาในการเลือกปฏิบัติคือ การลอกเปลือกไม้ และการตัดยอดของต้นตอประโยชน์ของการต่อกิ่งและการนำไปใช้

1. เป็นวิธีการขยายพันธุ์พืชเพื่อเพิ่มจำนวนสายต้น (cultivar) ให้มีปริมาณมากโดยกิ่งพันธุ์ดีไม่ต้องใช้เวลานานในการออกดอกติดผล

2. เป็นทางเลือกในการขยายพันธุ์พืชที่ไม่สามารถใช้วิธีการอื่นได้ผลสำเร็จ เช่น การออกรากของกิ่งปักชำหรือกิ่งตอนไม่มาก

3. ต้องการใช้ประโยชน์จากความทนทานต่อสภาพแวดล้อมของระบบรากในต้นตอ เช่น รากของต้นตอที่เจริญเติบโตได้ในที่มีอุณหภูมิต่ำ น้ำท่วมขัง มีความต้านทานโรคและแมลงในดินได้ดี

4. สามารถนำกิ่งพันธุ์ ที่ช่วยในการผสมเกสรให้กับต้นพันธุ์ที่ต้องการเก็บผลผลิต เพื่อให้มีการผสมข้ามพันธุ์แล้วติดผลดีขึ้น หรือเป็นต้นที่แยกเพศ (dioecious plant)

5. ทำให้ในต้นหนึ่งต้นมีหลายพันธุ์อยู่ด้วยกันเพื่อเก็บผลผลิตต่างพันธุ์หรือความสวยงาม

6. ต้นพันธุ์บางชนิดมีการเจริญเติบโตได้ดีกว่าเมื่อต่ออยู่บนระบบรากของอีกพันธุ์หนึ่ง

7. ต้องการให้อิทธิพลของความแคระมีผลต่อต้นตอหรือกิ่งพันธุ์ดี ทำให้ขนาดทรงพุ่มเตี้ย

8. ช่วยให้พืชที่เข้ากันไม่ได้ (incompatibility) ประสานอยู่ด้วยกันได้ โดยใช้ interstock มาต่อกิ่งอยู่ระหว่างต้นตอและกิ่งพันธุ์ดี

9. ใช้สำหรับการซ่อมแซมความเสียหายที่เกิดขึ้นกับลำต้นที่เปลือกถูกแมลงหรือสัตว์กัดแทะหรือเครื่องมือในสวนทำให้เกิดความเสียหายจึงใช้การต่อกิ่งเชื่อมต่อส่วนเปลือกลำต้นให้เจริญเติบโตได้ตามปกติ เรียกว่า การต่อกิ่งแบบเชื่อมสะพาน

10. เพื่อการศึกษาโรคไวรัสที่สามารถถ่ายทอดจากกิ่งพันธุ์ที่สงสัยมีการติดโรคต่อกิ่งบนต้นที่อ่อนแอต่อโรค (indicator plant) ซึ่งสามารถแสดงอาการของโรคไวรัสได้ชัดเจน เป็นเทคนิคที่เรียกว่า virus indexing

2. การปักชำ คือการใช้ส่วนต่างๆ ของพืช เช่น ราก ใบ หรือ ลำต้น ไปปักชำ และส่วนของพืชเหล่านี้จะเจริญงอกงามเป็นลำต้นต่อไป

การปักชำเป็นวิธีขยายพันธุ์พืชที่ดีวิธีหนึ่งซึ่งมีข้อดี ดังนี้

1. ประหยัดค่าใช้จ่าย

2. ขยายพันธุ์ได้ปริมาณมาก

3. ทำได้ง่ายโดยไม่ต้องอาศัยเทคนิคหรือความสามารถมาก

4. ต้นพืชเจริญเติบโตเร็ว โดยใช้ระยะเวลาไม่นาน

5. พืชต้นใหม่ที่ได้จะมีลักษณะเหมือนต้นเดิมทุกประการ

วัสดุที่ใช้ในการปักชำ

กระบะ ดิน ทราบ แกลบ ปุ๋ยคอก ขุยมะพร้าว ใบไม้ผุ

การปักชำสามารถทำได้หลายวิธี ดังนี้

1. การปักชำราก เป็นการเอารากของพืชมาปักชำ อาจปักลงไปในดิน ในทราย หรือในเถ้าแกลบก็ได้ เพื่อส่วนของรากนั้นงอกเป็นลำต้นต่อไป พืชที่ใช้รากปักชำ เช่น มันเทศ สน สาเก เข็มอินเดียเป็นต้น วิธีการชำรากทำได้ ดังนี้

1.1 ตัดรากไม้ออกเป็นท่อนๆ

1.2 วางรากบนดิน การปักชำรากไม่นิยมปักในแนวตั้ง แต่นิยมวางในแนวนอน หรือวางในแนวเฉียงเล็กน้อย

2. การปักชำใบ โดยทั่วไปแล้วใบจะแตกเป็นกิ่งไม่ได้ แต่มีพืชบางชนิดสามารถนำใบมาปักชำให้เจริญเติบโตเป็นต้นต่อไปได้ เช่น ลิ้นมังกร กุหลาบหิน คว่ำตายหงายเป็น เป็นต้น การปักชำใบมี 4 วิธี

วิธีที่ 1 การปักชำโดยใช้ใบ

ให้ นำใบที่ไม่ใช่ใบอ่อนมาตัดเป็นส่วนๆ หรือทั้งใบแล้วนำไปวางเป็นวัสดุ เช่น ทราย หรือดิน โดยให้ด้านบนของใบหงายขึ้น พืชที่นิยม เช่น คว่ำตายหงายเป็น กุหลาบหิน

วิธีที่ 2 การปักชำโดยใช้ก้านใบ

ให้ตัดก้านใบให้หลุดออกจากกิ่งแล้วนำไปปักชำก็จะเจริญเติบโตเป็นต้นใหม่ได้ เช่น กุหลาบหิน

วิธีที่ 3 การปักชำโดยใช้ก้านใบที่ส่วนของกิ่ง

ให้ เอาใบมา โดยเฉือนส่วนของกิ่งให้มีตาติดมาด้วย (มิใช่นำมาทั้งกิ่ง) แล้วนำไปปักชำ ส่วนตาที่ติดมากับกิ่งก็จะเจริญเติบโตเป็นต้นต่อไป วิธีนี้นิยมใช้กับ ฟิโลเดนดรอน ต้นยางอินเดีย

วิธีที่ 4 การใช้ใบติดกิ่งมาปักชำ

ให้ ตัดกิ่งที่จะนำมาปักชำ โดยกิ่งนั้นต้องมีตาเดียว และมีใบติดมาด้วยแล้วนำส่วนของกิ่งบางส่วนปักลงในดินให้ใบ และกิ่งส่วนหนึ่งโผล่ขึ้นมา เพียงเล็กน้อย พืชที่นิยมขยายพันธุ์แบบนี้ ได้แก่ ฟิโลเดนดรอน

การปักชำกิ่ง

เป็นวิธีที่นิยมกันมากและทำกัน มานานแล้ว เราไม่จำเป็นต้องพิถีพิถันกับวัสดุที่ใช้ในการปักชำมากนัก ปัจจุบันนิยมกัน แพร่หลายเพราะประหยัดค่าใช้จ่าย ใช้ระยะเวลาสั้น และได้ลักษณะพันธุ์เดิม การปักชำกิ่งแบ่งเป็น 3 ประเภท

1. การปักชำกิ่งประเภทที่มีเนื้ออวบน้ำ เช่น ฤาษีผสม กิ่งชนิดนี้จะอ่อน บอบบาง และช้ำง่าย ฉะนั้นจึงต้องการความประณีต ในการปฏิบัติ คือต้องระวังในเรื่องความชื้น แสง และอุณหภูมิ

2. การปักชำกิ่งที่มีความแข็งของเนื้อไม้ปานกลาง เช่น ว่านกวนอิม อายุของกิ่งประมาณ 3 - 6 เดือน ผิวเปลือกของกิ่งมี สีอมเขียว ยังไม่เป็นสีน้ำตาล กิ่งประเภทนี้มีเนื้อไม้อ่อนไม่แข็งแรงนัก ฉะนั้นจึงควรระมัดระวังเรื่องน้ำ อุณหภูมิ และแสงสว่างให้มาก เพราะกิ่งประเภทนี้จะเหี่ยวแห้งได้ง่าย

2. การปักชำไม้ที่มีอายุเกิน 1 ปีขึ้นไป วิธีนี้นิยมกันมาก การเลือกกิ่งไม้ที่จะนำมาปักชำ ควรเลือกกิ่งที่มีสีน้ำตาล ก่อนปักชำควร ปักกิ่งชำให้มีตาอย่างน้อย 2-3 ตา การตัดควรตัดเป็นท่อน ๆ ขนาด ยาว 6-8 เซนติเมตร การตัดท่อนปลายกิ่งให้ตัดเหนือข้อ ส่วนท่อนโคนให้ตัดต่ำกว่าข้อ โดยตัดให้เฉียง เราไม่ควรตัดตรงข้อพอดี เพราะจะทำให้กิ่งสูญเสียอาหารไป นอกจากนี้ บริเวณข้อยังมีเนื้อเยื่อ อัดตัวแน่นและแข็งแรง ช่วยป้องกันการระเหยของน้ำในกิ่งได้เป็นอย่างดี

1.3 การขยายพันธุ์พืชโดยวิธีตอนกิ่ง

ทฤษฎีการตอนกิ่ง

ในการตอนกิ่งจะต้องทำให้เกิดแผลกับลำต้นหรือกิ่ง เพื่อตัดท่ออาหารและ เนื้อเยื่อเจริญของกิ่งนั้นให้ขาดจากกัน แต่ท่อน้ำยังคงอยู่เหมือนเดิม ทำให้สามารถส่งน้ำจากรากไปยอดได้ตามปกติ กิ่งและใบยอดจะยังคงสดอยู่เสมอ ซึ่งเป็นเหตุผลสำคัญของการที่พืชบางชนิดขยายพันธุ์ด้วยการตอนกิ่งได้เป็นผลสำเร็จมากกว่าการตัดชำท่ออาหารให้ขาดจากกัน ทำให้การขนส่งอาหารไม่เกิดขึ้น อาหารที่ส่งมาจากยอดจะไปสะสมตรงเหนือรอยแผลมาก ประกอบกับเนื้อเยื่อเจริญบริเวณแผลถูกตัดขาด เป็นการกระตุ้นเตือนให้เนื้อเยื่อเจริญส่วนนั้นเกิดการแบ่งเซลล์อย่างรวดเร็ว มีเซลล์ที่เกิดใหม่มากมาย (มีอาหารอุดมมบูรณ์จากการสะสมเหนือรอยแผล) จะมีเซลล์ส่วนหนึ่งที่พัฒนาไปเป็นราก ทำหน้าที่ดูดน้ำและธาตุอาหาร

พืชแต่ละชนิดมีความยากง่ายในการที่เนื้อเยื่อเจริญจะพัฒนาไปเป็นราก แตกต่างกัน และการจัดสภาพแวดล้อมให้กับเนื้อเยื่อเจริญที่จะเจริญพัฒนาไปเป็นรากได้ ก็ต้องมีความเหมาะสม โดยเฉพาะเกี่ยวกับอุณหภูมิ ความชื้น และบางครั้งอาจจำเป็นต้องใช้สารควบคุมการเจริญเติบโต

ข้อดีข้อจำกัดของการตอนกิ่ง

ข้อดี คือทำได้ง่าย ประสบผลสำเร็จมากกว่าการปักชำ และได้ต้นกล้าขนาด ใหญ่ ทำให้ได้ผลผลิตเร็ว ไม่กลายพันธุ์ ทรงต้นไม่สูงนัก

ข้อจำกัด คือ

2.1 ไม่มีรากแก้ว ทำให้ไม่สามารถ ทนต่อลมแรง ๆ โค่นล้มได้ง่าย

2.2 กิ่งตอนมีขนาดใหญ่กว่ากิ่งชำ การดูแลรักษาหลังตอนยากกว่ากิ่งตัดชำ

การตอนแบบควั่นกิ่ง

เป็นวิธีที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย ทำได้ง่ายและสะดวก มีขั้นตอนดังนี้

1.1 เลือกกิ่งที่แข็งแรง สมบูรณ์ ไม่เป็นโรคและแมลง

เป็นกิ่งที่อยู่ทางด้านนอกของทรงพุ่ม ได้รับแสงแดดเต็มที่ ถ้าเป็นสวนเพื่อการขยายพันธุ์อย่างเดียวจะเลือกตอนเกือบทุกกิ่ง เหลือไว้บางกิ่งเพื่อเป็นพี่เลี้ยงต้นหลังจากตัดกิ่งตอนออกไป

1.2 การควั่นกิ่ง

สำหรับไม้ผล ควรเลือกกิ่งยาวประมาณ 30-50 เซนติเมตร ส่วนไม้ประดับอาจสั้นกว่านี้ ขึ้นอยู่กับจำนวนต้นที่ต้องการและชนิดของพืช ไม่ควรให้กิ่งมีพุ่มขนาดใหญ่มากนักเพราะจะทำให้เกิดการเหี่ยวแห้งในระยะชำเนื่องจากมีจำนวนใบไม่สมดุลกับจำนวนราก ความยาวของรอยควั่นเท่ากับ 1-2 เท่าของเส้นรอบวงของกิ่ง หรือดูจากความสามารถในการออกราก พืชที่ออกรากง่ายรอยควั่นจะสั้น (ประมาณ 1 เท่าของเส้นรอบวง)ถ้าเป็นพืชที่ออกรากยากรอยควั่นจะห่างประมาณ 1.5-2 เท่าของเส้นรอบวงของกิ่งนั้น คุณบุญชอบ โพธิ์รักษา แนะนำว่า การตอนฝรั่งควรจะควั่นห่างเพียง ½ เซนติเมตร ปล่อยให้แห้งสักครู่จึงค่อยหุ้มขุยมะพร้าว (มีการเสริมด้วยไม้ท่อนเล็ก ๆ ก่อนหุ้มขุยมะพร้าวเพื่อป้องกันกิ่งหัก)

1.3 การขูดเยื่อเจริญ (เมือกลื่น ๆ อยู่ระหว่างส่วนของเปลือกกับเนื้อไม้)

พืชแต่ละชนิดต้องการการขูดเยื่อเจริญต่างกัน ควรจะสังเกตว่าพืชใดต้องขูดเยื่อเจริญมากน้อยเท่าใด พืชบางชนิดไม่ต้องขูดเยื่อเจริญ เช่น ฝรั่ง สนแผง ถ้าขูดแล้วกิ่งมักจะแห้งตายเนื่องจากท่อน้ำถูกทำลาย พืชบางชนิดอาจขูดเยื่อเจริญแล้วหุ้มตามได้เลย (พืชทั่วไป) แต่บางชนิดต้องควั่นทิ้งไว้ให้เยื่อเจริญแห้งประมาณ 1 สัปดาห์ จึงจะหุ้มด้วยขุยมะพร้าว เช่น ละมุด

1.4 การหุ้มรอยควั่น

ปัจจุบันนิยมใช้ถุงพลาสติกขนาดเล็กบรรจุขุยมะพร้าว รัดปากถุงให้แน่น ใช้มีดผ่าถุงหุ้มรอยควั่นให้มิด มัดให้แน่น อย่าให้กระเปาะขุยมะพร้าวหมุนหรือขยับได้ เพราะจะทำให้รากที่งอกหักได้ หุ้มทับด้วยกระดาษเพื่อช่วยลดอุษหภูมิและแสงในขุยมะพร้าว ซึ่งจะทำให้การเดินของรากดีขึ้น บางท่านนิยมหุ้มรอยควั่นด้วยดินเหนียว ก่อนหุ้มด้วยกาบมะพร้าวแช่น้ำทุบให้นิ่ม แล้วหุ้มทับด้วยใบตองแห้งหรือผ้าพลาสติก (ไม่นิยมทำในทางการค้า เนื่องจากต้องใช้เวลา) แต่บางสวนจะผ่าตุ้มมะพร้าวแล้วป้ายดินด้านในเล็กน้อยแทนการหุ้มด้วย

1.5 การดูแลรักษา

คอยดูแลรดน้ำอยู่เสมออย่าให้กระเปาะแห้ง ถ้าขุยมะพร้าวชื้นพอ รัดปากถุงให้แน่นจะไม่ต้องรดน้ำอีกเลย พร้อมกันนี้ต้องระวังไม่ให้มดมากัดทำลายด้วย

1.6 การตัดกิ่งตอนตัดเมื่อรากแก่

เมื่อรากแทงทะลุขุยมะพร้าวออกมา ปลายรากเริ่มมีสีน้ำตาล และกิ่งตอนมีใบแก่ทั้งหมด จึงตัดจากต้นแม่ใต้กระเปาะตอนไปชำ

การตอนแบบกรีดกิ่ง นิยมใช้กับกิ่งที่มีแก่นเล็ก หรือกิ่งที่เปราะหักง่าย มีขั้นตอนการปฏิบัติเช่นเดียวกับการตอนแบบควั่นกิ่ง ต่างกันตรงรอยแผลจะใช้มีดกรีดเปลือกยาวประมาณ 1 นิ้ว 3-4 รอย

การตอนกิ่งแบบปาดกิ่ง มีวิธีปฏิบัติเช่นเดียวกับการตอนแบบกรีดกิ่ง ต่างกันตรงรอยแผล ที่จะทำให้เกิดแผลโดยใช้มีดปาดเฉียงให้ลึกเข้าไปในเนื้อไม้เล็กน้อย ใช้เศษวัสดุ เช่น ไม้จิ้มฟัน ลวดฟิวส์ หรือก้านไม้ขีดขัดรอยแผลไว้ให้เผยอออกมาเป็นลิ้นป้องกันไม่ให้รอยแผลเชื่อมติดกันเท่าใด บริเวณที่สัมผัสดินควรจะยึดกิ่งให้ติดกับดินด้วยไม้ค้ำหรือลวดตัวยู บริเวณที่สัมผัสดินจะงอกรากออกมาบริเวณข้อและแตกตาบริเวณตา หลังจากยอดและรากสมบูรณ์ดีแล้ว จึงตัดให้ขาดจากกิ่งเดิม นำไปแยกปลูกต่อไป นิยมใช้กับต้นมะลิ ประทัดจีน สตรอเบอรี่ เป็นต้น

การตอนแบบกรีดกิ่งและปาดกิ่ง นิยมใช้ในพืชที่มีลำต้นเปราะ เช่น ชวนชม เชอรี่ เป็นต้น

การตอนกิ่งแบบโน้มกิ่ง

นิยมใช้กับกิ่งไม้เลื้อย เช่น มะลิ

ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการตอนกิ่ง

บางครั้งกิ่งตอนเกิดการเหี่ยวแห้ง ตอนแล้วไม่ออกราก มีปัจจัยที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้

1. การเลือกกิ่ง

ควรเลือกกิ่งเพสลาด มีสีน้ำตาล ไม่แก่หรืออ่อนเกินไป ใบยอดควรจะพ้นระยะใบอ่อนเปลือกล่อน ถ้ากิ่งแก่ไปจะออกรากยากและน้อย นอกจากนั้น กิ่งแก่มักจะเป็นกิ่งขนาดใหญ่ เมื่อออกรากแล้วมักจะมีปัญหาในการชำ เพราะขนาดของต้นใหญ่ มีรากน้อย ทำให้ใบกับรากไม่สมดุลกัน ใบจะเหี่ยวเนื่องจากขาดน้ำ กิ่งที่อยู่รอบในทรงพุ่มก็ไม่ควรตอน เพราะจะออกรากช้าและน้อย บางครั้งจะไม่ออกรากเลย นอกจากนั้นควรจะพิจารณาถึง

1.1 ขนาดของกิ่ง

ควรมีขนาดตั้งแต่ขนาดดินสอดำถึงขนาดหัวแม่มือ

1.2 ชนิดของกิ่ง

กิ่งกระโดงเหมาะที่สุด เพราะจะออกรากได้รอบด้าน ถ้าเป็นกิ่งนอกรากจะออกทางด้านบนของกิ่งแล้วห้อยลงตามแรงดึงดูดของโลก ทำให้ได้รากน้อยและรากโตช้า ถ้าจำเป็นต้องเลือกกิ่งนอนควรค้ำหรือโยงให้กิ่งตั้งตรงก่อนแล้วจึงตอน โดยทำไม้หลักไว้กลางพุ่มสำหรับผูกเชือกโยงกิ่งตอนทั้งหลายให้ตั้งขึ้น

2. ฤดูกาล

ควรตอนกิ่งในช่วงฤดูฝนซึ่งเป็นระยะที่พืชกำลังเจริญเติบโต ถ้าตอนกิ่งในฤดูร้อนต้องรดน้ำกระเปาะหุ้มให้ชื้นอยู่เสมอ สำหรับฤดูหนาวไม่แนะนำให้ตอน โดยทั่วไปชาวสวนจะนิยมตอนในฤดูแล้ง เนื่องจากกระเปาะหุ้มจะไม่แฉะซึ่งเป็นสาเหตุให้รากไม่เดิน

3. การใช้ฮอร์โมนเร่งราก

ปัจจุบันเป็นที่ยอมรับกันว่า ฮอร์โมนเร่งรากจะช่วยให้การเกิดรากของกิ่งตอนเร็วขึ้น โดยทาฮอร์โมนเร่งรากบริเวณเหนือรอยควั่น (บริเวณที่จะออกราก) ระวังอย่าทาถึงได้รอยควั่น บริเวณนี้จะเกิดรากเร็วกว่าบริเวณเหนือรอยควั่น เมื่อเห็นรากโผล่ออกมาจากตุ้ม หากตัดไปชำมักจะตาย เนื่องจากไม่สามารถส่งอาหารจากยอดมารากได้ (ท่ออาหารถูกตัดขาด) และพบว่าในระยะนี้รากบริเวณเหนือรอยควั่นมักจะยังเจริญไม่พอด้วย

การตัดและการชำกิ่งตอน

การตัดกิ่งตอนควรจะพิจารณาจากจำนวนรากที่สังเกตเห็นได้ โดยมองผ่านผ้าพลาสติกที่หุ้ม (ควรใช้พลาสติกสีขาวใส) ควรจะมีรากมากพอ ปลายรากมีสีน้ำตาลแก่ เมื่อตัดกิ่งตอนแล้วควรจะมีการตัดแต่งกิ่ง เนื่องจากกิ่งตอนย่อมมีระบบรากน้อยกว่าทางส่วนยอด ดังนั้น ถ้าไม่เอาใจใส่เป็นพิเศษจะไม่สามารถที่จะพยุงต้นไว้ได้ และจะเกิดการคายน้ำมาก ดังนั้นควรปฏิบัติดังนี้

1. ตัดแต่งกิ่งให้สมดุลกับราก

2. ทำการปลูกในภาชนะที่พอเหมาะกับขนาดของต้นและราก มีการค้ำยันด้วยไม้กันไม่ให้กิ่งชำโยก

3. นำกิ่งตอนมาไว้ในที่ชื้นและเย็น รดน้ำสม่ำเสมอ จนกิ่งตอนตั้งตัวดีแล้วจึงย้ายปลูก

ข้อพิจารณาในการตอน

1. ในกรณีที่ต้องการกิ่งตอนขนาดใหญ่ ควรจะมีการเพิ่มขนาดของตุ้ม โดยการหุ้มขุยมะพร้าวทับตุ้มเดิมอีกครั้งหนึ่ง หรือใช้ตุ้มครั้งแรกให้มีขนาดใหญ่ขึ้นอีกนิด ทั้งนี้ ต้องระวังปัญหาตุ้มใหญ่เกินไป อาจทำให้กิ่งหักได้

2. ในพืชบางชนิดกิ่งมีขนาดค่อนข้างเล็ก กิ่งเปราะหักง่ายการตอนควรจะมีการดามด้วยไม้เพื่อป้องกันไม่ให้กิ่งหัก

3. การหุ้มตุ้มตอนด้วยกระดาษเพื่อกรองแสงไม่ให้ตุ้มมีอุณหภูมิสูงเกินไป หากขุยมะพร้าวมีความชื้นสูงร่วมด้วย จะเกิดอันตรายกับรากได้ เพื่อความปลอดภัยจึงควรจะหุ้มตุ้มด้วยกระดาษอีกชั้นหนึ่ง ซึ่งมีประโยชน์อีกประการคือ ทำให้รากเดินดีขึ้น (ภายในถุงขุยมะพร้าวจะมืด)

เทคโนโลยีสารสนเทศหมายถึง อุปกรณ์หรือเครื่องมือที่เกี่ยวข้องกับการรวบรวมประมวล เก็บรักษา และเผยแพร่ข้อมูลและสารสนเทศโดยรวมทั้งฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ฐานข้อมูล และการสื่อสาร โทรคมนาคม ระบบสารสนเทศสร้างขึ้นมาเพื่อจุดมุ่งหมายหลายประการจุดมุ่งหมายพื้นฐานประการหนึ่ง คือ การประมวลข้อมูล (Data) ให้เป็นสารสนเทศ (Information) และนำไปสู่ความรู้ (Knowledge) ที่ช่วยแก้ปัญหาในการดำเนินงาน

ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ

1. ช่วยในการจัดระบบข่าวสารจำนวนมหาศาลของแต่ละวัน

2. เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตสารสนเทศ เช่น การคำนวณตัวเลขที่ยุ่งยากซับซ้อน การจัดเรียงลำดับสารสนเทศ ฯลฯ

3. ช่วยให้สามารถเก็บสารสนเทศไว้ในรูปที่สามารถเรียกใช้ได้ทุกครั้งอย่างสะดวก

4. ช่วยให้สามารถจัดระบบอัตโนมัติ เพื่อการจัดเก็บประมวลผล และเรียกใช้สารสนเทศูล

5. ช่วยในการเข้าถึงสารสนเทศได้อย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพมากขึ้น

6. ช่วยในการสื่อสารระหว่างกันได้อย่างสะดวกรวดเร็ว ลดอุปสรรคเกี่ยวกับเวลา และระยะทาง โดยการใช้ระบบโทรศัพท์ และอื่นๆ

ประโยชน์ของเทคโนโลยีสารสนเทศ

การกำเนิดของคอมพิวเตอร์เมื่อประมาณห้าสิบกว่าปีที่แล้ว เป็นก้าวสำคัญที่นำไปสู่ยุคสารสนเทศ ในช่วงแรกมีการนำเอาคอมพิวเตอร์มาใช้เป็นเครื่องคำนวณ แต่ต่อมาได้มีความพยายามพัฒนาให้คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์สำคัญสำหรับการจัดการข้อมูล เมื่อเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ได้ก้าวหน้ามากขึ้น ทำให้สามารถสร้างคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กลง แต่ประสิทธิภาพสูงขึ้น สภาพการใช้งานจึงใช้งานกันอย่างแพร่หลาย ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีต่อชีวิตความเป็นอยู่และสังคมจึงมีมาก มีการเรียนรู้และใช้สารสนเทศกันอย่างกว้างขวาง ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศโดยรวมกล่าวได้ดังนี้

1. การสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สภาพความเป็นอยู่ของสังคมเมือง มีการพัฒนาใช้ระบบสื่อสารโทรคมนาคม เพื่อติดต่อสื่อสารให้สะดวกขึ้น มีการประยุกต์มาใช้กับเครื่องอำนวยความสะดวกภายในบ้าน เช่น ใช้ควบคุมเครื่องปรับอากาศ ใช้ควมคุมระบบไฟฟ้าภายในบ้าน เป็นต้น

2. เสริมสร้างความเท่าเทียมในสังคมและการกระจายโอกาส เทคโนโลยีสารสนเทศทำให้เกิดการกระจายไปทั่วทุกหนแห่ง แม้แต่ถิ่นทุรกันดาร ทำให้มีการกระจายโอกาสการเรียนรู้ มีการใช้ระบบการเรียนการสอนทางไกล เสริมสร้างการเรียนรู้ เพราะปัจจุบันมีสื่อการศึกษาที่ทันสมัยมากขึ้นนอกจากหนังสือเรียนธรรมดาแล้ว ยังมี วีดีทัศน์ อินเตอร์เน็ต เป็นต้น ที่ช่วยเสริมสร้างการเรียนรู้ด้วยตนเองของผู้เรียน

3. สารสนเทศกับการเรียนการสอนในโรงเรียน การเรียนการสอนในโรงเรียนมีการนำคอมพิวเตอร์และเครื่องมือประกอบช่วยในการเรียนรู้ เช่น วีดีทัศน์ เครื่องฉายภาพ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน คอมพิวเตอร์ช่วยจัดการศึกษา จัดตารางสอน คำนวณระดับคะแนน หรืออย่างที่ครูเป๋งให้เราฝึกทำBlog ไงล่ะคะ ปัจจุบันมีการเรียนการสอนทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศในโรงเรียนจึงมากขึ้น

4.เทคโนโลยีสารสนเทศกับสิ่งแวดล้อม การจัดการทรัพยากรธรรมชาติหลายอย่างจำเป็นต้องใช้สารสนเทศ เช่น การดูแลรักษาป่า จำเป็นต้องใช้ข้อมูล มีการใช้ภาพถ่ายดาวเทียม การติดตามข้อมูลสภาพอากาศ การพยากรณ์อากาศ การจำลองรูปแบบสภาวะสิ่งแวดล้อมเพื่อปรับปรุงแก้ไข การเก็บรวมรวมข้อมูลคุณภาพน้ำในแม่น้ำต่าง ๆ การตรวจวัดมลภาวะ ตลอดจนการใช้ระบบการตรวจวัดระยะไกลมาช่วย ที่เรียกว่าโทรมาตร เป็นต้น

พนิดา ผลบุญ ม.3/1 เลขที่ 31 ทิวรรณ นิลมณี ม.3/1 เลขที่ 34

การต่อกิ่งเป็นวิธีการขยายพันธุ์พืชแบบไม่ใช้เพศด้วยวิธีการนำกิ่งพืชสอง ชนิดมาเชื่อมต่อกันให้เจริญเป็นต้นเดียวกันส่วนของพืชที่เจริญเป็นรากเรียกว่า ต้นตอ (rootstock หรือ stock) และส่วนที่นำมาต่ออยู่บนต้นตอเป็นส่วนที่เจริญ เป็นกิ่งก้าน ออกดอกติดผลต่อไป เรียกว่า กิ่งพันธุ์ดี (scion) ซึ่งเป็นส่วนของ กิ่งพืชที่มีตามากกว่าหนึ่งตาขึ้นไปมาเชื่อมต่อกับต้นตอความสำเร็จของการต่อกิ่ง จะเกิดขึ้นได้นั้นต้องมีการเชื่อมต่อ ระหว่างเนื้อเยื่อต้นตอและกิ่งพันธุ์ดี สามารถลำเลียงน้ำและอาหารผ่าน บริเวณรอยต่อ ได้เนื้อเยื่อบริเวณ รอยต่อ(graft union)นี้เกิดจากเนื้อเยื่อ ของต้นตอและกิ่งพันธุ์ดีมาเรียงตัว อยู่ด้วยกันโดยไม่เกิดการรวมตัวของเซลล์ระหว่างพืชทั้งสองชนิด

เนื้อเยื่อที่เกิดขึ้นถูกสร้างขึ้นมา สมานแผลเป็น เซลล์ parenchyma จำนวนมากประกอบกัน เป็นเนื้อเยื่อ callus เกิดขึ้นภายใน 2-3 วัน รอยแผลที่เกิดจาก การเฉือนกิ่งจะมีส่วนที่ตายไปและมีการสร้างสาร nicrotic เพื่อรักษาบาดแผล ส่วนมากสารเหล่านี้จะหายไป เมื่อเกิดการเชื่อมต่อกันดีแล้วหรือยังอยู่ในช่องว่างระหว่าง เซลล์ก็ได้อาจพบเป็นเซลล์ที่ตายและเยินจากเนื้อเยื่อ

การเกิดรอยต่อได้นั้นต้องวางให้เนื้อเยื่อแคมเบียมของต้นตอและกิ่งพันธุ์ดี อยู่แนบหรือใกล้กันมากที่สุดแล้วจะมีการสร้างเนื้อเยื่อแคลลัสใหม่เกิดขึ้น จากทั้งสองส่วนจนเต็มช่องว่างระหว่างกันเรียกว่า callus bridge ซึ่งจะมีการ พัฒนาไปเป็นเนื้อเยื่อเจริญ (vascular cambium) ภายใน 2-3 สัปดาห์และมี การสร้างท่อน้ำ (xylem) และท่ออาหาร (phloem) เชื่อมกันต่อไป การปรับสภาพแวดล้อมภายนอกให้เหมาะสมมีผลต่อความสำเร็จในการต่อกิ่งด้วย คือ อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการแบ่งเซลล์บริเวณรอยต่ออยู่ระหว่าง 12.8-32.0 องศาเซลเซียส เมื่อเกิดเนื้อเยื่อ callus ขึ้นต้องควบคุมความชื้นบริเวณรอยต่อให้เหมาะสมเนื่องจากเซลล์มีผนังบางและเต่งจึงแห้งตายได้ง่าย จำเป็นต้องพันพลาสติกหรือใช้ถุงพลาสติกคลุมทับ การป้องกันแผลไม่ให้มีการติดเชื้อที่จะทำให้เน่าตายได้เช่นกัน

นอกจากนั้นความสัมพันธ์ของระยะการเจริญเติบโตของตาบนกิ่งพันธุ์ดีจะต้องพอเหมาะกับการพัฒนาการของเนื้อเยื่อบริเวณรอยต่อด้วย กล่าวคือ ขั้นตอนการสร้างท่อน้ำท่ออาหาร ต้องเกิดขึ้นอย่างสมบูรณ์ก่อนที่จะมีใบใหม่เจริญจากตาของกิ่งพันธุ์ดี มิฉะนั้นจะเกิดการแห้งตายของตานั้นได้

การเข้ากันได้ (compatibility) ของพืชทั้งสองชนิดมีส่วนต่อความสำเร็จในการต่อกิ่งด้วย การเลือกใช้ต้นตอและกิ่งพันธุ์ที่มีความใกล้ชิดกันทางพฤกษศาสตร์จะต่อกันได้ดีและรอยต่อเจริญ เหมือนเป็นต้นเดียวกัน เช่น มะม่วงแต่ละพันธุ์จัดเป็นชนิด (species) เดียวกันจึงต่อกิ่งได้ง่าย แต่พืชบางชนิดสามารถเข้ากันได้ดีถึงแม้จะมีความแตกต่างกันมาก เช่น ส้มสามใบ (Poncitrus trifoliata) ต่อด้วยส้มเขียวหวาน (Citrus reticulata) มีพืชหลายคู่ที่สามารถต่อกันได้ในระยะแรก แต่เมื่อเวลาผ่านไปจะมีอาการของการเข้ากันไม่ได้ (incompatibility) เกิดรอยต่อแยกจากกันหรือมีการเติบโตผิดปกติ เช่น ต้นดอนย่าสีชมพูต่อบนดอนย่าสีขาวทักษะและประสบการณ์ของผู้ปฏิบัติงานมีส่วนสำคัญเช่นกัน นอกจากนั้นเครื่องมือที่ใช้ คือ มีดเฉือนกิ่ง ควรอยู่ในสภาพที่คมสามารถเฉือนกิ่งได้โดยไม่ทำให้เนื่อเยื่อชอกช้ำหรือเยินเสียหาย ผู้ปฏิบัติงานต้องทำงานอย่างรวดเร็วและรักษาความสะอาดของแผลบนกิ่งพันธุ์ดี และต้นตอด้วย การเลือกใช้วิธีการต่อกิ่งที่เหมาะสมกับพืชและระยะเวลาเป็นสิ่งสำคัญอีกประการหนึ่งที่ผู้ปฏิบัติงานต้องให้ความสำคัญด้วย กล่าวคือการเลือกใช้วิธีต่อกิ่งกับต้นพืชที่อยู่ในระยะการเจริญเติบโตสามารถลอกเปลือกได้ หรืออยู่ในระยะพักตัว นอกจากนั้นการดูแลเอาใจใส่อย่างใกล้ชิดภายหลังการปฏิบัติงานมีส่วนต่อความสำเร็จของงานด้วย

วิธีการต่อกิ่ง สามารถปฏิบัติได้หลายวิธี ขึ้นอยู่กับชนิดของพืช อายุและขนาดของพืชด้วย นอกจากนั้นยังเกี่ยวข้องกับวัตถุประสงค์ของการต่อกิ่งนั้นๆ ด้วย ในแต่ละวิธีที่จะกล่าวถึงต่อไปนั้นมีหลักพิจารณาในการเลือกปฏิบัติคือ การลอกเปลือกไม้ และการตัดยอดของต้นตอประโยชน์ของการต่อกิ่งและการนำไปใช้

1. เป็นวิธีการขยายพันธุ์พืชเพื่อเพิ่มจำนวนสายต้น (cultivar) ให้มีปริมาณมากโดยกิ่งพันธุ์ดีไม่ต้องใช้เวลานานในการออกดอกติดผล

2. เป็นทางเลือกในการขยายพันธุ์พืชที่ไม่สามารถใช้วิธีการอื่นได้ผลสำเร็จ เช่น การออกรากของกิ่งปักชำหรือกิ่งตอนไม่มาก

3. ต้องการใช้ประโยชน์จากความทนทานต่อสภาพแวดล้อมของระบบรากในต้นตอ เช่น รากของต้นตอที่เจริญเติบโตได้ในที่มีอุณหภูมิต่ำ น้ำท่วมขัง มีความต้านทานโรคและแมลงในดินได้ดี

4. สามารถนำกิ่งพันธุ์ ที่ช่วยในการผสมเกสรให้กับต้นพันธุ์ที่ต้องการเก็บผลผลิต เพื่อให้มีการผสมข้ามพันธุ์แล้วติดผลดีขึ้น หรือเป็นต้นที่แยกเพศ (dioecious plant)

5. ทำให้ในต้นหนึ่งต้นมีหลายพันธุ์อยู่ด้วยกันเพื่อเก็บผลผลิตต่างพันธุ์หรือความสวยงาม

6. ต้นพันธุ์บางชนิดมีการเจริญเติบโตได้ดีกว่าเมื่อต่ออยู่บนระบบรากของอีกพันธุ์หนึ่ง

7. ต้องการให้อิทธิพลของความแคระมีผลต่อต้นตอหรือกิ่งพันธุ์ดี ทำให้ขนาดทรงพุ่มเตี้ย

8. ช่วยให้พืชที่เข้ากันไม่ได้ (incompatibility) ประสานอยู่ด้วยกันได้ โดยใช้ interstock มาต่อกิ่งอยู่ระหว่างต้นตอและกิ่งพันธุ์ดี

9. ใช้สำหรับการซ่อมแซมความเสียหายที่เกิดขึ้นกับลำต้นที่เปลือกถูกแมลงหรือสัตว์กัดแทะหรือเครื่องมือในสวนทำให้เกิดความเสียหายจึงใช้การต่อกิ่งเชื่อมต่อส่วนเปลือกลำต้นให้เจริญเติบโตได้ตามปกติ เรียกว่า การต่อกิ่งแบบเชื่อมสะพาน

10. เพื่อการศึกษาโรคไวรัสที่สามารถถ่ายทอดจากกิ่งพันธุ์ที่สงสัยมีการติดโรคต่อกิ่งบนต้นที่อ่อนแอต่อโรค (indicator plant) ซึ่งสามารถแสดงอาการของโรคไวรัสได้ชัดเจน เป็นเทคนิคที่เรียกว่า virus indexing

2. การปักชำ คือการใช้ส่วนต่างๆ ของพืช เช่น ราก ใบ หรือ ลำต้น ไปปักชำ และส่วนของพืชเหล่านี้จะเจริญงอกงามเป็นลำต้นต่อไป

การปักชำเป็นวิธีขยายพันธุ์พืชที่ดีวิธีหนึ่งซึ่งมีข้อดี ดังนี้

1. ประหยัดค่าใช้จ่าย

2. ขยายพันธุ์ได้ปริมาณมาก

3. ทำได้ง่ายโดยไม่ต้องอาศัยเทคนิคหรือความสามารถมาก

4. ต้นพืชเจริญเติบโตเร็ว โดยใช้ระยะเวลาไม่นาน

5. พืชต้นใหม่ที่ได้จะมีลักษณะเหมือนต้นเดิมทุกประการ

วัสดุที่ใช้ในการปักชำ

กระบะ ดิน ทราบ แกลบ ปุ๋ยคอก ขุยมะพร้าว ใบไม้ผุ

การปักชำสามารถทำได้หลายวิธี ดังนี้

1. การปักชำราก เป็นการเอารากของพืชมาปักชำ อาจปักลงไปในดิน ในทราย หรือในเถ้าแกลบก็ได้ เพื่อส่วนของรากนั้นงอกเป็นลำต้นต่อไป พืชที่ใช้รากปักชำ เช่น มันเทศ สน สาเก เข็มอินเดียเป็นต้น วิธีการชำรากทำได้ ดังนี้

1.1 ตัดรากไม้ออกเป็นท่อนๆ

1.2 วางรากบนดิน การปักชำรากไม่นิยมปักในแนวตั้ง แต่นิยมวางในแนวนอน หรือวางในแนวเฉียงเล็กน้อย

2. การปักชำใบ โดยทั่วไปแล้วใบจะแตกเป็นกิ่งไม่ได้ แต่มีพืชบางชนิดสามารถนำใบมาปักชำให้เจริญเติบโตเป็นต้นต่อไปได้ เช่น ลิ้นมังกร กุหลาบหิน คว่ำตายหงายเป็น เป็นต้น การปักชำใบมี 4 วิธี

วิธีที่ 1 การปักชำโดยใช้ใบ

ให้ นำใบที่ไม่ใช่ใบอ่อนมาตัดเป็นส่วนๆ หรือทั้งใบแล้วนำไปวางเป็นวัสดุ เช่น ทราย หรือดิน โดยให้ด้านบนของใบหงายขึ้น พืชที่นิยม เช่น คว่ำตายหงายเป็น กุหลาบหิน

วิธีที่ 2 การปักชำโดยใช้ก้านใบ

ให้ตัดก้านใบให้หลุดออกจากกิ่งแล้วนำไปปักชำก็จะเจริญเติบโตเป็นต้นใหม่ได้ เช่น กุหลาบหิน

วิธีที่ 3 การปักชำโดยใช้ก้านใบที่ส่วนของกิ่ง

ให้ เอาใบมา โดยเฉือนส่วนของกิ่งให้มีตาติดมาด้วย (มิใช่นำมาทั้งกิ่ง) แล้วนำไปปักชำ ส่วนตาที่ติดมากับกิ่งก็จะเจริญเติบโตเป็นต้นต่อไป วิธีนี้นิยมใช้กับ ฟิโลเดนดรอน ต้นยางอินเดีย

วิธีที่ 4 การใช้ใบติดกิ่งมาปักชำ

ให้ ตัดกิ่งที่จะนำมาปักชำ โดยกิ่งนั้นต้องมีตาเดียว และมีใบติดมาด้วยแล้วนำส่วนของกิ่งบางส่วนปักลงในดินให้ใบ และกิ่งส่วนหนึ่งโผล่ขึ้นมา เพียงเล็กน้อย พืชที่นิยมขยายพันธุ์แบบนี้ ได้แก่ ฟิโลเดนดรอน

การปักชำกิ่ง

เป็นวิธีที่นิยมกันมากและทำกัน มานานแล้ว เราไม่จำเป็นต้องพิถีพิถันกับวัสดุที่ใช้ในการปักชำมากนัก ปัจจุบันนิยมกัน แพร่หลายเพราะประหยัดค่าใช้จ่าย ใช้ระยะเวลาสั้น และได้ลักษณะพันธุ์เดิม การปักชำกิ่งแบ่งเป็น 3 ประเภท

1. การปักชำกิ่งประเภทที่มีเนื้ออวบน้ำ เช่น ฤาษีผสม กิ่งชนิดนี้จะอ่อน บอบบาง และช้ำง่าย ฉะนั้นจึงต้องการความประณีต ในการปฏิบัติ คือต้องระวังในเรื่องความชื้น แสง และอุณหภูมิ

2. การปักชำกิ่งที่มีความแข็งของเนื้อไม้ปานกลาง เช่น ว่านกวนอิม อายุของกิ่งประมาณ 3 - 6 เดือน ผิวเปลือกของกิ่งมี สีอมเขียว ยังไม่เป็นสีน้ำตาล กิ่งประเภทนี้มีเนื้อไม้อ่อนไม่แข็งแรงนัก ฉะนั้นจึงควรระมัดระวังเรื่องน้ำ อุณหภูมิ และแสงสว่างให้มาก เพราะกิ่งประเภทนี้จะเหี่ยวแห้งได้ง่าย

2. การปักชำไม้ที่มีอายุเกิน 1 ปีขึ้นไป วิธีนี้นิยมกันมาก การเลือกกิ่งไม้ที่จะนำมาปักชำ ควรเลือกกิ่งที่มีสีน้ำตาล ก่อนปักชำควร ปักกิ่งชำให้มีตาอย่างน้อย 2-3 ตา การตัดควรตัดเป็นท่อน ๆ ขนาด ยาว 6-8 เซนติเมตร การตัดท่อนปลายกิ่งให้ตัดเหนือข้อ ส่วนท่อนโคนให้ตัดต่ำกว่าข้อ โดยตัดให้เฉียง เราไม่ควรตัดตรงข้อพอดี เพราะจะทำให้กิ่งสูญเสียอาหารไป นอกจากนี้ บริเวณข้อยังมีเนื้อเยื่อ อัดตัวแน่นและแข็งแรง ช่วยป้องกันการระเหยของน้ำในกิ่งได้เป็นอย่างดี

1.3 การขยายพันธุ์พืชโดยวิธีตอนกิ่ง

ทฤษฎีการตอนกิ่ง

ในการตอนกิ่งจะต้องทำให้เกิดแผลกับลำต้นหรือกิ่ง เพื่อตัดท่ออาหารและ เนื้อเยื่อเจริญของกิ่งนั้นให้ขาดจากกัน แต่ท่อน้ำยังคงอยู่เหมือนเดิม ทำให้สามารถส่งน้ำจากรากไปยอดได้ตามปกติ กิ่งและใบยอดจะยังคงสดอยู่เสมอ ซึ่งเป็นเหตุผลสำคัญของการที่พืชบางชนิดขยายพันธุ์ด้วยการตอนกิ่งได้เป็นผลสำเร็จมากกว่าการตัดชำท่ออาหารให้ขาดจากกัน ทำให้การขนส่งอาหารไม่เกิดขึ้น อาหารที่ส่งมาจากยอดจะไปสะสมตรงเหนือรอยแผลมาก ประกอบกับเนื้อเยื่อเจริญบริเวณแผลถูกตัดขาด เป็นการกระตุ้นเตือนให้เนื้อเยื่อเจริญส่วนนั้นเกิดการแบ่งเซลล์อย่างรวดเร็ว มีเซลล์ที่เกิดใหม่มากมาย (มีอาหารอุดมมบูรณ์จากการสะสมเหนือรอยแผล) จะมีเซลล์ส่วนหนึ่งที่พัฒนาไปเป็นราก ทำหน้าที่ดูดน้ำและธาตุอาหาร

พืชแต่ละชนิดมีความยากง่ายในการที่เนื้อเยื่อเจริญจะพัฒนาไปเป็นราก แตกต่างกัน และการจัดสภาพแวดล้อมให้กับเนื้อเยื่อเจริญที่จะเจริญพัฒนาไปเป็นรากได้ ก็ต้องมีความเหมาะสม โดยเฉพาะเกี่ยวกับอุณหภูมิ ความชื้น และบางครั้งอาจจำเป็นต้องใช้สารควบคุมการเจริญเติบโต

ข้อดีข้อจำกัดของการตอนกิ่ง

ข้อดี คือทำได้ง่าย ประสบผลสำเร็จมากกว่าการปักชำ และได้ต้นกล้าขนาด ใหญ่ ทำให้ได้ผลผลิตเร็ว ไม่กลายพันธุ์ ทรงต้นไม่สูงนัก

ข้อจำกัด คือ

2.1 ไม่มีรากแก้ว ทำให้ไม่สามารถ ทนต่อลมแรง ๆ โค่นล้มได้ง่าย

2.2 กิ่งตอนมีขนาดใหญ่กว่ากิ่งชำ การดูแลรักษาหลังตอนยากกว่ากิ่งตัดชำ

การตอนแบบควั่นกิ่ง

เป็นวิธีที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย ทำได้ง่ายและสะดวก มีขั้นตอนดังนี้

1.1 เลือกกิ่งที่แข็งแรง สมบูรณ์ ไม่เป็นโรคและแมลง

เป็นกิ่งที่อยู่ทางด้านนอกของทรงพุ่ม ได้รับแสงแดดเต็มที่ ถ้าเป็นสวนเพื่อการขยายพันธุ์อย่างเดียวจะเลือกตอนเกือบทุกกิ่ง เหลือไว้บางกิ่งเพื่อเป็นพี่เลี้ยงต้นหลังจากตัดกิ่งตอนออกไป

1.2 การควั่นกิ่ง

สำหรับไม้ผล ควรเลือกกิ่งยาวประมาณ 30-50 เซนติเมตร ส่วนไม้ประดับอาจสั้นกว่านี้ ขึ้นอยู่กับจำนวนต้นที่ต้องการและชนิดของพืช ไม่ควรให้กิ่งมีพุ่มขนาดใหญ่มากนักเพราะจะทำให้เกิดการเหี่ยวแห้งในระยะชำเนื่องจากมีจำนวนใบไม่สมดุลกับจำนวนราก ความยาวของรอยควั่นเท่ากับ 1-2 เท่าของเส้นรอบวงของกิ่ง หรือดูจากความสามารถในการออกราก พืชที่ออกรากง่ายรอยควั่นจะสั้น (ประมาณ 1 เท่าของเส้นรอบวง)ถ้าเป็นพืชที่ออกรากยากรอยควั่นจะห่างประมาณ 1.5-2 เท่าของเส้นรอบวงของกิ่งนั้น คุณบุญชอบ โพธิ์รักษา แนะนำว่า การตอนฝรั่งควรจะควั่นห่างเพียง ½ เซนติเมตร ปล่อยให้แห้งสักครู่จึงค่อยหุ้มขุยมะพร้าว (มีการเสริมด้วยไม้ท่อนเล็ก ๆ ก่อนหุ้มขุยมะพร้าวเพื่อป้องกันกิ่งหัก)

1.3 การขูดเยื่อเจริญ (เมือกลื่น ๆ อยู่ระหว่างส่วนของเปลือกกับเนื้อไม้)

พืชแต่ละชนิดต้องการการขูดเยื่อเจริญต่างกัน ควรจะสังเกตว่าพืชใดต้องขูดเยื่อเจริญมากน้อยเท่าใด พืชบางชนิดไม่ต้องขูดเยื่อเจริญ เช่น ฝรั่ง สนแผง ถ้าขูดแล้วกิ่งมักจะแห้งตายเนื่องจากท่อน้ำถูกทำลาย พืชบางชนิดอาจขูดเยื่อเจริญแล้วหุ้มตามได้เลย (พืชทั่วไป) แต่บางชนิดต้องควั่นทิ้งไว้ให้เยื่อเจริญแห้งประมาณ 1 สัปดาห์ จึงจะหุ้มด้วยขุยมะพร้าว เช่น ละมุด

1.4 การหุ้มรอยควั่น

ปัจจุบันนิยมใช้ถุงพลาสติกขนาดเล็กบรรจุขุยมะพร้าว รัดปากถุงให้แน่น ใช้มีดผ่าถุงหุ้มรอยควั่นให้มิด มัดให้แน่น อย่าให้กระเปาะขุยมะพร้าวหมุนหรือขยับได้ เพราะจะทำให้รากที่งอกหักได้ หุ้มทับด้วยกระดาษเพื่อช่วยลดอุษหภูมิและแสงในขุยมะพร้าว ซึ่งจะทำให้การเดินของรากดีขึ้น บางท่านนิยมหุ้มรอยควั่นด้วยดินเหนียว ก่อนหุ้มด้วยกาบมะพร้าวแช่น้ำทุบให้นิ่ม แล้วหุ้มทับด้วยใบตองแห้งหรือผ้าพลาสติก (ไม่นิยมทำในทางการค้า เนื่องจากต้องใช้เวลา) แต่บางสวนจะผ่าตุ้มมะพร้าวแล้วป้ายดินด้านในเล็กน้อยแทนการหุ้มด้วย

1.5 การดูแลรักษา

คอยดูแลรดน้ำอยู่เสมออย่าให้กระเปาะแห้ง ถ้าขุยมะพร้าวชื้นพอ รัดปากถุงให้แน่นจะไม่ต้องรดน้ำอีกเลย พร้อมกันนี้ต้องระวังไม่ให้มดมากัดทำลายด้วย

1.6 การตัดกิ่งตอนตัดเมื่อรากแก่

เมื่อรากแทงทะลุขุยมะพร้าวออกมา ปลายรากเริ่มมีสีน้ำตาล และกิ่งตอนมีใบแก่ทั้งหมด จึงตัดจากต้นแม่ใต้กระเปาะตอนไปชำ

การตอนแบบกรีดกิ่ง นิยมใช้กับกิ่งที่มีแก่นเล็ก หรือกิ่งที่เปราะหักง่าย มีขั้นตอนการปฏิบัติเช่นเดียวกับการตอนแบบควั่นกิ่ง ต่างกันตรงรอยแผลจะใช้มีดกรีดเปลือกยาวประมาณ 1 นิ้ว 3-4 รอย

การตอนกิ่งแบบปาดกิ่ง มีวิธีปฏิบัติเช่นเดียวกับการตอนแบบกรีดกิ่ง ต่างกันตรงรอยแผล ที่จะทำให้เกิดแผลโดยใช้มีดปาดเฉียงให้ลึกเข้าไปในเนื้อไม้เล็กน้อย ใช้เศษวัสดุ เช่น ไม้จิ้มฟัน ลวดฟิวส์ หรือก้านไม้ขีดขัดรอยแผลไว้ให้เผยอออกมาเป็นลิ้นป้องกันไม่ให้รอยแผลเชื่อมติดกันเท่าใด บริเวณที่สัมผัสดินควรจะยึดกิ่งให้ติดกับดินด้วยไม้ค้ำหรือลวดตัวยู บริเวณที่สัมผัสดินจะงอกรากออกมาบริเวณข้อและแตกตาบริเวณตา หลังจากยอดและรากสมบูรณ์ดีแล้ว จึงตัดให้ขาดจากกิ่งเดิม นำไปแยกปลูกต่อไป นิยมใช้กับต้นมะลิ ประทัดจีน สตรอเบอรี่ เป็นต้น

การตอนแบบกรีดกิ่งและปาดกิ่ง นิยมใช้ในพืชที่มีลำต้นเปราะ เช่น ชวนชม เชอรี่ เป็นต้น

การตอนกิ่งแบบโน้มกิ่ง

นิยมใช้กับกิ่งไม้เลื้อย เช่น มะลิ

ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการตอนกิ่ง

บางครั้งกิ่งตอนเกิดการเหี่ยวแห้ง ตอนแล้วไม่ออกราก มีปัจจัยที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้

1. การเลือกกิ่ง

ควรเลือกกิ่งเพสลาด มีสีน้ำตาล ไม่แก่หรืออ่อนเกินไป ใบยอดควรจะพ้นระยะใบอ่อนเปลือกล่อน ถ้ากิ่งแก่ไปจะออกรากยากและน้อย นอกจากนั้น กิ่งแก่มักจะเป็นกิ่งขนาดใหญ่ เมื่อออกรากแล้วมักจะมีปัญหาในการชำ เพราะขนาดของต้นใหญ่ มีรากน้อย ทำให้ใบกับรากไม่สมดุลกัน ใบจะเหี่ยวเนื่องจากขาดน้ำ กิ่งที่อยู่รอบในทรงพุ่มก็ไม่ควรตอน เพราะจะออกรากช้าและน้อย บางครั้งจะไม่ออกรากเลย นอกจากนั้นควรจะพิจารณาถึง

1.1 ขนาดของกิ่ง

ควรมีขนาดตั้งแต่ขนาดดินสอดำถึงขนาดหัวแม่มือ

1.2 ชนิดของกิ่ง

กิ่งกระโดงเหมาะที่สุด เพราะจะออกรากได้รอบด้าน ถ้าเป็นกิ่งนอกรากจะออกทางด้านบนของกิ่งแล้วห้อยลงตามแรงดึงดูดของโลก ทำให้ได้รากน้อยและรากโตช้า ถ้าจำเป็นต้องเลือกกิ่งนอนควรค้ำหรือโยงให้กิ่งตั้งตรงก่อนแล้วจึงตอน โดยทำไม้หลักไว้กลางพุ่มสำหรับผูกเชือกโยงกิ่งตอนทั้งหลายให้ตั้งขึ้น

2. ฤดูกาล

ควรตอนกิ่งในช่วงฤดูฝนซึ่งเป็นระยะที่พืชกำลังเจริญเติบโต ถ้าตอนกิ่งในฤดูร้อนต้องรดน้ำกระเปาะหุ้มให้ชื้นอยู่เสมอ สำหรับฤดูหนาวไม่แนะนำให้ตอน โดยทั่วไปชาวสวนจะนิยมตอนในฤดูแล้ง เนื่องจากกระเปาะหุ้มจะไม่แฉะซึ่งเป็นสาเหตุให้รากไม่เดิน

3. การใช้ฮอร์โมนเร่งราก

ปัจจุบันเป็นที่ยอมรับกันว่า ฮอร์โมนเร่งรากจะช่วยให้การเกิดรากของกิ่งตอนเร็วขึ้น โดยทาฮอร์โมนเร่งรากบริเวณเหนือรอยควั่น (บริเวณที่จะออกราก) ระวังอย่าทาถึงได้รอยควั่น บริเวณนี้จะเกิดรากเร็วกว่าบริเวณเหนือรอยควั่น เมื่อเห็นรากโผล่ออกมาจากตุ้ม หากตัดไปชำมักจะตาย เนื่องจากไม่สามารถส่งอาหารจากยอดมารากได้ (ท่ออาหารถูกตัดขาด) และพบว่าในระยะนี้รากบริเวณเหนือรอยควั่นมักจะยังเจริญไม่พอด้วย

การตัดและการชำกิ่งตอน

การตัดกิ่งตอนควรจะพิจารณาจากจำนวนรากที่สังเกตเห็นได้ โดยมองผ่านผ้าพลาสติกที่หุ้ม (ควรใช้พลาสติกสีขาวใส) ควรจะมีรากมากพอ ปลายรากมีสีน้ำตาลแก่ เมื่อตัดกิ่งตอนแล้วควรจะมีการตัดแต่งกิ่ง เนื่องจากกิ่งตอนย่อมมีระบบรากน้อยกว่าทางส่วนยอด ดังนั้น ถ้าไม่เอาใจใส่เป็นพิเศษจะไม่สามารถที่จะพยุงต้นไว้ได้ และจะเกิดการคายน้ำมาก ดังนั้นควรปฏิบัติดังนี้

1. ตัดแต่งกิ่งให้สมดุลกับราก

2. ทำการปลูกในภาชนะที่พอเหมาะกับขนาดของต้นและราก มีการค้ำยันด้วยไม้กันไม่ให้กิ่งชำโยก

3. นำกิ่งตอนมาไว้ในที่ชื้นและเย็น รดน้ำสม่ำเสมอ จนกิ่งตอนตั้งตัวดีแล้วจึงย้ายปลูก

ข้อพิจารณาในการตอน

1. ในกรณีที่ต้องการกิ่งตอนขนาดใหญ่ ควรจะมีการเพิ่มขนาดของตุ้ม โดยการหุ้มขุยมะพร้าวทับตุ้มเดิมอีกครั้งหนึ่ง หรือใช้ตุ้มครั้งแรกให้มีขนาดใหญ่ขึ้นอีกนิด ทั้งนี้ ต้องระวังปัญหาตุ้มใหญ่เกินไป อาจทำให้กิ่งหักได้

2. ในพืชบางชนิดกิ่งมีขนาดค่อนข้างเล็ก กิ่งเปราะหักง่ายการตอนควรจะมีการดามด้วยไม้เพื่อป้องกันไม่ให้กิ่งหัก

3. การหุ้มตุ้มตอนด้วยกระดาษเพื่อกรองแสงไม่ให้ตุ้มมีอุณหภูมิสูงเกินไป หากขุยมะพร้าวมีความชื้นสูงร่วมด้วย จะเกิดอันตรายกับรากได้ เพื่อความปลอดภัยจึงควรจะหุ้มตุ้มด้วยกระดาษอีกชั้นหนึ่ง ซึ่งมีประโยชน์อีกประการคือ ทำให้รากเดินดีขึ้น (ภายในถุงขุยมะพร้าวจะมืด)

เทคโนโลยีสารสนเทศหมายถึง อุปกรณ์หรือเครื่องมือที่เกี่ยวข้องกับการรวบรวมประมวล เก็บรักษา และเผยแพร่ข้อมูลและสารสนเทศโดยรวมทั้งฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ฐานข้อมูล และการสื่อสาร โทรคมนาคม ระบบสารสนเทศสร้างขึ้นมาเพื่อจุดมุ่งหมายหลายประการจุดมุ่งหมายพื้นฐานประการหนึ่ง คือ การประมวลข้อมูล (Data) ให้เป็นสารสนเทศ (Information) และนำไปสู่ความรู้ (Knowledge) ที่ช่วยแก้ปัญหาในการดำเนินงาน

ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ

1. ช่วยในการจัดระบบข่าวสารจำนวนมหาศาลของแต่ละวัน

2. เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตสารสนเทศ เช่น การคำนวณตัวเลขที่ยุ่งยากซับซ้อน การจัดเรียงลำดับสารสนเทศ ฯลฯ

3. ช่วยให้สามารถเก็บสารสนเทศไว้ในรูปที่สามารถเรียกใช้ได้ทุกครั้งอย่างสะดวก

4. ช่วยให้สามารถจัดระบบอัตโนมัติ เพื่อการจัดเก็บประมวลผล และเรียกใช้สารสนเทศูล

5. ช่วยในการเข้าถึงสารสนเทศได้อย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพมากขึ้น

6. ช่วยในการสื่อสารระหว่างกันได้อย่างสะดวกรวดเร็ว ลดอุปสรรคเกี่ยวกับเวลา และระยะทาง โดยการใช้ระบบโทรศัพท์ และอื่นๆ

ประโยชน์ของเทคโนโลยีสารสนเทศ

การกำเนิดของคอมพิวเตอร์เมื่อประมาณห้าสิบกว่าปีที่แล้ว เป็นก้าวสำคัญที่นำไปสู่ยุคสารสนเทศ ในช่วงแรกมีการนำเอาคอมพิวเตอร์มาใช้เป็นเครื่องคำนวณ แต่ต่อมาได้มีความพยายามพัฒนาให้คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์สำคัญสำหรับการจัดการข้อมูล เมื่อเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ได้ก้าวหน้ามากขึ้น ทำให้สามารถสร้างคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กลง แต่ประสิทธิภาพสูงขึ้น สภาพการใช้งานจึงใช้งานกันอย่างแพร่หลาย ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีต่อชีวิตความเป็นอยู่และสังคมจึงมีมาก มีการเรียนรู้และใช้สารสนเทศกันอย่างกว้างขวาง ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศโดยรวมกล่าวได้ดังนี้

1. การสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สภาพความเป็นอยู่ของสังคมเมือง มีการพัฒนาใช้ระบบสื่อสารโทรคมนาคม เพื่อติดต่อสื่อสารให้สะดวกขึ้น มีการประยุกต์มาใช้กับเครื่องอำนวยความสะดวกภายในบ้าน เช่น ใช้ควบคุมเครื่องปรับอากาศ ใช้ควมคุมระบบไฟฟ้าภายในบ้าน เป็นต้น

2. เสริมสร้างความเท่าเทียมในสังคมและการกระจายโอกาส เทคโนโลยีสารสนเทศทำให้เกิดการกระจายไปทั่วทุกหนแห่ง แม้แต่ถิ่นทุรกันดาร ทำให้มีการกระจายโอกาสการเรียนรู้ มีการใช้ระบบการเรียนการสอนทางไกล เสริมสร้างการเรียนรู้ เพราะปัจจุบันมีสื่อการศึกษาที่ทันสมัยมากขึ้นนอกจากหนังสือเรียนธรรมดาแล้ว ยังมี วีดีทัศน์ อินเตอร์เน็ต เป็นต้น ที่ช่วยเสริมสร้างการเรียนรู้ด้วยตนเองของผู้เรียน

3. สารสนเทศกับการเรียนการสอนในโรงเรียน การเรียนการสอนในโรงเรียนมีการนำคอมพิวเตอร์และเครื่องมือประกอบช่วยในการเรียนรู้ เช่น วีดีทัศน์ เครื่องฉายภาพ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน คอมพิวเตอร์ช่วยจัดการศึกษา จัดตารางสอน คำนวณระดับคะแนน หรืออย่างที่ครูเป๋งให้เราฝึกทำBlog ไงล่ะคะ ปัจจุบันมีการเรียนการสอนทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศในโรงเรียนจึงมากขึ้น

น.ส นิสารักษ์ วิจารย์

หน้าแรก

เมนูรวม

บันทึก บันทึกล่าสุด บันทึกที่ได้รับความเห็นล่าสุด บันทึกแบ่งตามหมวดหมู่ บล็อก บล็อกล่าสุด แพลนเน็ต (รวมบล็อก) แพลนเน็ตล่าสุด อนุทิน แสดง ไฟล์ ไฟล์ล่าสุด ไฟล์ที่ได้รับความเห็นล่าสุด คำถามคำตอบ คำถามล่าสุด คำถามที่ได้รับคำตอบล่าสุด คำถามที่ได้รับความเห็นล่าสุด เว็บอ้างอิง เว็บอ้างอิงล่าสุด สมาชิก สมาชิกล่าสุด สมาชิกที่มีความเคลื่อนไหวล่าสุด ความเห็น ความเห็นล่าสุด สมัครสมาชิก

เข้าระบบ home / blog / student2552 / 344369 ค้นหา Yingmon Waiyarat

รับราชการครู

โรงเรียนบ้านสร้างม่วงส้มเสี้ยว สพท.อบ.5 ประวัติ :: ศูนย์รวมข้อมูล :: อนุทิน :: บล็อก :: แพลนเน็ต (รวมบล็อก) :: ไฟล์ :: คำถาม :: เว็บอ้างอิง :: อีเมลติดต่อ อ่าน: 206

ความเห็น: 36 แบบทดสอบนักเรียนชั้นม.3 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีมุ่งหวังให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ มีทักษะที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต และรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง สามารถนำความรู้เกี่ยวกับการดำรงชีวิต การอาชีพ และเทคโนโลยี มาประยุกต์ใช้ในการทำงานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ เห็นแนวทางการประกอบอาชีพ รักการทำงาน มีเจตคติที่ดีต่อการทำงาน สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างพอเพียง

แบบทดสอบนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 กล่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี

โรงเรียนบ้านสร้างม่วงส้มเสี้ยว อำเภอบุณฑริก จังหวัดอุบลราชธานี

โดย คุณครูสุวิมล ไวยารัตน์

1. จงบอกอธิบายรายละเอียด ดังนี้

1.1 การขยายพันธุ์พืชโดยวิธีต่อกิ่ง

1.2 การขยายพันธุ์พืชโดยวิธีปักชำ

1.3 การขยายพันธุ์พืชโดยวิธีตอนกิ่ง

2. จงอธิบายเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ ดังนี้

2.1. เทคโนโลยีสารสนเทศหมายถึงอะไร

2.2. ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ

2.3. เทคโนโลยีสารสนเทศที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ได้แก่....

หมายเหตุ ก่อนตอบคำถามให้นักเรียนแนะนำตัวเองก่อนนะคะ

นักเรียนสามารถตอบคำถามได้มากกว่า 1 ครั้ง

หมวดหมู่: การศึกษา การเรียนการสอน

คำสำคัญ: แบบทดสอบกลุ่มสาระการงานอาชีพ นักเรียนโรงเรียนบ้านสร้างม่วงส้มเสี้ยว แบบทดสอบนักเรียนม.3 โดยคุณครูสุวิมล ไวยารัตน์ แบบทดสอบนักเรียนม.3 โรงเรียนบ้านสร้างม่วงส้มเสี้ยว อ.บุณฑริก จ.อุบลฯ แบบทดสอบม.1-3 โดยคุณครูสุวิมล ไวยารัตน์

สัญญาอนุญาต: ซีซี: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกัน

สร้าง: อา. 14 มี.ค. 2553 @ 22:45 แก้ไข: อา. 14 มี.ค. 2553 @ 23:15

ความเห็น

« ก่อนหน้า 1 2 ถัดไป »

31. นายสิทธิเดช เสมอภักดิ์ เลที่ 3 นางสาวพรพรรณ ประสมสาย นายณัฐพล บัวแดง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 / 2 [IP: 203.172.201.5]

เมื่อ ศ. 19 มี.ค. 2553 @ 15:28

#1914535 [ ลบ ]

ข้อที่ 1

วิธีการต่อกิ่ง

สามารถปฏิบัติได้หลายวิธี ขึ้นอยู่กับชนิดของพืช อายุและขนาดของพืชด้วย นอกจากนั้นยังเกี่ยวข้องกับวัตถุประสงค์ของการต่อกิ่งนั้นๆ ด้วย ในแต่ละวิธีที่จะกล่าวถึงต่อไปนั้นมีหลักพิจารณาในการเลือกปฏิบัติคือ การลอกเปลือกไม้ และการตัดยอดของต้นตอประโยชน์ของการต่อกิ่งและการนำไปใช้

1. เป็นวิธีการขยายพันธุ์พืชเพื่อเพิ่มจำนวนสายต้น (cultivar) ให้มีปริมาณมากโดยกิ่งพันธุ์ดีไม่ต้องใช้เวลานานในการออกดอกติดผล

2. เป็นทางเลือกในการขยายพันธุ์พืชที่ไม่สามารถใช้วิธีการอื่นได้ผลสำเร็จ เช่น การออกรากของกิ่งปักชำหรือกิ่งตอนไม่มาก

3. ต้องการใช้ประโยชน์จากความทนทานต่อสภาพแวดล้อมของระบบรากในต้นตอ เช่น รากของต้นตอที่เจริญเติบโตได้ในที่มีอุณหภูมิต่ำ น้ำท่วมขัง มีความต้านทานโรคและแมลงในดินได้ดี

4. สามารถนำกิ่งพันธุ์ ที่ช่วยในการผสมเกสรให้กับต้นพันธุ์ที่ต้องการเก็บผลผลิต เพื่อให้มีการผสมข้ามพันธุ์แล้วติดผลดีขึ้น หรือเป็นต้นที่แยกเพศ (dioecious plant)

5. ทำให้ในต้นหนึ่งต้นมีหลายพันธุ์อยู่ด้วยกันเพื่อเก็บผลผลิตต่างพันธุ์หรือความสวยงาม

6. ต้นพันธุ์บางชนิดมีการเจริญเติบโตได้ดีกว่าเมื่อต่ออยู่บนระบบรากของอีกพันธุ์หนึ่ง

7. ต้องการให้อิทธิพลของความแคระมีผลต่อต้นตอหรือกิ่งพันธุ์ดี ทำให้ขนาดทรงพุ่มเตี้ย

8. ช่วยให้พืชที่เข้ากันไม่ได้ (incompatibility) ประสานอยู่ด้วยกันได้ โดยใช้ interstock มาต่อกิ่งอยู่ระหว่างต้นตอและกิ่งพันธุ์ดี

9. ใช้สำหรับการซ่อมแซมความเสียหายที่เกิดขึ้นกับลำต้นที่เปลือกถูกแมลงหรือสัตว์กัดแทะหรือเครื่องมือในสวนทำให้เกิดความเสียหายจึงใช้การต่อกิ่งเชื่อมต่อส่วนเปลือกลำต้นให้เจริญเติบโตได้ตามปกติ เรียกว่า การต่อกิ่งแบบเชื่อมสะพาน

10. เพื่อการศึกษาโรคไวรัสที่สามารถถ่ายทอดจากกิ่งพันธุ์ที่สงสัยมีการติดโรคต่อกิ่งบนต้นที่อ่อนแอต่อโรค (indicator plant) ซึ่งสามารถแสดงอาการของโรคไวรัสได้ชัดเจน เป็นเทคนิคที่เรียกว่า virus indexing

ข้อที่ 2

การปักชำ

คือการใช้ส่วนต่างๆ ของพืช เช่น ราก ใบ หรือ ลำต้น ไปปักชำ และส่วนของพืชเหล่านี้จะเจริญงอกงามเป็นลำต้นต่อไป

การปักชำเป็นวิธีขยายพันธุ์พืชที่ดีวิธีหนึ่งซึ่งมีข้อดี ดังนี้

1. ประหยัดค่าใช้จ่าย

2. ขยายพันธุ์ได้ปริมาณมาก

3. ทำได้ง่ายโดยไม่ต้องอาศัยเทคนิคหรือความสามารถมาก

4. ต้นพืชเจริญเติบโตเร็ว โดยใช้ระยะเวลาไม่นาน

5. พืชต้นใหม่ที่ได้จะมีลักษณะเหมือนต้นเดิมทุกประการ

วัสดุที่ใช้ในการปักชำ

กระบะ ดิน ทราบ แกลบ ปุ๋ยคอก ขุยมะพร้าว ใบไม้ผุ

การปักชำสามารถทำได้หลายวิธี ดังนี้

1. การปักชำราก เป็นการเอารากของพืชมาปักชำ อาจปักลงไปในดิน ในทราย หรือในเถ้าแกลบก็ได้ เพื่อส่วนของรากนั้นงอกเป็นลำต้นต่อไป พืชที่ใช้รากปักชำ เช่น มันเทศ สน สาเก เข็มอินเดียเป็นต้น วิธีการชำรากทำได้ ดังนี้

1.1 ตัดรากไม้ออกเป็นท่อนๆ

1.2 วางรากบนดิน การปักชำรากไม่นิยมปักในแนวตั้ง แต่นิยมวางในแนวนอน หรือวางในแนวเฉียงเล็กน้อย

2. การปักชำใบ โดยทั่วไปแล้วใบจะแตกเป็นกิ่งไม่ได้ แต่มีพืชบางชนิดสามารถนำใบมาปักชำให้เจริญเติบโตเป็นต้นต่อไปได้ เช่น ลิ้นมังกร กุหลาบหิน คว่ำตายหงายเป็น เป็นต้น การปักชำใบมี 4 วิธี

วิธีที่ 1 การปักชำโดยใช้ใบ

ให้ นำใบที่ไม่ใช่ใบอ่อนมาตัดเป็นส่วนๆ หรือทั้งใบแล้วนำไปวางเป็นวัสดุ เช่น ทราย หรือดิน โดยให้ด้านบนของใบหงายขึ้น พืชที่นิยม เช่น คว่ำตายหงายเป็น กุหลาบหิน

วิธีที่ 2 การปักชำโดยใช้ก้านใบ

ให้ตัดก้านใบให้หลุดออกจากกิ่งแล้วนำไปปักชำก็จะเจริญเติบโตเป็นต้นใหม่ได้ เช่น กุหลาบหิน

วิธีที่ 3 การปักชำโดยใช้ก้านใบที่ส่วนของกิ่ง

ให้ เอาใบมา โดยเฉือนส่วนของกิ่งให้มีตาติดมาด้วย (มิใช่นำมาทั้งกิ่ง) แล้วนำไปปักชำ ส่วนตาที่ติดมากับกิ่งก็จะเจริญเติบโตเป็นต้นต่อไป วิธีนี้นิยมใช้กับ ฟิโลเดนดรอน ต้นยางอินเดีย

วิธีที่ 4 การใช้ใบติดกิ่งมาปักชำ

ให้ ตัดกิ่งที่จะนำมาปักชำ โดยกิ่งนั้นต้องมีตาเดียว และมีใบติดมาด้วยแล้วนำส่วนของกิ่งบางส่วนปักลงในดินให้ใบ และกิ่งส่วนหนึ่งโผล่ขึ้นมา เพียงเล็กน้อย พืชที่นิยมขยายพันธุ์แบบนี้ ได้แก่ ฟิโลเดนดรอน

ข้อที่ 3

การขยายพันธุ์พืชโดยวิธีตอนกิ่ง

การตอนกิ่ง

ในการตอนกิ่งจะต้องทำให้เกิดแผลกับลำต้นหรือกิ่ง เพื่อตัดท่ออาหารและ เนื้อเยื่อเจริญของกิ่งนั้นให้ขาดจากกัน แต่ท่อน้ำยังคงอยู่เหมือนเดิม ทำให้สามารถส่งน้ำจากรากไปยอดได้ตามปกติ กิ่งและใบยอดจะยังคงสดอยู่เสมอ ซึ่งเป็นเหตุผลสำคัญของการที่พืชบางชนิดขยายพันธุ์ด้วยการตอนกิ่งได้เป็นผลสำเร็จมากกว่าการตัดชำท่ออาหารให้ขาดจากกัน ทำให้การขนส่งอาหารไม่เกิดขึ้น อาหารที่ส่งมาจากยอดจะไปสะสมตรงเหนือรอยแผลมาก ประกอบกับเนื้อเยื่อเจริญบริเวณแผลถูกตัดขาด เป็นการกระตุ้นเตือนให้เนื้อเยื่อเจริญส่วนนั้นเกิดการแบ่งเซลล์อย่างรวดเร็ว มีเซลล์ที่เกิดใหม่มากมาย (มีอาหารอุดมสมบูรณ์จากการสะสมเหนือรอยแผล) จะมีเซลล์ส่วนหนึ่งที่พัฒนาไปเป็นราก ทำหน้าที่ดูดน้ำและธาตุอาหาร

พืชแต่ละชนิดมีความยากง่ายในการที่เนื้อเยื่อเจริญจะพัฒนาไปเป็นราก แตกต่างกัน และการจัดสภาพแวดล้อมให้กับเนื้อเยื่อเจริญที่จะเจริญพัฒนาไปเป็นรากได้ ก็ต้องมีความเหมาะสม โดยเฉพาะเกี่ยวกับอุณหภูมิ ความชื้น และบางครั้งอาจจำเป็นต้องใช้สารควบคุมการเจริญเติบโต

ข้อดีข้อจำกัดของการตอนกิ่ง

ข้อดี คือทำได้ง่าย ประสบผลสำเร็จมากกว่าการปักชำ และได้ต้นกล้าขนาด ใหญ่ ทำให้ได้ผลผลิตเร็ว ไม่กลายพันธุ์ ทรงต้นไม่สูงนัก

ข้อจำกัด คือ

2.1 ไม่มีรากแก้ว ทำให้ไม่สามารถ ทนต่อลมแรง ๆ โค่นล้มได้ง่าย

2.2 กิ่งตอนมีขนาดใหญ่กว่ากิ่งชำ การดูแลรักษาหลังตอนยากกว่ากิ่งตัดชำ

การตอนแบบควั่นกิ่ง

เป็นวิธีที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย ทำได้ง่ายและสะดวก มีขั้นตอนดังนี้

1.1 เลือกกิ่งที่แข็งแรง สมบูรณ์ ไม่เป็นโรคและแมลง

เป็นกิ่งที่อยู่ทางด้านนอกของทรงพุ่ม ได้รับแสงแดดเต็มที่ ถ้าเป็นสวนเพื่อการขยายพันธุ์อย่างเดียวจะเลือกตอนเกือบทุกกิ่ง เหลือไว้บางกิ่งเพื่อเป็นพี่เลี้ยงต้นหลังจากตัดกิ่งตอนออกไป

1.2 การควั่นกิ่ง

สำหรับไม้ผล ควรเลือกกิ่งยาวประมาณ 30-50 เซนติเมตร ส่วนไม้ประดับอาจสั้นกว่านี้ ขึ้นอยู่กับจำนวนต้นที่ต้องการและชนิดของพืช ไม่ควรให้กิ่งมีพุ่มขนาดใหญ่มากนักเพราะจะทำให้เกิดการเหี่ยวแห้งในระยะชำเนื่องจากมีจำนวนใบไม่สมดุลกับจำนวนราก ความยาวของรอยควั่นเท่ากับ 1-2 เท่าของเส้นรอบวงของกิ่ง หรือดูจากความสามารถในการออกราก พืชที่ออกรากง่ายรอยควั่นจะสั้น (ประมาณ 1 เท่าของเส้นรอบวง)ถ้าเป็นพืชที่ออกรากยากรอยควั่นจะห่างประมาณ 1.5-2 เท่าของเส้นรอบวงของกิ่งนั้น คุณบุญชอบ โพธิ์รักษา แนะนำว่า การตอนฝรั่งควรจะควั่นห่างเพียง ½ เซนติเมตร ปล่อยให้แห้งสักครู่จึงค่อยหุ้มขุยมะพร้าว (มีการเสริมด้วยไม้ท่อนเล็ก ๆ ก่อนหุ้มขุยมะพร้าวเพื่อป้องกันกิ่งหัก)

1.3 การขูดเยื่อเจริญ (เมือกลื่น ๆ อยู่ระหว่างส่วนของเปลือกกับเนื้อไม้)

พืชแต่ละชนิดต้องการการขูดเยื่อเจริญต่างกัน ควรจะสังเกตว่าพืชใดต้องขูดเยื่อเจริญมากน้อยเท่าใด พืชบางชนิดไม่ต้องขูดเยื่อเจริญ เช่น ฝรั่ง สนแผง ถ้าขูดแล้วกิ่งมักจะแห้งตายเนื่องจากท่อน้ำถูกทำลาย พืชบางชนิดอาจขูดเยื่อเจริญแล้วหุ้มตามได้เลย (พืชทั่วไป) แต่บางชนิดต้องควั่นทิ้งไว้ให้เยื่อเจริญแห้งประมาณ 1 สัปดาห์ จึงจะหุ้มด้วยขุยมะพร้าว เช่น ละมุด

1.4 การหุ้มรอยควั่น

ปัจจุบันนิยมใช้ถุงพลาสติกขนาดเล็กบรรจุขุยมะพร้าว รัดปากถุงให้แน่น ใช้มีดผ่าถุงหุ้มรอยควั่นให้มิด มัดให้แน่น อย่าให้กระเปาะขุยมะพร้าวหมุนหรือขยับได้ เพราะจะทำให้รากที่งอกหักได้ หุ้มทับด้วยกระดาษเพื่อช่วยลดอุษหภูมิและแสงในขุยมะพร้าว ซึ่งจะทำให้การเดินของรากดีขึ้น บางท่านนิยมหุ้มรอยควั่นด้วยดินเหนียว ก่อนหุ้มด้วยกาบมะพร้าวแช่น้ำทุบให้นิ่ม แล้วหุ้มทับด้วยใบตองแห้งหรือผ้าพลาสติก (ไม่นิยมทำในทางการค้า เนื่องจากต้องใช้เวลา) แต่บางสวนจะผ่าตุ้มมะพร้าวแล้วป้ายดินด้านในเล็กน้อยแทนการหุ้มด้วย

1.5 การดูแลรักษา

คอยดูแลรดน้ำอยู่เสมออย่าให้กระเปาะแห้ง ถ้าขุยมะพร้าวชื้นพอ รัดปากถุงให้แน่นจะไม่ต้องรดน้ำอีกเลย พร้อมกันนี้ต้องระวังไม่ให้มดมากัดทำลายด้วย

1.6 การตัดกิ่งตอนตัดเมื่อรากแก่

เมื่อรากแทงทะลุขุยมะพร้าวออกมา ปลายรากเริ่มมีสีน้ำตาล และกิ่งตอนมีใบแก่ทั้งหมด จึงตัดจากต้นแม่ใต้กระเปาะตอนไปชำ

การตอนแบบกรีดกิ่ง นิยมใช้กับกิ่งที่มีแก่นเล็ก หรือกิ่งที่เปราะหักง่าย มีขั้นตอนการปฏิบัติเช่นเดียวกับการตอนแบบควั่นกิ่ง ต่างกันตรงรอยแผลจะใช้มีดกรีดเปลือกยาวประมาณ 1 นิ้ว 3-4 รอย

เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง

อุปกรณ์หรือเครื่องมือที่เกี่ยวข้องกับการรวบรวมประมวล เก็บรักษา และเผยแพร่ข้อมูลและสารสนเทศโดยรวมทั้งฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ฐานข้อมูล และการสื่อสาร โทรคมนาคม ระบบสารสนเทศสร้างขึ้นมาเพื่อจุดมุ่งหมายหลายประการจุดมุ่งหมายพื้นฐานประการหนึ่ง คือ การประมวลข้อมูล (Data) ให้เป็นสารสนเทศ (Information) และนำไปสู่ความรู้ (Knowledge) ที่ช่วยแก้ปัญหาในการดำเนินงาน

ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ

ช่วยในการจัดระบบข่าวสารจำนวนมหาศาลของแต่ละวัน เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตสารสนเทศ เช่น การคำนวณตัวเลขที่ยุ่งยากซับซ้อน การจัดเรียงลำดับสารสนเทศ ฯ ช่วยให้สามารถเก็บสารสนเทศไว้ในรูปที่สามารถเรียกใช้ได้ทุกครั้งอย่างสะดวก

ช่วยให้สามารถจัดระบบอัตโนมัติ เพื่อการจัดเก็บประมวลผล และเรียกใช้สารสนเทศ

ช่วยในการเข้าถึงสารสนเทศได้อย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพมากขึ้น ช่วยในการสื่อสารระหว่างกันได้อย่างสะดวกรวดเร็ว ลดอุปสรรคเกี่ยวกับเวลา และระยะทาง โดยการใช้ระบบโทรศัพท์ และอื่นๆ

ประโยชน์ของเทคโนโลยีสารสนเทศ

การกำเนิดของคอมพิวเตอร์เมื่อประมาณห้าสิบกว่าปีที่แล้ว เป็นก้าวสำคัญที่นำไปสู่ยุคสารสนเทศ ในช่วงแรกมีการนำเอาคอมพิวเตอร์มาใช้เป็นเครื่องคำนวณ แต่ต่อมาได้มีความพยายามพัฒนาให้คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์สำคัญสำหรับการจัดการข้อมูล เมื่อเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ได้ก้าวหน้ามากขึ้น ทำให้สามารถสร้างคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กลง แต่ประสิทธิภาพสูงขึ้น สภาพการใช้งานจึงใช้งานกันอย่างแพร่หลาย ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีต่อชีวิตความเป็นอยู่และสังคมจึงมีมาก มีการเรียนรู้และใช้สารสนเทศกันอย่างกว้างขวาง ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศโดยรวมกล่าวได้ดังนี้

การสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สภาพความเป็นอยู่ของสังคมเมือง มีการพัฒนาใช้ระบบสื่อสารโทรคมนาคม เพื่อติดต่อสื่อสารให้สะดวกขึ้น มีการประยุกต์มาใช้กับเครื่องอำนวยความสะดวกภายในบ้าน เช่น ใช้ควบคุมเครื่องปรับอากาศ ใช้ควมคุมระบบไฟฟ้าภายในบ้าน เป็นต้น

32. สวัสดีครับคุณครู ผมขอส่งงานเพิ่มเติม ครับนายณัฐกิจ ทาบุดดี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/1 เลขที่ 15 นายจันดี เสนา นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/1 เลขที่ 16 นายศรนิรันดร์ พันธุมาศ นักรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/1 เลขที่ 5 [IP: 58.147.83.55]

เมื่อ ส. 20 มี.ค. 2553 @ 10:06

#1915535 [ ลบ ]

1. จงบอกอธิบายรายละเอียด ดังนี้

1.1 การขยายพันธุ์พืชโดยวิธีต่อกิ่ง

การต่อกิ่งเป็นวิธีการขยายพันธุ์พืชแบบไม่ใช้เพศด้วยวิธีการนำกิ่งพืชสอง ชนิดมาเชื่อมต่อกันให้เจริญเป็นต้นเดียวกันส่วนของพืชที่เจริญเป็นรากเรียกว่า ต้นตอ (rootstock หรือ stock) และส่วนที่นำมาต่ออยู่บนต้นตอเป็นส่วนที่เจริญ เป็นกิ่งก้าน ออกดอกติดผลต่อไป เรียกว่า กิ่งพันธุ์ดี (scion) ซึ่งเป็นส่วนของ กิ่งพืชที่มีตามากกว่าหนึ่งตาขึ้นไปมาเชื่อมต่อกับต้นตอ

ความสำเร็จของการต่อกิ่ง จะเกิดขึ้นได้นั้นต้องมีการเชื่อมต่อ ระหว่างเนื้อเยื่อต้นตอและกิ่งพันธุ์ดี สามารถลำเลียงน้ำและอาหารผ่าน บริเวณรอยต่อ ได้เนื้อเยื่อบริเวณ รอยต่อ(graft union)นี้เกิดจากเนื้อเยื่อ ของต้นตอและกิ่งพันธุ์ดีมาเรียงตัว อยู่ด้วยกันโดยไม่เกิดการรวมตัวของเซลล์ระหว่างพืชทั้งสองชนิด

เนื้อเยื่อที่เกิดขึ้นถูกสร้างขึ้นมา สมานแผลเป็น เซลล์ parenchyma จำนวนมากประกอบกัน เป็นเนื้อเยื่อ callus เกิดขึ้นภายใน 2-3 วัน รอยแผลที่เกิดจาก การเฉือนกิ่งจะมีส่วนที่ตายไปและมีการสร้างสาร nicrotic เพื่อรักษาบาดแผล ส่วนมากสารเหล่านี้จะหายไป เมื่อเกิดการเชื่อมต่อกันดีแล้วหรือยังอยู่ในช่องว่างระหว่าง เซลล์ก็ได้อาจพบเป็นเซลล์ที่ตายและเยินจากเนื้อเยื่อ

การเกิดรอยต่อได้นั้นต้องวางให้เนื้อเยื่อแคมเบียมของต้นตอและกิ่งพันธุ์ดี อยู่แนบหรือใกล้กันมากที่สุดแล้วจะมีการสร้างเนื้อเยื่อแคลลัสใหม่เกิดขึ้น จากทั้งสองส่วนจนเต็มช่องว่างระหว่างกันเรียกว่า callus bridge ซึ่งจะมีการ พัฒนาไปเป็นเนื้อเยื่อเจริญ (vascular cambium) ภายใน 2-3 สัปดาห์และมี การสร้างท่อน้ำ (xylem) และท่ออาหาร (phloem) เชื่อมกันต่อไป

การปรับสภาพแวดล้อมภายนอกให้เหมาะสมมีผลต่อความสำเร็จในการต่อกิ่งด้วย คือ อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการแบ่งเซลล์บริเวณรอยต่ออยู่ระหว่าง 12.8-32.0 องศาเซลเซียส เมื่อเกิดเนื้อเยื่อ callus ขึ้นต้องควบคุมความชื้นบริเวณรอยต่อให้เหมาะสมเนื่องจากเซลล์มีผนังบางและเต่งจึงแห้งตายได้ง่าย จำเป็นต้องพันพลาสติกหรือใช้ถุงพลาสติกคลุมทับ การป้องกันแผลไม่ให้มีการติดเชื้อที่จะทำให้เน่าตายได้เช่นกัน

นอกจากนั้นความสัมพันธ์ของระยะการเจริญเติบโตของตาบนกิ่งพันธุ์ดีจะต้องพอเหมาะกับการพัฒนาการของเนื้อเยื่อบริเวณรอยต่อด้วย กล่าวคือ ขั้นตอนการสร้างท่อน้ำท่ออาหาร ต้องเกิดขึ้นอย่างสมบูรณ์ก่อนที่จะมีใบใหม่เจริญจากตาของกิ่งพันธุ์ดี มิฉะนั้นจะเกิดการแห้งตายของตานั้นได้

การเข้ากันได้ (compatibility) ของพืชทั้งสองชนิดมีส่วนต่อความสำเร็จในการต่อกิ่งด้วย การเลือกใช้ต้นตอและกิ่งพันธุ์ที่มีความใกล้ชิดกันทางพฤกษศาสตร์จะต่อกันได้ดีและรอยต่อเจริญ เหมือนเป็นต้นเดียวกัน เช่น มะม่วงแต่ละพันธุ์จัดเป็นชนิด (species) เดียวกันจึงต่อกิ่งได้ง่าย แต่พืชบางชนิดสามารถเข้ากันได้ดีถึงแม้จะมีความแตกต่างกันมาก เช่น ส้มสามใบ (Poncitrus trifoliata) ต่อด้วยส้มเขียวหวาน (Citrus reticulata) มีพืชหลายคู่ที่สามารถต่อกันได้ในระยะแรก แต่เมื่อเวลาผ่านไปจะมีอาการของการเข้ากันไม่ได้ (incompatibility) เกิดรอยต่อแยกจากกันหรือมีการเติบโตผิดปกติ เช่น ต้นดอนย่าสีชมพูต่อบนดอนย่าสีขาว

ทักษะและประสบการณ์ของผู้ปฏิบัติงานมีส่วนสำคัญเช่นกัน นอกจากนั้นเครื่องมือที่ใช้ คือ มีดเฉือนกิ่ง ควรอยู่ในสภาพที่คมสามารถเฉือนกิ่งได้โดยไม่ทำให้เนื่อเยื่อชอกช้ำหรือเยินเสียหาย ผู้ปฏิบัติงานต้องทำงานอย่างรวดเร็วและรักษาความสะอาดของแผลบนกิ่งพันธุ์ดี และต้นตอด้วย การเลือกใช้วิธีการต่อกิ่งที่เหมาะสมกับพืชและระยะเวลาเป็นสิ่งสำคัญอีกประการหนึ่งที่ผู้ปฏิบัติงานต้องให้ความสำคัญด้วย กล่าวคือการเลือกใช้วิธีต่อกิ่งกับต้นพืชที่อยู่ในระยะการเจริญเติบโตสามารถลอกเปลือกได้ หรืออยู่ในระยะพักตัว นอกจากนั้นการดูแลเอาใจใส่อย่างใกล้ชิดภายหลังการปฏิบัติงานมีส่วนต่อความสำเร็จของงานด้วย

วิธีที่ 1 การต่อกิ่งไม้เนื้ออ่อน

(Herbaceous grafting)

ใช้กับไม้เนื้ออ่อนหรือไม้ อวบน้ำ (herbaceous หรือ succulent plants) และยอดของไม้เนื้อแข็งทั่วๆ ไป เช่น ชวนชม โป๊ยเซียน มะละกอ

1.1 การต่อกิ่งแบบฝานบวบ (Spliced grafting)

ขนาดของกิ่งพันธุ์ดีและต้นตอควรมีขนาดใกล้เคียงกันและมีลักษณะ ที่ต่อเรียบและตรงโดยการเฉือนกิ่งต้นตอและกิ่งพันธุ์ดีให้เฉียงเป็นแนว ยาวประมาณ 1.0-1.5 นิ้ว ประกบแผลทั้งสองกิ่งให้เข้ากันพอดี การพันด้วยผ้าพลาสติกของวิธีนี้ไม่สามารถทำงานได้สะดวกนัก

1.2 การต่อกิ่งแบบเข้าเดือย (Saddle grafting)

นิยมใช้กับการขยายพันธุ์โป๊ยเซียนโดยตัดยอด ต้นตอออกแล้วเฉือนให้เฉียง ทั้งสองข้างของกิ่งเข้า มาจรดกันตรงกัน

การเตรียมกิ่งพันธุ์ดีให้เฉือนเป็นรูปลิ่มรูปร่าง พอดีกับแผลที่เตรียมไว้บนต้นตอแล้วคร่อมบนต้นตอ

ประโยชน์ของการต่อกิ่งและการนำไปใช้

1. เป็นวิธีการขยายพันธุ์พืชเพื่อเพิ่มจำนวนสายต้น (cultivar) ให้มีปริมาณมากโดยกิ่งพันธุ์ดีไม่ต้องใช้เวลานานในการออกดอกติดผล

2. เป็นทางเลือกในการขยายพันธุ์พืชที่ไม่สามารถใช้วิธีการอื่นได้ผลสำเร็จ เช่น การออกรากของกิ่งปักชำหรือกิ่งตอนไม่มาก

3. ต้องการใช้ประโยชน์จากความทนทานต่อสภาพแวดล้อมของระบบรากในต้นตอ เช่น รากของต้นตอที่เจริญเติบโตได้ในที่มีอุณหภูมิต่ำ น้ำท่วมขัง มีความต้านทานโรคและแมลงในดินได้ดี

4. สามารถนำกิ่งพันธุ์ ที่ช่วยในการผสมเกสรให้กับต้นพันธุ์ที่ต้องการเก็บผลผลิต เพื่อให้มีการผสมข้ามพันธุ์แล้วติดผลดีขึ้น หรือเป็นต้นที่แยกเพศ (dioecious plant)

5. ทำให้ในต้นหนึ่งต้นมีหลายพันธุ์อยู่ด้วยกันเพื่อเก็บผลผลิตต่างพันธุ์หรือความสวยงาม

6. ต้นพันธุ์บางชนิดมีการเจริญเติบโตได้ดีกว่าเมื่อต่ออยู่บนระบบรากของอีกพันธุ์หนึ่ง

7. ต้องการให้อิทธิพลของความแคระมีผลต่อต้นตอหรือกิ่งพันธุ์ดี ทำให้ขนาดทรงพุ่มเตี้ย

8. ช่วยให้พืชที่เข้ากันไม่ได้ (incompatibility) ประสานอยู่ด้วยกันได้ โดยใช้ interstock มาต่อกิ่งอยู่ระหว่างต้นตอและกิ่งพันธุ์ดี

9. ใช้สำหรับการซ่อมแซมความเสียหายที่เกิดขึ้นกับลำต้นที่เปลือกถูกแมลงหรือสัตว์กัดแทะหรือเครื่องมือในสวนทำให้เกิดความเสียหายจึงใช้การต่อกิ่งเชื่อมต่อส่วนเปลือกลำต้นให้เจริญเติบโตได้ตามปกติ เรียกว่า การต่อกิ่งแบบเชื่อมสะพาน (bridge grafting)

10. เพื่อการศึกษาโรคไวรัสที่สามารถถ่ายทอดจากกิ่งพันธุ์ที่สงสัยมีการติดโรคต่อกิ่งบนต้นที่อ่อนแอต่อโรค (indicator plant) ซึ่งสามารถแสดงอาการของโรคไวรัสได้ชัดเจน เป็นเทคนิคที่เรียกว่า virus indexing

1.2 การขยายพันธุ์พืชโดยวิธีปักชำ

คือ การนำส่วนต่าง ๆ ของพืชพันธุ์ดี เช่น ใบ และ ราก มาตัดและปักชำในวัสดุเพาะชำ เพื่อให้ได้พืชต้นใหม่จากสวนที่นำมาปักชำ แต่ในที่นี้จะขอแนะนำขั้นตอนการ

ตัดชำกิ่งซึ่ง

ขั้นตอนในการปักชำ

1. ตัดโคนกิ่งให้ชิดข้อยาวประมาณ 15 - 20 เซนติเมตร โดยตัดเฉียงเป็นรูปปากฉลาม และตัดปลายบนให้เหนือตาประมาณ 1 เซนติเมตร

2. ใช้มีดปลายแหลมกรีดบริเวณรอบโคนยาว 1 - 1.5 เซนติเมตร ประมาณ 2 - 3 รอย

3. ปักกิ่งชำลงในวัสดุเพาะชำ ลึกประมาณ 2.5 - 5 เซนติเมตร

4. นำเข้าโรงอบพลาสติก หรือถุงพลาสติกขนาดใหญ่

5. ประมาณ 25 - 30 วัน กิ่งตัดชำจะแตกยอดอ่อน พร้อมออกราก เมื่อมีจำนวนมากพอ จึงย้ายปลูกต่อไป

วัสดุที่ใช้ในการปักชำ

1. กิ่งไม้ที่ต้องการตัดปักชำ

2. ขุยมะพร้าว ผสมดินร่วน บรรจุในถุงพลาสติกหรือตะกร้า (ดังภาพ)

3. มีด หรือ คัตเตอร์

4. โรงเรือน หรือที่ร่ม

1.3. การขยายพันธุ์พืชโดยวิธีตอนกิ่ง

คือ การทำให้กิ่งหรือต้นพืชเกิดรากขณะติดอยู่กับต้นแม่ จะทำให้ได้ต้นพืชใหม่ ที่มีลักษณะทางสายพันธุ์ เหมือนกับต้นแม่ทุกประการ โดยมีขั้นตอนการปฏิบัติ ดังนี้

1. เลือกกิ่งกึ่งแก่กึ่งอ่อนที่สมบูรณ์ปราศจากโรคและแมลง

2. ควั่นกิ่ง ลอกเอาเปลือกออก แล้วขูดเยื่อเจริญที่เป็นเมือกลื่น ๆ ออก

3. นำตุ้มตอน (ขุยมะพร้าวที่แช่น้ำ แล้วบีบหมาด ๆ อัดลงในถุงพลาสติก ผูกปากถุงให้แน่น) มาผ่าตามความยาวแล้วนำไปหุ้มบนรอยแผลของกิ่งตอน มัดด้วยเชือกทั้งบนและล่างรอยแผล

4. เมื่อกิ่งตอนมีรากงอกแทงผ่านวัสดุ และเริ่มแก่เป็นสีเหลือง สีน้ำตาล ปลายรากมีสีขาว และมีจำนวนมากพอจึงตัดกิ่งตอนได้

5. นำกิ่งตอนไปชำในภาชนะ กระถางหรือถุงพลาสติก เพื่อรอการปลูกต่อไป

2. จงอธิบายเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ ดังนี้

2.1 เทคโนโลยีสารสนเทศหมายถึงอะไร

เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology)มาจากการผสมคำระหว่างสารสนเทศ (Information)กับคำว่าเทคโนโลยี(Technology) เทคโนโลยี หมายถึง เป็นการนำเอาแนวความคิด หลักการ เทคนิค ความรู้ ระเบียบวิธี กระบวนการ ตลอดจนผลผลิตทางวิทยาศาสตร์ทั้งในด้านสิ่งประดิษฐ์และวิธีปฏิบัติมาประยุกต์ใช้ในระบบงานเพื่อช่วยให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในการทำงานให้ดียิ่งขึ้นและเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลของงานให้มีมากยิ่งขึ้น สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิตของมนุษย์ หรืออาจกล่าวได้ว่า สารสนเทศ เกิดจากการนำข้อมูล ผ่านระบบการประมวลผล คำนวณ วิเคราะห์และแปลความหมายเป็นข้อความที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ เทคโนโลยีสารสนเทศจึงหมายถึง การติดต่อสื่อสาร การส่งข้อมูลทุกรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็น ข้อความ ตัวเลข เสียง ภาพโดยผ่านสื่อต่างๆ รวมทั้งการนำเสนอด้วยคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในระบบเครือข่าย โดยผ่านระบบโทรคมนาคม

เทคโนโลยีสารสนเทศจึง หมายถึงเทคโนโลยีสารสนเทศ คือ เทคโนโลยีที่ใช้จัดการสารสนเทศ โดยใช้เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องในการจัดหา วิเคราะห์ ประมวล จัดการและจัดเก็บ การพิมพ์ การสร้างรายงาน การเรียกใช้หรือแลกเปลี่ยน และเผยแพร่สื่อสารข้อมูล ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ ไม่ว่าจะอยู่ในรูปแบบของรูป เสียง ตัวอักษร หรือภาพเคลื่อนไหว รวมไปถึงการนำสารสนเทศและข้อมูลไปปฏิบัติตามเนื้อหาของสารสนเทศนั้น เพื่อให้บรรลุเป้าหมายของผู้ใช้

2.2. ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ

ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ

1.ช่วยในการจัดระบบข่าวสารจำนวนมหาศาลของแต่ละวัน

2. เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตสารสนเทศ เช่น การคำนวณตัวเลขที่ยุ่งยากซับซ้อน การจัดเรียงลำดับสารสนเทศ ฯลฯ

3. ช่วยให้สามารถเก็บสารสนเทศไว้ในรูปที่สามารถเรียกใช้ได้ทุกครั้งอย่างสะดวก

4. ช่วยให้สามารถจัดระบบอัตโนมัติ เพื่อการจัดเก็บประมวลผล และเรียกใช้สารสนเทศูล

5. ช่วยในการเข้าถึงสารสนเทศได้อย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพมากขึ้น

6. ช่วยในการสื่อสารระหว่างกันได้อย่างสะดวกรวดเร็ว ลดอุปสรรคเกี่ยวกับเวลา และระยะทาง โดยการใช้ระบบโทรศัพท์ และอื่นๆ

2.3 เทคโนโลยีสารสนเทศที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ได้แก่....

1. เสริมสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น เช่น การติดต่อสื่อสารที่สมัยก่อนมีการสื่อสารด้วยจดหมาย หรือโทรเลข แต่ปัจจุบันมีการติดต่อสื่อสารที่ง่ายขึ้น เช่น โทรศัพท์เคลื่อนที่ , Internet ที่แม้แต่อยู่คนละประเทศก็สามารถที่จะทราบถึงข่าวสารที่ง่ายขึ้น

2. ทำให้เกิดความเท่าเทียมกันในสังคม เช่น การศึกษาที่ปัจจุบันที่ได้หันเข้ามาศึกษาผ่านทางเว็บจำนวนมาก และการเข้าถึงข้อมูลเหล่านี้จึงไม่ได้จำกัดอยู่ที่ผู้ที่มีฐานะทางการเงินเท่านั้น เพียงแต่มีคอมพิวเตอร์กับระบบเครือข่ายก็สามารถที่จะเข้าถึงข้อมูลได้

3. ประโยชน์ต่อการเรียนการสอนในโรงเรียน เช่น การเยี่ยมชมเว็บ การเรียกผ่านทางคอมพิวเตอร์ช่วยสอน การสร้างสื่อการสอนด้วยคอมพิวเตอร์

4. ประโยชน์ด้านอุตสาหกรรมและพาณิชยกรรม เช่น เครื่องจักรต่างๆ ระบบสื่อสาร

5. ศึกษาค้นคว้าความแปลใหม่ที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา

6.ด้านการสาธารณสุข ปัจจุบันมีระบบออนไลน์ในการรักษาผู้ป่วย แพทย์ในโรงพยาบาลต่างๆ สามารถร่วมมือกันรักษาโรคแก่ผู้ป่วย ในกรณีร้ายแรงต้องการผู้เชี่ยวชาญเฉพาะโรค ข้อมูลจากห้องปฏิบัติการทางเทคนิคการแพทย์สามารถออนไลน์ถึงกันได้ทั่วประเทศและทั่วโลก มีการใช้ฐานข้อมูลกับงานระเบียนคนไข้ ทำให้สะดวกแก่การให้บริการผู้ป่วย เป็นต้น

7.ระบบทางด่วนข้อมูล เป็นเทคโนโลยีสื่อสารข้อมูลที่ทำให้การส่งผ่านข้อมูลในปริมาณมาก ๆ ทุกรูปแบบ เป็นไปอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านธุรกิจ มีการใช้ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อการทำธุรกิจประเภทต่าง ๆ รวมทั้งระบบธนาคาร (e-Banking, Internet Banking, Mobile Banking) พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (e-Commerce) เป็นการทำธุรกรรมทางธุรกิจแทบทุกอย่าง รวมทั้งการจ่ายเงิน (e-Payment) ผ่านระบบอินเทอร์เน็ตซึ่งทำให้เกิดความคล่องตัวและมีโอกาสขยายงานธุรกิจการค้าบนระบบเครือข่าย

8การประชุมทางไกล ได้แก่ Video Conferencing และ Computer Conferencing ทำให้เป็นการสะดวกและประหยัดเวลาของผู้บริหาร ประหยัดค่าใช้จ่ายขององค์กร ทำให้ผู้เกี่ยวข้องในองค์กร สามารถประชุมร่วมกันได้ในเวลาเดียวกัน

ความบันเทิงทุกรูปแบบ เราสามารถชมภาพยนตร์ ฟังเพลง เล่นเกม ดูแฟชั่น ได้ตลอดเวลาบนคอมพิวเตอร์โดยผ่านระบบอินเทอร์เน็ต

9การท่องเที่ยว สามารถสำรวจแหล่งท่องเที่ยว สอบถามโปรแกรมการท่องเที่ยวและติดต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้อย่างสะดวกรวดเร็ว สามารถจองตั๋วเครื่องบิน โรงแรมที่พัก โดยผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต หรือเราสามารถเลือกสถานที่ท่องเที่ยวที่ต้องการแล้วท่องเที่ยวไปกับโลกออนไลน์บนหน้าจอคอมพิวเตอร์ เป็นต้น

33. น.ส.รุ่งนภา สายบุญ [IP: 114.128.52.130]

เมื่อ ส. 20 มี.ค. 2553 @ 13:38

#1915870 [ ลบ ]

ข้อที่ 1

วิธีการต่อกิ่ง

สามารถปฏิบัติได้หลายวิธี ขึ้นอยู่กับชนิดของพืช อายุและขนาดของพืชด้วย นอกจากนั้นยังเกี่ยวข้องกับวัตถุประสงค์ของการต่อกิ่งนั้นๆ ด้วย ในแต่ละวิธีที่จะกล่าวถึงต่อไปนั้นมีหลักพิจารณาในการเลือกปฏิบัติคือ การลอกเปลือกไม้ และการตัดยอดของต้นตอประโยชน์ของการต่อกิ่งและการนำไปใช้

1. เป็นวิธีการขยายพันธุ์พืชเพื่อเพิ่มจำนวนสายต้น (cultivar) ให้มีปริมาณมากโดยกิ่งพันธุ์ดีไม่ต้องใช้เวลานานในการออกดอกติดผล

2. เป็นทางเลือกในการขยายพันธุ์พืชที่ไม่สามารถใช้วิธีการอื่นได้ผลสำเร็จ เช่น การออกรากของกิ่งปักชำหรือกิ่งตอนไม่มาก

3. ต้องการใช้ประโยชน์จากความทนทานต่อสภาพแวดล้อมของระบบรากในต้นตอ เช่น รากของต้นตอที่เจริญเติบโตได้ในที่มีอุณหภูมิต่ำ น้ำท่วมขัง มีความต้านทานโรคและแมลงในดินได้ดี

4. สามารถนำกิ่งพันธุ์ ที่ช่วยในการผสมเกสรให้กับต้นพันธุ์ที่ต้องการเก็บผลผลิต เพื่อให้มีการผสมข้ามพันธุ์แล้วติดผลดีขึ้น หรือเป็นต้นที่แยกเพศ (dioecious plant)

5. ทำให้ในต้นหนึ่งต้นมีหลายพันธุ์อยู่ด้วยกันเพื่อเก็บผลผลิตต่างพันธุ์หรือความสวยงาม

6. ต้นพันธุ์บางชนิดมีการเจริญเติบโตได้ดีกว่าเมื่อต่ออยู่บนระบบรากของอีกพันธุ์หนึ่ง

7. ต้องการให้อิทธิพลของความแคระมีผลต่อต้นตอหรือ

ภาณุพงศ์ วงษ์สุวรรณ ม.3/2 เลขที่ 10

การต่อกิ่ง

เป็นวิธีการขยายพันธุ์พืชแบบไม่ใช้เพศด้วยวิธีการนำกิ่งพืชสอง ชนิดมาเชื่อมต่อกันให้เจริญเป็นต้นเดียวกันส่วนของพืชที่เจริญเป็นรากเรียกว่า ต้นตอ (rootstock หรือ stock) และส่วนที่นำมาต่ออยู่บนต้นตอเป็นส่วนที่เจริญ เป็นกิ่งก้าน ออกดอกติดผลต่อไป เรียกว่า กิ่งพันธุ์ดี (scion) ซึ่งเป็นส่วนของ กิ่งพืชที่มีตามากกว่าหนึ่งตาขึ้นไปมาเชื่อมต่อกับต้นตอ

การปักชำ

คือการใช้ส่วนต่างๆ ของพืช เช่น ราก ใบ หรือ ลำต้น ไปปักชำ และส่วนของพืชเหล่านี้จะเจริญงอกงามเป็นลำต้นต่อไป

การปักชำราก

เป็นการเอารากของพืชมาปักชำ อาจปักลงไปในดิน ในทราย หรือในเถ้าแกลบก็ได้ เพื่อส่วนของรากนั้นงอกเป็นลำต้นต่อไป พืชที่ใช้รากปักชำ เช่น มันเทศ สน สาเก เข็มอินเดียเป็นต้น วิธีการชำรากทำได้ ดังนี้

การตอนกิ่ง

ข้อดี คือทำได้ง่าย ประสบผลสำเร็จมากกว่าการปักชำ และได้ต้นกล้าขนาด ใหญ่ ทำให้ได้ผลผลิตเร็ว ไม่กลายพันธุ์ ทรงต้นไม่สูงนัก

ข้อจำกัด คือ

2.1 ไม่มีรากแก้ว ทำให้ไม่สามารถ ทนต่อลมแรง ๆ โค่นล้มได้ง่าย

2.2 กิ่งตอนมีขนาดใหญ่กว่ากิ่งชำ การดูแลรักษาหลังตอนยากกว่ากิ่งตัดชำ

เทคโนโลยีสารสนเทศหมายถึง

อุปกรณ์หรือเครื่องมือที่เกี่ยวข้องกับการรวบรวมประมวล เก็บรักษา และเผยแพร่ข้อมูลและสารสนเทศโดยรวมทั้งฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ฐานข้อมูล และการสื่อสาร โทรคมนาคม ระบบสารสนเทศสร้างขึ้นมาเพื่อจุดมุ่งหมายหลายประการจุดมุ่งหมายพื้นฐานประการหนึ่ง คือ การประมวลข้อมูล (Data) ให้เป็นสารสนเทศ (Information) และนำไปสู่ความรู้ (Knowledge) ที่ช่วยแก้ปัญหาในการดำเนินงาน

ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ

ช่วยในการจัดระบบข่าวสารจำนวนมหาศาลของแต่ละวัน เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตสารสนเทศ เช่น การคำนวณตัวเลขที่ยุ่งยากซับซ้อน การจัดเรียงลำดับสารสนเทศ ฯ ช่วยให้สามารถเก็บสารสนเทศไว้ในรูปที่สามารถเรียกใช้ได้ทุกครั้งอย่างสะดวก

ประโยชน์ของเทคโนโลยีสารสนเทศ

สามารถใช้กับชีวิตได้หลายอย่าง เช่น หาความรู้เกี่ยวการทำงานต่างๆ หรือหาของที่อยากหาใดอย่าง เทคโนโลยีจึง

มีความสำคัญอย่างยิ้ง

ข้อที่ 1

วิธีการต่อกิ่ง

สามารถปฏิบัติได้หลายวิธี ขึ้นอยู่กับชนิดของพืช อายุและขนาดของพืชด้วย นอกจากนั้นยังเกี่ยวข้องกับวัตถุประสงค์ของการต่อกิ่งนั้นๆ ด้วย ในแต่ละวิธีที่จะกล่าวถึงต่อไปนั้นมีหลักพิจารณาในการเลือกปฏิบัติคือ การลอกเปลือกไม้ และการตัดยอดของต้นตอประโยชน์ของการต่อกิ่งและการนำไปใช้

1. เป็นวิธีการขยายพันธุ์พืชเพื่อเพิ่มจำนวนสายต้น (cultivar) ให้มีปริมาณมากโดยกิ่งพันธุ์ดีไม่ต้องใช้เวลานานในการออกดอกติดผล

2. เป็นทางเลือกในการขยายพันธุ์พืชที่ไม่สามารถใช้วิธีการอื่นได้ผลสำเร็จ เช่น การออกรากของกิ่งปักชำหรือกิ่งตอนไม่มาก

3. ต้องการใช้ประโยชน์จากความทนทานต่อสภาพแวดล้อมของระบบรากในต้นตอ เช่น รากของต้นตอที่เจริญเติบโตได้ในที่มีอุณหภูมิต่ำ น้ำท่วมขัง มีความต้านทานโรคและแมลงในดินได้ดี

4. สามารถนำกิ่งพันธุ์ ที่ช่วยในการผสมเกสรให้กับต้นพันธุ์ที่ต้องการเก็บผลผลิต เพื่อให้มีการผสมข้ามพันธุ์แล้วติดผลดีขึ้น หรือเป็นต้นที่แยกเพศ (dioecious plant)

5. ทำให้ในต้นหนึ่งต้นมีหลายพันธุ์อยู่ด้วยกันเพื่อเก็บผลผลิตต่างพันธุ์หรือความสวยงาม

6. ต้นพันธุ์บางชนิดมีการเจริญเติบโตได้ดีกว่าเมื่อต่ออยู่บนระบบรากของอีกพันธุ์หนึ่ง

7. ต้องการให้อิทธิพลของความแคระมีผลต่อต้นตอหรือกิ่งพันธุ์ดี ทำให้ขนาดทรงพุ่มเตี้ย

8. ช่วยให้พืชที่เข้ากันไม่ได้ (incompatibility) ประสานอยู่ด้วยกันได้ โดยใช้ interstock มาต่อกิ่งอยู่ระหว่างต้นตอและกิ่งพันธุ์ดี

9. ใช้สำหรับการซ่อมแซมความเสียหายที่เกิดขึ้นกับลำต้นที่เปลือกถูกแมลงหรือสัตว์กัดแทะหรือเครื่องมือในสวนทำให้เกิดความเสียหายจึงใช้การต่อกิ่งเชื่อมต่อส่วนเปลือกลำต้นให้เจริญเติบโตได้ตามปกติ เรียกว่า การต่อกิ่งแบบเชื่อมสะพาน

10. เพื่อการศึกษาโรคไวรัสที่สามารถถ่ายทอดจากกิ่งพันธุ์ที่สงสัยมีการติดโรคต่อกิ่งบนต้นที่อ่อนแอต่อโรค (indicator plant) ซึ่งสามารถแสดงอาการของโรคไวรัสได้ชัดเจน เป็นเทคนิคที่เรียกว่า virus indexing

ข้อที่ 2

การปักชำ

คือการใช้ส่วนต่างๆ ของพืช เช่น ราก ใบ หรือ ลำต้น ไปปักชำ และส่วนของพืชเหล่านี้จะเจริญงอกงามเป็นลำต้นต่อไป

การปักชำเป็นวิธีขยายพันธุ์พืชที่ดีวิธีหนึ่งซึ่งมีข้อดี ดังนี้

1. ประหยัดค่าใช้จ่าย

2. ขยายพันธุ์ได้ปริมาณมาก

3. ทำได้ง่ายโดยไม่ต้องอาศัยเทคนิคหรือความสามารถมาก

4. ต้นพืชเจริญเติบโตเร็ว โดยใช้ระยะเวลาไม่นาน

5. พืชต้นใหม่ที่ได้จะมีลักษณะเหมือนต้นเดิมทุกประการ

วัสดุที่ใช้ในการปักชำ

กระบะ ดิน ทราบ แกลบ ปุ๋ยคอก ขุยมะพร้าว ใบไม้ผุ

การปักชำสามารถทำได้หลายวิธี ดังนี้

1. การปักชำราก เป็นการเอารากของพืชมาปักชำ อาจปักลงไปในดิน ในทราย หรือในเถ้าแกลบก็ได้ เพื่อส่วนของรากนั้นงอกเป็นลำต้นต่อไป พืชที่ใช้รากปักชำ เช่น มันเทศ สน สาเก เข็มอินเดียเป็นต้น วิธีการชำรากทำได้ ดังนี้

1.1 ตัดรากไม้ออกเป็นท่อนๆ

1.2 วางรากบนดิน การปักชำรากไม่นิยมปักในแนวตั้ง แต่นิยมวางในแนวนอน หรือวางในแนวเฉียงเล็กน้อย

2. การปักชำใบ โดยทั่วไปแล้วใบจะแตกเป็นกิ่งไม่ได้ แต่มีพืชบางชนิดสามารถนำใบมาปักชำให้เจริญเติบโตเป็นต้นต่อไปได้ เช่น ลิ้นมังกร กุหลาบหิน คว่ำตายหงายเป็น เป็นต้น การปักชำใบมี 4 วิธี

วิธีที่ 1 การปักชำโดยใช้ใบ

ให้ นำใบที่ไม่ใช่ใบอ่อนมาตัดเป็นส่วนๆ หรือทั้งใบแล้วนำไปวางเป็นวัสดุ เช่น ทราย หรือดิน โดยให้ด้านบนของใบหงายขึ้น พืชที่นิยม เช่น คว่ำตายหงายเป็น กุหลาบหิน

วิธีที่ 2 การปักชำโดยใช้ก้านใบ

ให้ตัดก้านใบให้หลุดออกจากกิ่งแล้วนำไปปักชำก็จะเจริญเติบโตเป็นต้นใหม่ได้ เช่น กุหลาบหิน

วิธีที่ 3 การปักชำโดยใช้ก้านใบที่ส่วนของกิ่ง

ให้ เอาใบมา โดยเฉือนส่วนของกิ่งให้มีตาติดมาด้วย (มิใช่นำมาทั้งกิ่ง) แล้วนำไปปักชำ ส่วนตาที่ติดมากับกิ่งก็จะเจริญเติบโตเป็นต้นต่อไป วิธีนี้นิยมใช้กับ ฟิโลเดนดรอน ต้นยางอินเดีย

วิธีที่ 4 การใช้ใบติดกิ่งมาปักชำ

ให้ ตัดกิ่งที่จะนำมาปักชำ โดยกิ่งนั้นต้องมีตาเดียว และมีใบติดมาด้วยแล้วนำส่วนของกิ่งบางส่วนปักลงในดินให้ใบ และกิ่งส่วนหนึ่งโผล่ขึ้นมา เพียงเล็กน้อย พืชที่นิยมขยายพันธุ์แบบนี้ ได้แก่ ฟิโลเดนดรอน

ข้อที่ 3

การขยายพันธุ์พืชโดยวิธีตอนกิ่ง

การตอนกิ่ง

ในการตอนกิ่งจะต้องทำให้เกิดแผลกับลำต้นหรือกิ่ง เพื่อตัดท่ออาหารและ เนื้อเยื่อเจริญของกิ่งนั้นให้ขาดจากกัน แต่ท่อน้ำยังคงอยู่เหมือนเดิม ทำให้สามารถส่งน้ำจากรากไปยอดได้ตามปกติ กิ่งและใบยอดจะยังคงสดอยู่เสมอ ซึ่งเป็นเหตุผลสำคัญของการที่พืชบางชนิดขยายพันธุ์ด้วยการตอนกิ่งได้เป็นผลสำเร็จมากกว่าการตัดชำท่ออาหารให้ขาดจากกัน ทำให้การขนส่งอาหารไม่เกิดขึ้น อาหารที่ส่งมาจากยอดจะไปสะสมตรงเหนือรอยแผลมาก ประกอบกับเนื้อเยื่อเจริญบริเวณแผลถูกตัดขาด เป็นการกระตุ้นเตือนให้เนื้อเยื่อเจริญส่วนนั้นเกิดการแบ่งเซลล์อย่างรวดเร็ว มีเซลล์ที่เกิดใหม่มากมาย (มีอาหารอุดมสมบูรณ์จากการสะสมเหนือรอยแผล) จะมีเซลล์ส่วนหนึ่งที่พัฒนาไปเป็นราก ทำหน้าที่ดูดน้ำและธาตุอาหาร

พืชแต่ละชนิดมีความยากง่ายในการที่เนื้อเยื่อเจริญจะพัฒนาไปเป็นราก แตกต่างกัน และการจัดสภาพแวดล้อมให้กับเนื้อเยื่อเจริญที่จะเจริญพัฒนาไปเป็นรากได้ ก็ต้องมีความเหมาะสม โดยเฉพาะเกี่ยวกับอุณหภูมิ ความชื้น และบางครั้งอาจจำเป็นต้องใช้สารควบคุมการเจริญเติบโต

ข้อดีข้อจำกัดของการตอนกิ่ง

ข้อดี คือทำได้ง่าย ประสบผลสำเร็จมากกว่าการปักชำ และได้ต้นกล้าขนาด ใหญ่ ทำให้ได้ผลผลิตเร็ว ไม่กลายพันธุ์ ทรงต้นไม่สูงนัก

ข้อจำกัด คือ

2.1 ไม่มีรากแก้ว ทำให้ไม่สามารถ ทนต่อลมแรง ๆ โค่นล้มได้ง่าย

2.2 กิ่งตอนมีขนาดใหญ่กว่ากิ่งชำ การดูแลรักษาหลังตอนยากกว่ากิ่งตัดชำ

การตอนแบบควั่นกิ่ง

เป็นวิธีที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย ทำได้ง่ายและสะดวก มีขั้นตอนดังนี้

1.1 เลือกกิ่งที่แข็งแรง สมบูรณ์ ไม่เป็นโรคและแมลง

เป็นกิ่งที่อยู่ทางด้านนอกของทรงพุ่ม ได้รับแสงแดดเต็มที่ ถ้าเป็นสวนเพื่อการขยายพันธุ์อย่างเดียวจะเลือกตอนเกือบทุกกิ่ง เหลือไว้บางกิ่งเพื่อเป็นพี่เลี้ยงต้นหลังจากตัดกิ่งตอนออกไป

1.2 การควั่นกิ่ง

สำหรับไม้ผล ควรเลือกกิ่งยาวประมาณ 30-50 เซนติเมตร ส่วนไม้ประดับอาจสั้นกว่านี้ ขึ้นอยู่กับจำนวนต้นที่ต้องการและชนิดของพืช ไม่ควรให้กิ่งมีพุ่มขนาดใหญ่มากนักเพราะจะทำให้เกิดการเหี่ยวแห้งในระยะชำเนื่องจากมีจำนวนใบไม่สมดุลกับจำนวนราก ความยาวของรอยควั่นเท่ากับ 1-2 เท่าของเส้นรอบวงของกิ่ง หรือดูจากความสามารถในการออกราก พืชที่ออกรากง่ายรอยควั่นจะสั้น (ประมาณ 1 เท่าของเส้นรอบวง)ถ้าเป็นพืชที่ออกรากยากรอยควั่นจะห่างประมาณ 1.5-2 เท่าของเส้นรอบวงของกิ่งนั้น คุณบุญชอบ โพธิ์รักษา แนะนำว่า การตอนฝรั่งควรจะควั่นห่างเพียง ½ เซนติเมตร ปล่อยให้แห้งสักครู่จึงค่อยหุ้มขุยมะพร้าว (มีการเสริมด้วยไม้ท่อนเล็ก ๆ ก่อนหุ้มขุยมะพร้าวเพื่อป้องกันกิ่งหัก)

1.3 การขูดเยื่อเจริญ (เมือกลื่น ๆ อยู่ระหว่างส่วนของเปลือกกับเนื้อไม้)

พืชแต่ละชนิดต้องการการขูดเยื่อเจริญต่างกัน ควรจะสังเกตว่าพืชใดต้องขูดเยื่อเจริญมากน้อยเท่าใด พืชบางชนิดไม่ต้องขูดเยื่อเจริญ เช่น ฝรั่ง สนแผง ถ้าขูดแล้วกิ่งมักจะแห้งตายเนื่องจากท่อน้ำถูกทำลาย พืชบางชนิดอาจขูดเยื่อเจริญแล้วหุ้มตามได้เลย (พืชทั่วไป) แต่บางชนิดต้องควั่นทิ้งไว้ให้เยื่อเจริญแห้งประมาณ 1 สัปดาห์ จึงจะหุ้มด้วยขุยมะพร้าว เช่น ละมุด

1.4 การหุ้มรอยควั่น

ปัจจุบันนิยมใช้ถุงพลาสติกขนาดเล็กบรรจุขุยมะพร้าว รัดปากถุงให้แน่น ใช้มีดผ่าถุงหุ้มรอยควั่นให้มิด มัดให้แน่น อย่าให้กระเปาะขุยมะพร้าวหมุนหรือขยับได้ เพราะจะทำให้รากที่งอกหักได้ หุ้มทับด้วยกระดาษเพื่อช่วยลดอุษหภูมิและแสงในขุยมะพร้าว ซึ่งจะทำให้การเดินของรากดีขึ้น บางท่านนิยมหุ้มรอยควั่นด้วยดินเหนียว ก่อนหุ้มด้วยกาบมะพร้าวแช่น้ำทุบให้นิ่ม แล้วหุ้มทับด้วยใบตองแห้งหรือผ้าพลาสติก (ไม่นิยมทำในทางการค้า เนื่องจากต้องใช้เวลา) แต่บางสวนจะผ่าตุ้มมะพร้าวแล้วป้ายดินด้านในเล็กน้อยแทนการหุ้มด้วย

1.5 การดูแลรักษา

คอยดูแลรดน้ำอยู่เสมออย่าให้กระเปาะแห้ง ถ้าขุยมะพร้าวชื้นพอ รัดปากถุงให้แน่นจะไม่ต้องรดน้ำอีกเลย พร้อมกันนี้ต้องระวังไม่ให้มดมากัดทำลายด้วย

1.6 การตัดกิ่งตอนตัดเมื่อรากแก่

เมื่อรากแทงทะลุขุยมะพร้าวออกมา ปลายรากเริ่มมีสีน้ำตาล และกิ่งตอนมีใบแก่ทั้งหมด จึงตัดจากต้นแม่ใต้กระเปาะตอนไปชำ

การตอนแบบกรีดกิ่ง นิยมใช้กับกิ่งที่มีแก่นเล็ก หรือกิ่งที่เปราะหักง่าย มีขั้นตอนการปฏิบัติเช่นเดียวกับการตอนแบบควั่นกิ่ง ต่างกันตรงรอยแผลจะใช้มีดกรีดเปลือกยาวประมาณ 1 นิ้ว 3-4 รอย

เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง

อุปกรณ์หรือเครื่องมือที่เกี่ยวข้องกับการรวบรวมประมวล เก็บรักษา และเผยแพร่ข้อมูลและสารสนเทศโดยรวมทั้งฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ฐานข้อมูล และการสื่อสาร โทรคมนาคม ระบบสารสนเทศสร้างขึ้นมาเพื่อจุดมุ่งหมายหลายประการจุดมุ่งหมายพื้นฐานประการหนึ่ง คือ การประมวลข้อมูล (Data) ให้เป็นสารสนเทศ (Information) และนำไปสู่ความรู้ (Knowledge) ที่ช่วยแก้ปัญหาในการดำเนินงาน

ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ

ช่วยในการจัดระบบข่าวสารจำนวนมหาศาลของแต่ละวัน เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตสารสนเทศ เช่น การคำนวณตัวเลขที่ยุ่งยากซับซ้อน การจัดเรียงลำดับสารสนเทศ ฯ ช่วยให้สามารถเก็บสารสนเทศไว้ในรูปที่สามารถเรียกใช้ได้ทุกครั้งอย่างสะดวก

ช่วยให้สามารถจัดระบบอัตโนมัติ เพื่อการจัดเก็บประมวลผล และเรียกใช้สารสนเทศ

ช่วยในการเข้าถึงสารสนเทศได้อย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพมากขึ้น ช่วยในการสื่อสารระหว่างกันได้อย่างสะดวกรวดเร็ว ลดอุปสรรคเกี่ยวกับเวลา และระยะทาง โดยการใช้ระบบโทรศัพท์ และอื่นๆ

ประโยชน์ของเทคโนโลยีสารสนเทศ

การกำเนิดของคอมพิวเตอร์เมื่อประมาณห้าสิบกว่าปีที่แล้ว เป็นก้าวสำคัญที่นำไปสู่ยุคสารสนเทศ ในช่วงแรกมีการนำเอาคอมพิวเตอร์มาใช้เป็นเครื่องคำนวณ แต่ต่อมาได้มีความพยายามพัฒนาให้คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์สำคัญสำหรับการจัดการข้อมูล เมื่อเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ได้ก้าวหน้ามากขึ้น ทำให้สามารถสร้างคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กลง แต่ประสิทธิภาพสูงขึ้น สภาพการใช้งานจึงใช้งานกันอย่างแพร่หลาย ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีต่อชีวิตความเป็นอยู่และสังคมจึงมีมาก มีการเรียนรู้และใช้สารสนเทศกันอย่างกว้างขวาง ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศโดยรวมกล่าวได้ดังนี้

การสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สภาพความเป็นอยู่ของสังคมเมือง มีการพัฒนาใช้ระบบสื่อสารโทรคมนาคม เพื่อติดต่อสื่อสารให้สะดวกขึ้น มีการประยุกต์มาใช้กับเครื่องอำนวยความสะดวกภายในบ้าน เช่น ใช้ควบคุมเครื่องปรับอากาศ ใช้ควมคุมระบบไฟฟ้าภายในบ้าน เป็นต้น

นางสาว สายสมร ใจภักดี

วิธีการต่อกิ่ง

สามารถปฏิบัติได้หลายวิธี ขึ้นอยู่กับชนิดของพืช อายุและขนาดของพืชด้วย นอกจากนั้นยังเกี่ยวข้องกับวัตถุประสงค์ของการต่อกิ่งนั้นๆ ด้วย ในแต่ละวิธีที่จะกล่าวถึงต่อไปนั้นมีหลักพิจารณาในการเลือกปฏิบัติคือ การลอกเปลือกไม้ และการตัดยอดของต้นตอประโยชน์ของการต่อกิ่งและการนำไปใช้

1. เป็นวิธีการขยายพันธุ์พืชเพื่อเพิ่มจำนวนสายต้น (cultivar) ให้มีปริมาณมากโดยกิ่งพันธุ์ดีไม่ต้องใช้เวลานานในการออกดอกติดผล

2. เป็นทางเลือกในการขยายพันธุ์พืชที่ไม่สามารถใช้วิธีการอื่นได้ผลสำเร็จ เช่น การออกรากของกิ่งปักชำหรือกิ่งตอนไม่มาก

3. ต้องการใช้ประโยชน์จากความทนทานต่อสภาพแวดล้อมของระบบรากในต้นตอ เช่น รากของต้นตอที่เจริญเติบโตได้ในที่มีอุณหภูมิต่ำ น้ำท่วมขัง มีความต้านทานโรคและแมลงในดินได้ดี

4. สามารถนำกิ่งพันธุ์ ที่ช่วยในการผสมเกสรให้กับต้นพันธุ์ที่ต้องการเก็บผลผลิต เพื่อให้มีการผสมข้ามพันธุ์แล้วติดผลดีขึ้น หรือเป็นต้นที่แยกเพศ (dioecious plant)

5. ทำให้ในต้นหนึ่งต้นมีหลายพันธุ์อยู่ด้วยกันเพื่อเก็บผลผลิตต่างพันธุ์หรือความสวยงาม

6. ต้นพันธุ์บางชนิดมีการเจริญเติบโตได้ดีกว่าเมื่อต่ออยู่บนระบบรากของอีกพันธุ์หนึ่ง

7. ต้องการให้อิทธิพลของความแคระมีผลต่อต้นตอหรือกิ่งพันธุ์ดี ทำให้ขนาดทรงพุ่มเตี้ย

8. ช่วยให้พืชที่เข้ากันไม่ได้ (incompatibility) ประสานอยู่ด้วยกันได้ โดยใช้ interstock มาต่อกิ่งอยู่ระหว่างต้นตอและกิ่งพันธุ์ดี

9. ใช้สำหรับการซ่อมแซมความเสียหายที่เกิดขึ้นกับลำต้นที่เปลือกถูกแมลงหรือสัตว์กัดแทะหรือเครื่องมือในสวนทำให้เกิดความเสียหายจึงใช้การต่อกิ่งเชื่อมต่อส่วนเปลือกลำต้นให้เจริญเติบโตได้ตามปกติ เรียกว่า การต่อกิ่งแบบเชื่อมสะพาน

10. เพื่อการศึกษาโรคไวรัสที่สามารถถ่ายทอดจากกิ่งพันธุ์ที่สงสัยมีการติดโรคต่อกิ่งบนต้นที่อ่อนแอต่อโรค (indicator plant) ซึ่งสามารถแสดงอาการของโรคไวรัสได้ชัดเจน เป็นเทคนิคที่เรียกว่า virus indexing

ข้อที่ 2

การปักชำ

คือการใช้ส่วนต่างๆ ของพืช เช่น ราก ใบ หรือ ลำต้น ไปปักชำ และส่วนของพืชเหล่านี้จะเจริญงอกงามเป็นลำต้นต่อไป

การปักชำเป็นวิธีขยายพันธุ์พืชที่ดีวิธีหนึ่งซึ่งมีข้อดี ดังนี้

1. ประหยัดค่าใช้จ่าย

2. ขยายพันธุ์ได้ปริมาณมาก

3. ทำได้ง่ายโดยไม่ต้องอาศัยเทคนิคหรือความสามารถมาก

4. ต้นพืชเจริญเติบโตเร็ว โดยใช้ระยะเวลาไม่นาน

5. พืชต้นใหม่ที่ได้จะมีลักษณะเหมือนต้นเดิมทุกประการ

วัสดุที่ใช้ในการปักชำ

กระบะ ดิน ทราบ แกลบ ปุ๋ยคอก ขุยมะพร้าว ใบไม้ผุ

การปักชำสามารถทำได้หลายวิธี ดังนี้

1. การปักชำราก เป็นการเอารากของพืชมาปักชำ อาจปักลงไปในดิน ในทราย หรือในเถ้าแกลบก็ได้ เพื่อส่วนของรากนั้นงอกเป็นลำต้นต่อไป พืชที่ใช้รากปักชำ เช่น มันเทศ สน สาเก เข็มอินเดียเป็นต้น วิธีการชำรากทำได้ ดังนี้

1.1 ตัดรากไม้ออกเป็นท่อนๆ

1.2 วางรากบนดิน การปักชำรากไม่นิยมปักในแนวตั้ง แต่นิยมวางในแนวนอน หรือวางในแนวเฉียงเล็กน้อย

2. การปักชำใบ โดยทั่วไปแล้วใบจะแตกเป็นกิ่งไม่ได้ แต่มีพืชบางชนิดสามารถนำใบมาปักชำให้เจริญเติบโตเป็นต้นต่อไปได้ เช่น ลิ้นมังกร กุหลาบหิน คว่ำตายหงายเป็น เป็นต้น การปักชำใบมี 4 วิธี

วิธีที่ 1 การปักชำโดยใช้ใบ

ให้ นำใบที่ไม่ใช่ใบอ่อนมาตัดเป็นส่วนๆ หรือทั้งใบแล้วนำไปวางเป็นวัสดุ เช่น ทราย หรือดิน โดยให้ด้านบนของใบหงายขึ้น พืชที่นิยม เช่น คว่ำตายหงายเป็น กุหลาบหิน

วิธีที่ 2 การปักชำโดยใช้ก้านใบ

ให้ตัดก้านใบให้หลุดออกจากกิ่งแล้วนำไปปักชำก็จะเจริญเติบโตเป็นต้นใหม่ได้ เช่น กุหลาบหิน

วิธีที่ 3 การปักชำโดยใช้ก้านใบที่ส่วนของกิ่ง

ให้ เอาใบมา โดยเฉือนส่วนของกิ่งให้มีตาติดมาด้วย (มิใช่นำมาทั้งกิ่ง) แล้วนำไปปักชำ ส่วนตาที่ติดมากับกิ่งก็จะเจริญเติบโตเป็นต้นต่อไป วิธีนี้นิยมใช้กับ ฟิโลเดนดรอน ต้นยางอินเดีย

วิธีที่ 4 การใช้ใบติดกิ่งมาปักชำ

ให้ ตัดกิ่งที่จะนำมาปักชำ โดยกิ่งนั้นต้องมีตาเดียว และมีใบติดมาด้วยแล้วนำส่วนของกิ่งบางส่วนปักลงในดินให้ใบ และกิ่งส่วนหนึ่งโผล่ขึ้นมา เพียงเล็กน้อย พืชที่นิยมขยายพันธุ์แบบนี้ ได้แก่ ฟิโลเดนดรอน

ข้อที่ 3

การขยายพันธุ์พืชโดยวิธีตอนกิ่ง

การตอนกิ่ง

ในการตอนกิ่งจะต้องทำให้เกิดแผลกับลำต้นหรือกิ่ง เพื่อตัดท่ออาหารและ เนื้อเยื่อเจริญของกิ่งนั้นให้ขาดจากกัน แต่ท่อน้ำยังคงอยู่เหมือนเดิม ทำให้สามารถส่งน้ำจากรากไปยอดได้ตามปกติ กิ่งและใบยอดจะยังคงสดอยู่เสมอ ซึ่งเป็นเหตุผลสำคัญของการที่พืชบางชนิดขยายพันธุ์ด้วยการตอนกิ่งได้เป็นผลสำเร็จมากกว่าการตัดชำท่ออาหารให้ขาดจากกัน ทำให้การขนส่งอาหารไม่เกิดขึ้น อาหารที่ส่งมาจากยอดจะไปสะสมตรงเหนือรอยแผลมาก ประกอบกับเนื้อเยื่อเจริญบริเวณแผลถูกตัดขาด เป็นการกระตุ้นเตือนให้เนื้อเยื่อเจริญส่วนนั้นเกิดการแบ่งเซลล์อย่างรวดเร็ว มีเซลล์ที่เกิดใหม่มากมาย (มีอาหารอุดมสมบูรณ์จากการสะสมเหนือรอยแผล) จะมีเซลล์ส่วนหนึ่งที่พัฒนาไปเป็นราก ทำหน้าที่ดูดน้ำและธาตุอาหาร

พืชแต่ละชนิดมีความยากง่ายในการที่เนื้อเยื่อเจริญจะพัฒนาไปเป็นราก แตกต่างกัน และการจัดสภาพแวดล้อมให้กับเนื้อเยื่อเจริญที่จะเจริญพัฒนาไปเป็นรากได้ ก็ต้องมีความเหมาะสม โดยเฉพาะเกี่ยวกับอุณหภูมิ ความชื้น และบางครั้งอาจจำเป็นต้องใช้สารควบคุมการเจริญเติบโต

ข้อดีข้อจำกัดของการตอนกิ่ง

ข้อดี คือทำได้ง่าย ประสบผลสำเร็จมากกว่าการปักชำ และได้ต้นกล้าขนาด ใหญ่ ทำให้ได้ผลผลิตเร็ว ไม่กลายพันธุ์ ทรงต้นไม่สูงนัก

ข้อจำกัด คือ

2.1 ไม่มีรากแก้ว ทำให้ไม่สามารถ ทนต่อลมแรง ๆ โค่นล้มได้ง่าย

2.2 กิ่งตอนมีขนาดใหญ่กว่ากิ่งชำ การดูแลรักษาหลังตอนยากกว่ากิ่งตัดชำ

การตอนแบบควั่นกิ่ง

เป็นวิธีที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย ทำได้ง่ายและสะดวก มีขั้นตอนดังนี้

1.1 เลือกกิ่งที่แข็งแรง สมบูรณ์ ไม่เป็นโรคและแมลง

เป็นกิ่งที่อยู่ทางด้านนอกของทรงพุ่ม ได้รับแสงแดดเต็มที่ ถ้าเป็นสวนเพื่อการขยายพันธุ์อย่างเดียวจะเลือกตอนเกือบทุกกิ่ง เหลือไว้บางกิ่งเพื่อเป็นพี่เลี้ยงต้นหลังจากตัดกิ่งตอนออกไป

1.2 การควั่นกิ่ง

สำหรับไม้ผล ควรเลือกกิ่งยาวประมาณ 30-50 เซนติเมตร ส่วนไม้ประดับอาจสั้นกว่านี้ ขึ้นอยู่กับจำนวนต้นที่ต้องการและชนิดของพืช ไม่ควรให้กิ่งมีพุ่มขนาดใหญ่มากนักเพราะจะทำให้เกิดการเหี่ยวแห้งในระยะชำเนื่องจากมีจำนวนใบไม่สมดุลกับจำนวนราก ความยาวของรอยควั่นเท่ากับ 1-2 เท่าของเส้นรอบวงของกิ่ง หรือดูจากความสามารถในการออกราก พืชที่ออกรากง่ายรอยควั่นจะสั้น (ประมาณ 1 เท่าของเส้นรอบวง)ถ้าเป็นพืชที่ออกรากยากรอยควั่นจะห่างประมาณ 1.5-2 เท่าของเส้นรอบวงของกิ่งนั้น คุณบุญชอบ โพธิ์รักษา แนะนำว่า การตอนฝรั่งควรจะควั่นห่างเพียง ½ เซนติเมตร ปล่อยให้แห้งสักครู่จึงค่อยหุ้มขุยมะพร้าว (มีการเสริมด้วยไม้ท่อนเล็ก ๆ ก่อนหุ้มขุยมะพร้าวเพื่อป้องกันกิ่งหัก)

1.3 การขูดเยื่อเจริญ (เมือกลื่น ๆ อยู่ระหว่างส่วนของเปลือกกับเนื้อไม้)

พืชแต่ละชนิดต้องการการขูดเยื่อเจริญต่างกัน ควรจะสังเกตว่าพืชใดต้องขูดเยื่อเจริญมากน้อยเท่าใด พืชบางชนิดไม่ต้องขูดเยื่อเจริญ เช่น ฝรั่ง สนแผง ถ้าขูดแล้วกิ่งมักจะแห้งตายเนื่องจากท่อน้ำถูกทำลาย พืชบางชนิดอาจขูดเยื่อเจริญแล้วหุ้มตามได้เลย (พืชทั่วไป) แต่บางชนิดต้องควั่นทิ้งไว้ให้เยื่อเจริญแห้งประมาณ 1 สัปดาห์ จึงจะหุ้มด้วยขุยมะพร้าว เช่น ละมุด

1.4 การหุ้มรอยควั่น

ปัจจุบันนิยมใช้ถุงพลาสติกขนาดเล็กบรรจุขุยมะพร้าว รัดปากถุงให้แน่น ใช้มีดผ่าถุงหุ้มรอยควั่นให้มิด มัดให้แน่น อย่าให้กระเปาะขุยมะพร้าวหมุนหรือขยับได้ เพราะจะทำให้รากที่งอกหักได้ หุ้มทับด้วยกระดาษเพื่อช่วยลดอุษหภูมิและแสงในขุยมะพร้าว ซึ่งจะทำให้การเดินของรากดีขึ้น บางท่านนิยมหุ้มรอยควั่นด้วยดินเหนียว ก่อนหุ้มด้วยกาบมะพร้าวแช่น้ำทุบให้นิ่ม แล้วหุ้มทับด้วยใบตองแห้งหรือผ้าพลาสติก (ไม่นิยมทำในทางการค้า เนื่องจากต้องใช้เวลา) แต่บางสวนจะผ่าตุ้มมะพร้าวแล้วป้ายดินด้านในเล็กน้อยแทนการหุ้มด้วย

1.5 การดูแลรักษา

คอยดูแลรดน้ำอยู่เสมออย่าให้กระเปาะแห้ง ถ้าขุยมะพร้าวชื้นพอ รัดปากถุงให้แน่นจะไม่ต้องรดน้ำอีกเลย พร้อมกันนี้ต้องระวังไม่ให้มดมากัดทำลายด้วย

1.6 การตัดกิ่งตอนตัดเมื่อรากแก่

เมื่อรากแทงทะลุขุยมะพร้าวออกมา ปลายรากเริ่มมีสีน้ำตาล และกิ่งตอนมีใบแก่ทั้งหมด จึงตัดจากต้นแม่ใต้กระเปาะตอนไปชำ

การตอนแบบกรีดกิ่ง นิยมใช้กับกิ่งที่มีแก่นเล็ก หรือกิ่งที่เปราะหักง่าย มีขั้นตอนการปฏิบัติเช่นเดียวกับการตอนแบบควั่นกิ่ง ต่างกันตรงรอยแผลจะใช้มีดกรีดเปลือกยาวประมาณ 1 นิ้ว 3-4 รอย

เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง

อุปกรณ์หรือเครื่องมือที่เกี่ยวข้องกับการรวบรวมประมวล เก็บรักษา และเผยแพร่ข้อมูลและสารสนเทศโดยรวมทั้งฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ฐานข้อมูล และการสื่อสาร โทรคมนาคม ระบบสารสนเทศสร้างขึ้นมาเพื่อจุดมุ่งหมายหลายประการจุดมุ่งหมายพื้นฐานประการหนึ่ง คือ การประมวลข้อมูล (Data) ให้เป็นสารสนเทศ (Information) และนำไปสู่ความรู้ (Knowledge) ที่ช่วยแก้ปัญหาในการดำเนินงาน

ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ

ช่วยในการจัดระบบข่าวสารจำนวนมหาศาลของแต่ละวัน เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตสารสนเทศ เช่น การคำนวณตัวเลขที่ยุ่งยากซับซ้อน การจัดเรียงลำดับสารสนเทศ ฯ ช่วยให้สามารถเก็บสารสนเทศไว้ในรูปที่สามารถเรียกใช้ได้ทุกครั้งอย่างสะดวก

ช่วยให้สามารถจัดระบบอัตโนมัติ เพื่อการจัดเก็บประมวลผล และเรียกใช้สารสนเทศ

ช่วยในการเข้าถึงสารสนเทศได้อย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพมากขึ้น ช่วยในการสื่อสารระหว่างกันได้อย่างสะดวกรวดเร็ว ลดอุปสรรคเกี่ยวกับเวลา และระยะทาง โดยการใช้ระบบโทรศัพท์ และอื่นๆ

ประโยชน์ของเทคโนโลยีสารสนเทศ

การกำเนิดของคอมพิวเตอร์เมื่อประมาณห้าสิบกว่าปีที่แล้ว เป็นก้าวสำคัญที่นำไปสู่ยุคสารสนเทศ ในช่วงแรกมีการนำเอาคอมพิวเตอร์มาใช้เป็นเครื่องคำนวณ แต่ต่อมาได้มีความพยายามพัฒนาให้คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์สำคัญสำหรับการจัดการข้อมูล เมื่อเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ได้ก้าวหน้ามากขึ้น ทำให้สามารถสร้างคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กลง แต่ประสิทธิภาพสูงขึ้น สภาพการใช้งานจึงใช้งานกันอย่างแพร่หลาย ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีต่อชีวิตความเป็นอยู่และสังคมจึงมีมาก มีการเรียนรู้และใช้สารสนเทศกันอย่างกว้างขวาง ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศโดยรวมกล่าวได้ดังนี้

การสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สภาพความเป็นอยู่ของสังคมเมือง มีการพัฒนาใช้ระบบสื่อสารโทรคมนาคม เพื่อติดต่อสื่อสารให้สะดวกขึ้น มีการประยุกต์มาใช้กับเครื่องอำนวยความสะดวกภายในบ้าน เช่น ใช้ควบคุมเครื่องปรับอากาศ ใช้ควมคุมระบบไฟฟ้าภายในบ้าน เป็นต้น

นางสาว ทิพวรรณ มูลสิงห์

การต่อกิ่งเป็นวิธีการขยายพันธุ์พืชแบบไม่ใช้เพศด้วยวิธีการนำกิ่งพืชสอง ชนิดมาเชื่อมต่อกันให้เจริญเป็นต้นเดียวกันส่วนของพืชที่เจริญเป็นรากเรียกว่า ต้นตอ (rootstock หรือ stock) และส่วนที่นำมาต่ออยู่บนต้นตอเป็นส่วนที่เจริญ เป็นกิ่งก้าน ออกดอกติดผลต่อไป เรียกว่า กิ่งพันธุ์ดี (scion) ซึ่งเป็นส่วนของ กิ่งพืชที่มีตามากกว่าหนึ่งตาขึ้นไปมาเชื่อมต่อกับต้นตอความสำเร็จของการต่อกิ่ง จะเกิดขึ้นได้นั้นต้องมีการเชื่อมต่อ ระหว่างเนื้อเยื่อต้นตอและกิ่งพันธุ์ดี สามารถลำเลียงน้ำและอาหารผ่าน บริเวณรอยต่อ ได้เนื้อเยื่อบริเวณ รอยต่อ(graft union)นี้เกิดจากเนื้อเยื่อ ของต้นตอและกิ่งพันธุ์ดีมาเรียงตัว อยู่ด้วยกันโดยไม่เกิดการรวมตัวของเซลล์ระหว่างพืชทั้งสองชนิด

เนื้อเยื่อที่เกิดขึ้นถูกสร้างขึ้นมา สมานแผลเป็น เซลล์ parenchyma จำนวนมากประกอบกัน เป็นเนื้อเยื่อ callus เกิดขึ้นภายใน 2-3 วัน รอยแผลที่เกิดจาก การเฉือนกิ่งจะมีส่วนที่ตายไปและมีการสร้างสาร nicrotic เพื่อรักษาบาดแผล ส่วนมากสารเหล่านี้จะหายไป เมื่อเกิดการเชื่อมต่อกันดีแล้วหรือยังอยู่ในช่องว่างระหว่าง เซลล์ก็ได้อาจพบเป็นเซลล์ที่ตายและเยินจากเนื้อเยื่อ

การเกิดรอยต่อได้นั้นต้องวางให้เนื้อเยื่อแคมเบียมของต้นตอและกิ่งพันธุ์ดี อยู่แนบหรือใกล้กันมากที่สุดแล้วจะมีการสร้างเนื้อเยื่อแคลลัสใหม่เกิดขึ้น จากทั้งสองส่วนจนเต็มช่องว่างระหว่างกันเรียกว่า callus bridge ซึ่งจะมีการ พัฒนาไปเป็นเนื้อเยื่อเจริญ (vascular cambium) ภายใน 2-3 สัปดาห์และมี การสร้างท่อน้ำ (xylem) และท่ออาหาร (phloem) เชื่อมกันต่อไป การปรับสภาพแวดล้อมภายนอกให้เหมาะสมมีผลต่อความสำเร็จในการต่อกิ่งด้วย คือ อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการแบ่งเซลล์บริเวณรอยต่ออยู่ระหว่าง 12.8-32.0 องศาเซลเซียส เมื่อเกิดเนื้อเยื่อ callus ขึ้นต้องควบคุมความชื้นบริเวณรอยต่อให้เหมาะสมเนื่องจากเซลล์มีผนังบางและเต่งจึงแห้งตายได้ง่าย จำเป็นต้องพันพลาสติกหรือใช้ถุงพลาสติกคลุมทับ การป้องกันแผลไม่ให้มีการติดเชื้อที่จะทำให้เน่าตายได้เช่นกัน

นอกจากนั้นความสัมพันธ์ของระยะการเจริญเติบโตของตาบนกิ่งพันธุ์ดีจะต้องพอเหมาะกับการพัฒนาการของเนื้อเยื่อบริเวณรอยต่อด้วย กล่าวคือ ขั้นตอนการสร้างท่อน้ำท่ออาหาร ต้องเกิดขึ้นอย่างสมบูรณ์ก่อนที่จะมีใบใหม่เจริญจากตาของกิ่งพันธุ์ดี มิฉะนั้นจะเกิดการแห้งตายของตานั้นได้

การเข้ากันได้ (compatibility) ของพืชทั้งสองชนิดมีส่วนต่อความสำเร็จในการต่อกิ่งด้วย การเลือกใช้ต้นตอและกิ่งพันธุ์ที่มีความใกล้ชิดกันทางพฤกษศาสตร์จะต่อกันได้ดีและรอยต่อเจริญ เหมือนเป็นต้นเดียวกัน เช่น มะม่วงแต่ละพันธุ์จัดเป็นชนิด (species) เดียวกันจึงต่อกิ่งได้ง่าย แต่พืชบางชนิดสามารถเข้ากันได้ดีถึงแม้จะมีความแตกต่างกันมาก เช่น ส้มสามใบ (Poncitrus trifoliata) ต่อด้วยส้มเขียวหวาน (Citrus reticulata) มีพืชหลายคู่ที่สามารถต่อกันได้ในระยะแรก แต่เมื่อเวลาผ่านไปจะมีอาการของการเข้ากันไม่ได้ (incompatibility) เกิดรอยต่อแยกจากกันหรือมีการเติบโตผิดปกติ เช่น ต้นดอนย่าสีชมพูต่อบนดอนย่าสีขาวทักษะและประสบการณ์ของผู้ปฏิบัติงานมีส่วนสำคัญเช่นกัน นอกจากนั้นเครื่องมือที่ใช้ คือ มีดเฉือนกิ่ง ควรอยู่ในสภาพที่คมสามารถเฉือนกิ่งได้โดยไม่ทำให้เนื่อเยื่อชอกช้ำหรือเยินเสียหาย ผู้ปฏิบัติงานต้องทำงานอย่างรวดเร็วและรักษาความสะอาดของแผลบนกิ่งพันธุ์ดี และต้นตอด้วย การเลือกใช้วิธีการต่อกิ่งที่เหมาะสมกับพืชและระยะเวลาเป็นสิ่งสำคัญอีกประการหนึ่งที่ผู้ปฏิบัติงานต้องให้ความสำคัญด้วย กล่าวคือการเลือกใช้วิธีต่อกิ่งกับต้นพืชที่อยู่ในระยะการเจริญเติบโตสามารถลอกเปลือกได้ หรืออยู่ในระยะพักตัว นอกจากนั้นการดูแลเอาใจใส่อย่างใกล้ชิดภายหลังการปฏิบัติงานมีส่วนต่อความสำเร็จของงานด้วย

วิธีการต่อกิ่ง สามารถปฏิบัติได้หลายวิธี ขึ้นอยู่กับชนิดของพืช อายุและขนาดของพืชด้วย นอกจากนั้นยังเกี่ยวข้องกับวัตถุประสงค์ของการต่อกิ่งนั้นๆ ด้วย ในแต่ละวิธีที่จะกล่าวถึงต่อไปนั้นมีหลักพิจารณาในการเลือกปฏิบัติคือ การลอกเปลือกไม้ และการตัดยอดของต้นตอประโยชน์ของการต่อกิ่งและการนำไปใช้

1. เป็นวิธีการขยายพันธุ์พืชเพื่อเพิ่มจำนวนสายต้น (cultivar) ให้มีปริมาณมากโดยกิ่งพันธุ์ดีไม่ต้องใช้เวลานานในการออกดอกติดผล

2. เป็นทางเลือกในการขยายพันธุ์พืชที่ไม่สามารถใช้วิธีการอื่นได้ผลสำเร็จ เช่น การออกรากของกิ่งปักชำหรือกิ่งตอนไม่มาก

3. ต้องการใช้ประโยชน์จากความทนทานต่อสภาพแวดล้อมของระบบรากในต้นตอ เช่น รากของต้นตอที่เจริญเติบโตได้ในที่มีอุณหภูมิต่ำ น้ำท่วมขัง มีความต้านทานโรคและแมลงในดินได้ดี

4. สามารถนำกิ่งพันธุ์ ที่ช่วยในการผสมเกสรให้กับต้นพันธุ์ที่ต้องการเก็บผลผลิต เพื่อให้มีการผสมข้ามพันธุ์แล้วติดผลดีขึ้น หรือเป็นต้นที่แยกเพศ (dioecious plant)

5. ทำให้ในต้นหนึ่งต้นมีหลายพันธุ์อยู่ด้วยกันเพื่อเก็บผลผลิตต่างพันธุ์หรือความสวยงาม

6. ต้นพันธุ์บางชนิดมีการเจริญเติบโตได้ดีกว่าเมื่อต่ออยู่บนระบบรากของอีกพันธุ์หนึ่ง

7. ต้องการให้อิทธิพลของความแคระมีผลต่อต้นตอหรือกิ่งพันธุ์ดี ทำให้ขนาดทรงพุ่มเตี้ย

8. ช่วยให้พืชที่เข้ากันไม่ได้ (incompatibility) ประสานอยู่ด้วยกันได้ โดยใช้ interstock มาต่อกิ่งอยู่ระหว่างต้นตอและกิ่งพันธุ์ดี

9. ใช้สำหรับการซ่อมแซมความเสียหายที่เกิดขึ้นกับลำต้นที่เปลือกถูกแมลงหรือสัตว์กัดแทะหรือเครื่องมือในสวนทำให้เกิดความเสียหายจึงใช้การต่อกิ่งเชื่อมต่อส่วนเปลือกลำต้นให้เจริญเติบโตได้ตามปกติ เรียกว่า การต่อกิ่งแบบเชื่อมสะพาน

10. เพื่อการศึกษาโรคไวรัสที่สามารถถ่ายทอดจากกิ่งพันธุ์ที่สงสัยมีการติดโรคต่อกิ่งบนต้นที่อ่อนแอต่อโรค (indicator plant) ซึ่งสามารถแสดงอาการของโรคไวรัสได้ชัดเจน เป็นเทคนิคที่เรียกว่า virus indexing

2. การปักชำ คือการใช้ส่วนต่างๆ ของพืช เช่น ราก ใบ หรือ ลำต้น ไปปักชำ และส่วนของพืชเหล่านี้จะเจริญงอกงามเป็นลำต้นต่อไป

การปักชำเป็นวิธีขยายพันธุ์พืชที่ดีวิธีหนึ่งซึ่งมีข้อดี ดังนี้

1. ประหยัดค่าใช้จ่าย

2. ขยายพันธุ์ได้ปริมาณมาก

3. ทำได้ง่ายโดยไม่ต้องอาศัยเทคนิคหรือความสามารถมาก

4. ต้นพืชเจริญเติบโตเร็ว โดยใช้ระยะเวลาไม่นาน

5. พืชต้นใหม่ที่ได้จะมีลักษณะเหมือนต้นเดิมทุกประการ

วัสดุที่ใช้ในการปักชำ

กระบะ ดิน ทราบ แกลบ ปุ๋ยคอก ขุยมะพร้าว ใบไม้ผุ

การปักชำสามารถทำได้หลายวิธี ดังนี้

1. การปักชำราก เป็นการเอารากของพืชมาปักชำ อาจปักลงไปในดิน ในทราย หรือในเถ้าแกลบก็ได้ เพื่อส่วนของรากนั้นงอกเป็นลำต้นต่อไป พืชที่ใช้รากปักชำ เช่น มันเทศ สน สาเก เข็มอินเดียเป็นต้น วิธีการชำรากทำได้ ดังนี้

1.1 ตัดรากไม้ออกเป็นท่อนๆ

1.2 วางรากบนดิน การปักชำรากไม่นิยมปักในแนวตั้ง แต่นิยมวางในแนวนอน หรือวางในแนวเฉียงเล็กน้อย

2. การปักชำใบ โดยทั่วไปแล้วใบจะแตกเป็นกิ่งไม่ได้ แต่มีพืชบางชนิดสามารถนำใบมาปักชำให้เจริญเติบโตเป็นต้นต่อไปได้ เช่น ลิ้นมังกร กุหลาบหิน คว่ำตายหงายเป็น เป็นต้น การปักชำใบมี 4 วิธี

วิธีที่ 1 การปักชำโดยใช้ใบ

ให้ นำใบที่ไม่ใช่ใบอ่อนมาตัดเป็นส่วนๆ หรือทั้งใบแล้วนำไปวางเป็นวัสดุ เช่น ทราย หรือดิน โดยให้ด้านบนของใบหงายขึ้น พืชที่นิยม เช่น คว่ำตายหงายเป็น กุหลาบหิน

วิธีที่ 2 การปักชำโดยใช้ก้านใบ

ให้ตัดก้านใบให้หลุดออกจากกิ่งแล้วนำไปปักชำก็จะเจริญเติบโตเป็นต้นใหม่ได้ เช่น กุหลาบหิน

วิธีที่ 3 การปักชำโดยใช้ก้านใบที่ส่วนของกิ่ง

ให้ เอาใบมา โดยเฉือนส่วนของกิ่งให้มีตาติดมาด้วย (มิใช่นำมาทั้งกิ่ง) แล้วนำไปปักชำ ส่วนตาที่ติดมากับกิ่งก็จะเจริญเติบโตเป็นต้นต่อไป วิธีนี้นิยมใช้กับ ฟิโลเดนดรอน ต้นยางอินเดีย

วิธีที่ 4 การใช้ใบติดกิ่งมาปักชำ

ให้ ตัดกิ่งที่จะนำมาปักชำ โดยกิ่งนั้นต้องมีตาเดียว และมีใบติดมาด้วยแล้วนำส่วนของกิ่งบางส่วนปักลงในดินให้ใบ และกิ่งส่วนหนึ่งโผล่ขึ้นมา เพียงเล็กน้อย พืชที่นิยมขยายพันธุ์แบบนี้ ได้แก่ ฟิโลเดนดรอน

การปักชำกิ่ง

เป็นวิธีที่นิยมกันมากและทำกัน มานานแล้ว เราไม่จำเป็นต้องพิถีพิถันกับวัสดุที่ใช้ในการปักชำมากนัก ปัจจุบันนิยมกัน แพร่หลายเพราะประหยัดค่าใช้จ่าย ใช้ระยะเวลาสั้น และได้ลักษณะพันธุ์เดิม การปักชำกิ่งแบ่งเป็น 3 ประเภท

1. การปักชำกิ่งประเภทที่มีเนื้ออวบน้ำ เช่น ฤาษีผสม กิ่งชนิดนี้จะอ่อน บอบบาง และช้ำง่าย ฉะนั้นจึงต้องการความประณีต ในการปฏิบัติ คือต้องระวังในเรื่องความชื้น แสง และอุณหภูมิ

2. การปักชำกิ่งที่มีความแข็งของเนื้อไม้ปานกลาง เช่น ว่านกวนอิม อายุของกิ่งประมาณ 3 - 6 เดือน ผิวเปลือกของกิ่งมี สีอมเขียว ยังไม่เป็นสีน้ำตาล กิ่งประเภทนี้มีเนื้อไม้อ่อนไม่แข็งแรงนัก ฉะนั้นจึงควรระมัดระวังเรื่องน้ำ อุณหภูมิ และแสงสว่างให้มาก เพราะกิ่งประเภทนี้จะเหี่ยวแห้งได้ง่าย

2. การปักชำไม้ที่มีอายุเกิน 1 ปีขึ้นไป วิธีนี้นิยมกันมาก การเลือกกิ่งไม้ที่จะนำมาปักชำ ควรเลือกกิ่งที่มีสีน้ำตาล ก่อนปักชำควร ปักกิ่งชำให้มีตาอย่างน้อย 2-3 ตา การตัดควรตัดเป็นท่อน ๆ ขนาด ยาว 6-8 เซนติเมตร การตัดท่อนปลายกิ่งให้ตัดเหนือข้อ ส่วนท่อนโคนให้ตัดต่ำกว่าข้อ โดยตัดให้เฉียง เราไม่ควรตัดตรงข้อพอดี เพราะจะทำให้กิ่งสูญเสียอาหารไป นอกจากนี้ บริเวณข้อยังมีเนื้อเยื่อ อัดตัวแน่นและแข็งแรง ช่วยป้องกันการระเหยของน้ำในกิ่งได้เป็นอย่างดี

1.3 การขยายพันธุ์พืชโดยวิธีตอนกิ่ง

ทฤษฎีการตอนกิ่ง

ในการตอนกิ่งจะต้องทำให้เกิดแผลกับลำต้นหรือกิ่ง เพื่อตัดท่ออาหารและ เนื้อเยื่อเจริญของกิ่งนั้นให้ขาดจากกัน แต่ท่อน้ำยังคงอยู่เหมือนเดิม ทำให้สามารถส่งน้ำจากรากไปยอดได้ตามปกติ กิ่งและใบยอดจะยังคงสดอยู่เสมอ ซึ่งเป็นเหตุผลสำคัญของการที่พืชบางชนิดขยายพันธุ์ด้วยการตอนกิ่งได้เป็นผลสำเร็จมากกว่าการตัดชำท่ออาหารให้ขาดจากกัน ทำให้การขนส่งอาหารไม่เกิดขึ้น อาหารที่ส่งมาจากยอดจะไปสะสมตรงเหนือรอยแผลมาก ประกอบกับเนื้อเยื่อเจริญบริเวณแผลถูกตัดขาด เป็นการกระตุ้นเตือนให้เนื้อเยื่อเจริญส่วนนั้นเกิดการแบ่งเซลล์อย่างรวดเร็ว มีเซลล์ที่เกิดใหม่มากมาย (มีอาหารอุดมมบูรณ์จากการสะสมเหนือรอยแผล) จะมีเซลล์ส่วนหนึ่งที่พัฒนาไปเป็นราก ทำหน้าที่ดูดน้ำและธาตุอาหาร

พืชแต่ละชนิดมีความยากง่ายในการที่เนื้อเยื่อเจริญจะพัฒนาไปเป็นราก แตกต่างกัน และการจัดสภาพแวดล้อมให้กับเนื้อเยื่อเจริญที่จะเจริญพัฒนาไปเป็นรากได้ ก็ต้องมีความเหมาะสม โดยเฉพาะเกี่ยวกับอุณหภูมิ ความชื้น และบางครั้งอาจจำเป็นต้องใช้สารควบคุมการเจริญเติบโต

ข้อดีข้อจำกัดของการตอนกิ่ง

ข้อดี คือทำได้ง่าย ประสบผลสำเร็จมากกว่าการปักชำ และได้ต้นกล้าขนาด ใหญ่ ทำให้ได้ผลผลิตเร็ว ไม่กลายพันธุ์ ทรงต้นไม่สูงนัก

ข้อจำกัด คือ

2.1 ไม่มีรากแก้ว ทำให้ไม่สามารถ ทนต่อลมแรง ๆ โค่นล้มได้ง่าย

2.2 กิ่งตอนมีขนาดใหญ่กว่ากิ่งชำ การดูแลรักษาหลังตอนยากกว่ากิ่งตัดชำ

การตอนแบบควั่นกิ่ง

เป็นวิธีที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย ทำได้ง่ายและสะดวก มีขั้นตอนดังนี้

1.1 เลือกกิ่งที่แข็งแรง สมบูรณ์ ไม่เป็นโรคและแมลง

เป็นกิ่งที่อยู่ทางด้านนอกของทรงพุ่ม ได้รับแสงแดดเต็มที่ ถ้าเป็นสวนเพื่อการขยายพันธุ์อย่างเดียวจะเลือกตอนเกือบทุกกิ่ง เหลือไว้บางกิ่งเพื่อเป็นพี่เลี้ยงต้นหลังจากตัดกิ่งตอนออกไป

1.2 การควั่นกิ่ง

สำหรับไม้ผล ควรเลือกกิ่งยาวประมาณ 30-50 เซนติเมตร ส่วนไม้ประดับอาจสั้นกว่านี้ ขึ้นอยู่กับจำนวนต้นที่ต้องการและชนิดของพืช ไม่ควรให้กิ่งมีพุ่มขนาดใหญ่มากนักเพราะจะทำให้เกิดการเหี่ยวแห้งในระยะชำเนื่องจากมีจำนวนใบไม่สมดุลกับจำนวนราก ความยาวของรอยควั่นเท่ากับ 1-2 เท่าของเส้นรอบวงของกิ่ง หรือดูจากความสามารถในการออกราก พืชที่ออกรากง่ายรอยควั่นจะสั้น (ประมาณ 1 เท่าของเส้นรอบวง)ถ้าเป็นพืชที่ออกรากยากรอยควั่นจะห่างประมาณ 1.5-2 เท่าของเส้นรอบวงของกิ่งนั้น คุณบุญชอบ โพธิ์รักษา แนะนำว่า การตอนฝรั่งควรจะควั่นห่างเพียง ½ เซนติเมตร ปล่อยให้แห้งสักครู่จึงค่อยหุ้มขุยมะพร้าว (มีการเสริมด้วยไม้ท่อนเล็ก ๆ ก่อนหุ้มขุยมะพร้าวเพื่อป้องกันกิ่งหัก)

1.3 การขูดเยื่อเจริญ (เมือกลื่น ๆ อยู่ระหว่างส่วนของเปลือกกับเนื้อไม้)

พืชแต่ละชนิดต้องการการขูดเยื่อเจริญต่างกัน ควรจะสังเกตว่าพืชใดต้องขูดเยื่อเจริญมากน้อยเท่าใด พืชบางชนิดไม่ต้องขูดเยื่อเจริญ เช่น ฝรั่ง สนแผง ถ้าขูดแล้วกิ่งมักจะแห้งตายเนื่องจากท่อน้ำถูกทำลาย พืชบางชนิดอาจขูดเยื่อเจริญแล้วหุ้มตามได้เลย (พืชทั่วไป) แต่บางชนิดต้องควั่นทิ้งไว้ให้เยื่อเจริญแห้งประมาณ 1 สัปดาห์ จึงจะหุ้มด้วยขุยมะพร้าว เช่น ละมุด

1.4 การหุ้มรอยควั่น

ปัจจุบันนิยมใช้ถุงพลาสติกขนาดเล็กบรรจุขุยมะพร้าว รัดปากถุงให้แน่น ใช้มีดผ่าถุงหุ้มรอยควั่นให้มิด มัดให้แน่น อย่าให้กระเปาะขุยมะพร้าวหมุนหรือขยับได้ เพราะจะทำให้รากที่งอกหักได้ หุ้มทับด้วยกระดาษเพื่อช่วยลดอุษหภูมิและแสงในขุยมะพร้าว ซึ่งจะทำให้การเดินของรากดีขึ้น บางท่านนิยมหุ้มรอยควั่นด้วยดินเหนียว ก่อนหุ้มด้วยกาบมะพร้าวแช่น้ำทุบให้นิ่ม แล้วหุ้มทับด้วยใบตองแห้งหรือผ้าพลาสติก (ไม่นิยมทำในทางการค้า เนื่องจากต้องใช้เวลา) แต่บางสวนจะผ่าตุ้มมะพร้าวแล้วป้ายดินด้านในเล็กน้อยแทนการหุ้มด้วย

1.5 การดูแลรักษา

คอยดูแลรดน้ำอยู่เสมออย่าให้กระเปาะแห้ง ถ้าขุยมะพร้าวชื้นพอ รัดปากถุงให้แน่นจะไม่ต้องรดน้ำอีกเลย พร้อมกันนี้ต้องระวังไม่ให้มดมากัดทำลายด้วย

1.6 การตัดกิ่งตอนตัดเมื่อรากแก่

เมื่อรากแทงทะลุขุยมะพร้าวออกมา ปลายรากเริ่มมีสีน้ำตาล และกิ่งตอนมีใบแก่ทั้งหมด จึงตัดจากต้นแม่ใต้กระเปาะตอนไปชำ

การตอนแบบกรีดกิ่ง นิยมใช้กับกิ่งที่มีแก่นเล็ก หรือกิ่งที่เปราะหักง่าย มีขั้นตอนการปฏิบัติเช่นเดียวกับการตอนแบบควั่นกิ่ง ต่างกันตรงรอยแผลจะใช้มีดกรีดเปลือกยาวประมาณ 1 นิ้ว 3-4 รอย

การตอนกิ่งแบบปาดกิ่ง มีวิธีปฏิบัติเช่นเดียวกับการตอนแบบกรีดกิ่ง ต่างกันตรงรอยแผล ที่จะทำให้เกิดแผลโดยใช้มีดปาดเฉียงให้ลึกเข้าไปในเนื้อไม้เล็กน้อย ใช้เศษวัสดุ เช่น ไม้จิ้มฟัน ลวดฟิวส์ หรือก้านไม้ขีดขัดรอยแผลไว้ให้เผยอออกมาเป็นลิ้นป้องกันไม่ให้รอยแผลเชื่อมติดกันเท่าใด บริเวณที่สัมผัสดินควรจะยึดกิ่งให้ติดกับดินด้วยไม้ค้ำหรือลวดตัวยู บริเวณที่สัมผัสดินจะงอกรากออกมาบริเวณข้อและแตกตาบริเวณตา หลังจากยอดและรากสมบูรณ์ดีแล้ว จึงตัดให้ขาดจากกิ่งเดิม นำไปแยกปลูกต่อไป นิยมใช้กับต้นมะลิ ประทัดจีน สตรอเบอรี่ เป็นต้น

การตอนแบบกรีดกิ่งและปาดกิ่ง นิยมใช้ในพืชที่มีลำต้นเปราะ เช่น ชวนชม เชอรี่ เป็นต้น

การตอนกิ่งแบบโน้มกิ่ง

นิยมใช้กับกิ่งไม้เลื้อย เช่น มะลิ

ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการตอนกิ่ง

บางครั้งกิ่งตอนเกิดการเหี่ยวแห้ง ตอนแล้วไม่ออกราก มีปัจจัยที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้

1. การเลือกกิ่ง

ควรเลือกกิ่งเพสลาด มีสีน้ำตาล ไม่แก่หรืออ่อนเกินไป ใบยอดควรจะพ้นระยะใบอ่อนเปลือกล่อน ถ้ากิ่งแก่ไปจะออกรากยากและน้อย นอกจากนั้น กิ่งแก่มักจะเป็นกิ่งขนาดใหญ่ เมื่อออกรากแล้วมักจะมีปัญหาในการชำ เพราะขนาดของต้นใหญ่ มีรากน้อย ทำให้ใบกับรากไม่สมดุลกัน ใบจะเหี่ยวเนื่องจากขาดน้ำ กิ่งที่อยู่รอบในทรงพุ่มก็ไม่ควรตอน เพราะจะออกรากช้าและน้อย บางครั้งจะไม่ออกรากเลย นอกจากนั้นควรจะพิจารณาถึง

1.1 ขนาดของกิ่ง

ควรมีขนาดตั้งแต่ขนาดดินสอดำถึงขนาดหัวแม่มือ

1.2 ชนิดของกิ่ง

กิ่งกระโดงเหมาะที่สุด เพราะจะออกรากได้รอบด้าน ถ้าเป็นกิ่งนอกรากจะออกทางด้านบนของกิ่งแล้วห้อยลงตามแรงดึงดูดของโลก ทำให้ได้รากน้อยและรากโตช้า ถ้าจำเป็นต้องเลือกกิ่งนอนควรค้ำหรือโยงให้กิ่งตั้งตรงก่อนแล้วจึงตอน โดยทำไม้หลักไว้กลางพุ่มสำหรับผูกเชือกโยงกิ่งตอนทั้งหลายให้ตั้งขึ้น

2. ฤดูกาล

ควรตอนกิ่งในช่วงฤดูฝนซึ่งเป็นระยะที่พืชกำลังเจริญเติบโต ถ้าตอนกิ่งในฤดูร้อนต้องรดน้ำกระเปาะหุ้มให้ชื้นอยู่เสมอ สำหรับฤดูหนาวไม่แนะนำให้ตอน โดยทั่วไปชาวสวนจะนิยมตอนในฤดูแล้ง เนื่องจากกระเปาะหุ้มจะไม่แฉะซึ่งเป็นสาเหตุให้รากไม่เดิน

3. การใช้ฮอร์โมนเร่งราก

ปัจจุบันเป็นที่ยอมรับกันว่า ฮอร์โมนเร่งรากจะช่วยให้การเกิดรากของกิ่งตอนเร็วขึ้น โดยทาฮอร์โมนเร่งรากบริเวณเหนือรอยควั่น (บริเวณที่จะออกราก) ระวังอย่าทาถึงได้รอยควั่น บริเวณนี้จะเกิดรากเร็วกว่าบริเวณเหนือรอยควั่น เมื่อเห็นรากโผล่ออกมาจากตุ้ม หากตัดไปชำมักจะตาย เนื่องจากไม่สามารถส่งอาหารจากยอดมารากได้ (ท่ออาหารถูกตัดขาด) และพบว่าในระยะนี้รากบริเวณเหนือรอยควั่นมักจะยังเจริญไม่พอด้วย

การตัดและการชำกิ่งตอน

การตัดกิ่งตอนควรจะพิจารณาจากจำนวนรากที่สังเกตเห็นได้ โดยมองผ่านผ้าพลาสติกที่หุ้ม (ควรใช้พลาสติกสีขาวใส) ควรจะมีรากมากพอ ปลายรากมีสีน้ำตาลแก่ เมื่อตัดกิ่งตอนแล้วควรจะมีการตัดแต่งกิ่ง เนื่องจากกิ่งตอนย่อมมีระบบรากน้อยกว่าทางส่วนยอด ดังนั้น ถ้าไม่เอาใจใส่เป็นพิเศษจะไม่สามารถที่จะพยุงต้นไว้ได้ และจะเกิดการคายน้ำมาก ดังนั้นควรปฏิบัติดังนี้

1. ตัดแต่งกิ่งให้สมดุลกับราก

2. ทำการปลูกในภาชนะที่พอเหมาะกับขนาดของต้นและราก มีการค้ำยันด้วยไม้กันไม่ให้กิ่งชำโยก

3. นำกิ่งตอนมาไว้ในที่ชื้นและเย็น รดน้ำสม่ำเสมอ จนกิ่งตอนตั้งตัวดีแล้วจึงย้ายปลูก

ข้อพิจารณาในการตอน

1. ในกรณีที่ต้องการกิ่งตอนขนาดใหญ่ ควรจะมีการเพิ่มขนาดของตุ้ม โดยการหุ้มขุยมะพร้าวทับตุ้มเดิมอีกครั้งหนึ่ง หรือใช้ตุ้มครั้งแรกให้มีขนาดใหญ่ขึ้นอีกนิด ทั้งนี้ ต้องระวังปัญหาตุ้มใหญ่เกินไป อาจทำให้กิ่งหักได้

2. ในพืชบางชนิดกิ่งมีขนาดค่อนข้างเล็ก กิ่งเปราะหักง่ายการตอนควรจะมีการดามด้วยไม้เพื่อป้องกันไม่ให้กิ่งหัก

3. การหุ้มตุ้มตอนด้วยกระดาษเพื่อกรองแสงไม่ให้ตุ้มมีอุณหภูมิสูงเกินไป หากขุยมะพร้าวมีความชื้นสูงร่วมด้วย จะเกิดอันตรายกับรากได้ เพื่อความปลอดภัยจึงควรจะหุ้มตุ้มด้วยกระดาษอีกชั้นหนึ่ง ซึ่งมีประโยชน์อีกประการคือ ทำให้รากเดินดีขึ้น (ภายในถุงขุยมะพร้าวจะมืด)

เทคโนโลยีสารสนเทศหมายถึง อุปกรณ์หรือเครื่องมือที่เกี่ยวข้องกับการรวบรวมประมวล เก็บรักษา และเผยแพร่ข้อมูลและสารสนเทศโดยรวมทั้งฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ฐานข้อมูล และการสื่อสาร โทรคมนาคม ระบบสารสนเทศสร้างขึ้นมาเพื่อจุดมุ่งหมายหลายประการจุดมุ่งหมายพื้นฐานประการหนึ่ง คือ การประมวลข้อมูล (Data) ให้เป็นสารสนเทศ (Information) และนำไปสู่ความรู้ (Knowledge) ที่ช่วยแก้ปัญหาในการดำเนินงาน

ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ

1. ช่วยในการจัดระบบข่าวสารจำนวนมหาศาลของแต่ละวัน

2. เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตสารสนเทศ เช่น การคำนวณตัวเลขที่ยุ่งยากซับซ้อน การจัดเรียงลำดับสารสนเทศ ฯลฯ

3. ช่วยให้สามารถเก็บสารสนเทศไว้ในรูปที่สามารถเรียกใช้ได้ทุกครั้งอย่างสะดวก

4. ช่วยให้สามารถจัดระบบอัตโนมัติ เพื่อการจัดเก็บประมวลผล และเรียกใช้สารสนเทศูล

5. ช่วยในการเข้าถึงสารสนเทศได้อย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพมากขึ้น

6. ช่วยในการสื่อสารระหว่างกันได้อย่างสะดวกรวดเร็ว ลดอุปสรรคเกี่ยวกับเวลา และระยะทาง โดยการใช้ระบบโทรศัพท์ และอื่นๆ

ประโยชน์ของเทคโนโลยีสารสนเทศ

การกำเนิดของคอมพิวเตอร์เมื่อประมาณห้าสิบกว่าปีที่แล้ว เป็นก้าวสำคัญที่นำไปสู่ยุคสารสนเทศ ในช่วงแรกมีการนำเอาคอมพิวเตอร์มาใช้เป็นเครื่องคำนวณ แต่ต่อมาได้มีความพยายามพัฒนาให้คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์สำคัญสำหรับการจัดการข้อมูล เมื่อเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ได้ก้าวหน้ามากขึ้น ทำให้สามารถสร้างคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กลง แต่ประสิทธิภาพสูงขึ้น สภาพการใช้งานจึงใช้งานกันอย่างแพร่หลาย ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีต่อชีวิตความเป็นอยู่และสังคมจึงมีมาก มีการเรียนรู้และใช้สารสนเทศกันอย่างกว้างขวาง ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศโดยรวมกล่าวได้ดังนี้

1. การสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สภาพความเป็นอยู่ของสังคมเมือง มีการพัฒนาใช้ระบบสื่อสารโทรคมนาคม เพื่อติดต่อสื่อสารให้สะดวกขึ้น มีการประยุกต์มาใช้กับเครื่องอำนวยความสะดวกภายในบ้าน เช่น ใช้ควบคุมเครื่องปรับอากาศ ใช้ควมคุมระบบไฟฟ้าภายในบ้าน เป็นต้น

2. เสริมสร้างความเท่าเทียมในสังคมและการกระจายโอกาส เทคโนโลยีสารสนเทศทำให้เกิดการกระจายไปทั่วทุกหนแห่ง แม้แต่ถิ่นทุรกันดาร ทำให้มีการกระจายโอกาสการเรียนรู้ มีการใช้ระบบการเรียนการสอนทางไกล เสริมสร้างการเรียนรู้ เพราะปัจจุบันมีสื่อการศึกษาที่ทันสมัยมากขึ้นนอกจากหนังสือเรียนธรรมดาแล้ว ยังมี วีดีทัศน์ อินเตอร์เน็ต เป็นต้น ที่ช่วยเสริมสร้างการเรียนรู้ด้วยตนเองของผู้เรียน

3. สารสนเทศกับการเรียนการสอนในโรงเรียน การเรียนการสอนในโรงเรียนมีการนำคอมพิวเตอร์และเครื่องมือประกอบช่วยในการเรียนรู้ เช่น วีดีทัศน์ เครื่องฉายภาพ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน คอมพิวเตอร์ช่วยจัดการศึกษา จัดตารางสอน คำนวณระดับคะแนน หรืออย่างที่ครูเป๋งให้เราฝึกทำBlog ไงล่ะคะ ปัจจุบันมีการเรียนการสอนทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศในโรงเรียนจึงมากขึ้น

นางสาว กรรณิกา บุราชรินทร์

วิธีการต่อกิ่ง

สามารถปฏิบัติได้หลายวิธี ขึ้นอยู่กับชนิดของพืช อายุและขนาดของพืชด้วย นอกจากนั้นยังเกี่ยวข้องกับวัตถุประสงค์ของการต่อกิ่งนั้นๆ ด้วย ในแต่ละวิธีที่จะกล่าวถึงต่อไปนั้นมีหลักพิจารณาในการเลือกปฏิบัติคือ การลอกเปลือกไม้ และการตัดยอดของต้นตอประโยชน์ของการต่อกิ่งและการนำไปใช้

1. เป็นวิธีการขยายพันธุ์พืชเพื่อเพิ่มจำนวนสายต้น (cultivar) ให้มีปริมาณมากโดยกิ่งพันธุ์ดีไม่ต้องใช้เวลานานในการออกดอกติดผล

2. เป็นทางเลือกในการขยายพันธุ์พืชที่ไม่สามารถใช้วิธีการอื่นได้ผลสำเร็จ เช่น การออกรากของกิ่งปักชำหรือกิ่งตอนไม่มาก

3. ต้องการใช้ประโยชน์จากความทนทานต่อสภาพแวดล้อมของระบบรากในต้นตอ เช่น รากของต้นตอที่เจริญเติบโตได้ในที่มีอุณหภูมิต่ำ น้ำท่วมขัง มีความต้านทานโรคและแมลงในดินได้ดี

4. สามารถนำกิ่งพันธุ์ ที่ช่วยในการผสมเกสรให้กับต้นพันธุ์ที่ต้องการเก็บผลผลิต เพื่อให้มีการผสมข้ามพันธุ์แล้วติดผลดีขึ้น หรือเป็นต้นที่แยกเพศ (dioecious plant)

5. ทำให้ในต้นหนึ่งต้นมีหลายพันธุ์อยู่ด้วยกันเพื่อเก็บผลผลิตต่างพันธุ์หรือความสวยงาม

6. ต้นพันธุ์บางชนิดมีการเจริญเติบโตได้ดีกว่าเมื่อต่ออยู่บนระบบรากของอีกพันธุ์หนึ่ง

7. ต้องการให้อิทธิพลของความแคระมีผลต่อต้นตอหรือกิ่งพันธุ์ดี ทำให้ขนาดทรงพุ่มเตี้ย

8. ช่วยให้พืชที่เข้ากันไม่ได้ (incompatibility) ประสานอยู่ด้วยกันได้ โดยใช้ interstock มาต่อกิ่งอยู่ระหว่างต้นตอและกิ่งพันธุ์ดี

9. ใช้สำหรับการซ่อมแซมความเสียหายที่เกิดขึ้นกับลำต้นที่เปลือกถูกแมลงหรือสัตว์กัดแทะหรือเครื่องมือในสวนทำให้เกิดความเสียหายจึงใช้การต่อกิ่งเชื่อมต่อส่วนเปลือกลำต้นให้เจริญเติบโตได้ตามปกติ เรียกว่า การต่อกิ่งแบบเชื่อมสะพาน

10. เพื่อการศึกษาโรคไวรัสที่สามารถถ่ายทอดจากกิ่งพันธุ์ที่สงสัยมีการติดโรคต่อกิ่งบนต้นที่อ่อนแอต่อโรค (indicator plant) ซึ่งสามารถแสดงอาการของโรคไวรัสได้ชัดเจน เป็นเทคนิคที่เรียกว่า virus indexing

ข้อที่ 2

การปักชำ

คือการใช้ส่วนต่างๆ ของพืช เช่น ราก ใบ หรือ ลำต้น ไปปักชำ และส่วนของพืชเหล่านี้จะเจริญงอกงามเป็นลำต้นต่อไป

การปักชำเป็นวิธีขยายพันธุ์พืชที่ดีวิธีหนึ่งซึ่งมีข้อดี ดังนี้

1. ประหยัดค่าใช้จ่าย

2. ขยายพันธุ์ได้ปริมาณมาก

3. ทำได้ง่ายโดยไม่ต้องอาศัยเทคนิคหรือความสามารถมาก

4. ต้นพืชเจริญเติบโตเร็ว โดยใช้ระยะเวลาไม่นาน

5. พืชต้นใหม่ที่ได้จะมีลักษณะเหมือนต้นเดิมทุกประการ

วัสดุที่ใช้ในการปักชำ

กระบะ ดิน ทราบ แกลบ ปุ๋ยคอก ขุยมะพร้าว ใบไม้ผุ

การปักชำสามารถทำได้หลายวิธี ดังนี้

1. การปักชำราก เป็นการเอารากของพืชมาปักชำ อาจปักลงไปในดิน ในทราย หรือในเถ้าแกลบก็ได้ เพื่อส่วนของรากนั้นงอกเป็นลำต้นต่อไป พืชที่ใช้รากปักชำ เช่น มันเทศ สน สาเก เข็มอินเดียเป็นต้น วิธีการชำรากทำได้ ดังนี้

1.1 ตัดรากไม้ออกเป็นท่อนๆ

1.2 วางรากบนดิน การปักชำรากไม่นิยมปักในแนวตั้ง แต่นิยมวางในแนวนอน หรือวางในแนวเฉียงเล็กน้อย

2. การปักชำใบ โดยทั่วไปแล้วใบจะแตกเป็นกิ่งไม่ได้ แต่มีพืชบางชนิดสามารถนำใบมาปักชำให้เจริญเติบโตเป็นต้นต่อไปได้ เช่น ลิ้นมังกร กุหลาบหิน คว่ำตายหงายเป็น เป็นต้น การปักชำใบมี 4 วิธี

วิธีที่ 1 การปักชำโดยใช้ใบ

ให้ นำใบที่ไม่ใช่ใบอ่อนมาตัดเป็นส่วนๆ หรือทั้งใบแล้วนำไปวางเป็นวัสดุ เช่น ทราย หรือดิน โดยให้ด้านบนของใบหงายขึ้น พืชที่นิยม เช่น คว่ำตายหงายเป็น กุหลาบหิน

วิธีที่ 2 การปักชำโดยใช้ก้านใบ

ให้ตัดก้านใบให้หลุดออกจากกิ่งแล้วนำไปปักชำก็จะเจริญเติบโตเป็นต้นใหม่ได้ เช่น กุหลาบหิน

วิธีที่ 3 การปักชำโดยใช้ก้านใบที่ส่วนของกิ่ง

ให้ เอาใบมา โดยเฉือนส่วนของกิ่งให้มีตาติดมาด้วย (มิใช่นำมาทั้งกิ่ง) แล้วนำไปปักชำ ส่วนตาที่ติดมากับกิ่งก็จะเจริญเติบโตเป็นต้นต่อไป วิธีนี้นิยมใช้กับ ฟิโลเดนดรอน ต้นยางอินเดีย

วิธีที่ 4 การใช้ใบติดกิ่งมาปักชำ

ให้ ตัดกิ่งที่จะนำมาปักชำ โดยกิ่งนั้นต้องมีตาเดียว และมีใบติดมาด้วยแล้วนำส่วนของกิ่งบางส่วนปักลงในดินให้ใบ และกิ่งส่วนหนึ่งโผล่ขึ้นมา เพียงเล็กน้อย พืชที่นิยมขยายพันธุ์แบบนี้ ได้แก่ ฟิโลเดนดรอน

ข้อที่ 3

การขยายพันธุ์พืชโดยวิธีตอนกิ่ง

การตอนกิ่ง

ในการตอนกิ่งจะต้องทำให้เกิดแผลกับลำต้นหรือกิ่ง เพื่อตัดท่ออาหารและ เนื้อเยื่อเจริญของกิ่งนั้นให้ขาดจากกัน แต่ท่อน้ำยังคงอยู่เหมือนเดิม ทำให้สามารถส่งน้ำจากรากไปยอดได้ตามปกติ กิ่งและใบยอดจะยังคงสดอยู่เสมอ ซึ่งเป็นเหตุผลสำคัญของการที่พืชบางชนิดขยายพันธุ์ด้วยการตอนกิ่งได้เป็นผลสำเร็จมากกว่าการตัดชำท่ออาหารให้ขาดจากกัน ทำให้การขนส่งอาหารไม่เกิดขึ้น อาหารที่ส่งมาจากยอดจะไปสะสมตรงเหนือรอยแผลมาก ประกอบกับเนื้อเยื่อเจริญบริเวณแผลถูกตัดขาด เป็นการกระตุ้นเตือนให้เนื้อเยื่อเจริญส่วนนั้นเกิดการแบ่งเซลล์อย่างรวดเร็ว มีเซลล์ที่เกิดใหม่มากมาย (มีอาหารอุดมสมบูรณ์จากการสะสมเหนือรอยแผล) จะมีเซลล์ส่วนหนึ่งที่พัฒนาไปเป็นราก ทำหน้าที่ดูดน้ำและธาตุอาหาร

พืชแต่ละชนิดมีความยากง่ายในการที่เนื้อเยื่อเจริญจะพัฒนาไปเป็นราก แตกต่างกัน และการจัดสภาพแวดล้อมให้กับเนื้อเยื่อเจริญที่จะเจริญพัฒนาไปเป็นรากได้ ก็ต้องมีความเหมาะสม โดยเฉพาะเกี่ยวกับอุณหภูมิ ความชื้น และบางครั้งอาจจำเป็นต้องใช้สารควบคุมการเจริญเติบโต

ข้อดีข้อจำกัดของการตอนกิ่ง

ข้อดี คือทำได้ง่าย ประสบผลสำเร็จมากกว่าการปักชำ และได้ต้นกล้าขนาด ใหญ่ ทำให้ได้ผลผลิตเร็ว ไม่กลายพันธุ์ ทรงต้นไม่สูงนัก

ข้อจำกัด คือ

2.1 ไม่มีรากแก้ว ทำให้ไม่สามารถ ทนต่อลมแรง ๆ โค่นล้มได้ง่าย

2.2 กิ่งตอนมีขนาดใหญ่กว่ากิ่งชำ การดูแลรักษาหลังตอนยากกว่ากิ่งตัดชำ

การตอนแบบควั่นกิ่ง

เป็นวิธีที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย ทำได้ง่ายและสะดวก มีขั้นตอนดังนี้

1.1 เลือกกิ่งที่แข็งแรง สมบูรณ์ ไม่เป็นโรคและแมลง

เป็นกิ่งที่อยู่ทางด้านนอกของทรงพุ่ม ได้รับแสงแดดเต็มที่ ถ้าเป็นสวนเพื่อการขยายพันธุ์อย่างเดียวจะเลือกตอนเกือบทุกกิ่ง เหลือไว้บางกิ่งเพื่อเป็นพี่เลี้ยงต้นหลังจากตัดกิ่งตอนออกไป

1.2 การควั่นกิ่ง

สำหรับไม้ผล ควรเลือกกิ่งยาวประมาณ 30-50 เซนติเมตร ส่วนไม้ประดับอาจสั้นกว่านี้ ขึ้นอยู่กับจำนวนต้นที่ต้องการและชนิดของพืช ไม่ควรให้กิ่งมีพุ่มขนาดใหญ่มากนักเพราะจะทำให้เกิดการเหี่ยวแห้งในระยะชำเนื่องจากมีจำนวนใบไม่สมดุลกับจำนวนราก ความยาวของรอยควั่นเท่ากับ 1-2 เท่าของเส้นรอบวงของกิ่ง หรือดูจากความสามารถในการออกราก พืชที่ออกรากง่ายรอยควั่นจะสั้น (ประมาณ 1 เท่าของเส้นรอบวง)ถ้าเป็นพืชที่ออกรากยากรอยควั่นจะห่างประมาณ 1.5-2 เท่าของเส้นรอบวงของกิ่งนั้น คุณบุญชอบ โพธิ์รักษา แนะนำว่า การตอนฝรั่งควรจะควั่นห่างเพียง ½ เซนติเมตร ปล่อยให้แห้งสักครู่จึงค่อยหุ้มขุยมะพร้าว (มีการเสริมด้วยไม้ท่อนเล็ก ๆ ก่อนหุ้มขุยมะพร้าวเพื่อป้องกันกิ่งหัก)

1.3 การขูดเยื่อเจริญ (เมือกลื่น ๆ อยู่ระหว่างส่วนของเปลือกกับเนื้อไม้)

พืชแต่ละชนิดต้องการการขูดเยื่อเจริญต่างกัน ควรจะสังเกตว่าพืชใดต้องขูดเยื่อเจริญมากน้อยเท่าใด พืชบางชนิดไม่ต้องขูดเยื่อเจริญ เช่น ฝรั่ง สนแผง ถ้าขูดแล้วกิ่งมักจะแห้งตายเนื่องจากท่อน้ำถูกทำลาย พืชบางชนิดอาจขูดเยื่อเจริญแล้วหุ้มตามได้เลย (พืชทั่วไป) แต่บางชนิดต้องควั่นทิ้งไว้ให้เยื่อเจริญแห้งประมาณ 1 สัปดาห์ จึงจะหุ้มด้วยขุยมะพร้าว เช่น ละมุด

1.4 การหุ้มรอยควั่น

ปัจจุบันนิยมใช้ถุงพลาสติกขนาดเล็กบรรจุขุยมะพร้าว รัดปากถุงให้แน่น ใช้มีดผ่าถุงหุ้มรอยควั่นให้มิด มัดให้แน่น อย่าให้กระเปาะขุยมะพร้าวหมุนหรือขยับได้ เพราะจะทำให้รากที่งอกหักได้ หุ้มทับด้วยกระดาษเพื่อช่วยลดอุษหภูมิและแสงในขุยมะพร้าว ซึ่งจะทำให้การเดินของรากดีขึ้น บางท่านนิยมหุ้มรอยควั่นด้วยดินเหนียว ก่อนหุ้มด้วยกาบมะพร้าวแช่น้ำทุบให้นิ่ม แล้วหุ้มทับด้วยใบตองแห้งหรือผ้าพลาสติก (ไม่นิยมทำในทางการค้า เนื่องจากต้องใช้เวลา) แต่บางสวนจะผ่าตุ้มมะพร้าวแล้วป้ายดินด้านในเล็กน้อยแทนการหุ้มด้วย

1.5 การดูแลรักษา

คอยดูแลรดน้ำอยู่เสมออย่าให้กระเปาะแห้ง ถ้าขุยมะพร้าวชื้นพอ รัดปากถุงให้แน่นจะไม่ต้องรดน้ำอีกเลย พร้อมกันนี้ต้องระวังไม่ให้มดมากัดทำลายด้วย

1.6 การตัดกิ่งตอนตัดเมื่อรากแก่

เมื่อรากแทงทะลุขุยมะพร้าวออกมา ปลายรากเริ่มมีสีน้ำตาล และกิ่งตอนมีใบแก่ทั้งหมด จึงตัดจากต้นแม่ใต้กระเปาะตอนไปชำ

การตอนแบบกรีดกิ่ง นิยมใช้กับกิ่งที่มีแก่นเล็ก หรือกิ่งที่เปราะหักง่าย มีขั้นตอนการปฏิบัติเช่นเดียวกับการตอนแบบควั่นกิ่ง ต่างกันตรงรอยแผลจะใช้มีดกรีดเปลือกยาวประมาณ 1 นิ้ว 3-4 รอย

เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง

อุปกรณ์หรือเครื่องมือที่เกี่ยวข้องกับการรวบรวมประมวล เก็บรักษา และเผยแพร่ข้อมูลและสารสนเทศโดยรวมทั้งฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ฐานข้อมูล และการสื่อสาร โทรคมนาคม ระบบสารสนเทศสร้างขึ้นมาเพื่อจุดมุ่งหมายหลายประการจุดมุ่งหมายพื้นฐานประการหนึ่ง คือ การประมวลข้อมูล (Data) ให้เป็นสารสนเทศ (Information) และนำไปสู่ความรู้ (Knowledge) ที่ช่วยแก้ปัญหาในการดำเนินงาน

ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ

ช่วยในการจัดระบบข่าวสารจำนวนมหาศาลของแต่ละวัน เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตสารสนเทศ เช่น การคำนวณตัวเลขที่ยุ่งยากซับซ้อน การจัดเรียงลำดับสารสนเทศ ฯ ช่วยให้สามารถเก็บสารสนเทศไว้ในรูปที่สามารถเรียกใช้ได้ทุกครั้งอย่างสะดวก

ช่วยให้สามารถจัดระบบอัตโนมัติ เพื่อการจัดเก็บประมวลผล และเรียกใช้สารสนเทศ

ช่วยในการเข้าถึงสารสนเทศได้อย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพมากขึ้น ช่วยในการสื่อสารระหว่างกันได้อย่างสะดวกรวดเร็ว ลดอุปสรรคเกี่ยวกับเวลา และระยะทาง โดยการใช้ระบบโทรศัพท์ และอื่นๆ

ประโยชน์ของเทคโนโลยีสารสนเทศ

การกำเนิดของคอมพิวเตอร์เมื่อประมาณห้าสิบกว่าปีที่แล้ว เป็นก้าวสำคัญที่นำไปสู่ยุคสารสนเทศ ในช่วงแรกมีการนำเอาคอมพิวเตอร์มาใช้เป็นเครื่องคำนวณ แต่ต่อมาได้มีความพยายามพัฒนาให้คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์สำคัญสำหรับการจัดการข้อมูล เมื่อเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ได้ก้าวหน้ามากขึ้น ทำให้สามารถสร้างคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กลง แต่ประสิทธิภาพสูงขึ้น สภาพการใช้งานจึงใช้งานกันอย่างแพร่หลาย ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีต่อชีวิตความเป็นอยู่และสังคมจึงมีมาก มีการเรียนรู้และใช้สารสนเทศกันอย่างกว้างขวาง ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศโดยรวมกล่าวได้ดังนี้

การสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สภาพความเป็นอยู่ของสังคมเมือง มีการพัฒนาใช้ระบบสื่อสารโทรคมนาคม เพื่อติดต่อสื่อสารให้สะดวกขึ้น มีการประยุกต์มาใช้กับเครื่องอำนวยความสะดวกภายในบ้าน เช่น ใช้ควบคุมเครื่องปรับอากาศ ใช้ควมคุมระบบไฟฟ้าภายในบ้าน เป็นต้น

นางสาวสุนารี สีรทา

การต่อกิ่งเป็นวิธีการขยายพันธุ์พืชแบบไม่ใช้เพศด้วยวิธีการนำกิ่งพืชสอง ชนิดมาเชื่อมต่อกันให้เจริญเป็นต้นเดียวกันส่วนของพืชที่เจริญเป็นรากเรียกว่า ต้นตอ (rootstock หรือ stock) และส่วนที่นำมาต่ออยู่บนต้นตอเป็นส่วนที่เจริญ เป็นกิ่งก้าน ออกดอกติดผลต่อไป เรียกว่า กิ่งพันธุ์ดี (scion) ซึ่งเป็นส่วนของ กิ่งพืชที่มีตามากกว่าหนึ่งตาขึ้นไปมาเชื่อมต่อกับต้นตอความสำเร็จของการต่อกิ่ง จะเกิดขึ้นได้นั้นต้องมีการเชื่อมต่อ ระหว่างเนื้อเยื่อต้นตอและกิ่งพันธุ์ดี สามารถลำเลียงน้ำและอาหารผ่าน บริเวณรอยต่อ ได้เนื้อเยื่อบริเวณ รอยต่อ(graft union)นี้เกิดจากเนื้อเยื่อ ของต้นตอและกิ่งพันธุ์ดีมาเรียงตัว อยู่ด้วยกันโดยไม่เกิดการรวมตัวของเซลล์ระหว่างพืชทั้งสองชนิด

เนื้อเยื่อที่เกิดขึ้นถูกสร้างขึ้นมา สมานแผลเป็น เซลล์ parenchyma จำนวนมากประกอบกัน เป็นเนื้อเยื่อ callus เกิดขึ้นภายใน 2-3 วัน รอยแผลที่เกิดจาก การเฉือนกิ่งจะมีส่วนที่ตายไปและมีการสร้างสาร nicrotic เพื่อรักษาบาดแผล ส่วนมากสารเหล่านี้จะหายไป เมื่อเกิดการเชื่อมต่อกันดีแล้วหรือยังอยู่ในช่องว่างระหว่าง เซลล์ก็ได้อาจพบเป็นเซลล์ที่ตายและเยินจากเนื้อเยื่อ

การเกิดรอยต่อได้นั้นต้องวางให้เนื้อเยื่อแคมเบียมของต้นตอและกิ่งพันธุ์ดี อยู่แนบหรือใกล้กันมากที่สุดแล้วจะมีการสร้างเนื้อเยื่อแคลลัสใหม่เกิดขึ้น จากทั้งสองส่วนจนเต็มช่องว่างระหว่างกันเรียกว่า callus bridge ซึ่งจะมีการ พัฒนาไปเป็นเนื้อเยื่อเจริญ (vascular cambium) ภายใน 2-3 สัปดาห์และมี การสร้างท่อน้ำ (xylem) และท่ออาหาร (phloem) เชื่อมกันต่อไป การปรับสภาพแวดล้อมภายนอกให้เหมาะสมมีผลต่อความสำเร็จในการต่อกิ่งด้วย คือ อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการแบ่งเซลล์บริเวณรอยต่ออยู่ระหว่าง 12.8-32.0 องศาเซลเซียส เมื่อเกิดเนื้อเยื่อ callus ขึ้นต้องควบคุมความชื้นบริเวณรอยต่อให้เหมาะสมเนื่องจากเซลล์มีผนังบางและเต่งจึงแห้งตายได้ง่าย จำเป็นต้องพันพลาสติกหรือใช้ถุงพลาสติกคลุมทับ การป้องกันแผลไม่ให้มีการติดเชื้อที่จะทำให้เน่าตายได้เช่นกัน

นอกจากนั้นความสัมพันธ์ของระยะการเจริญเติบโตของตาบนกิ่งพันธุ์ดีจะต้องพอเหมาะกับการพัฒนาการของเนื้อเยื่อบริเวณรอยต่อด้วย กล่าวคือ ขั้นตอนการสร้างท่อน้ำท่ออาหาร ต้องเกิดขึ้นอย่างสมบูรณ์ก่อนที่จะมีใบใหม่เจริญจากตาของกิ่งพันธุ์ดี มิฉะนั้นจะเกิดการแห้งตายของตานั้นได้

การเข้ากันได้ (compatibility) ของพืชทั้งสองชนิดมีส่วนต่อความสำเร็จในการต่อกิ่งด้วย การเลือกใช้ต้นตอและกิ่งพันธุ์ที่มีความใกล้ชิดกันทางพฤกษศาสตร์จะต่อกันได้ดีและรอยต่อเจริญ เหมือนเป็นต้นเดียวกัน เช่น มะม่วงแต่ละพันธุ์จัดเป็นชนิด (species) เดียวกันจึงต่อกิ่งได้ง่าย แต่พืชบางชนิดสามารถเข้ากันได้ดีถึงแม้จะมีความแตกต่างกันมาก เช่น ส้มสามใบ (Poncitrus trifoliata) ต่อด้วยส้มเขียวหวาน (Citrus reticulata) มีพืชหลายคู่ที่สามารถต่อกันได้ในระยะแรก แต่เมื่อเวลาผ่านไปจะมีอาการของการเข้ากันไม่ได้ (incompatibility) เกิดรอยต่อแยกจากกันหรือมีการเติบโตผิดปกติ เช่น ต้นดอนย่าสีชมพูต่อบนดอนย่าสีขาวทักษะและประสบการณ์ของผู้ปฏิบัติงานมีส่วนสำคัญเช่นกัน นอกจากนั้นเครื่องมือที่ใช้ คือ มีดเฉือนกิ่ง ควรอยู่ในสภาพที่คมสามารถเฉือนกิ่งได้โดยไม่ทำให้เนื่อเยื่อชอกช้ำหรือเยินเสียหาย ผู้ปฏิบัติงานต้องทำงานอย่างรวดเร็วและรักษาความสะอาดของแผลบนกิ่งพันธุ์ดี และต้นตอด้วย การเลือกใช้วิธีการต่อกิ่งที่เหมาะสมกับพืชและระยะเวลาเป็นสิ่งสำคัญอีกประการหนึ่งที่ผู้ปฏิบัติงานต้องให้ความสำคัญด้วย กล่าวคือการเลือกใช้วิธีต่อกิ่งกับต้นพืชที่อยู่ในระยะการเจริญเติบโตสามารถลอกเปลือกได้ หรืออยู่ในระยะพักตัว นอกจากนั้นการดูแลเอาใจใส่อย่างใกล้ชิดภายหลังการปฏิบัติงานมีส่วนต่อความสำเร็จของงานด้วย

วิธีการต่อกิ่ง สามารถปฏิบัติได้หลายวิธี ขึ้นอยู่กับชนิดของพืช อายุและขนาดของพืชด้วย นอกจากนั้นยังเกี่ยวข้องกับวัตถุประสงค์ของการต่อกิ่งนั้นๆ ด้วย ในแต่ละวิธีที่จะกล่าวถึงต่อไปนั้นมีหลักพิจารณาในการเลือกปฏิบัติคือ การลอกเปลือกไม้ และการตัดยอดของต้นตอประโยชน์ของการต่อกิ่งและการนำไปใช้

1. เป็นวิธีการขยายพันธุ์พืชเพื่อเพิ่มจำนวนสายต้น (cultivar) ให้มีปริมาณมากโดยกิ่งพันธุ์ดีไม่ต้องใช้เวลานานในการออกดอกติดผล

2. เป็นทางเลือกในการขยายพันธุ์พืชที่ไม่สามารถใช้วิธีการอื่นได้ผลสำเร็จ เช่น การออกรากของกิ่งปักชำหรือกิ่งตอนไม่มาก

3. ต้องการใช้ประโยชน์จากความทนทานต่อสภาพแวดล้อมของระบบรากในต้นตอ เช่น รากของต้นตอที่เจริญเติบโตได้ในที่มีอุณหภูมิต่ำ น้ำท่วมขัง มีความต้านทานโรคและแมลงในดินได้ดี

4. สามารถนำกิ่งพันธุ์ ที่ช่วยในการผสมเกสรให้กับต้นพันธุ์ที่ต้องการเก็บผลผลิต เพื่อให้มีการผสมข้ามพันธุ์แล้วติดผลดีขึ้น หรือเป็นต้นที่แยกเพศ (dioecious plant)

5. ทำให้ในต้นหนึ่งต้นมีหลายพันธุ์อยู่ด้วยกันเพื่อเก็บผลผลิตต่างพันธุ์หรือความสวยงาม

6. ต้นพันธุ์บางชนิดมีการเจริญเติบโตได้ดีกว่าเมื่อต่ออยู่บนระบบรากของอีกพันธุ์หนึ่ง

7. ต้องการให้อิทธิพลของความแคระมีผลต่อต้นตอหรือกิ่งพันธุ์ดี ทำให้ขนาดทรงพุ่มเตี้ย

8. ช่วยให้พืชที่เข้ากันไม่ได้ (incompatibility) ประสานอยู่ด้วยกันได้ โดยใช้ interstock มาต่อกิ่งอยู่ระหว่างต้นตอและกิ่งพันธุ์ดี

9. ใช้สำหรับการซ่อมแซมความเสียหายที่เกิดขึ้นกับลำต้นที่เปลือกถูกแมลงหรือสัตว์กัดแทะหรือเครื่องมือในสวนทำให้เกิดความเสียหายจึงใช้การต่อกิ่งเชื่อมต่อส่วนเปลือกลำต้นให้เจริญเติบโตได้ตามปกติ เรียกว่า การต่อกิ่งแบบเชื่อมสะพาน

10. เพื่อการศึกษาโรคไวรัสที่สามารถถ่ายทอดจากกิ่งพันธุ์ที่สงสัยมีการติดโรคต่อกิ่งบนต้นที่อ่อนแอต่อโรค (indicator plant) ซึ่งสามารถแสดงอาการของโรคไวรัสได้ชัดเจน เป็นเทคนิคที่เรียกว่า virus indexing

2. การปักชำ คือการใช้ส่วนต่างๆ ของพืช เช่น ราก ใบ หรือ ลำต้น ไปปักชำ และส่วนของพืชเหล่านี้จะเจริญงอกงามเป็นลำต้นต่อไป

การปักชำเป็นวิธีขยายพันธุ์พืชที่ดีวิธีหนึ่งซึ่งมีข้อดี ดังนี้

1. ประหยัดค่าใช้จ่าย

2. ขยายพันธุ์ได้ปริมาณมาก

3. ทำได้ง่ายโดยไม่ต้องอาศัยเทคนิคหรือความสามารถมาก

4. ต้นพืชเจริญเติบโตเร็ว โดยใช้ระยะเวลาไม่นาน

5. พืชต้นใหม่ที่ได้จะมีลักษณะเหมือนต้นเดิมทุกประการ

วัสดุที่ใช้ในการปักชำ

กระบะ ดิน ทราบ แกลบ ปุ๋ยคอก ขุยมะพร้าว ใบไม้ผุ

การปักชำสามารถทำได้หลายวิธี ดังนี้

1. การปักชำราก เป็นการเอารากของพืชมาปักชำ อาจปักลงไปในดิน ในทราย หรือในเถ้าแกลบก็ได้ เพื่อส่วนของรากนั้นงอกเป็นลำต้นต่อไป พืชที่ใช้รากปักชำ เช่น มันเทศ สน สาเก เข็มอินเดียเป็นต้น วิธีการชำรากทำได้ ดังนี้

1.1 ตัดรากไม้ออกเป็นท่อนๆ

1.2 วางรากบนดิน การปักชำรากไม่นิยมปักในแนวตั้ง แต่นิยมวางในแนวนอน หรือวางในแนวเฉียงเล็กน้อย

2. การปักชำใบ โดยทั่วไปแล้วใบจะแตกเป็นกิ่งไม่ได้ แต่มีพืชบางชนิดสามารถนำใบมาปักชำให้เจริญเติบโตเป็นต้นต่อไปได้ เช่น ลิ้นมังกร กุหลาบหิน คว่ำตายหงายเป็น เป็นต้น การปักชำใบมี 4 วิธี

วิธีที่ 1 การปักชำโดยใช้ใบ

ให้ นำใบที่ไม่ใช่ใบอ่อนมาตัดเป็นส่วนๆ หรือทั้งใบแล้วนำไปวางเป็นวัสดุ เช่น ทราย หรือดิน โดยให้ด้านบนของใบหงายขึ้น พืชที่นิยม เช่น คว่ำตายหงายเป็น กุหลาบหิน

วิธีที่ 2 การปักชำโดยใช้ก้านใบ

ให้ตัดก้านใบให้หลุดออกจากกิ่งแล้วนำไปปักชำก็จะเจริญเติบโตเป็นต้นใหม่ได้ เช่น กุหลาบหิน

วิธีที่ 3 การปักชำโดยใช้ก้านใบที่ส่วนของกิ่ง

ให้ เอาใบมา โดยเฉือนส่วนของกิ่งให้มีตาติดมาด้วย (มิใช่นำมาทั้งกิ่ง) แล้วนำไปปักชำ ส่วนตาที่ติดมากับกิ่งก็จะเจริญเติบโตเป็นต้นต่อไป วิธีนี้นิยมใช้กับ ฟิโลเดนดรอน ต้นยางอินเดีย

วิธีที่ 4 การใช้ใบติดกิ่งมาปักชำ

ให้ ตัดกิ่งที่จะนำมาปักชำ โดยกิ่งนั้นต้องมีตาเดียว และมีใบติดมาด้วยแล้วนำส่วนของกิ่งบางส่วนปักลงในดินให้ใบ และกิ่งส่วนหนึ่งโผล่ขึ้นมา เพียงเล็กน้อย พืชที่นิยมขยายพันธุ์แบบนี้ ได้แก่ ฟิโลเดนดรอน

การปักชำกิ่ง

เป็นวิธีที่นิยมกันมากและทำกัน มานานแล้ว เราไม่จำเป็นต้องพิถีพิถันกับวัสดุที่ใช้ในการปักชำมากนัก ปัจจุบันนิยมกัน แพร่หลายเพราะประหยัดค่าใช้จ่าย ใช้ระยะเวลาสั้น และได้ลักษณะพันธุ์เดิม การปักชำกิ่งแบ่งเป็น 3 ประเภท

1. การปักชำกิ่งประเภทที่มีเนื้ออวบน้ำ เช่น ฤาษีผสม กิ่งชนิดนี้จะอ่อน บอบบาง และช้ำง่าย ฉะนั้นจึงต้องการความประณีต ในการปฏิบัติ คือต้องระวังในเรื่องความชื้น แสง และอุณหภูมิ

2. การปักชำกิ่งที่มีความแข็งของเนื้อไม้ปานกลาง เช่น ว่านกวนอิม อายุของกิ่งประมาณ 3 - 6 เดือน ผิวเปลือกของกิ่งมี สีอมเขียว ยังไม่เป็นสีน้ำตาล กิ่งประเภทนี้มีเนื้อไม้อ่อนไม่แข็งแรงนัก ฉะนั้นจึงควรระมัดระวังเรื่องน้ำ อุณหภูมิ และแสงสว่างให้มาก เพราะกิ่งประเภทนี้จะเหี่ยวแห้งได้ง่าย

2. การปักชำไม้ที่มีอายุเกิน 1 ปีขึ้นไป วิธีนี้นิยมกันมาก การเลือกกิ่งไม้ที่จะนำมาปักชำ ควรเลือกกิ่งที่มีสีน้ำตาล ก่อนปักชำควร ปักกิ่งชำให้มีตาอย่างน้อย 2-3 ตา การตัดควรตัดเป็นท่อน ๆ ขนาด ยาว 6-8 เซนติเมตร การตัดท่อนปลายกิ่งให้ตัดเหนือข้อ ส่วนท่อนโคนให้ตัดต่ำกว่าข้อ โดยตัดให้เฉียง เราไม่ควรตัดตรงข้อพอดี เพราะจะทำให้กิ่งสูญเสียอาหารไป นอกจากนี้ บริเวณข้อยังมีเนื้อเยื่อ อัดตัวแน่นและแข็งแรง ช่วยป้องกันการระเหยของน้ำในกิ่งได้เป็นอย่างดี

1.3 การขยายพันธุ์พืชโดยวิธีตอนกิ่ง

ทฤษฎีการตอนกิ่ง

ในการตอนกิ่งจะต้องทำให้เกิดแผลกับลำต้นหรือกิ่ง เพื่อตัดท่ออาหารและ เนื้อเยื่อเจริญของกิ่งนั้นให้ขาดจากกัน แต่ท่อน้ำยังคงอยู่เหมือนเดิม ทำให้สามารถส่งน้ำจากรากไปยอดได้ตามปกติ กิ่งและใบยอดจะยังคงสดอยู่เสมอ ซึ่งเป็นเหตุผลสำคัญของการที่พืชบางชนิดขยายพันธุ์ด้วยการตอนกิ่งได้เป็นผลสำเร็จมากกว่าการตัดชำท่ออาหารให้ขาดจากกัน ทำให้การขนส่งอาหารไม่เกิดขึ้น อาหารที่ส่งมาจากยอดจะไปสะสมตรงเหนือรอยแผลมาก ประกอบกับเนื้อเยื่อเจริญบริเวณแผลถูกตัดขาด เป็นการกระตุ้นเตือนให้เนื้อเยื่อเจริญส่วนนั้นเกิดการแบ่งเซลล์อย่างรวดเร็ว มีเซลล์ที่เกิดใหม่มากมาย (มีอาหารอุดมมบูรณ์จากการสะสมเหนือรอยแผล) จะมีเซลล์ส่วนหนึ่งที่พัฒนาไปเป็นราก ทำหน้าที่ดูดน้ำและธาตุอาหาร

พืชแต่ละชนิดมีความยากง่ายในการที่เนื้อเยื่อเจริญจะพัฒนาไปเป็นราก แตกต่างกัน และการจัดสภาพแวดล้อมให้กับเนื้อเยื่อเจริญที่จะเจริญพัฒนาไปเป็นรากได้ ก็ต้องมีความเหมาะสม โดยเฉพาะเกี่ยวกับอุณหภูมิ ความชื้น และบางครั้งอาจจำเป็นต้องใช้สารควบคุมการเจริญเติบโต

ข้อดีข้อจำกัดของการตอนกิ่ง

ข้อดี คือทำได้ง่าย ประสบผลสำเร็จมากกว่าการปักชำ และได้ต้นกล้าขนาด ใหญ่ ทำให้ได้ผลผลิตเร็ว ไม่กลายพันธุ์ ทรงต้นไม่สูงนัก

ข้อจำกัด คือ

2.1 ไม่มีรากแก้ว ทำให้ไม่สามารถ ทนต่อลมแรง ๆ โค่นล้มได้ง่าย

2.2 กิ่งตอนมีขนาดใหญ่กว่ากิ่งชำ การดูแลรักษาหลังตอนยากกว่ากิ่งตัดชำ

การตอนแบบควั่นกิ่ง

เป็นวิธีที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย ทำได้ง่ายและสะดวก มีขั้นตอนดังนี้

1.1 เลือกกิ่งที่แข็งแรง สมบูรณ์ ไม่เป็นโรคและแมลง

เป็นกิ่งที่อยู่ทางด้านนอกของทรงพุ่ม ได้รับแสงแดดเต็มที่ ถ้าเป็นสวนเพื่อการขยายพันธุ์อย่างเดียวจะเลือกตอนเกือบทุกกิ่ง เหลือไว้บางกิ่งเพื่อเป็นพี่เลี้ยงต้นหลังจากตัดกิ่งตอนออกไป

1.2 การควั่นกิ่ง

สำหรับไม้ผล ควรเลือกกิ่งยาวประมาณ 30-50 เซนติเมตร ส่วนไม้ประดับอาจสั้นกว่านี้ ขึ้นอยู่กับจำนวนต้นที่ต้องการและชนิดของพืช ไม่ควรให้กิ่งมีพุ่มขนาดใหญ่มากนักเพราะจะทำให้เกิดการเหี่ยวแห้งในระยะชำเนื่องจากมีจำนวนใบไม่สมดุลกับจำนวนราก ความยาวของรอยควั่นเท่ากับ 1-2 เท่าของเส้นรอบวงของกิ่ง หรือดูจากความสามารถในการออกราก พืชที่ออกรากง่ายรอยควั่นจะสั้น (ประมาณ 1 เท่าของเส้นรอบวง)ถ้าเป็นพืชที่ออกรากยากรอยควั่นจะห่างประมาณ 1.5-2 เท่าของเส้นรอบวงของกิ่งนั้น คุณบุญชอบ โพธิ์รักษา แนะนำว่า การตอนฝรั่งควรจะควั่นห่างเพียง ½ เซนติเมตร ปล่อยให้แห้งสักครู่จึงค่อยหุ้มขุยมะพร้าว (มีการเสริมด้วยไม้ท่อนเล็ก ๆ ก่อนหุ้มขุยมะพร้าวเพื่อป้องกันกิ่งหัก)

1.3 การขูดเยื่อเจริญ (เมือกลื่น ๆ อยู่ระหว่างส่วนของเปลือกกับเนื้อไม้)

พืชแต่ละชนิดต้องการการขูดเยื่อเจริญต่างกัน ควรจะสังเกตว่าพืชใดต้องขูดเยื่อเจริญมากน้อยเท่าใด พืชบางชนิดไม่ต้องขูดเยื่อเจริญ เช่น ฝรั่ง สนแผง ถ้าขูดแล้วกิ่งมักจะแห้งตายเนื่องจากท่อน้ำถูกทำลาย พืชบางชนิดอาจขูดเยื่อเจริญแล้วหุ้มตามได้เลย (พืชทั่วไป) แต่บางชนิดต้องควั่นทิ้งไว้ให้เยื่อเจริญแห้งประมาณ 1 สัปดาห์ จึงจะหุ้มด้วยขุยมะพร้าว เช่น ละมุด

1.4 การหุ้มรอยควั่น

ปัจจุบันนิยมใช้ถุงพลาสติกขนาดเล็กบรรจุขุยมะพร้าว รัดปากถุงให้แน่น ใช้มีดผ่าถุงหุ้มรอยควั่นให้มิด มัดให้แน่น อย่าให้กระเปาะขุยมะพร้าวหมุนหรือขยับได้ เพราะจะทำให้รากที่งอกหักได้ หุ้มทับด้วยกระดาษเพื่อช่วยลดอุษหภูมิและแสงในขุยมะพร้าว ซึ่งจะทำให้การเดินของรากดีขึ้น บางท่านนิยมหุ้มรอยควั่นด้วยดินเหนียว ก่อนหุ้มด้วยกาบมะพร้าวแช่น้ำทุบให้นิ่ม แล้วหุ้มทับด้วยใบตองแห้งหรือผ้าพลาสติก (ไม่นิยมทำในทางการค้า เนื่องจากต้องใช้เวลา) แต่บางสวนจะผ่าตุ้มมะพร้าวแล้วป้ายดินด้านในเล็กน้อยแทนการหุ้มด้วย

1.5 การดูแลรักษา

คอยดูแลรดน้ำอยู่เสมออย่าให้กระเปาะแห้ง ถ้าขุยมะพร้าวชื้นพอ รัดปากถุงให้แน่นจะไม่ต้องรดน้ำอีกเลย พร้อมกันนี้ต้องระวังไม่ให้มดมากัดทำลายด้วย

1.6 การตัดกิ่งตอนตัดเมื่อรากแก่

เมื่อรากแทงทะลุขุยมะพร้าวออกมา ปลายรากเริ่มมีสีน้ำตาล และกิ่งตอนมีใบแก่ทั้งหมด จึงตัดจากต้นแม่ใต้กระเปาะตอนไปชำ

การตอนแบบกรีดกิ่ง นิยมใช้กับกิ่งที่มีแก่นเล็ก หรือกิ่งที่เปราะหักง่าย มีขั้นตอนการปฏิบัติเช่นเดียวกับการตอนแบบควั่นกิ่ง ต่างกันตรงรอยแผลจะใช้มีดกรีดเปลือกยาวประมาณ 1 นิ้ว 3-4 รอย

การตอนกิ่งแบบปาดกิ่ง มีวิธีปฏิบัติเช่นเดียวกับการตอนแบบกรีดกิ่ง ต่างกันตรงรอยแผล ที่จะทำให้เกิดแผลโดยใช้มีดปาดเฉียงให้ลึกเข้าไปในเนื้อไม้เล็กน้อย ใช้เศษวัสดุ เช่น ไม้จิ้มฟัน ลวดฟิวส์ หรือก้านไม้ขีดขัดรอยแผลไว้ให้เผยอออกมาเป็นลิ้นป้องกันไม่ให้รอยแผลเชื่อมติดกันเท่าใด บริเวณที่สัมผัสดินควรจะยึดกิ่งให้ติดกับดินด้วยไม้ค้ำหรือลวดตัวยู บริเวณที่สัมผัสดินจะงอกรากออกมาบริเวณข้อและแตกตาบริเวณตา หลังจากยอดและรากสมบูรณ์ดีแล้ว จึงตัดให้ขาดจากกิ่งเดิม นำไปแยกปลูกต่อไป นิยมใช้กับต้นมะลิ ประทัดจีน สตรอเบอรี่ เป็นต้น

การตอนแบบกรีดกิ่งและปาดกิ่ง นิยมใช้ในพืชที่มีลำต้นเปราะ เช่น ชวนชม เชอรี่ เป็นต้น

การตอนกิ่งแบบโน้มกิ่ง

นิยมใช้กับกิ่งไม้เลื้อย เช่น มะลิ

ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการตอนกิ่ง

บางครั้งกิ่งตอนเกิดการเหี่ยวแห้ง ตอนแล้วไม่ออกราก มีปัจจัยที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้

1. การเลือกกิ่ง

ควรเลือกกิ่งเพสลาด มีสีน้ำตาล ไม่แก่หรืออ่อนเกินไป ใบยอดควรจะพ้นระยะใบอ่อนเปลือกล่อน ถ้ากิ่งแก่ไปจะออกรากยากและน้อย นอกจากนั้น กิ่งแก่มักจะเป็นกิ่งขนาดใหญ่ เมื่อออกรากแล้วมักจะมีปัญหาในการชำ เพราะขนาดของต้นใหญ่ มีรากน้อย ทำให้ใบกับรากไม่สมดุลกัน ใบจะเหี่ยวเนื่องจากขาดน้ำ กิ่งที่อยู่รอบในทรงพุ่มก็ไม่ควรตอน เพราะจะออกรากช้าและน้อย บางครั้งจะไม่ออกรากเลย นอกจากนั้นควรจะพิจารณาถึง

1.1 ขนาดของกิ่ง

ควรมีขนาดตั้งแต่ขนาดดินสอดำถึงขนาดหัวแม่มือ

1.2 ชนิดของกิ่ง

กิ่งกระโดงเหมาะที่สุด เพราะจะออกรากได้รอบด้าน ถ้าเป็นกิ่งนอกรากจะออกทางด้านบนของกิ่งแล้วห้อยลงตามแรงดึงดูดของโลก ทำให้ได้รากน้อยและรากโตช้า ถ้าจำเป็นต้องเลือกกิ่งนอนควรค้ำหรือโยงให้กิ่งตั้งตรงก่อนแล้วจึงตอน โดยทำไม้หลักไว้กลางพุ่มสำหรับผูกเชือกโยงกิ่งตอนทั้งหลายให้ตั้งขึ้น

2. ฤดูกาล

ควรตอนกิ่งในช่วงฤดูฝนซึ่งเป็นระยะที่พืชกำลังเจริญเติบโต ถ้าตอนกิ่งในฤดูร้อนต้องรดน้ำกระเปาะหุ้มให้ชื้นอยู่เสมอ สำหรับฤดูหนาวไม่แนะนำให้ตอน โดยทั่วไปชาวสวนจะนิยมตอนในฤดูแล้ง เนื่องจากกระเปาะหุ้มจะไม่แฉะซึ่งเป็นสาเหตุให้รากไม่เดิน

3. การใช้ฮอร์โมนเร่งราก

ปัจจุบันเป็นที่ยอมรับกันว่า ฮอร์โมนเร่งรากจะช่วยให้การเกิดรากของกิ่งตอนเร็วขึ้น โดยทาฮอร์โมนเร่งรากบริเวณเหนือรอยควั่น (บริเวณที่จะออกราก) ระวังอย่าทาถึงได้รอยควั่น บริเวณนี้จะเกิดรากเร็วกว่าบริเวณเหนือรอยควั่น เมื่อเห็นรากโผล่ออกมาจากตุ้ม หากตัดไปชำมักจะตาย เนื่องจากไม่สามารถส่งอาหารจากยอดมารากได้ (ท่ออาหารถูกตัดขาด) และพบว่าในระยะนี้รากบริเวณเหนือรอยควั่นมักจะยังเจริญไม่พอด้วย

การตัดและการชำกิ่งตอน

การตัดกิ่งตอนควรจะพิจารณาจากจำนวนรากที่สังเกตเห็นได้ โดยมองผ่านผ้าพลาสติกที่หุ้ม (ควรใช้พลาสติกสีขาวใส) ควรจะมีรากมากพอ ปลายรากมีสีน้ำตาลแก่ เมื่อตัดกิ่งตอนแล้วควรจะมีการตัดแต่งกิ่ง เนื่องจากกิ่งตอนย่อมมีระบบรากน้อยกว่าทางส่วนยอด ดังนั้น ถ้าไม่เอาใจใส่เป็นพิเศษจะไม่สามารถที่จะพยุงต้นไว้ได้ และจะเกิดการคายน้ำมาก ดังนั้นควรปฏิบัติดังนี้

1. ตัดแต่งกิ่งให้สมดุลกับราก

2. ทำการปลูกในภาชนะที่พอเหมาะกับขนาดของต้นและราก มีการค้ำยันด้วยไม้กันไม่ให้กิ่งชำโยก

3. นำกิ่งตอนมาไว้ในที่ชื้นและเย็น รดน้ำสม่ำเสมอ จนกิ่งตอนตั้งตัวดีแล้วจึงย้ายปลูก

ข้อพิจารณาในการตอน

1. ในกรณีที่ต้องการกิ่งตอนขนาดใหญ่ ควรจะมีการเพิ่มขนาดของตุ้ม โดยการหุ้มขุยมะพร้าวทับตุ้มเดิมอีกครั้งหนึ่ง หรือใช้ตุ้มครั้งแรกให้มีขนาดใหญ่ขึ้นอีกนิด ทั้งนี้ ต้องระวังปัญหาตุ้มใหญ่เกินไป อาจทำให้กิ่งหักได้

2. ในพืชบางชนิดกิ่งมีขนาดค่อนข้างเล็ก กิ่งเปราะหักง่ายการตอนควรจะมีการดามด้วยไม้เพื่อป้องกันไม่ให้กิ่งหัก

3. การหุ้มตุ้มตอนด้วยกระดาษเพื่อกรองแสงไม่ให้ตุ้มมีอุณหภูมิสูงเกินไป หากขุยมะพร้าวมีความชื้นสูงร่วมด้วย จะเกิดอันตรายกับรากได้ เพื่อความปลอดภัยจึงควรจะหุ้มตุ้มด้วยกระดาษอีกชั้นหนึ่ง ซึ่งมีประโยชน์อีกประการคือ ทำให้รากเดินดีขึ้น (ภายในถุงขุยมะพร้าวจะมืด)

เทคโนโลยีสารสนเทศหมายถึง อุปกรณ์หรือเครื่องมือที่เกี่ยวข้องกับการรวบรวมประมวล เก็บรักษา และเผยแพร่ข้อมูลและสารสนเทศโดยรวมทั้งฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ฐานข้อมูล และการสื่อสาร โทรคมนาคม ระบบสารสนเทศสร้างขึ้นมาเพื่อจุดมุ่งหมายหลายประการจุดมุ่งหมายพื้นฐานประการหนึ่ง คือ การประมวลข้อมูล (Data) ให้เป็นสารสนเทศ (Information) และนำไปสู่ความรู้ (Knowledge) ที่ช่วยแก้ปัญหาในการดำเนินงาน

ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ

1. ช่วยในการจัดระบบข่าวสารจำนวนมหาศาลของแต่ละวัน

2. เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตสารสนเทศ เช่น การคำนวณตัวเลขที่ยุ่งยากซับซ้อน การจัดเรียงลำดับสารสนเทศ ฯลฯ

3. ช่วยให้สามารถเก็บสารสนเทศไว้ในรูปที่สามารถเรียกใช้ได้ทุกครั้งอย่างสะดวก

4. ช่วยให้สามารถจัดระบบอัตโนมัติ เพื่อการจัดเก็บประมวลผล และเรียกใช้สารสนเทศูล

5. ช่วยในการเข้าถึงสารสนเทศได้อย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพมากขึ้น

6. ช่วยในการสื่อสารระหว่างกันได้อย่างสะดวกรวดเร็ว ลดอุปสรรคเกี่ยวกับเวลา และระยะทาง โดยการใช้ระบบโทรศัพท์ และอื่นๆ

ประโยชน์ของเทคโนโลยีสารสนเทศ

การกำเนิดของคอมพิวเตอร์เมื่อประมาณห้าสิบกว่าปีที่แล้ว เป็นก้าวสำคัญที่นำไปสู่ยุคสารสนเทศ ในช่วงแรกมีการนำเอาคอมพิวเตอร์มาใช้เป็นเครื่องคำนวณ แต่ต่อมาได้มีความพยายามพัฒนาให้คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์สำคัญสำหรับการจัดการข้อมูล เมื่อเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ได้ก้าวหน้ามากขึ้น ทำให้สามารถสร้างคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กลง แต่ประสิทธิภาพสูงขึ้น สภาพการใช้งานจึงใช้งานกันอย่างแพร่หลาย ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีต่อชีวิตความเป็นอยู่และสังคมจึงมีมาก มีการเรียนรู้และใช้สารสนเทศกันอย่างกว้างขวาง ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศโดยรวมกล่าวได้ดังนี้

1. การสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สภาพความเป็นอยู่ของสังคมเมือง มีการพัฒนาใช้ระบบสื่อสารโทรคมนาคม เพื่อติดต่อสื่อสารให้สะดวกขึ้น มีการประยุกต์มาใช้กับเครื่องอำนวยความสะดวกภายในบ้าน เช่น ใช้ควบคุมเครื่องปรับอากาศ ใช้ควมคุมระบบไฟฟ้าภายในบ้าน เป็นต้น

2. เสริมสร้างความเท่าเทียมในสังคมและการกระจายโอกาส เทคโนโลยีสารสนเทศทำให้เกิดการกระจายไปทั่วทุกหนแห่ง แม้แต่ถิ่นทุรกันดาร ทำให้มีการกระจายโอกาสการเรียนรู้ มีการใช้ระบบการเรียนการสอนทางไกล เสริมสร้างการเรียนรู้ เพราะปัจจุบันมีสื่อการศึกษาที่ทันสมัยมากขึ้นนอกจากหนังสือเรียนธรรมดาแล้ว ยังมี วีดีทัศน์ อินเตอร์เน็ต เป็นต้น ที่ช่วยเสริมสร้างการเรียนรู้ด้วยตนเองของผู้เรียน

3. สารสนเทศกับการเรียนการสอนในโรงเรียน การเรียนการสอนในโรงเรียนมีการนำคอมพิวเตอร์และเครื่องมือประกอบช่วยในการเรียนรู้ เช่น วีดีทัศน์ เครื่องฉายภาพ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน คอมพิวเตอร์ช่วยจัดการศึกษา จัดตารางสอน คำนวณระดับคะแนน หรืออย่างที่ครูเป๋งให้เราฝึกทำBlog ไงล่ะคะ ปัจจุบันมีการเรียนการสอนทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศในโรงเรียนจึงมากขึ้น

นางสาวขวัญใจ สุริยา

การต่อกิ่งเป็นวิธีการขยายพันธุ์พืชแบบไม่ใช้เพศด้วยวิธีการนำกิ่งพืชสอง ชนิดมาเชื่อมต่อกันให้เจริญเป็นต้นเดียวกันส่วนของพืชที่เจริญเป็นรากเรียกว่า ต้นตอ (rootstock หรือ stock) และส่วนที่นำมาต่ออยู่บนต้นตอเป็นส่วนที่เจริญ เป็นกิ่งก้าน ออกดอกติดผลต่อไป เรียกว่า กิ่งพันธุ์ดี (scion) ซึ่งเป็นส่วนของ กิ่งพืชที่มีตามากกว่าหนึ่งตาขึ้นไปมาเชื่อมต่อกับต้นตอความสำเร็จของการต่อกิ่ง จะเกิดขึ้นได้นั้นต้องมีการเชื่อมต่อ ระหว่างเนื้อเยื่อต้นตอและกิ่งพันธุ์ดี สามารถลำเลียงน้ำและอาหารผ่าน บริเวณรอยต่อ ได้เนื้อเยื่อบริเวณ รอยต่อ(graft union)นี้เกิดจากเนื้อเยื่อ ของต้นตอและกิ่งพันธุ์ดีมาเรียงตัว อยู่ด้วยกันโดยไม่เกิดการรวมตัวของเซลล์ระหว่างพืชทั้งสองชนิด

เนื้อเยื่อที่เกิดขึ้นถูกสร้างขึ้นมา สมานแผลเป็น เซลล์ parenchyma จำนวนมากประกอบกัน เป็นเนื้อเยื่อ callus เกิดขึ้นภายใน 2-3 วัน รอยแผลที่เกิดจาก การเฉือนกิ่งจะมีส่วนที่ตายไปและมีการสร้างสาร nicrotic เพื่อรักษาบาดแผล ส่วนมากสารเหล่านี้จะหายไป เมื่อเกิดการเชื่อมต่อกันดีแล้วหรือยังอยู่ในช่องว่างระหว่าง เซลล์ก็ได้อาจพบเป็นเซลล์ที่ตายและเยินจากเนื้อเยื่อ

การเกิดรอยต่อได้นั้นต้องวางให้เนื้อเยื่อแคมเบียมของต้นตอและกิ่งพันธุ์ดี อยู่แนบหรือใกล้กันมากที่สุดแล้วจะมีการสร้างเนื้อเยื่อแคลลัสใหม่เกิดขึ้น จากทั้งสองส่วนจนเต็มช่องว่างระหว่างกันเรียกว่า callus bridge ซึ่งจะมีการ พัฒนาไปเป็นเนื้อเยื่อเจริญ (vascular cambium) ภายใน 2-3 สัปดาห์และมี การสร้างท่อน้ำ (xylem) และท่ออาหาร (phloem) เชื่อมกันต่อไป การปรับสภาพแวดล้อมภายนอกให้เหมาะสมมีผลต่อความสำเร็จในการต่อกิ่งด้วย คือ อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการแบ่งเซลล์บริเวณรอยต่ออยู่ระหว่าง 12.8-32.0 องศาเซลเซียส เมื่อเกิดเนื้อเยื่อ callus ขึ้นต้องควบคุมความชื้นบริเวณรอยต่อให้เหมาะสมเนื่องจากเซลล์มีผนังบางและเต่งจึงแห้งตายได้ง่าย จำเป็นต้องพันพลาสติกหรือใช้ถุงพลาสติกคลุมทับ การป้องกันแผลไม่ให้มีการติดเชื้อที่จะทำให้เน่าตายได้เช่นกัน

นอกจากนั้นความสัมพันธ์ของระยะการเจริญเติบโตของตาบนกิ่งพันธุ์ดีจะต้องพอเหมาะกับการพัฒนาการของเนื้อเยื่อบริเวณรอยต่อด้วย กล่าวคือ ขั้นตอนการสร้างท่อน้ำท่ออาหาร ต้องเกิดขึ้นอย่างสมบูรณ์ก่อนที่จะมีใบใหม่เจริญจากตาของกิ่งพันธุ์ดี มิฉะนั้นจะเกิดการแห้งตายของตานั้นได้

การเข้ากันได้ (compatibility) ของพืชทั้งสองชนิดมีส่วนต่อความสำเร็จในการต่อกิ่งด้วย การเลือกใช้ต้นตอและกิ่งพันธุ์ที่มีความใกล้ชิดกันทางพฤกษศาสตร์จะต่อกันได้ดีและรอยต่อเจริญ เหมือนเป็นต้นเดียวกัน เช่น มะม่วงแต่ละพันธุ์จัดเป็นชนิด (species) เดียวกันจึงต่อกิ่งได้ง่าย แต่พืชบางชนิดสามารถเข้ากันได้ดีถึงแม้จะมีความแตกต่างกันมาก เช่น ส้มสามใบ (Poncitrus trifoliata) ต่อด้วยส้มเขียวหวาน (Citrus reticulata) มีพืชหลายคู่ที่สามารถต่อกันได้ในระยะแรก แต่เมื่อเวลาผ่านไปจะมีอาการของการเข้ากันไม่ได้ (incompatibility) เกิดรอยต่อแยกจากกันหรือมีการเติบโตผิดปกติ เช่น ต้นดอนย่าสีชมพูต่อบนดอนย่าสีขาวทักษะและประสบการณ์ของผู้ปฏิบัติงานมีส่วนสำคัญเช่นกัน นอกจากนั้นเครื่องมือที่ใช้ คือ มีดเฉือนกิ่ง ควรอยู่ในสภาพที่คมสามารถเฉือนกิ่งได้โดยไม่ทำให้เนื่อเยื่อชอกช้ำหรือเยินเสียหาย ผู้ปฏิบัติงานต้องทำงานอย่างรวดเร็วและรักษาความสะอาดของแผลบนกิ่งพันธุ์ดี และต้นตอด้วย การเลือกใช้วิธีการต่อกิ่งที่เหมาะสมกับพืชและระยะเวลาเป็นสิ่งสำคัญอีกประการหนึ่งที่ผู้ปฏิบัติงานต้องให้ความสำคัญด้วย กล่าวคือการเลือกใช้วิธีต่อกิ่งกับต้นพืชที่อยู่ในระยะการเจริญเติบโตสามารถลอกเปลือกได้ หรืออยู่ในระยะพักตัว นอกจากนั้นการดูแลเอาใจใส่อย่างใกล้ชิดภายหลังการปฏิบัติงานมีส่วนต่อความสำเร็จของงานด้วย

วิธีการต่อกิ่ง สามารถปฏิบัติได้หลายวิธี ขึ้นอยู่กับชนิดของพืช อายุและขนาดของพืชด้วย นอกจากนั้นยังเกี่ยวข้องกับวัตถุประสงค์ของการต่อกิ่งนั้นๆ ด้วย ในแต่ละวิธีที่จะกล่าวถึงต่อไปนั้นมีหลักพิจารณาในการเลือกปฏิบัติคือ การลอกเปลือกไม้ และการตัดยอดของต้นตอประโยชน์ของการต่อกิ่งและการนำไปใช้

1. เป็นวิธีการขยายพันธุ์พืชเพื่อเพิ่มจำนวนสายต้น (cultivar) ให้มีปริมาณมากโดยกิ่งพันธุ์ดีไม่ต้องใช้เวลานานในการออกดอกติดผล

2. เป็นทางเลือกในการขยายพันธุ์พืชที่ไม่สามารถใช้วิธีการอื่นได้ผลสำเร็จ เช่น การออกรากของกิ่งปักชำหรือกิ่งตอนไม่มาก

3. ต้องการใช้ประโยชน์จากความทนทานต่อสภาพแวดล้อมของระบบรากในต้นตอ เช่น รากของต้นตอที่เจริญเติบโตได้ในที่มีอุณหภูมิต่ำ น้ำท่วมขัง มีความต้านทานโรคและแมลงในดินได้ดี

4. สามารถนำกิ่งพันธุ์ ที่ช่วยในการผสมเกสรให้กับต้นพันธุ์ที่ต้องการเก็บผลผลิต เพื่อให้มีการผสมข้ามพันธุ์แล้วติดผลดีขึ้น หรือเป็นต้นที่แยกเพศ (dioecious plant)

5. ทำให้ในต้นหนึ่งต้นมีหลายพันธุ์อยู่ด้วยกันเพื่อเก็บผลผลิตต่างพันธุ์หรือความสวยงาม

6. ต้นพันธุ์บางชนิดมีการเจริญเติบโตได้ดีกว่าเมื่อต่ออยู่บนระบบรากของอีกพันธุ์หนึ่ง

7. ต้องการให้อิทธิพลของความแคระมีผลต่อต้นตอหรือกิ่งพันธุ์ดี ทำให้ขนาดทรงพุ่มเตี้ย

8. ช่วยให้พืชที่เข้ากันไม่ได้ (incompatibility) ประสานอยู่ด้วยกันได้ โดยใช้ interstock มาต่อกิ่งอยู่ระหว่างต้นตอและกิ่งพันธุ์ดี

9. ใช้สำหรับการซ่อมแซมความเสียหายที่เกิดขึ้นกับลำต้นที่เปลือกถูกแมลงหรือสัตว์กัดแทะหรือเครื่องมือในสวนทำให้เกิดความเสียหายจึงใช้การต่อกิ่งเชื่อมต่อส่วนเปลือกลำต้นให้เจริญเติบโตได้ตามปกติ เรียกว่า การต่อกิ่งแบบเชื่อมสะพาน

10. เพื่อการศึกษาโรคไวรัสที่สามารถถ่ายทอดจากกิ่งพันธุ์ที่สงสัยมีการติดโรคต่อกิ่งบนต้นที่อ่อนแอต่อโรค (indicator plant) ซึ่งสามารถแสดงอาการของโรคไวรัสได้ชัดเจน เป็นเทคนิคที่เรียกว่า virus indexing

2. การปักชำ คือการใช้ส่วนต่างๆ ของพืช เช่น ราก ใบ หรือ ลำต้น ไปปักชำ และส่วนของพืชเหล่านี้จะเจริญงอกงามเป็นลำต้นต่อไป

การปักชำเป็นวิธีขยายพันธุ์พืชที่ดีวิธีหนึ่งซึ่งมีข้อดี ดังนี้

1. ประหยัดค่าใช้จ่าย

2. ขยายพันธุ์ได้ปริมาณมาก

3. ทำได้ง่ายโดยไม่ต้องอาศัยเทคนิคหรือความสามารถมาก

4. ต้นพืชเจริญเติบโตเร็ว โดยใช้ระยะเวลาไม่นาน

5. พืชต้นใหม่ที่ได้จะมีลักษณะเหมือนต้นเดิมทุกประการ

วัสดุที่ใช้ในการปักชำ

กระบะ ดิน ทราบ แกลบ ปุ๋ยคอก ขุยมะพร้าว ใบไม้ผุ

การปักชำสามารถทำได้หลายวิธี ดังนี้

1. การปักชำราก เป็นการเอารากของพืชมาปักชำ อาจปักลงไปในดิน ในทราย หรือในเถ้าแกลบก็ได้ เพื่อส่วนของรากนั้นงอกเป็นลำต้นต่อไป พืชที่ใช้รากปักชำ เช่น มันเทศ สน สาเก เข็มอินเดียเป็นต้น วิธีการชำรากทำได้ ดังนี้

1.1 ตัดรากไม้ออกเป็นท่อนๆ

1.2 วางรากบนดิน การปักชำรากไม่นิยมปักในแนวตั้ง แต่นิยมวางในแนวนอน หรือวางในแนวเฉียงเล็กน้อย

2. การปักชำใบ โดยทั่วไปแล้วใบจะแตกเป็นกิ่งไม่ได้ แต่มีพืชบางชนิดสามารถนำใบมาปักชำให้เจริญเติบโตเป็นต้นต่อไปได้ เช่น ลิ้นมังกร กุหลาบหิน คว่ำตายหงายเป็น เป็นต้น การปักชำใบมี 4 วิธี

วิธีที่ 1 การปักชำโดยใช้ใบ

ให้ นำใบที่ไม่ใช่ใบอ่อนมาตัดเป็นส่วนๆ หรือทั้งใบแล้วนำไปวางเป็นวัสดุ เช่น ทราย หรือดิน โดยให้ด้านบนของใบหงายขึ้น พืชที่นิยม เช่น คว่ำตายหงายเป็น กุหลาบหิน

วิธีที่ 2 การปักชำโดยใช้ก้านใบ

ให้ตัดก้านใบให้หลุดออกจากกิ่งแล้วนำไปปักชำก็จะเจริญเติบโตเป็นต้นใหม่ได้ เช่น กุหลาบหิน

วิธีที่ 3 การปักชำโดยใช้ก้านใบที่ส่วนของกิ่ง

ให้ เอาใบมา โดยเฉือนส่วนของกิ่งให้มีตาติดมาด้วย (มิใช่นำมาทั้งกิ่ง) แล้วนำไปปักชำ ส่วนตาที่ติดมากับกิ่งก็จะเจริญเติบโตเป็นต้นต่อไป วิธีนี้นิยมใช้กับ ฟิโลเดนดรอน ต้นยางอินเดีย

วิธีที่ 4 การใช้ใบติดกิ่งมาปักชำ

ให้ ตัดกิ่งที่จะนำมาปักชำ โดยกิ่งนั้นต้องมีตาเดียว และมีใบติดมาด้วยแล้วนำส่วนของกิ่งบางส่วนปักลงในดินให้ใบ และกิ่งส่วนหนึ่งโผล่ขึ้นมา เพียงเล็กน้อย พืชที่นิยมขยายพันธุ์แบบนี้ ได้แก่ ฟิโลเดนดรอน

การปักชำกิ่ง

เป็นวิธีที่นิยมกันมากและทำกัน มานานแล้ว เราไม่จำเป็นต้องพิถีพิถันกับวัสดุที่ใช้ในการปักชำมากนัก ปัจจุบันนิยมกัน แพร่หลายเพราะประหยัดค่าใช้จ่าย ใช้ระยะเวลาสั้น และได้ลักษณะพันธุ์เดิม การปักชำกิ่งแบ่งเป็น 3 ประเภท

1. การปักชำกิ่งประเภทที่มีเนื้ออวบน้ำ เช่น ฤาษีผสม กิ่งชนิดนี้จะอ่อน บอบบาง และช้ำง่าย ฉะนั้นจึงต้องการความประณีต ในการปฏิบัติ คือต้องระวังในเรื่องความชื้น แสง และอุณหภูมิ

2. การปักชำกิ่งที่มีความแข็งของเนื้อไม้ปานกลาง เช่น ว่านกวนอิม อายุของกิ่งประมาณ 3 - 6 เดือน ผิวเปลือกของกิ่งมี สีอมเขียว ยังไม่เป็นสีน้ำตาล กิ่งประเภทนี้มีเนื้อไม้อ่อนไม่แข็งแรงนัก ฉะนั้นจึงควรระมัดระวังเรื่องน้ำ อุณหภูมิ และแสงสว่างให้มาก เพราะกิ่งประเภทนี้จะเหี่ยวแห้งได้ง่าย

2. การปักชำไม้ที่มีอายุเกิน 1 ปีขึ้นไป วิธีนี้นิยมกันมาก การเลือกกิ่งไม้ที่จะนำมาปักชำ ควรเลือกกิ่งที่มีสีน้ำตาล ก่อนปักชำควร ปักกิ่งชำให้มีตาอย่างน้อย 2-3 ตา การตัดควรตัดเป็นท่อน ๆ ขนาด ยาว 6-8 เซนติเมตร การตัดท่อนปลายกิ่งให้ตัดเหนือข้อ ส่วนท่อนโคนให้ตัดต่ำกว่าข้อ โดยตัดให้เฉียง เราไม่ควรตัดตรงข้อพอดี เพราะจะทำให้กิ่งสูญเสียอาหารไป นอกจากนี้ บริเวณข้อยังมีเนื้อเยื่อ อัดตัวแน่นและแข็งแรง ช่วยป้องกันการระเหยของน้ำในกิ่งได้เป็นอย่างดี

1.3 การขยายพันธุ์พืชโดยวิธีตอนกิ่ง

ทฤษฎีการตอนกิ่ง

ในการตอนกิ่งจะต้องทำให้เกิดแผลกับลำต้นหรือกิ่ง เพื่อตัดท่ออาหารและ เนื้อเยื่อเจริญของกิ่งนั้นให้ขาดจากกัน แต่ท่อน้ำยังคงอยู่เหมือนเดิม ทำให้สามารถส่งน้ำจากรากไปยอดได้ตามปกติ กิ่งและใบยอดจะยังคงสดอยู่เสมอ ซึ่งเป็นเหตุผลสำคัญของการที่พืชบางชนิดขยายพันธุ์ด้วยการตอนกิ่งได้เป็นผลสำเร็จมากกว่าการตัดชำท่ออาหารให้ขาดจากกัน ทำให้การขนส่งอาหารไม่เกิดขึ้น อาหารที่ส่งมาจากยอดจะไปสะสมตรงเหนือรอยแผลมาก ประกอบกับเนื้อเยื่อเจริญบริเวณแผลถูกตัดขาด เป็นการกระตุ้นเตือนให้เนื้อเยื่อเจริญส่วนนั้นเกิดการแบ่งเซลล์อย่างรวดเร็ว มีเซลล์ที่เกิดใหม่มากมาย (มีอาหารอุดมมบูรณ์จากการสะสมเหนือรอยแผล) จะมีเซลล์ส่วนหนึ่งที่พัฒนาไปเป็นราก ทำหน้าที่ดูดน้ำและธาตุอาหาร

พืชแต่ละชนิดมีความยากง่ายในการที่เนื้อเยื่อเจริญจะพัฒนาไปเป็นราก แตกต่างกัน และการจัดสภาพแวดล้อมให้กับเนื้อเยื่อเจริญที่จะเจริญพัฒนาไปเป็นรากได้ ก็ต้องมีความเหมาะสม โดยเฉพาะเกี่ยวกับอุณหภูมิ ความชื้น และบางครั้งอาจจำเป็นต้องใช้สารควบคุมการเจริญเติบโต

ข้อดีข้อจำกัดของการตอนกิ่ง

ข้อดี คือทำได้ง่าย ประสบผลสำเร็จมากกว่าการปักชำ และได้ต้นกล้าขนาด ใหญ่ ทำให้ได้ผลผลิตเร็ว ไม่กลายพันธุ์ ทรงต้นไม่สูงนัก

ข้อจำกัด คือ

2.1 ไม่มีรากแก้ว ทำให้ไม่สามารถ ทนต่อลมแรง ๆ โค่นล้มได้ง่าย

2.2 กิ่งตอนมีขนาดใหญ่กว่ากิ่งชำ การดูแลรักษาหลังตอนยากกว่ากิ่งตัดชำ

การตอนแบบควั่นกิ่ง

เป็นวิธีที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย ทำได้ง่ายและสะดวก มีขั้นตอนดังนี้

1.1 เลือกกิ่งที่แข็งแรง สมบูรณ์ ไม่เป็นโรคและแมลง

เป็นกิ่งที่อยู่ทางด้านนอกของทรงพุ่ม ได้รับแสงแดดเต็มที่ ถ้าเป็นสวนเพื่อการขยายพันธุ์อย่างเดียวจะเลือกตอนเกือบทุกกิ่ง เหลือไว้บางกิ่งเพื่อเป็นพี่เลี้ยงต้นหลังจากตัดกิ่งตอนออกไป

1.2 การควั่นกิ่ง

สำหรับไม้ผล ควรเลือกกิ่งยาวประมาณ 30-50 เซนติเมตร ส่วนไม้ประดับอาจสั้นกว่านี้ ขึ้นอยู่กับจำนวนต้นที่ต้องการและชนิดของพืช ไม่ควรให้กิ่งมีพุ่มขนาดใหญ่มากนักเพราะจะทำให้เกิดการเหี่ยวแห้งในระยะชำเนื่องจากมีจำนวนใบไม่สมดุลกับจำนวนราก ความยาวของรอยควั่นเท่ากับ 1-2 เท่าของเส้นรอบวงของกิ่ง หรือดูจากความสามารถในการออกราก พืชที่ออกรากง่ายรอยควั่นจะสั้น (ประมาณ 1 เท่าของเส้นรอบวง)ถ้าเป็นพืชที่ออกรากยากรอยควั่นจะห่างประมาณ 1.5-2 เท่าของเส้นรอบวงของกิ่งนั้น คุณบุญชอบ โพธิ์รักษา แนะนำว่า การตอนฝรั่งควรจะควั่นห่างเพียง ½ เซนติเมตร ปล่อยให้แห้งสักครู่จึงค่อยหุ้มขุยมะพร้าว (มีการเสริมด้วยไม้ท่อนเล็ก ๆ ก่อนหุ้มขุยมะพร้าวเพื่อป้องกันกิ่งหัก)

1.3 การขูดเยื่อเจริญ (เมือกลื่น ๆ อยู่ระหว่างส่วนของเปลือกกับเนื้อไม้)

พืชแต่ละชนิดต้องการการขูดเยื่อเจริญต่างกัน ควรจะสังเกตว่าพืชใดต้องขูดเยื่อเจริญมากน้อยเท่าใด พืชบางชนิดไม่ต้องขูดเยื่อเจริญ เช่น ฝรั่ง สนแผง ถ้าขูดแล้วกิ่งมักจะแห้งตายเนื่องจากท่อน้ำถูกทำลาย พืชบางชนิดอาจขูดเยื่อเจริญแล้วหุ้มตามได้เลย (พืชทั่วไป) แต่บางชนิดต้องควั่นทิ้งไว้ให้เยื่อเจริญแห้งประมาณ 1 สัปดาห์ จึงจะหุ้มด้วยขุยมะพร้าว เช่น ละมุด

1.4 การหุ้มรอยควั่น

ปัจจุบันนิยมใช้ถุงพลาสติกขนาดเล็กบรรจุขุยมะพร้าว รัดปากถุงให้แน่น ใช้มีดผ่าถุงหุ้มรอยควั่นให้มิด มัดให้แน่น อย่าให้กระเปาะขุยมะพร้าวหมุนหรือขยับได้ เพราะจะทำให้รากที่งอกหักได้ หุ้มทับด้วยกระดาษเพื่อช่วยลดอุษหภูมิและแสงในขุยมะพร้าว ซึ่งจะทำให้การเดินของรากดีขึ้น บางท่านนิยมหุ้มรอยควั่นด้วยดินเหนียว ก่อนหุ้มด้วยกาบมะพร้าวแช่น้ำทุบให้นิ่ม แล้วหุ้มทับด้วยใบตองแห้งหรือผ้าพลาสติก (ไม่นิยมทำในทางการค้า เนื่องจากต้องใช้เวลา) แต่บางสวนจะผ่าตุ้มมะพร้าวแล้วป้ายดินด้านในเล็กน้อยแทนการหุ้มด้วย

1.5 การดูแลรักษา

คอยดูแลรดน้ำอยู่เสมออย่าให้กระเปาะแห้ง ถ้าขุยมะพร้าวชื้นพอ รัดปากถุงให้แน่นจะไม่ต้องรดน้ำอีกเลย พร้อมกันนี้ต้องระวังไม่ให้มดมากัดทำลายด้วย

1.6 การตัดกิ่งตอนตัดเมื่อรากแก่

เมื่อรากแทงทะลุขุยมะพร้าวออกมา ปลายรากเริ่มมีสีน้ำตาล และกิ่งตอนมีใบแก่ทั้งหมด จึงตัดจากต้นแม่ใต้กระเปาะตอนไปชำ

การตอนแบบกรีดกิ่ง นิยมใช้กับกิ่งที่มีแก่นเล็ก หรือกิ่งที่เปราะหักง่าย มีขั้นตอนการปฏิบัติเช่นเดียวกับการตอนแบบควั่นกิ่ง ต่างกันตรงรอยแผลจะใช้มีดกรีดเปลือกยาวประมาณ 1 นิ้ว 3-4 รอย

การตอนกิ่งแบบปาดกิ่ง มีวิธีปฏิบัติเช่นเดียวกับการตอนแบบกรีดกิ่ง ต่างกันตรงรอยแผล ที่จะทำให้เกิดแผลโดยใช้มีดปาดเฉียงให้ลึกเข้าไปในเนื้อไม้เล็กน้อย ใช้เศษวัสดุ เช่น ไม้จิ้มฟัน ลวดฟิวส์ หรือก้านไม้ขีดขัดรอยแผลไว้ให้เผยอออกมาเป็นลิ้นป้องกันไม่ให้รอยแผลเชื่อมติดกันเท่าใด บริเวณที่สัมผัสดินควรจะยึดกิ่งให้ติดกับดินด้วยไม้ค้ำหรือลวดตัวยู บริเวณที่สัมผัสดินจะงอกรากออกมาบริเวณข้อและแตกตาบริเวณตา หลังจากยอดและรากสมบูรณ์ดีแล้ว จึงตัดให้ขาดจากกิ่งเดิม นำไปแยกปลูกต่อไป นิยมใช้กับต้นมะลิ ประทัดจีน สตรอเบอรี่ เป็นต้น

การตอนแบบกรีดกิ่งและปาดกิ่ง นิยมใช้ในพืชที่มีลำต้นเปราะ เช่น ชวนชม เชอรี่ เป็นต้น

การตอนกิ่งแบบโน้มกิ่ง

นิยมใช้กับกิ่งไม้เลื้อย เช่น มะลิ

ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการตอนกิ่ง

บางครั้งกิ่งตอนเกิดการเหี่ยวแห้ง ตอนแล้วไม่ออกราก มีปัจจัยที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้

1. การเลือกกิ่ง

ควรเลือกกิ่งเพสลาด มีสีน้ำตาล ไม่แก่หรืออ่อนเกินไป ใบยอดควรจะพ้นระยะใบอ่อนเปลือกล่อน ถ้ากิ่งแก่ไปจะออกรากยากและน้อย นอกจากนั้น กิ่งแก่มักจะเป็นกิ่งขนาดใหญ่ เมื่อออกรากแล้วมักจะมีปัญหาในการชำ เพราะขนาดของต้นใหญ่ มีรากน้อย ทำให้ใบกับรากไม่สมดุลกัน ใบจะเหี่ยวเนื่องจากขาดน้ำ กิ่งที่อยู่รอบในทรงพุ่มก็ไม่ควรตอน เพราะจะออกรากช้าและน้อย บางครั้งจะไม่ออกรากเลย นอกจากนั้นควรจะพิจารณาถึง

1.1 ขนาดของกิ่ง

ควรมีขนาดตั้งแต่ขนาดดินสอดำถึงขนาดหัวแม่มือ

1.2 ชนิดของกิ่ง

กิ่งกระโดงเหมาะที่สุด เพราะจะออกรากได้รอบด้าน ถ้าเป็นกิ่งนอกรากจะออกทางด้านบนของกิ่งแล้วห้อยลงตามแรงดึงดูดของโลก ทำให้ได้รากน้อยและรากโตช้า ถ้าจำเป็นต้องเลือกกิ่งนอนควรค้ำหรือโยงให้กิ่งตั้งตรงก่อนแล้วจึงตอน โดยทำไม้หลักไว้กลางพุ่มสำหรับผูกเชือกโยงกิ่งตอนทั้งหลายให้ตั้งขึ้น

2. ฤดูกาล

ควรตอนกิ่งในช่วงฤดูฝนซึ่งเป็นระยะที่พืชกำลังเจริญเติบโต ถ้าตอนกิ่งในฤดูร้อนต้องรดน้ำกระเปาะหุ้มให้ชื้นอยู่เสมอ สำหรับฤดูหนาวไม่แนะนำให้ตอน โดยทั่วไปชาวสวนจะนิยมตอนในฤดูแล้ง เนื่องจากกระเปาะหุ้มจะไม่แฉะซึ่งเป็นสาเหตุให้รากไม่เดิน

3. การใช้ฮอร์โมนเร่งราก

ปัจจุบันเป็นที่ยอมรับกันว่า ฮอร์โมนเร่งรากจะช่วยให้การเกิดรากของกิ่งตอนเร็วขึ้น โดยทาฮอร์โมนเร่งรากบริเวณเหนือรอยควั่น (บริเวณที่จะออกราก) ระวังอย่าทาถึงได้รอยควั่น บริเวณนี้จะเกิดรากเร็วกว่าบริเวณเหนือรอยควั่น เมื่อเห็นรากโผล่ออกมาจากตุ้ม หากตัดไปชำมักจะตาย เนื่องจากไม่สามารถส่งอาหารจากยอดมารากได้ (ท่ออาหารถูกตัดขาด) และพบว่าในระยะนี้รากบริเวณเหนือรอยควั่นมักจะยังเจริญไม่พอด้วย

การตัดและการชำกิ่งตอน

การตัดกิ่งตอนควรจะพิจารณาจากจำนวนรากที่สังเกตเห็นได้ โดยมองผ่านผ้าพลาสติกที่หุ้ม (ควรใช้พลาสติกสีขาวใส) ควรจะมีรากมากพอ ปลายรากมีสีน้ำตาลแก่ เมื่อตัดกิ่งตอนแล้วควรจะมีการตัดแต่งกิ่ง เนื่องจากกิ่งตอนย่อมมีระบบรากน้อยกว่าทางส่วนยอด ดังนั้น ถ้าไม่เอาใจใส่เป็นพิเศษจะไม่สามารถที่จะพยุงต้นไว้ได้ และจะเกิดการคายน้ำมาก ดังนั้นควรปฏิบัติดังนี้

1. ตัดแต่งกิ่งให้สมดุลกับราก

2. ทำการปลูกในภาชนะที่พอเหมาะกับขนาดของต้นและราก มีการค้ำยันด้วยไม้กันไม่ให้กิ่งชำโยก

3. นำกิ่งตอนมาไว้ในที่ชื้นและเย็น รดน้ำสม่ำเสมอ จนกิ่งตอนตั้งตัวดีแล้วจึงย้ายปลูก

ข้อพิจารณาในการตอน

1. ในกรณีที่ต้องการกิ่งตอนขนาดใหญ่ ควรจะมีการเพิ่มขนาดของตุ้ม โดยการหุ้มขุยมะพร้าวทับตุ้มเดิมอีกครั้งหนึ่ง หรือใช้ตุ้มครั้งแรกให้มีขนาดใหญ่ขึ้นอีกนิด ทั้งนี้ ต้องระวังปัญหาตุ้มใหญ่เกินไป อาจทำให้กิ่งหักได้

2. ในพืชบางชนิดกิ่งมีขนาดค่อนข้างเล็ก กิ่งเปราะหักง่ายการตอนควรจะมีการดามด้วยไม้เพื่อป้องกันไม่ให้กิ่งหัก

3. การหุ้มตุ้มตอนด้วยกระดาษเพื่อกรองแสงไม่ให้ตุ้มมีอุณหภูมิสูงเกินไป หากขุยมะพร้าวมีความชื้นสูงร่วมด้วย จะเกิดอันตรายกับรากได้ เพื่อความปลอดภัยจึงควรจะหุ้มตุ้มด้วยกระดาษอีกชั้นหนึ่ง ซึ่งมีประโยชน์อีกประการคือ ทำให้รากเดินดีขึ้น (ภายในถุงขุยมะพร้าวจะมืด)

เทคโนโลยีสารสนเทศหมายถึง อุปกรณ์หรือเครื่องมือที่เกี่ยวข้องกับการรวบรวมประมวล เก็บรักษา และเผยแพร่ข้อมูลและสารสนเทศโดยรวมทั้งฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ฐานข้อมูล และการสื่อสาร โทรคมนาคม ระบบสารสนเทศสร้างขึ้นมาเพื่อจุดมุ่งหมายหลายประการจุดมุ่งหมายพื้นฐานประการหนึ่ง คือ การประมวลข้อมูล (Data) ให้เป็นสารสนเทศ (Information) และนำไปสู่ความรู้ (Knowledge) ที่ช่วยแก้ปัญหาในการดำเนินงาน

ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ

1. ช่วยในการจัดระบบข่าวสารจำนวนมหาศาลของแต่ละวัน

2. เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตสารสนเทศ เช่น การคำนวณตัวเลขที่ยุ่งยากซับซ้อน การจัดเรียงลำดับสารสนเทศ ฯลฯ

3. ช่วยให้สามารถเก็บสารสนเทศไว้ในรูปที่สามารถเรียกใช้ได้ทุกครั้งอย่างสะดวก

4. ช่วยให้สามารถจัดระบบอัตโนมัติ เพื่อการจัดเก็บประมวลผล และเรียกใช้สารสนเทศูล

5. ช่วยในการเข้าถึงสารสนเทศได้อย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพมากขึ้น

6. ช่วยในการสื่อสารระหว่างกันได้อย่างสะดวกรวดเร็ว ลดอุปสรรคเกี่ยวกับเวลา และระยะทาง โดยการใช้ระบบโทรศัพท์ และอื่นๆ

ประโยชน์ของเทคโนโลยีสารสนเทศ

การกำเนิดของคอมพิวเตอร์เมื่อประมาณห้าสิบกว่าปีที่แล้ว เป็นก้าวสำคัญที่นำไปสู่ยุคสารสนเทศ ในช่วงแรกมีการนำเอาคอมพิวเตอร์มาใช้เป็นเครื่องคำนวณ แต่ต่อมาได้มีความพยายามพัฒนาให้คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์สำคัญสำหรับการจัดการข้อมูล เมื่อเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ได้ก้าวหน้ามากขึ้น ทำให้สามารถสร้างคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กลง แต่ประสิทธิภาพสูงขึ้น สภาพการใช้งานจึงใช้งานกันอย่างแพร่หลาย ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีต่อชีวิตความเป็นอยู่และสังคมจึงมีมาก มีการเรียนรู้และใช้สารสนเทศกันอย่างกว้างขวาง ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศโดยรวมกล่าวได้ดังนี้

1. การสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สภาพความเป็นอยู่ของสังคมเมือง มีการพัฒนาใช้ระบบสื่อสารโทรคมนาคม เพื่อติดต่อสื่อสารให้สะดวกขึ้น มีการประยุกต์มาใช้กับเครื่องอำนวยความสะดวกภายในบ้าน เช่น ใช้ควบคุมเครื่องปรับอากาศ ใช้ควมคุมระบบไฟฟ้าภายในบ้าน เป็นต้น

2. เสริมสร้างความเท่าเทียมในสังคมและการกระจายโอกาส เทคโนโลยีสารสนเทศทำให้เกิดการกระจายไปทั่วทุกหนแห่ง แม้แต่ถิ่นทุรกันดาร ทำให้มีการกระจายโอกาสการเรียนรู้ มีการใช้ระบบการเรียนการสอนทางไกล เสริมสร้างการเรียนรู้ เพราะปัจจุบันมีสื่อการศึกษาที่ทันสมัยมากขึ้นนอกจากหนังสือเรียนธรรมดาแล้ว ยังมี วีดีทัศน์ อินเตอร์เน็ต เป็นต้น ที่ช่วยเสริมสร้างการเรียนรู้ด้วยตนเองของผู้เรียน

3. สารสนเทศกับการเรียนการสอนในโรงเรียน การเรียนการสอนในโรงเรียนมีการนำคอมพิวเตอร์และเครื่องมือประกอบช่วยในการเรียนรู้ เช่น วีดีทัศน์ เครื่องฉายภาพ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน คอมพิวเตอร์ช่วยจัดการศึกษา จัดตารางสอน คำนวณระดับคะแนน หรืออย่างที่ครูเป๋งให้เราฝึกทำBlog ไงล่ะคะ ปัจจุบันมีการเรียนการสอนทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศในโรงเรียนจึงมากขึ้น

4.เทคโนโลยีสารสนเทศกับสิ่งแวดล้อม การจัดการทรัพยากรธรรมชาติหลายอย่างจำเป็นต้องใช้สารสนเทศ เช่น การดูแลรักษาป่า จำเป็นต้องใช้ข้อมูล มีการใช้ภาพถ่ายดาวเทียม การติดตามข้อมูลสภาพอากาศ การพยากรณ์อากาศ การจำลองรูปแบบสภาวะสิ่งแวดล้อมเพื่อปรับปรุงแก้ไข การเก็บรวมรวมข้อมูลคุณภาพน้ำในแม่น้ำต่าง ๆ การตรวจวัดมลภาวะ ตลอดจนการใช้ระบบการตรวจวัดระยะไกลมาช่วย ที่เรียกว่าโทรมาตร เป็นต้น

นางสาวจิราพร ดอนก้าวง เลขที่ 22 ม 3/1 นางสาวเนาวรัตน์ ครินทร์เลขที่26 ม3/1

การต่อกิ่งเป็นวิธีการขยายพันธุ์พืชแบบไม่ใช้เพศด้วยวิธีการนำกิ่งพืชสอง ชนิดมาเชื่อมต่อกันให้เจริญเป็นต้นเดียวกันส่วนของพืชที่เจริญเป็นรากเรียกว่า ต้นตอ (rootstock หรือ stock) และส่วนที่นำมาต่ออยู่บนต้นตอเป็นส่วนที่เจริญ เป็นกิ่งก้าน ออกดอกติดผลต่อไป เรียกว่า กิ่งพันธุ์ดี (scion) ซึ่งเป็นส่วนของ กิ่งพืชที่มีตามากกว่าหนึ่งตาขึ้นไปมาเชื่อมต่อกับต้นตอความสำเร็จของการต่อกิ่ง จะเกิดขึ้นได้นั้นต้องมีการเชื่อมต่อ ระหว่างเนื้อเยื่อต้นตอและกิ่งพันธุ์ดี สามารถลำเลียงน้ำและอาหารผ่าน บริเวณรอยต่อ ได้เนื้อเยื่อบริเวณ รอยต่อ(graft union)นี้เกิดจากเนื้อเยื่อ ของต้นตอและกิ่งพันธุ์ดีมาเรียงตัว อยู่ด้วยกันโดยไม่เกิดการรวมตัวของเซลล์ระหว่างพืชทั้งสองชนิด

เนื้อเยื่อที่เกิดขึ้นถูกสร้างขึ้นมา สมานแผลเป็น เซลล์ parenchyma จำนวนมากประกอบกัน เป็นเนื้อเยื่อ callus เกิดขึ้นภายใน 2-3 วัน รอยแผลที่เกิดจาก การเฉือนกิ่งจะมีส่วนที่ตายไปและมีการสร้างสาร nicrotic เพื่อรักษาบาดแผล ส่วนมากสารเหล่านี้จะหายไป เมื่อเกิดการเชื่อมต่อกันดีแล้วหรือยังอยู่ในช่องว่างระหว่าง เซลล์ก็ได้อาจพบเป็นเซลล์ที่ตายและเยินจากเนื้อเยื่อ

การเกิดรอยต่อได้นั้นต้องวางให้เนื้อเยื่อแคมเบียมของต้นตอและกิ่งพันธุ์ดี อยู่แนบหรือใกล้กันมากที่สุดแล้วจะมีการสร้างเนื้อเยื่อแคลลัสใหม่เกิดขึ้น จากทั้งสองส่วนจนเต็มช่องว่างระหว่างกันเรียกว่า callus bridge ซึ่งจะมีการ พัฒนาไปเป็นเนื้อเยื่อเจริญ (vascular cambium) ภายใน 2-3 สัปดาห์และมี การสร้างท่อน้ำ (xylem) และท่ออาหาร (phloem) เชื่อมกันต่อไป การปรับสภาพแวดล้อมภายนอกให้เหมาะสมมีผลต่อความสำเร็จในการต่อกิ่งด้วย คือ อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการแบ่งเซลล์บริเวณรอยต่ออยู่ระหว่าง 12.8-32.0 องศาเซลเซียส เมื่อเกิดเนื้อเยื่อ callus ขึ้นต้องควบคุมความชื้นบริเวณรอยต่อให้เหมาะสมเนื่องจากเซลล์มีผนังบางและเต่งจึงแห้งตายได้ง่าย จำเป็นต้องพันพลาสติกหรือใช้ถุงพลาสติกคลุมทับ การป้องกันแผลไม่ให้มีการติดเชื้อที่จะทำให้เน่าตายได้เช่นกัน

นอกจากนั้นความสัมพันธ์ของระยะการเจริญเติบโตของตาบนกิ่งพันธุ์ดีจะต้องพอเหมาะกับการพัฒนาการของเนื้อเยื่อบริเวณรอยต่อด้วย กล่าวคือ ขั้นตอนการสร้างท่อน้ำท่ออาหาร ต้องเกิดขึ้นอย่างสมบูรณ์ก่อนที่จะมีใบใหม่เจริญจากตาของกิ่งพันธุ์ดี มิฉะนั้นจะเกิดการแห้งตายของตานั้นได้

การเข้ากันได้ (compatibility) ของพืชทั้งสองชนิดมีส่วนต่อความสำเร็จในการต่อกิ่งด้วย การเลือกใช้ต้นตอและกิ่งพันธุ์ที่มีความใกล้ชิดกันทางพฤกษศาสตร์จะต่อกันได้ดีและรอยต่อเจริญ เหมือนเป็นต้นเดียวกัน เช่น มะม่วงแต่ละพันธุ์จัดเป็นชนิด (species) เดียวกันจึงต่อกิ่งได้ง่าย แต่พืชบางชนิดสามารถเข้ากันได้ดีถึงแม้จะมีความแตกต่างกันมาก เช่น ส้มสามใบ (Poncitrus trifoliata) ต่อด้วยส้มเขียวหวาน (Citrus reticulata) มีพืชหลายคู่ที่สามารถต่อกันได้ในระยะแรก แต่เมื่อเวลาผ่านไปจะมีอาการของการเข้ากันไม่ได้ (incompatibility) เกิดรอยต่อแยกจากกันหรือมีการเติบโตผิดปกติ เช่น ต้นดอนย่าสีชมพูต่อบนดอนย่าสีขาวทักษะและประสบการณ์ของผู้ปฏิบัติงานมีส่วนสำคัญเช่นกัน นอกจากนั้นเครื่องมือที่ใช้ คือ มีดเฉือนกิ่ง ควรอยู่ในสภาพที่คมสามารถเฉือนกิ่งได้โดยไม่ทำให้เนื่อเยื่อชอกช้ำหรือเยินเสียหาย ผู้ปฏิบัติงานต้องทำงานอย่างรวดเร็วและรักษาความสะอาดของแผลบนกิ่งพันธุ์ดี และต้นตอด้วย การเลือกใช้วิธีการต่อกิ่งที่เหมาะสมกับพืชและระยะเวลาเป็นสิ่งสำคัญอีกประการหนึ่งที่ผู้ปฏิบัติงานต้องให้ความสำคัญด้วย กล่าวคือการเลือกใช้วิธีต่อกิ่งกับต้นพืชที่อยู่ในระยะการเจริญเติบโตสามารถลอกเปลือกได้ หรืออยู่ในระยะพักตัว นอกจากนั้นการดูแลเอาใจใส่อย่างใกล้ชิดภายหลังการปฏิบัติงานมีส่วนต่อความสำเร็จของงานด้วย

วิธีการต่อกิ่ง สามารถปฏิบัติได้หลายวิธี ขึ้นอยู่กับชนิดของพืช อายุและขนาดของพืชด้วย นอกจากนั้นยังเกี่ยวข้องกับวัตถุประสงค์ของการต่อกิ่งนั้นๆ ด้วย ในแต่ละวิธีที่จะกล่าวถึงต่อไปนั้นมีหลักพิจารณาในการเลือกปฏิบัติคือ การลอกเปลือกไม้ และการตัดยอดของต้นตอประโยชน์ของการต่อกิ่งและการนำไปใช้

1. เป็นวิธีการขยายพันธุ์พืชเพื่อเพิ่มจำนวนสายต้น (cultivar) ให้มีปริมาณมากโดยกิ่งพันธุ์ดีไม่ต้องใช้เวลานานในการออกดอกติดผล

2. เป็นทางเลือกในการขยายพันธุ์พืชที่ไม่สามารถใช้วิธีการอื่นได้ผลสำเร็จ เช่น การออกรากของกิ่งปักชำหรือกิ่งตอนไม่มาก

นายสะเทือน แสนพล ม.3/1

การต่อกิ่งเป็นวิธีการขยายพันธุ์พืชแบบไม่ใช้เพศด้วยวิธีการนำกิ่งพืชสอง ชนิดมาเชื่อมต่อกันให้เจริญเป็นต้นเดียวกันส่วนของพืชที่เจริญเป็นรากเรียกว่า ต้นตอ (rootstock หรือ stock) และส่วนที่นำมาต่ออยู่บนต้นตอเป็นส่วนที่เจริญ เป็นกิ่งก้าน ออกดอกติดผลต่อไป เรียกว่า กิ่งพันธุ์ดี (scion) ซึ่งเป็นส่วนของ กิ่งพืชที่มีตามากกว่าหนึ่งตาขึ้นไปมาเชื่อมต่อกับต้นตอความสำเร็จของการต่อกิ่ง จะเกิดขึ้นได้นั้นต้องมีการเชื่อมต่อ ระหว่างเนื้อเยื่อต้นตอและกิ่งพันธุ์ดี สามารถลำเลียงน้ำและอาหารผ่าน บริเวณรอยต่อ ได้เนื้อเยื่อบริเวณ รอยต่อ(graft union)นี้เกิดจากเนื้อเยื่อ ของต้นตอและกิ่งพันธุ์ดีมาเรียงตัว อยู่ด้วยกันโดยไม่เกิดการรวมตัวของเซลล์ระหว่างพืชทั้งสองชนิด

เนื้อเยื่อที่เกิดขึ้นถูกสร้างขึ้นมา สมานแผลเป็น เซลล์ parenchyma จำนวนมากประกอบกัน เป็นเนื้อเยื่อ callus เกิดขึ้นภายใน 2-3 วัน รอยแผลที่เกิดจาก การเฉือนกิ่งจะมีส่วนที่ตายไปและมีการสร้างสาร nicrotic เพื่อรักษาบาดแผล ส่วนมากสารเหล่านี้จะหายไป เมื่อเกิดการเชื่อมต่อกันดีแล้วหรือยังอยู่ในช่องว่างระหว่าง เซลล์ก็ได้อาจพบเป็นเซลล์ที่ตายและเยินจากเนื้อเยื่อ

การเกิดรอยต่อได้นั้นต้องวางให้เนื้อเยื่อแคมเบียมของต้นตอและกิ่งพันธุ์ดี อยู่แนบหรือใกล้กันมากที่สุดแล้วจะมีการสร้างเนื้อเยื่อแคลลัสใหม่เกิดขึ้น จากทั้งสองส่วนจนเต็มช่องว่างระหว่างกันเรียกว่า callus bridge ซึ่งจะมีการ พัฒนาไปเป็นเนื้อเยื่อเจริญ (vascular cambium) ภายใน 2-3 สัปดาห์และมี การสร้างท่อน้ำ (xylem) และท่ออาหาร (phloem) เชื่อมกันต่อไป การปรับสภาพแวดล้อมภายนอกให้เหมาะสมมีผลต่อความสำเร็จในการต่อกิ่งด้วย คือ อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการแบ่งเซลล์บริเวณรอยต่ออยู่ระหว่าง 12.8-32.0 องศาเซลเซียส เมื่อเกิดเนื้อเยื่อ callus ขึ้นต้องควบคุมความชื้นบริเวณรอยต่อให้เหมาะสมเนื่องจากเซลล์มีผนังบางและเต่งจึงแห้งตายได้ง่าย จำเป็นต้องพันพลาสติกหรือใช้ถุงพลาสติกคลุมทับ การป้องกันแผลไม่ให้มีการติดเชื้อที่จะทำให้เน่าตายได้เช่นกัน

นอกจากนั้นความสัมพันธ์ของระยะการเจริญเติบโตของตาบนกิ่งพันธุ์ดีจะต้องพอเหมาะกับการพัฒนาการของเนื้อเยื่อบริเวณรอยต่อด้วย กล่าวคือ ขั้นตอนการสร้างท่อน้ำท่ออาหาร ต้องเกิดขึ้นอย่างสมบูรณ์ก่อนที่จะมีใบใหม่เจริญจากตาของกิ่งพันธุ์ดี มิฉะนั้นจะเกิดการแห้งตายของตานั้นได้

การเข้ากันได้ (compatibility) ของพืชทั้งสองชนิดมีส่วนต่อความสำเร็จในการต่อกิ่งด้วย การเลือกใช้ต้นตอและกิ่งพันธุ์ที่มีความใกล้ชิดกันทางพฤกษศาสตร์จะต่อกันได้ดีและรอยต่อเจริญ เหมือนเป็นต้นเดียวกัน เช่น มะม่วงแต่ละพันธุ์จัดเป็นชนิด (species) เดียวกันจึงต่อกิ่งได้ง่าย แต่พืชบางชนิดสามารถเข้ากันได้ดีถึงแม้จะมีความแตกต่างกันมาก เช่น ส้มสามใบ (Poncitrus trifoliata) ต่อด้วยส้มเขียวหวาน (Citrus reticulata) มีพืชหลายคู่ที่สามารถต่อกันได้ในระยะแรก แต่เมื่อเวลาผ่านไปจะมีอาการของการเข้ากันไม่ได้ (incompatibility) เกิดรอยต่อแยกจากกันหรือมีการเติบโตผิดปกติ เช่น ต้นดอนย่าสีชมพูต่อบนดอนย่าสีขาวทักษะและประสบการณ์ของผู้ปฏิบัติงานมีส่วนสำคัญเช่นกัน นอกจากนั้นเครื่องมือที่ใช้ คือ มีดเฉือนกิ่ง ควรอยู่ในสภาพที่คมสามารถเฉือนกิ่งได้โดยไม่ทำให้เนื่อเยื่อชอกช้ำหรือเยินเสียหาย ผู้ปฏิบัติงานต้องทำงานอย่างรวดเร็วและรักษาความสะอาดของแผลบนกิ่งพันธุ์ดี และต้นตอด้วย การเลือกใช้วิธีการต่อกิ่งที่เหมาะสมกับพืชและระยะเวลาเป็นสิ่งสำคัญอีกประการหนึ่งที่ผู้ปฏิบัติงานต้องให้ความสำคัญด้วย กล่าวคือการเลือกใช้วิธีต่อกิ่งกับต้นพืชที่อยู่ในระยะการเจริญเติบโตสามารถลอกเปลือกได้ หรืออยู่ในระยะพักตัว นอกจากนั้นการดูแลเอาใจใส่อย่างใกล้ชิดภายหลังการปฏิบัติงานมีส่วนต่อความสำเร็จของงานด้วย

วิธีการต่อกิ่ง สามารถปฏิบัติได้หลายวิธี ขึ้นอยู่กับชนิดของพืช อายุและขนาดของพืชด้วย นอกจากนั้นยังเกี่ยวข้องกับวัตถุประสงค์ของการต่อกิ่งนั้นๆ ด้วย ในแต่ละวิธีที่จะกล่าวถึงต่อไปนั้นมีหลักพิจารณาในการเลือกปฏิบัติคือ การลอกเปลือกไม้ และการตัดยอดของต้นตอประโยชน์ของการต่อกิ่งและการนำไปใช้

1. เป็นวิธีการขยายพันธุ์พืชเพื่อเพิ่มจำนวนสายต้น (cultivar) ให้มีปริมาณมากโดยกิ่งพันธุ์ดีไม่ต้องใช้เวลานานในการออกดอกติดผล

2. เป็นทางเลือกในการขยายพันธุ์พืชที่ไม่สามารถใช้วิธีการอื่นได้ผลสำเร็จ เช่น การออกรากของกิ่งปักชำหรือกิ่งตอนไม่มาก

นายสะเทือน แสนพล ม.3/1

การติดตาต่อกิ่ง เป็นศิลปะของการเชื่อม ส่วนของต้นพืชเข้าด้วยกัน เพื่อที่จะให้ส่วนของพืชนั้นๆ ติดต่อกันและเจริญต่อไปเหมือนกับเป็นต้นพืชต้นเดียวกัน ส่วนของต้นพืชที่ต่ออยู่ทางส่วนฃ บนหรือที่ทำหน้าที่เป็นยอดของต้นพืชนั้น เรียกว่า กิ่งพันธุ์ดี (scion)

การปักชำ ไม้ที่มีอายุเกิน 1 ปีขึ้นไป วิธีนี้นิยมกันมาก การเลือกกิ่งไม้ที่จะนำมาปักชำ ควรเลือกกิ่งที่มีสีน้ำตาล ก่อนปักชำควร ปักกิ่งชำให้มีตาอย่างน้อย 2-3 ตา การตัดควรตัดเป็นท่อน ๆ ขนาด ยาว 6-8 เซนติเมตร การตัดท่อนปลายกิ่งให้ตัดเหนือข้อ ส่วนท่อนโคนให้ตัดต่ำกว่าข้อ โดยตัดให้เฉียง เราไม่ควรตัดตรงข้อพอดี เพราะจะทำให้กิ่งสูญเสียอาหารไป นอกจากนี้ บริเวณข้อยังมีเนื้อเยื่อ อัดตัวแน่นและแข็งแรง ช่วยป้องกันการระเหยของน้ำในกิ่งได้เป็นอย่างดี

ตอนกิ่ง จะต้องทำให้เกิดแผลกับลำต้นหรือกิ่ง เพื่อตัดท่ออาหารและ เนื้อเยื่อเจริญของกิ่งนั้นให้ขาดจากกัน แต่ท่อน้ำยังคงอยู่เหมือนเดิม ทำให้สามารถส่งน้ำจากรากไปยอดได้ตามปกติ กิ่งและใบยอดจะยังคงสดอยู่เสมอ ซึ่งเป็นเหตุผลสำคัญของการที่พืชบางชนิดขยายพันธุ์ด้วยการตอนกิ่งได้เป็นผลสำเร็จมากกว่าการตัดชำท่ออาหารให้ขาดจากกัน

เทคโนโลยีสารสนเทศจึง หมายถึง เทคโนโลยีสารสนเทศ คือ เทคโนโลยีที่ใช้จัดการสารสนเทศ โดยใช้เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องในการจัดหา วิเคราะห์ ประมวล จัดการและจัดเก็บ การพิมพ์ การสร้างรายงาน การเรียกใช้หรือแลกเปลี่ยน และเผยแพร่สื่อสารข้อมูล ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ ไม่ว่าจะอยู่ในรูปแบบของรูป เสียง ตัวอักษร หรือภาพเคลื่อนไหว รวมไปถึงการนำสารสนเทศและข้อมูลไปปฏิบัติตามเนื้อหาของสารสนเทศนั้น เพื่อให้บรรลุเป้าหมายของผู้ใช้

ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ

1. ช่วยในการจัดระบบข่าวสารจำนวนมหาศาลของแต่ละวัน

2. เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตสารสนเทศ เช่น การคำนวณตัวเลขที่ยุ่งยากซับซ้อน การจัดเรียงลำดับสารสนเทศ ฯลฯ

3. ช่วยให้สามารถเก็บสารสนเทศไว้ในรูปที่สามารถเรียกใช้ได้ทุกครั้งอย่างสะดวก

4. ช่วยให้สามารถจัดระบบอัตโนมัติ เพื่อการจัดเก็บประมวลผล และเรียกใช้สารสนเทศูล

5. ช่วยในการเข้าถึงสารสนเทศได้อย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพมากขึ้น

6. ช่วยในการสื่อสารระหว่างกันได้อย่างสะดวกรวดเร็ว ลดอุปสรรคเกี่ยวกับเวลา และระยะทาง โดยการใช้ระบบโทรศัพท์

เทคโนโลยีสารสนเทศที่ใช้ในชีวิตประจำวัน

เทคโนโลยีสารสนเทศที่ใช้ในชีวิตประจำวัน มีผลเกี่ยวข้องกับทุกเรื่องในชีวิตประจำวัน บทบาทเหล่านี้มีแนวโน้มที่สำคัญ มากยิ่งขึ้น ด้วยเหตุนี้เยาวชนคนรุ่นใหม่จึงควรเรียนรู้ และเข้าใจเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อจะได้เป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศให้ก้าวหน้าและเกิดประโยชน์ต่อประเทศต่อไป

เดือนเพ็ณ ทองศีร ดวงจันทร์ ไร่ขาม

การต่อกิ่งเป็นวิธีการขยายพันธุ์พืชแบบไม่ใช้เพศด้วยวิธีการนำกิ่งพืชสอง ชนิดมาเชื่อมต่อกันให้เจริญเป็นต้นเดียวกันส่วนของพืชที่เจริญเป็นรากเรียกว่า ต้นตอ (rootstock หรือ stock) และส่วนที่นำมาต่ออยู่บนต้นตอเป็นส่วนที่เจริญ เป็นกิ่งก้าน ออกดอกติดผลต่อไป เรียกว่า กิ่งพันธุ์ดี (scion) ซึ่งเป็นส่วนของ กิ่งพืชที่มีตามากกว่าหนึ่งตาขึ้นไปมาเชื่อมต่อกับต้นตอความสำเร็จของการต่อกิ่ง จะเกิดขึ้นได้นั้นต้องมีการเชื่อมต่อ ระหว่างเนื้อเยื่อต้นตอและกิ่งพันธุ์ดี สามารถลำเลียงน้ำและอาหารผ่าน บริเวณรอยต่อ ได้เนื้อเยื่อบริเวณ รอยต่อ(graft union)นี้เกิดจากเนื้อเยื่อ ของต้นตอและกิ่งพันธุ์ดีมาเรียงตัว อยู่ด้วยกันโดยไม่เกิดการรวมตัวของเซลล์ระหว่างพืชทั้งสองชนิด

เนื้อเยื่อที่เกิดขึ้นถูกสร้างขึ้นมา สมานแผลเป็น เซลล์ parenchyma จำนวนมากประกอบกัน เป็นเนื้อเยื่อ callus เกิดขึ้นภายใน 2-3 วัน รอยแผลที่เกิดจาก การเฉือนกิ่งจะมีส่วนที่ตายไปและมีการสร้างสาร nicrotic เพื่อรักษาบาดแผล ส่วนมากสารเหล่านี้จะหายไป เมื่อเกิดการเชื่อมต่อกันดีแล้วหรือยังอยู่ในช่องว่างระหว่าง เซลล์ก็ได้อาจพบเป็นเซลล์ที่ตายและเยินจากเนื้อเยื่อ

การเกิดรอยต่อได้นั้นต้องวางให้เนื้อเยื่อแคมเบียมของต้นตอและกิ่งพันธุ์ดี อยู่แนบหรือใกล้กันมากที่สุดแล้วจะมีการสร้างเนื้อเยื่อแคลลัสใหม่เกิดขึ้น จากทั้งสองส่วนจนเต็มช่องว่างระหว่างกันเรียกว่า callus bridge ซึ่งจะมีการ พัฒนาไปเป็นเนื้อเยื่อเจริญ (vascular cambium) ภายใน 2-3 สัปดาห์และมี การสร้างท่อน้ำ (xylem) และท่ออาหาร (phloem) เชื่อมกันต่อไป การปรับสภาพแวดล้อมภายนอกให้เหมาะสมมีผลต่อความสำเร็จในการต่อกิ่งด้วย คือ อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการแบ่งเซลล์บริเวณรอยต่ออยู่ระหว่าง 12.8-32.0 องศาเซลเซียส เมื่อเกิดเนื้อเยื่อ callus ขึ้นต้องควบคุมความชื้นบริเวณรอยต่อให้เหมาะสมเนื่องจากเซลล์มีผนังบางและเต่งจึงแห้งตายได้ง่าย จำเป็นต้องพันพลาสติกหรือใช้ถุงพลาสติกคลุมทับ การป้องกันแผลไม่ให้มีการติดเชื้อที่จะทำให้เน่าตายได้เช่นกัน

นอกจากนั้นความสัมพันธ์ของระยะการเจริญเติบโตของตาบนกิ่งพันธุ์ดีจะต้องพอเหมาะกับการพัฒนาการของเนื้อเยื่อบริเวณรอยต่อด้วย กล่าวคือ ขั้นตอนการสร้างท่อน้ำท่ออาหาร ต้องเกิดขึ้นอย่างสมบูรณ์ก่อนที่จะมีใบใหม่เจริญจากตาของกิ่งพันธุ์ดี มิฉะนั้นจะเกิดการแห้งตายของตานั้นได้

การเข้ากันได้ (compatibility) ของพืชทั้งสองชนิดมีส่วนต่อความสำเร็จในการต่อกิ่งด้วย การเลือกใช้ต้นตอและกิ่งพันธุ์ที่มีความใกล้ชิดกันทางพฤกษศาสตร์จะต่อกันได้ดีและรอยต่อเจริญ เหมือนเป็นต้นเดียวกัน เช่น มะม่วงแต่ละพันธุ์จัดเป็นชนิด (species) เดียวกันจึงต่อกิ่งได้ง่าย แต่พืชบางชนิดสามารถเข้ากันได้ดีถึงแม้จะมีความแตกต่างกันมาก เช่น ส้มสามใบ (Poncitrus trifoliata) ต่อด้วยส้มเขียวหวาน (Citrus reticulata) มีพืชหลายคู่ที่สามารถต่อกันได้ในระยะแรก แต่เมื่อเวลาผ่านไปจะมีอาการของการเข้ากันไม่ได้ (incompatibility) เกิดรอยต่อแยกจากกันหรือมีการเติบโตผิดปกติ เช่น ต้นดอนย่าสีชมพูต่อบนดอนย่าสีขาวทักษะและประสบการณ์ของผู้ปฏิบัติงานมีส่วนสำคัญเช่นกัน นอกจากนั้นเครื่องมือที่ใช้ คือ มีดเฉือนกิ่ง ควรอยู่ในสภาพที่คมสามารถเฉือนกิ่งได้โดยไม่ทำให้เนื่อเยื่อชอกช้ำหรือเยินเสียหาย ผู้ปฏิบัติงานต้องทำงานอย่างรวดเร็วและรักษาความสะอาดของแผลบนกิ่งพันธุ์ดี และต้นตอด้วย การเลือกใช้วิธีการต่อกิ่งที่เหมาะสมกับพืชและระยะเวลาเป็นสิ่งสำคัญอีกประการหนึ่งที่ผู้ปฏิบัติงานต้องให้ความสำคัญด้วย กล่าวคือการเลือกใช้วิธีต่อกิ่งกับต้นพืชที่อยู่ในระยะการเจริญเติบโตสามารถลอกเปลือกได้ หรืออยู่ในระยะพักตัว นอกจากนั้นการดูแลเอาใจใส่อย่างใกล้ชิดภายหลังการปฏิบัติงานมีส่วนต่อความสำเร็จของงานด้วย

วิธีการต่อกิ่ง สามารถปฏิบัติได้หลายวิธี ขึ้นอยู่กับชนิดของพืช อายุและขนาดของพืชด้วย นอกจากนั้นยังเกี่ยวข้องกับวัตถุประสงค์ของการต่อกิ่งนั้นๆ ด้วย ในแต่ละวิธีที่จะกล่าวถึงต่อไปนั้นมีหลักพิจารณาในการเลือกปฏิบัติคือ การลอกเปลือกไม้ และการตัดยอดของต้นตอประโยชน์ของการต่อกิ่งและการนำไปใช้

1. เป็นวิธีการขยายพันธุ์พืชเพื่อเพิ่มจำนวนสายต้น (cultivar) ให้มีปริมาณมากโดยกิ่งพันธุ์ดีไม่ต้องใช้เวลานานในการออกดอกติดผล

2. เป็นทางเลือกในการขยายพันธุ์พืชที่ไม่สามารถใช้วิธีการอื่นได้ผลสำเร็จ เช่น การออกรากของกิ่งปักชำหรือกิ่งตอนไม่มาก

เดือนเพ็ณ ทองศีร ดวงจันทร์ ไร่ขาม

การต่อกิ่งเป็นวิธีการขยายพันธุ์พืชแบบไม่ใช้เพศด้วยวิธีการนำกิ่งพืชสอง ชนิดมาเชื่อมต่อกันให้เจริญเป็นต้นเดียวกันส่วนของพืชที่เจริญเป็นรากเรียกว่า ต้นตอ (rootstock หรือ stock) และส่วนที่นำมาต่ออยู่บนต้นตอเป็นส่วนที่เจริญ เป็นกิ่งก้าน ออกดอกติดผลต่อไป เรียกว่า กิ่งพันธุ์ดี (scion) ซึ่งเป็นส่วนของ กิ่งพืชที่มีตามากกว่าหนึ่งตาขึ้นไปมาเชื่อมต่อกับต้นตอความสำเร็จของการต่อกิ่ง จะเกิดขึ้นได้นั้นต้องมีการเชื่อมต่อ ระหว่างเนื้อเยื่อต้นตอและกิ่งพันธุ์ดี สามารถลำเลียงน้ำและอาหารผ่าน บริเวณรอยต่อ ได้เนื้อเยื่อบริเวณ รอยต่อ(graft union)นี้เกิดจากเนื้อเยื่อ ของต้นตอและกิ่งพันธุ์ดีมาเรียงตัว อยู่ด้วยกันโดยไม่เกิดการรวมตัวของเซลล์ระหว่างพืชทั้งสองชนิด

เนื้อเยื่อที่เกิดขึ้นถูกสร้างขึ้นมา สมานแผลเป็น เซลล์ parenchyma จำนวนมากประกอบกัน เป็นเนื้อเยื่อ callus เกิดขึ้นภายใน 2-3 วัน รอยแผลที่เกิดจาก การเฉือนกิ่งจะมีส่วนที่ตายไปและมีการสร้างสาร nicrotic เพื่อรักษาบาดแผล ส่วนมากสารเหล่านี้จะหายไป เมื่อเกิดการเชื่อมต่อกันดีแล้วหรือยังอยู่ในช่องว่างระหว่าง เซลล์ก็ได้อาจพบเป็นเซลล์ที่ตายและเยินจากเนื้อเยื่อ

การเกิดรอยต่อได้นั้นต้องวางให้เนื้อเยื่อแคมเบียมของต้นตอและกิ่งพันธุ์ดี อยู่แนบหรือใกล้กันมากที่สุดแล้วจะมีการสร้างเนื้อเยื่อแคลลัสใหม่เกิดขึ้น จากทั้งสองส่วนจนเต็มช่องว่างระหว่างกันเรียกว่า callus bridge ซึ่งจะมีการ พัฒนาไปเป็นเนื้อเยื่อเจริญ (vascular cambium) ภายใน 2-3 สัปดาห์และมี การสร้างท่อน้ำ (xylem) และท่ออาหาร (phloem) เชื่อมกันต่อไป การปรับสภาพแวดล้อมภายนอกให้เหมาะสมมีผลต่อความสำเร็จในการต่อกิ่งด้วย คือ อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการแบ่งเซลล์บริเวณรอยต่ออยู่ระหว่าง 12.8-32.0 องศาเซลเซียส เมื่อเกิดเนื้อเยื่อ callus ขึ้นต้องควบคุมความชื้นบริเวณรอยต่อให้เหมาะสมเนื่องจากเซลล์มีผนังบางและเต่งจึงแห้งตายได้ง่าย จำเป็นต้องพันพลาสติกหรือใช้ถุงพลาสติกคลุมทับ การป้องกันแผลไม่ให้มีการติดเชื้อที่จะทำให้เน่าตายได้เช่นกัน

นอกจากนั้นความสัมพันธ์ของระยะการเจริญเติบโตของตาบนกิ่งพันธุ์ดีจะต้องพอเหมาะกับการพัฒนาการของเนื้อเยื่อบริเวณรอยต่อด้วย กล่าวคือ ขั้นตอนการสร้างท่อน้ำท่ออาหาร ต้องเกิดขึ้นอย่างสมบูรณ์ก่อนที่จะมีใบใหม่เจริญจากตาของกิ่งพันธุ์ดี มิฉะนั้นจะเกิดการแห้งตายของตานั้นได้

การเข้ากันได้ (compatibility) ของพืชทั้งสองชนิดมีส่วนต่อความสำเร็จในการต่อกิ่งด้วย การเลือกใช้ต้นตอและกิ่งพันธุ์ที่มีความใกล้ชิดกันทางพฤกษศาสตร์จะต่อกันได้ดีและรอยต่อเจริญ เหมือนเป็นต้นเดียวกัน เช่น มะม่วงแต่ละพันธุ์จัดเป็นชนิด (species) เดียวกันจึงต่อกิ่งได้ง่าย แต่พืชบางชนิดสามารถเข้ากันได้ดีถึงแม้จะมีความแตกต่างกันมาก เช่น ส้มสามใบ (Poncitrus trifoliata) ต่อด้วยส้มเขียวหวาน (Citrus reticulata) มีพืชหลายคู่ที่สามารถต่อกันได้ในระยะแรก แต่เมื่อเวลาผ่านไปจะมีอาการของการเข้ากันไม่ได้ (incompatibility) เกิดรอยต่อแยกจากกันหรือมีการเติบโตผิดปกติ เช่น ต้นดอนย่าสีชมพูต่อบนดอนย่าสีขาวทักษะและประสบการณ์ของผู้ปฏิบัติงานมีส่วนสำคัญเช่นกัน นอกจากนั้นเครื่องมือที่ใช้ คือ มีดเฉือนกิ่ง ควรอยู่ในสภาพที่คมสามารถเฉือนกิ่งได้โดยไม่ทำให้เนื่อเยื่อชอกช้ำหรือเยินเสียหาย ผู้ปฏิบัติงานต้องทำงานอย่างรวดเร็วและรักษาความสะอาดของแผลบนกิ่งพันธุ์ดี และต้นตอด้วย การเลือกใช้วิธีการต่อกิ่งที่เหมาะสมกับพืชและระยะเวลาเป็นสิ่งสำคัญอีกประการหนึ่งที่ผู้ปฏิบัติงานต้องให้ความสำคัญด้วย กล่าวคือการเลือกใช้วิธีต่อกิ่งกับต้นพืชที่อยู่ในระยะการเจริญเติบโตสามารถลอกเปลือกได้ หรืออยู่ในระยะพักตัว นอกจากนั้นการดูแลเอาใจใส่อย่างใกล้ชิดภายหลังการปฏิบัติงานมีส่วนต่อความสำเร็จของงานด้วย

วิธีการต่อกิ่ง สามารถปฏิบัติได้หลายวิธี ขึ้นอยู่กับชนิดของพืช อายุและขนาดของพืชด้วย นอกจากนั้นยังเกี่ยวข้องกับวัตถุประสงค์ของการต่อกิ่งนั้นๆ ด้วย ในแต่ละวิธีที่จะกล่าวถึงต่อไปนั้นมีหลักพิจารณาในการเลือกปฏิบัติคือ การลอกเปลือกไม้ และการตัดยอดของต้นตอประโยชน์ของการต่อกิ่งและการนำไปใช้

1. เป็นวิธีการขยายพันธุ์พืชเพื่อเพิ่มจำนวนสายต้น (cultivar) ให้มีปริมาณมากโดยกิ่งพันธุ์ดีไม่ต้องใช้เวลานานในการออกดอกติดผล

2. เป็นทางเลือกในการขยายพันธุ์พืชที่ไม่สามารถใช้วิธีการอื่นได้ผลสำเร็จ เช่น การออกรากของกิ่งปักชำหรือกิ่งตอนไม่มาก

เดือนเพ็ณ ทองศีร ดวงจันทร์ ไร่ขาม

การต่อกิ่งเป็นวิธีการขยายพันธุ์พืชแบบไม่ใช้เพศด้วยวิธีการนำกิ่งพืชสอง ชนิดมาเชื่อมต่อกันให้เจริญเป็นต้นเดียวกันส่วนของพืชที่เจริญเป็นรากเรียกว่า ต้นตอ (rootstock หรือ stock) และส่วนที่นำมาต่ออยู่บนต้นตอเป็นส่วนที่เจริญ เป็นกิ่งก้าน ออกดอกติดผลต่อไป เรียกว่า กิ่งพันธุ์ดี (scion) ซึ่งเป็นส่วนของ กิ่งพืชที่มีตามากกว่าหนึ่งตาขึ้นไปมาเชื่อมต่อกับต้นตอความสำเร็จของการต่อกิ่ง จะเกิดขึ้นได้นั้นต้องมีการเชื่อมต่อ ระหว่างเนื้อเยื่อต้นตอและกิ่งพันธุ์ดี สามารถลำเลียงน้ำและอาหารผ่าน บริเวณรอยต่อ ได้เนื้อเยื่อบริเวณ รอยต่อ(graft union)นี้เกิดจากเนื้อเยื่อ ของต้นตอและกิ่งพันธุ์ดีมาเรียงตัว อยู่ด้วยกันโดยไม่เกิดการรวมตัวของเซลล์ระหว่างพืชทั้งสองชนิด

เนื้อเยื่อที่เกิดขึ้นถูกสร้างขึ้นมา สมานแผลเป็น เซลล์ parenchyma จำนวนมากประกอบกัน เป็นเนื้อเยื่อ callus เกิดขึ้นภายใน 2-3 วัน รอยแผลที่เกิดจาก การเฉือนกิ่งจะมีส่วนที่ตายไปและมีการสร้างสาร nicrotic เพื่อรักษาบาดแผล ส่วนมากสารเหล่านี้จะหายไป เมื่อเกิดการเชื่อมต่อกันดีแล้วหรือยังอยู่ในช่องว่างระหว่าง เซลล์ก็ได้อาจพบเป็นเซลล์ที่ตายและเยินจากเนื้อเยื่อ

การเกิดรอยต่อได้นั้นต้องวางให้เนื้อเยื่อแคมเบียมของต้นตอและกิ่งพันธุ์ดี อยู่แนบหรือใกล้กันมากที่สุดแล้วจะมีการสร้างเนื้อเยื่อแคลลัสใหม่เกิดขึ้น จากทั้งสองส่วนจนเต็มช่องว่างระหว่างกันเรียกว่า callus bridge ซึ่งจะมีการ พัฒนาไปเป็นเนื้อเยื่อเจริญ (vascular cambium) ภายใน 2-3 สัปดาห์และมี การสร้างท่อน้ำ (xylem) และท่ออาหาร (phloem) เชื่อมกันต่อไป การปรับสภาพแวดล้อมภายนอกให้เหมาะสมมีผลต่อความสำเร็จในการต่อกิ่งด้วย คือ อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการแบ่งเซลล์บริเวณรอยต่ออยู่ระหว่าง 12.8-32.0 องศาเซลเซียส เมื่อเกิดเนื้อเยื่อ callus ขึ้นต้องควบคุมความชื้นบริเวณรอยต่อให้เหมาะสมเนื่องจากเซลล์มีผนังบางและเต่งจึงแห้งตายได้ง่าย จำเป็นต้องพันพลาสติกหรือใช้ถุงพลาสติกคลุมทับ การป้องกันแผลไม่ให้มีการติดเชื้อที่จะทำให้เน่าตายได้เช่นกัน

นอกจากนั้นความสัมพันธ์ของระยะการเจริญเติบโตของตาบนกิ่งพันธุ์ดีจะต้องพอเหมาะกับการพัฒนาการของเนื้อเยื่อบริเวณรอยต่อด้วย กล่าวคือ ขั้นตอนการสร้างท่อน้ำท่ออาหาร ต้องเกิดขึ้นอย่างสมบูรณ์ก่อนที่จะมีใบใหม่เจริญจากตาของกิ่งพันธุ์ดี มิฉะนั้นจะเกิดการแห้งตายของตานั้นได้

การเข้ากันได้ (compatibility) ของพืชทั้งสองชนิดมีส่วนต่อความสำเร็จในการต่อกิ่งด้วย การเลือกใช้ต้นตอและกิ่งพันธุ์ที่มีความใกล้ชิดกันทางพฤกษศาสตร์จะต่อกันได้ดีและรอยต่อเจริญ เหมือนเป็นต้นเดียวกัน เช่น มะม่วงแต่ละพันธุ์จัดเป็นชนิด (species) เดียวกันจึงต่อกิ่งได้ง่าย แต่พืชบางชนิดสามารถเข้ากันได้ดีถึงแม้จะมีความแตกต่างกันมาก เช่น ส้มสามใบ (Poncitrus trifoliata) ต่อด้วยส้มเขียวหวาน (Citrus reticulata) มีพืชหลายคู่ที่สามารถต่อกันได้ในระยะแรก แต่เมื่อเวลาผ่านไปจะมีอาการของการเข้ากันไม่ได้ (incompatibility) เกิดรอยต่อแยกจากกันหรือมีการเติบโตผิดปกติ เช่น ต้นดอนย่าสีชมพูต่อบนดอนย่าสีขาวทักษะและประสบการณ์ของผู้ปฏิบัติงานมีส่วนสำคัญเช่นกัน นอกจากนั้นเครื่องมือที่ใช้ คือ มีดเฉือนกิ่ง ควรอยู่ในสภาพที่คมสามารถเฉือนกิ่งได้โดยไม่ทำให้เนื่อเยื่อชอกช้ำหรือเยินเสียหาย ผู้ปฏิบัติงานต้องทำงานอย่างรวดเร็วและรักษาความสะอาดของแผลบนกิ่งพันธุ์ดี และต้นตอด้วย การเลือกใช้วิธีการต่อกิ่งที่เหมาะสมกับพืชและระยะเวลาเป็นสิ่งสำคัญอีกประการหนึ่งที่ผู้ปฏิบัติงานต้องให้ความสำคัญด้วย กล่าวคือการเลือกใช้วิธีต่อกิ่งกับต้นพืชที่อยู่ในระยะการเจริญเติบโตสามารถลอกเปลือกได้ หรืออยู่ในระยะพักตัว นอกจากนั้นการดูแลเอาใจใส่อย่างใกล้ชิดภายหลังการปฏิบัติงานมีส่วนต่อความสำเร็จของงานด้วย

วิธีการต่อกิ่ง สามารถปฏิบัติได้หลายวิธี ขึ้นอยู่กับชนิดของพืช อายุและขนาดของพืชด้วย นอกจากนั้นยังเกี่ยวข้องกับวัตถุประสงค์ของการต่อกิ่งนั้นๆ ด้วย ในแต่ละวิธีที่จะกล่าวถึงต่อไปนั้นมีหลักพิจารณาในการเลือกปฏิบัติคือ การลอกเปลือกไม้ และการตัดยอดของต้นตอประโยชน์ของการต่อกิ่งและการนำไปใช้

1. เป็นวิธีการขยายพันธุ์พืชเพื่อเพิ่มจำนวนสายต้น (cultivar) ให้มีปริมาณมากโดยกิ่งพันธุ์ดีไม่ต้องใช้เวลานานในการออกดอกติดผล

2. เป็นทางเลือกในการขยายพันธุ์พืชที่ไม่สามารถใช้วิธีการอื่นได้ผลสำเร็จ เช่น การออกรากของกิ่งปักชำหรือกิ่งตอนไม่มาก

เดือนเพ็ณ ทองศีร ดวงจันทร์ ไร่ขาม

การต่อกิ่งเป็นวิธีการขยายพันธุ์พืชแบบไม่ใช้เพศด้วยวิธีการนำกิ่งพืชสอง ชนิดมาเชื่อมต่อกันให้เจริญเป็นต้นเดียวกันส่วนของพืชที่เจริญเป็นรากเรียกว่า ต้นตอ (rootstock หรือ stock) และส่วนที่นำมาต่ออยู่บนต้นตอเป็นส่วนที่เจริญ เป็นกิ่งก้าน ออกดอกติดผลต่อไป เรียกว่า กิ่งพันธุ์ดี (scion) ซึ่งเป็นส่วนของ กิ่งพืชที่มีตามากกว่าหนึ่งตาขึ้นไปมาเชื่อมต่อกับต้นตอความสำเร็จของการต่อกิ่ง จะเกิดขึ้นได้นั้นต้องมีการเชื่อมต่อ ระหว่างเนื้อเยื่อต้นตอและกิ่งพันธุ์ดี สามารถลำเลียงน้ำและอาหารผ่าน บริเวณรอยต่อ ได้เนื้อเยื่อบริเวณ รอยต่อ(graft union)นี้เกิดจากเนื้อเยื่อ ของต้นตอและกิ่งพันธุ์ดีมาเรียงตัว อยู่ด้วยกันโดยไม่เกิดการรวมตัวของเซลล์ระหว่างพืชทั้งสองชนิด

เนื้อเยื่อที่เกิดขึ้นถูกสร้างขึ้นมา สมานแผลเป็น เซลล์ parenchyma จำนวนมากประกอบกัน เป็นเนื้อเยื่อ callus เกิดขึ้นภายใน 2-3 วัน รอยแผลที่เกิดจาก การเฉือนกิ่งจะมีส่วนที่ตายไปและมีการสร้างสาร nicrotic เพื่อรักษาบาดแผล ส่วนมากสารเหล่านี้จะหายไป เมื่อเกิดการเชื่อมต่อกันดีแล้วหรือยังอยู่ในช่องว่างระหว่าง เซลล์ก็ได้อาจพบเป็นเซลล์ที่ตายและเยินจากเนื้อเยื่อ

การเกิดรอยต่อได้นั้นต้องวางให้เนื้อเยื่อแคมเบียมของต้นตอและกิ่งพันธุ์ดี อยู่แนบหรือใกล้กันมากที่สุดแล้วจะมีการสร้างเนื้อเยื่อแคลลัสใหม่เกิดขึ้น จากทั้งสองส่วนจนเต็มช่องว่างระหว่างกันเรียกว่า callus bridge ซึ่งจะมีการ พัฒนาไปเป็นเนื้อเยื่อเจริญ (vascular cambium) ภายใน 2-3 สัปดาห์และมี การสร้างท่อน้ำ (xylem) และท่ออาหาร (phloem) เชื่อมกันต่อไป การปรับสภาพแวดล้อมภายนอกให้เหมาะสมมีผลต่อความสำเร็จในการต่อกิ่งด้วย คือ อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการแบ่งเซลล์บริเวณรอยต่ออยู่ระหว่าง 12.8-32.0 องศาเซลเซียส เมื่อเกิดเนื้อเยื่อ callus ขึ้นต้องควบคุมความชื้นบริเวณรอยต่อให้เหมาะสมเนื่องจากเซลล์มีผนังบางและเต่งจึงแห้งตายได้ง่าย จำเป็นต้องพันพลาสติกหรือใช้ถุงพลาสติกคลุมทับ การป้องกันแผลไม่ให้มีการติดเชื้อที่จะทำให้เน่าตายได้เช่นกัน

นอกจากนั้นความสัมพันธ์ของระยะการเจริญเติบโตของตาบนกิ่งพันธุ์ดีจะต้องพอเหมาะกับการพัฒนาการของเนื้อเยื่อบริเวณรอยต่อด้วย กล่าวคือ ขั้นตอนการสร้างท่อน้ำท่ออาหาร ต้องเกิดขึ้นอย่างสมบูรณ์ก่อนที่จะมีใบใหม่เจริญจากตาของกิ่งพันธุ์ดี มิฉะนั้นจะเกิดการแห้งตายของตานั้นได้

การเข้ากันได้ (compatibility) ของพืชทั้งสองชนิดมีส่วนต่อความสำเร็จในการต่อกิ่งด้วย การเลือกใช้ต้นตอและกิ่งพันธุ์ที่มีความใกล้ชิดกันทางพฤกษศาสตร์จะต่อกันได้ดีและรอยต่อเจริญ เหมือนเป็นต้นเดียวกัน เช่น มะม่วงแต่ละพันธุ์จัดเป็นชนิด (species) เดียวกันจึงต่อกิ่งได้ง่าย แต่พืชบางชนิดสามารถเข้ากันได้ดีถึงแม้จะมีความแตกต่างกันมาก เช่น ส้มสามใบ (Poncitrus trifoliata) ต่อด้วยส้มเขียวหวาน (Citrus reticulata) มีพืชหลายคู่ที่สามารถต่อกันได้ในระยะแรก แต่เมื่อเวลาผ่านไปจะมีอาการของการเข้ากันไม่ได้ (incompatibility) เกิดรอยต่อแยกจากกันหรือมีการเติบโตผิดปกติ เช่น ต้นดอนย่าสีชมพูต่อบนดอนย่าสีขาวทักษะและประสบการณ์ของผู้ปฏิบัติงานมีส่วนสำคัญเช่นกัน นอกจากนั้นเครื่องมือที่ใช้ คือ มีดเฉือนกิ่ง ควรอยู่ในสภาพที่คมสามารถเฉือนกิ่งได้โดยไม่ทำให้เนื่อเยื่อชอกช้ำหรือเยินเสียหาย ผู้ปฏิบัติงานต้องทำงานอย่างรวดเร็วและรักษาความสะอาดของแผลบนกิ่งพันธุ์ดี และต้นตอด้วย การเลือกใช้วิธีการต่อกิ่งที่เหมาะสมกับพืชและระยะเวลาเป็นสิ่งสำคัญอีกประการหนึ่งที่ผู้ปฏิบัติงานต้องให้ความสำคัญด้วย กล่าวคือการเลือกใช้วิธีต่อกิ่งกับต้นพืชที่อยู่ในระยะการเจริญเติบโตสามารถลอกเปลือกได้ หรืออยู่ในระยะพักตัว นอกจากนั้นการดูแลเอาใจใส่อย่างใกล้ชิดภายหลังการปฏิบัติงานมีส่วนต่อความสำเร็จของงานด้วย

วิธีการต่อกิ่ง สามารถปฏิบัติได้หลายวิธี ขึ้นอยู่กับชนิดของพืช อายุและขนาดของพืชด้วย นอกจากนั้นยังเกี่ยวข้องกับวัตถุประสงค์ของการต่อกิ่งนั้นๆ ด้วย ในแต่ละวิธีที่จะกล่าวถึงต่อไปนั้นมีหลักพิจารณาในการเลือกปฏิบัติคือ การลอกเปลือกไม้ และการตัดยอดของต้นตอประโยชน์ของการต่อกิ่งและการนำไปใช้

1. เป็นวิธีการขยายพันธุ์พืชเพื่อเพิ่มจำนวนสายต้น (cultivar) ให้มีปริมาณมากโดยกิ่งพันธุ์ดีไม่ต้องใช้เวลานานในการออกดอกติดผล

2. เป็นทางเลือกในการขยายพันธุ์พืชที่ไม่สามารถใช้วิธีการอื่นได้ผลสำเร็จ เช่น การออกรากของกิ่งปักชำหรือกิ่งตอนไม่มาก

-------------------------ข้อที่ 1.1 -----------------------------------------

วิธีการต่อกิ่ง

สามารถปฏิบัติได้หลายวิธี ขึ้นอยู่กับชนิดของพืช อายุและขนาดของพืชด้วย นอกจากนั้นยังเกี่ยวข้องกับวัตถุประสงค์ของการต่อกิ่งนั้นๆ ด้วย ในแต่ละวิธีที่จะกล่าวถึงต่อไปนั้นมีหลักพิจารณาในการเลือกปฏิบัติคือ การลอกเปลือกไม้ และการตัดยอดของต้นตอประโยชน์ของการต่อกิ่งและการนำไปใช้

1. เป็นวิธีการขยายพันธุ์พืชเพื่อเพิ่มจำนวนสายต้น (cultivar) ให้มีปริมาณมากโดยกิ่งพันธุ์ดีไม่ต้องใช้เวลานานในการออกดอกติดผล

2. เป็นทางเลือกในการขยายพันธุ์พืชที่ไม่สามารถใช้วิธีการอื่นได้ผลสำเร็จ เช่น การออกรากของกิ่งปักชำหรือกิ่งตอนไม่มาก

3. ต้องการใช้ประโยชน์จากความทนทานต่อสภาพแวดล้อมของระบบรากในต้นตอ เช่น รากของต้นตอที่เจริญเติบโตได้ในที่มีอุณหภูมิต่ำ น้ำท่วมขัง มีความต้านทานโรคและแมลงในดินได้ดี

4. สามารถนำกิ่งพันธุ์ ที่ช่วยในการผสมเกสรให้กับต้นพันธุ์ที่ต้องการเก็บผลผลิต เพื่อให้มีการผสมข้ามพันธุ์แล้วติดผลดีขึ้น หรือเป็นต้นที่แยกเพศ (dioecious plant)

5. ทำให้ในต้นหนึ่งต้นมีหลายพันธุ์อยู่ด้วยกันเพื่อเก็บผลผลิตต่างพันธุ์หรือความสวยงาม

6. ต้นพันธุ์บางชนิดมีการเจริญเติบโตได้ดีกว่าเมื่อต่ออยู่บนระบบรากของอีกพันธุ์หนึ่ง

7. ต้องการให้อิทธิพลของความแคระมีผลต่อต้นตอหรือกิ่งพันธุ์ดี ทำให้ขนาดทรงพุ่มเตี้ย

8. ช่วยให้พืชที่เข้ากันไม่ได้ (incompatibility) ประสานอยู่ด้วยกันได้ โดยใช้ interstock มาต่อกิ่งอยู่ระหว่างต้นตอและกิ่งพันธุ์ดี

9. ใช้สำหรับการซ่อมแซมความเสียหายที่เกิดขึ้นกับลำต้นที่เปลือกถูกแมลงหรือสัตว์กัดแทะหรือเครื่องมือในสวนทำให้เกิดความเสียหายจึงใช้การต่อกิ่งเชื่อมต่อส่วนเปลือกลำต้นให้เจริญเติบโตได้ตามปกติ เรียกว่า การต่อกิ่งแบบเชื่อมสะพาน

10. เพื่อการศึกษาโรคไวรัสที่สามารถถ่ายทอดจากกิ่งพันธุ์ที่สงสัยมีการติดโรคต่อกิ่งบนต้นที่อ่อนแอต่อโรค (indicator plant) ซึ่งสามารถแสดงอาการของโรคไวรัสได้ชัดเจน เป็นเทคนิคที่เรียกว่า virus indexing

------------------------------------ข้อที่ 1.2 ------------------------------------

การปักชำ

คือการใช้ส่วนต่างๆ ของพืช เช่น ราก ใบ หรือ ลำต้น ไปปักชำ และส่วนของพืชเหล่านี้จะเจริญงอกงามเป็นลำต้นต่อไป

การปักชำเป็นวิธีขยายพันธุ์พืชที่ดีวิธีหนึ่งซึ่งมีข้อดี ดังนี้

1. ประหยัดค่าใช้จ่าย

2. ขยายพันธุ์ได้ปริมาณมาก

3. ทำได้ง่ายโดยไม่ต้องอาศัยเทคนิคหรือความสามารถมาก

4. ต้นพืชเจริญเติบโตเร็ว โดยใช้ระยะเวลาไม่นาน

5. พืชต้นใหม่ที่ได้จะมีลักษณะเหมือนต้นเดิมทุกประการ

วัสดุที่ใช้ในการปักชำ

กระบะ ดิน ทราบ แกลบ ปุ๋ยคอก ขุยมะพร้าว ใบไม้ผุ

การปักชำสามารถทำได้หลายวิธี ดังนี้

1. การปักชำราก เป็นการเอารากของพืชมาปักชำ อาจปักลงไปในดิน ในทราย หรือในเถ้าแกลบก็ได้ เพื่อส่วนของรากนั้นงอกเป็นลำต้นต่อไป พืชที่ใช้รากปักชำ เช่น มันเทศ สน สาเก เข็มอินเดียเป็นต้น วิธีการชำรากทำได้ ดังนี้

1.1 ตัดรากไม้ออกเป็นท่อนๆ

1.2 วางรากบนดิน การปักชำรากไม่นิยมปักในแนวตั้ง แต่นิยมวางในแนวนอน หรือวางในแนวเฉียงเล็กน้อย

2. การปักชำใบ โดยทั่วไปแล้วใบจะแตกเป็นกิ่งไม่ได้ แต่มีพืชบางชนิดสามารถนำใบมาปักชำให้เจริญเติบโตเป็นต้นต่อไปได้ เช่น ลิ้นมังกร กุหลาบหิน คว่ำตายหงายเป็น เป็นต้น การปักชำใบมี 4 วิธี

วิธีที่ 1 การปักชำโดยใช้ใบ

ให้ นำใบที่ไม่ใช่ใบอ่อนมาตัดเป็นส่วนๆ หรือทั้งใบแล้วนำไปวางเป็นวัสดุ เช่น ทราย หรือดิน โดยให้ด้านบนของใบหงายขึ้น พืชที่นิยม เช่น คว่ำตายหงายเป็น กุหลาบหิน

วิธีที่ 2 การปักชำโดยใช้ก้านใบ

ให้ตัดก้านใบให้หลุดออกจากกิ่งแล้วนำไปปักชำก็จะเจริญเติบโตเป็นต้นใหม่ได้ เช่น กุหลาบหิน

วิธีที่ 3 การปักชำโดยใช้ก้านใบที่ส่วนของกิ่ง

ให้ เอาใบมา โดยเฉือนส่วนของกิ่งให้มีตาติดมาด้วย (มิใช่นำมาทั้งกิ่ง) แล้วนำไปปักชำ ส่วนตาที่ติดมากับกิ่งก็จะเจริญเติบโตเป็นต้นต่อไป วิธีนี้นิยมใช้กับ ฟิโลเดนดรอน ต้นยางอินเดีย

วิธีที่ 4 การใช้ใบติดกิ่งมาปักชำ

ให้ ตัดกิ่งที่จะนำมาปักชำ โดยกิ่งนั้นต้องมีตาเดียว และมีใบติดมาด้วยแล้วนำส่วนของกิ่งบางส่วนปักลงในดินให้ใบ และกิ่งส่วนหนึ่งโผล่ขึ้นมา เพียงเล็กน้อย พืชที่นิยมขยายพันธุ์แบบนี้ ได้แก่ ฟิโลเดนดรอน

-------------------------------------------ข้อที่ 1.3 ---------------------------

การขยายพันธุ์พืชโดยวิธีตอนกิ่ง

การตอนกิ่ง

ในการตอนกิ่งจะต้องทำให้เกิดแผลกับลำต้นหรือกิ่ง เพื่อตัดท่ออาหารและ เนื้อเยื่อเจริญของกิ่งนั้นให้ขาดจากกัน แต่ท่อน้ำยังคงอยู่เหมือนเดิม ทำให้สามารถส่งน้ำจากรากไปยอดได้ตามปกติ กิ่งและใบยอดจะยังคงสดอยู่เสมอ ซึ่งเป็นเหตุผลสำคัญของการที่พืชบางชนิดขยายพันธุ์ด้วยการตอนกิ่งได้เป็นผลสำเร็จมากกว่าการตัดชำท่ออาหารให้ขาดจากกัน ทำให้การขนส่งอาหารไม่เกิดขึ้น อาหารที่ส่งมาจากยอดจะไปสะสมตรงเหนือรอยแผลมาก ประกอบกับเนื้อเยื่อเจริญบริเวณแผลถูกตัดขาด เป็นการกระตุ้นเตือนให้เนื้อเยื่อเจริญส่วนนั้นเกิดการแบ่งเซลล์อย่างรวดเร็ว มีเซลล์ที่เกิดใหม่มากมาย (มีอาหารอุดมสมบูรณ์จากการสะสมเหนือรอยแผล) จะมีเซลล์ส่วนหนึ่งที่พัฒนาไปเป็นราก ทำหน้าที่ดูดน้ำและธาตุอาหาร

พืชแต่ละชนิดมีความยากง่ายในการที่เนื้อเยื่อเจริญจะพัฒนาไปเป็นราก แตกต่างกัน และการจัดสภาพแวดล้อมให้กับเนื้อเยื่อเจริญที่จะเจริญพัฒนาไปเป็นรากได้ ก็ต้องมีความเหมาะสม โดยเฉพาะเกี่ยวกับอุณหภูมิ ความชื้น และบางครั้งอาจจำเป็นต้องใช้สารควบคุมการเจริญเติบโต

ข้อดีข้อจำกัดของการตอนกิ่ง

ข้อดี คือทำได้ง่าย ประสบผลสำเร็จมากกว่าการปักชำ และได้ต้นกล้าขนาด ใหญ่ ทำให้ได้ผลผลิตเร็ว ไม่กลายพันธุ์ ทรงต้นไม่สูงนัก

ข้อจำกัด คือ

2.1 ไม่มีรากแก้ว ทำให้ไม่สามารถ ทนต่อลมแรง ๆ โค่นล้มได้ง่าย

2.2 กิ่งตอนมีขนาดใหญ่กว่ากิ่งชำ การดูแลรักษาหลังตอนยากกว่ากิ่งตัดชำ

การตอนแบบควั่นกิ่ง

เป็นวิธีที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย ทำได้ง่ายและสะดวก มีขั้นตอนดังนี้

1.1 เลือกกิ่งที่แข็งแรง สมบูรณ์ ไม่เป็นโรคและแมลง

เป็นกิ่งที่อยู่ทางด้านนอกของทรงพุ่ม ได้รับแสงแดดเต็มที่ ถ้าเป็นสวนเพื่อการขยายพันธุ์อย่างเดียวจะเลือกตอนเกือบทุกกิ่ง เหลือไว้บางกิ่งเพื่อเป็นพี่เลี้ยงต้นหลังจากตัดกิ่งตอนออกไป

1.2 การควั่นกิ่ง

สำหรับไม้ผล ควรเลือกกิ่งยาวประมาณ 30-50 เซนติเมตร ส่วนไม้ประดับอาจสั้นกว่านี้ ขึ้นอยู่กับจำนวนต้นที่ต้องการและชนิดของพืช ไม่ควรให้กิ่งมีพุ่มขนาดใหญ่มากนักเพราะจะทำให้เกิดการเหี่ยวแห้งในระยะชำเนื่องจากมีจำนวนใบไม่สมดุลกับจำนวนราก ความยาวของรอยควั่นเท่ากับ 1-2 เท่าของเส้นรอบวงของกิ่ง หรือดูจากความสามารถในการออกราก พืชที่ออกรากง่ายรอยควั่นจะสั้น (ประมาณ 1 เท่าของเส้นรอบวง)ถ้าเป็นพืชที่ออกรากยากรอยควั่นจะห่างประมาณ 1.5-2 เท่าของเส้นรอบวงของกิ่งนั้น คุณบุญชอบ โพธิ์รักษา แนะนำว่า การตอนฝรั่งควรจะควั่นห่างเพียง ½ เซนติเมตร ปล่อยให้แห้งสักครู่จึงค่อยหุ้มขุยมะพร้าว (มีการเสริมด้วยไม้ท่อนเล็ก ๆ ก่อนหุ้มขุยมะพร้าวเพื่อป้องกันกิ่งหัก)

1.3 การขูดเยื่อเจริญ (เมือกลื่น ๆ อยู่ระหว่างส่วนของเปลือกกับเนื้อไม้)

พืชแต่ละชนิดต้องการการขูดเยื่อเจริญต่างกัน ควรจะสังเกตว่าพืชใดต้องขูดเยื่อเจริญมากน้อยเท่าใด พืชบางชนิดไม่ต้องขูดเยื่อเจริญ เช่น ฝรั่ง สนแผง ถ้าขูดแล้วกิ่งมักจะแห้งตายเนื่องจากท่อน้ำถูกทำลาย พืชบางชนิดอาจขูดเยื่อเจริญแล้วหุ้มตามได้เลย (พืชทั่วไป) แต่บางชนิดต้องควั่นทิ้งไว้ให้เยื่อเจริญแห้งประมาณ 1 สัปดาห์ จึงจะหุ้มด้วยขุยมะพร้าว เช่น ละมุด

1.4 การหุ้มรอยควั่น

ปัจจุบันนิยมใช้ถุงพลาสติกขนาดเล็กบรรจุขุยมะพร้าว รัดปากถุงให้แน่น ใช้มีดผ่าถุงหุ้มรอยควั่นให้มิด มัดให้แน่น อย่าให้กระเปาะขุยมะพร้าวหมุนหรือขยับได้ เพราะจะทำให้รากที่งอกหักได้ หุ้มทับด้วยกระดาษเพื่อช่วยลดอุษหภูมิและแสงในขุยมะพร้าว ซึ่งจะทำให้การเดินของรากดีขึ้น บางท่านนิยมหุ้มรอยควั่นด้วยดินเหนียว ก่อนหุ้มด้วยกาบมะพร้าวแช่น้ำทุบให้นิ่ม แล้วหุ้มทับด้วยใบตองแห้งหรือผ้าพลาสติก (ไม่นิยมทำในทางการค้า เนื่องจากต้องใช้เวลา) แต่บางสวนจะผ่าตุ้มมะพร้าวแล้วป้ายดินด้านในเล็กน้อยแทนการหุ้มด้วย

1.5 การดูแลรักษา

คอยดูแลรดน้ำอยู่เสมออย่าให้กระเปาะแห้ง ถ้าขุยมะพร้าวชื้นพอ รัดปากถุงให้แน่นจะไม่ต้องรดน้ำอีกเลย พร้อมกันนี้ต้องระวังไม่ให้มดมากัดทำลายด้วย

1.6 การตัดกิ่งตอนตัดเมื่อรากแก่

เมื่อรากแทงทะลุขุยมะพร้าวออกมา ปลายรากเริ่มมีสีน้ำตาล และกิ่งตอนมีใบแก่ทั้งหมด จึงตัดจากต้นแม่ใต้กระเปาะตอนไปชำ

การตอนแบบกรีดกิ่ง นิยมใช้กับกิ่งที่มีแก่นเล็ก หรือกิ่งที่เปราะหักง่าย มีขั้นตอนการปฏิบัติเช่นเดียวกับการตอนแบบควั่นกิ่ง ต่างกันตรงรอยแผลจะใช้มีดกรีดเปลือกยาวประมาณ 1 นิ้ว 3-4 รอย

 

 

 

-------------------------------------------ข้อที่ 2.1 ---------------------------

เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง

อุปกรณ์หรือเครื่องมือที่เกี่ยวข้องกับการรวบรวมประมวล เก็บรักษา และเผยแพร่ข้อมูลและสารสนเทศโดยรวมทั้งฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ฐานข้อมูล และการสื่อสาร โทรคมนาคม ระบบสารสนเทศสร้างขึ้นมาเพื่อจุดมุ่งหมายหลายประการจุดมุ่งหมายพื้นฐานประการหนึ่ง คือ การประมวลข้อมูล (Data) ให้เป็นสารสนเทศ (Information) และนำไปสู่ความรู้ (Knowledge) ที่ช่วยแก้ปัญหาในการดำเนินงาน

-------------------------------------------ข้อที่ 2.2 ---------------------------

ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ

ช่วยในการจัดระบบข่าวสารจำนวนมหาศาลของแต่ละวัน เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตสารสนเทศ เช่น การคำนวณตัวเลขที่ยุ่งยากซับซ้อน การจัดเรียงลำดับสารสนเทศ ฯ ช่วยให้สามารถเก็บสารสนเทศไว้ในรูปที่สามารถเรียกใช้ได้ทุกครั้งอย่างสะดวก

ช่วยให้สามารถจัดระบบอัตโนมัติ เพื่อการจัดเก็บประมวลผล และเรียกใช้สารสนเทศ

ช่วยในการเข้าถึงสารสนเทศได้อย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพมากขึ้น ช่วยในการสื่อสารระหว่างกันได้อย่างสะดวกรวดเร็ว ลดอุปสรรคเกี่ยวกับเวลา และระยะทาง โดยการใช้ระบบโทรศัพท์ และอื่นๆ

-------------------------------------------ข้อที่ 2.3 ---------------------------

เทคโนโลยีสารสนเทศที่ใช้ในชีวิตประจำวัน  ได้แก่....

โทรทัศท์-คอมพิวเตอร์ เป็นต้น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท