ประสบการณ์การทำวิจัย


วิจัย+NAPHA

ก็ไม่มีอะไรมากครับวันนี้ผมมาระบายการทำงานที่ค่อนข้างเครียดหากทำงานประจำควบคู่กับงานวิจัย การทำวิจัยด้านสังคมคือการหาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์โดยเฉพาะกับผู้ป่วยกลุ่มนี้ผมรู้สึกว่าการทำงานถึงแม้ว่าจะมีผู้ป่วยจำนวนไม่มากแต่กลับมาคนต้องการสิ่งที่ผู้ป่วยเหล่านี้กำลังเป็นอยู่ตั้งแต่อดีดจนถึงปัจจุบันถามว่าคนทำงานที่จุดนี้ไม่ได้อยู่กับผู้ป่วยตลอด ผู้ป่วยไปไหนมาไหนตลอดเวลา การควบคุมให้ผู้คนเหล่านี้ให้อยู่กับเราจึงเป็นไปได้ยาก หากมองว่าปัญหาอะไรที่ทำให้ผู้ติดเชื้อไม่อยากมารับยา ตอบได้เลยว่า108-1009 เหตุผลที่จะยกมา หากใครอยากศึกษาผมว่าอันนี้สามารถทำเป็นวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอกก็ว่าได้เพราะเป็นการตามบุคคล ซึ่งทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต และตอบคำถามเราด้วยเหตุผลอันแท้จริงว่าทำไมเขาจึงไม่มารับยา การตามบุคคลที่ไม่มาโรงพยาบาลช่างเป็นมิติที่ข้าพเจ้ายังมองไม่เห็น ถ้าผมเห็นเมื่อไร ผมจะมาเล่าต่อเอายกตัวอย่างที่ผมทำมาแล้วเจอคือ

-ไม่มีเวลามารับยา

- ไม่มีค่ารถ

- มีคนรู้จักเห็นว่ามารับยา

- ไปทำงานที่อื่น

และอื่นๆอีกมากมาย

โดยเฉพาะเหตุผลที่พบมากที่สุดคือ ตาย ซึ่งไม่มีใครรู้ มีอีกร้อยแปดวิธีที่จะทำให้รู้ได้แต่ผม ณ ตอนนี้ยังทำไม่ได้ครับ

หวังว่าวันข้างหน้า ผมจะทำได้และดูแลผู้ป่วยครอบคลุมมากกว่านี้

ภก.มด

คำสำคัญ (Tags): #uncategorized
หมายเลขบันทึก: 30799เขียนเมื่อ 24 พฤษภาคม 2006 22:31 น. ()แก้ไขเมื่อ 11 กุมภาพันธ์ 2012 15:01 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (4)
สู้ๆนะ น้องนะ
ให้กำลังใจน้องมดตะนอยนะจ๊ะ  วิจัยว่างแล้วค่อยทำก็ได้   สิ่งที่กำลังทำอยู่ก็มีคุณค่ามากมาย ค่อยๆ สะสมประสบการณ์การทำงาน  รวบรวมปัญหาต่างๆ เพื่อเป็นข้อมูลทำวิทยานิพนธ์ปริญญาเอกนะจ๊ะ  ดร.มดมะนอย      จาก.....  พี่หนิง   พี่อ้อย   จ้า

จ้า ขอบคุณมากครับ

เมื่อไรเป็นดอกเตอร์จะบอกนะครับแต่ตอนนี้เป็นDogไป่ก่อน 5555

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท