มารยาทและศีลธรรมของครูและนักเรียน เมื่อนำข้อมูลของผู้อื่นไปใช้


เช้าวันนี้มาเสิร์ทหาข้อมูลหลักภาษาไทยเพื่อจะนำมาทำลิงค์ให้กับแหล่งเรียนรู้  ก็ได้ไปพบกับผลงานตนเอง  ที่อยู่ในชื่อของผู้อื่น  http://school.obec.go.th/thai_rajpracha30/490002.htm

ในภาษาไทยมีตัวอักษรที่ใช้แทนเสียง ๓ ชนิด ได้แก่ สระ พยัญชนะ และวรรณยุกต์

รูปสระ

สระในภาษาไทยมี ๒๑ รูป

รูปสระ
ชื่อ
รูปสระ
ชื่อ
๑. ะ วิสรรชนีย์ ๑๒. ใ ไม้ม้วน
๒. อั ไม้หันอากาศ ๑๓. ไ ไม้มลาย
๓. อ็ ไม้ไต่คู้ ๑๔. โ ไม้โอ
๔. า ลากข้าง ๑๕. อ ตัว ออ
๕. อิ พินทุ์อิ ๑๖. ย ตัว ยอ
๖. ่ ฝนทอง ๑๗. ว ตัว วอ
๗. อํ นิคหิตหรือหยาดน้ำค้าง ๑๘. ฤ ตัว รึ
๘. " ฟันหนู ๑๙. ฤๅ ตัว รือ
๙. อุ ตีนเหยียด ๒๐. ฦ ตัว ลึ
๑๐. อู ตีนคู้ ๒๑. ฦๅ ตัวลือ
๑๑. เ ไม้หน้า    

การประสมรูปสระ

สระรูปเดียวได้แก่  ะ  อั  อ็  า  อิ  อุ  อู  เ  ใ  ไ  โ  ฤ  ฤๅ  ฦ  ฦๅ

สระ ๒ รูปได้แก่
เสียงสระ
เกิดจาก
รูปสระ
อี
เกิดจาก
พินทุ์อิ + ฝนทอง
อึ
เกิดจาก
พินทุ์อิ + หยาดน้ำค้าง (นฤคหิต)
อื
เกิดจาก
พินทุ์อิ + ฟันหนู
เ-ะ
เกิดจาก
ไม้หน้า + วิสรรชนีย์
เอ็-
เกิดจาก
ไม้หน้า + ไม้ไต่คู้
แอ
เกิดจาก
ไม้หน้า + ไม้หน้า
โ-ะ
เกิดจาก
ไม้โอ + วิสรรชนีย์
เ-อ
เกิดจาก
ไม้หน้า + ตัว อ
อัว
เกิดจาก
ไม้หันอากาศ + ตัว ว
-ำ
เกิดจาก
หยาดน้ำค้าง + ลากข้าง
เ-า
เกิดจาก
ไม้หน้า + ลากข้าง
สระ ๓ รูปได้ แก่
แ-ะ
เกิดจาก
ไม้หน้า+ไม้หน้า + วิสรรชนีย์
อัวะ
เกิดจาก
ไม้หันอากาศ+ ตัว ว + วิสรรชนีย์
เ-อะ
เกิดจาก
ไม้หน้า + ตัว อ + วิสรรชนีย์
เ-าะ
เกิดจาก
ไม้หน้า + ลากข้าง + วิสรรชนีย์
สระ ๔ รูปได้ แก่
เอีย
เกิดจาก
ไม้หน้า + พินทุ์อิ + ฝนทอง+ตัว ย
เอือ
เกิดจาก
ไม้หน้า + พินทุ์อิ + ฟันหนู+ตัว อ
สระ ๕ รูปได้ แก่
เอียะ
เกิดจาก
ไม้หน้า + พินทุ์อิ + ฝนทอง+ตัว ย+ วิสรรชนีย์
เอือะ
เกิดจาก
ไม้หน้า + พินทุ์อิ + ฟันหนู+ตัว อ + วิสรรชนีย์

สระมี ๓๒ เสียง

สระเดี่ยว
สระประสม
สระเกิน
สระที่เกิดจากการเคลื่อนไหว
ของลิ้นและริมฝีปาก
เพียงส่วนเดียว)
(สระที่เกิดจากการ เคลื่อนไหว
ของลิ้นทั้งส่วนหน้า - กลางและหลัง ทำให้รูปริมฝีกปาก
เปลี่ยนไป)
(สระที่มีเสียงพยัญชนะ
ประสมอยู่)
๑. อะ ๑๙. อัวะ ๒๕. อำ
๒. อา ๒๐. อัว ๒๖. ใอ
๓. อิ ๒๑. เอียะ ๒๗. ไอ
๔. อี ๒๒. เอีย ๒๘. เอา
๕. อึ ๒๓. เอือะ ๒๙. ฤ
๖. อือ(เมื่อใช้สระอือ ต้องมี อ ตามหลัง) ๒๔. เอือ ๓๐. ฤๅ
๗. อุ   ๓๑. ฦ
๘. อู   ๓๒. ฦา
๙. เอะ    
๑๐. เอ    
๑๑. แอะ    
๑๒. แอ    
๑๓. โอะ    
๑๔. โอ    
๑๕. เอาะ    
๑๖. ออ    
๑๗. เออะ    
๑๘. เออ    

สระในรูปแบบต่าง ๆ

รร ( ร หัน)
อ, ว, และ ย
สระลดรูป
สระเปลี่ยนรูป
รร (ร หัน) ใช้แทน
สระอะ ได้ มักพบใน
คำที่มาจากภาษาอื่น
เช่นภาษาสันสกฤต
หรือภาษาเขมร
เช่น
บรรทม บรรทัด บรรเทา
บรรเทิง บรรจบ กรรไกร
สรรค์ สรร จำนรรจ์
ครรไล
, ว , และ ย
เป็นได้ทั้ง สระและ
พยัญชนะ เช่น
อ เป็นสระเช่น
ขอ, มือ, เสือ, เธอ ฯลฯ
ว เป็น สระ เช่น
กลัว, บัว มั่ว ฯลฯ
ย เป็นสระ เช่น
เสีย, เพียะ ฯลฯ
บ่ได้ (บ่อ ลดรูป อ)
ณ โอกาสนี้
(ณะ ลด วิสรรชนีย์ ะ)
นก คน จน ครบ ฯลฯ
(ลดรูปสระโ-ะ)
ก็ (ลดรูป สระเอาะ)
ขืน (ลดตัว อ มาจาก
ขือ+น)
เดิน (เดอ+น ลดตัว อ)
เพชร (เพะ+ช ลดวิสรรชนีย์)
สังข์ รัก กัน ลับ
(เกิดจาก สะ+ง, ระ+ง
กะ+น, ละ+บ
เปลี่ยนรูปวิสรรชนีย์ ะ
เป็นไม้ผัด หรือไม้หัน
อากาศ)
เป็ด เห็น แข็ง
(ป+เ-ะ+ด เป็ด เปลี่ยนวิสรรชนีย์เป็นไม้ไต่คู้)
เห็น (เหะ+น เปลี่ยน
วิสรรชนีย์ เป็นไม้ไต่คู้)
แข็ง (แขะ+ง เปลี่ยน
วิสรรชนีย์เป็นไม้ไต่คู้)

การวางตำแหน่งสระ

หน้าพยัญชนะ
ต้น
หลัง
พยัญชนะต้น
หน้า + หลัง
พยัญชนะต้น
บน
พยัญชนะต้น
หน้า+บน+หลัง
พยัญชนะต้น
ล่าง
พยัญชนะต้น
ตัวอย่างเช่น
เปล แต่ โธ่
ตัวอย่างเช่น
ตา จ๋า
ตัวอย่างเช่น
เขา เตะ เบาะ
เลอะเทอะ
ดี
ถึง
หรือ (บน+หลัง)
กลัว (บน+หลัง)
เสีย
เกลือ
สู่
คุณ

      สระไทยใช้หลายท่า
พยัญชนะดูแยบยล
เกิดพยางค์คำและความ
สื่อสารงานทั้งหลาย
ทั้งหลังหน้าใต้และบน
วรรณยุกต์ใช้ได้ความหมาย
เรียบเรียงตามคิดแยบคาย
ลุล่วงดีมีคุณอนันต์
 
อ.ฐะปะนีย์ นาครทรรพและคณะ

ออกแบบและจัดทำโดย ครูกนกวรรณ ปัญญาหลวง
โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๐ สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ
๗๗ หมู่ที่ ๒ ต.แม่อาย อ.แม่อาย จ.เชียงใหม่ ๕๐๒๘๐

เข้าถึงข้อมูลเมื่อวันที่ ๒๔ สิงหาคม ๒๕๕๒  เวลา ๐๗.๔๐ น.

เป็นการคัดลอกจากเว็บอักษรไทยของครูภาทิพ  แล้วแบ่งออกเป็น สระและวรรณยุกต์  หน้าหนึ่ง  อักษรไทยหน้าหนึ่ง   ไม่มีการเปลี่ยนแปลง  กระทั่งการยกตัวอย่าง   กลอนอักษรนำอักษรควบที่ครูภาทิพแต่งรวมทั้งตารางที่เรากำหนดรูปแบบขึ้นมา  เปลี่ยนก็คงแต่สีพื้นและสีตัวอักษร

เวลาที่ครูภาทิพสอนเด็ก  จะย้ำเสมอว่าเมื่อเราไปเอาข้อมูลของใครมา  เราจะต้องอ้างที่มาของข้อมูล

เพื่อเป็นการให้เกียรติเขา  เขาไม่หวง  เพราะถ้าหวงก็ไม่นำมาเผยแพร่    แต่การนำผลงานผู้อื่นมากล่าวอ้างเป็นของตัวเองนี้ไม่ควรทำอย่างยิ่ง  ผลงานของครูภาทิพ  ที่เขาคัดลอกนำมาจาก เว็บ

http://www.st.ac.th/bhatips/gramma3.htm  ซึ่งทำมาตั้งแต่ ปี ๒๕๔๔ และปรับปรุงมาเรื่อยๆ

 

มีโรงเรียนหลายโรงได้นำเว็บอักษรไทยและวรรณยุกต์ของครูทิพไปไว้ในserver  ของเขาเพื่อเป็นอิเล็คทรอนิกส์ให้นักเรียนสะดวกในการใช้  แม้ว่าURL จะเป็นของเขา  แต่ด้านล่างเขาจะอ้างที่มาว่ามาจากเว็บครูภาทิพ  เช่น

 http://www.horhook.com/section/sec1thai/490002.htm

http://dek-d.com/board/view.php?id=876437

http://www.wanjai.com/ebook/listknowledge.php?q_id=2&l=thai

http://dhammaforyou.igetweb.com/index.php?mo=3&art=41272

หมายเลขบันทึก: 290473เขียนเมื่อ 24 สิงหาคม 2009 08:16 น. ()แก้ไขเมื่อ 21 มิถุนายน 2012 10:13 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (8)

เปรียบเทียบให้เห็นเนื้อหาต่อเนื้อหา

 

รูปสระ

สระในภาษาไทยมี ๒๑ รูป

รูปสระ ชื่อ รูปสระ ชื่อ
๑.ะ วิสรรชนีย์ ๑๒.ใ ไม้ม้วน
๒.อั ไม้หันอากาศ ๑๓.ไ ไม้มลาย
๓.อ็ ไม้ไต่คู้ ๑๔.โ ไม้โอ
๔.า ลากข้าง ๑๕.อ ตัว ออ
๕.อิ พินทุ์อิ ๑๖.ย ตัว ยอ
๖.' ฝนทอง ๑๗.ว ตัว วอ
๗.อํ นิคหิตหรือหยาดน้ำค้าง ๑๘.ฤ ตัว รึ
๘." ฟันหนู ๑๙.ฤๅ ตัว รือ
๙.อุ ตีนเหยียด ๒๐.ฦ ตัว ลึ
๑๐.อู ตีนคู้ ๒๑.ฦๅ ตัวลือ
๑๑.เ ไม้หน้า    

การประสมรูปสระ

สระรูปเดียวได้แก่ ะ อั อ็ า อิ อุ อู เ ใ ไ โ ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ
สระ ๒ รูปได้แก่    
เสียงสระ เกิดจาก รูปสระ
อี

เกิดจาก

พินทุ์อิ + ฝนทอง
อึ

เกิดจาก

พินทุ์อิ + หยาดน้ำค้าง (นฤคหิต)
อื

เกิดจาก

พินทุ์อิ + ฟันหนู
เ-ะ

เกิดจาก

ไม้หน้า + วิสรรชนีย์
เอ็-

เกิดจาก

ไม้หน้า + ไม้ไต่คู้
แอ

เกิดจาก

ไม้หน้า + ไม้หน้า
โ-ะ

เกิดจาก

ไม้โอ + วิสรรชนีย์
เ-อ

เกิดจาก

ไม้หน้า + ตัว อ
อัว

เกิดจาก

ไม้หันอากาศ + ตัว ว
-ำ

เกิดจาก

หยาดน้ำค้าง + ลากข้าง
เ-า

เกิดจาก

ไม้หน้า + ลากข้าง
สระ ๓ รูปได้ แก่    
เสียงสระ เกิดจาก รูปสระ
แ-ะ

เกิดจาก

ไม้หน้า+ไม้หน้า + วิสรรชนีย์
อัวะ

เกิดจาก

ไม้หันอากาศ+ ตัว ว + วิสรรชนีย์
เ-อะ

เกิดจาก

ไม้หน้า + ตัว อ + วิสรรชนีย์
เ-าะ

เกิดจาก

ไม้หน้า + ลากข้าง + วิสรรชนีย์
สระ ๔ รูปได้แก่    
เอีย

เกิดจาก

ไม้หน้า + พินทุ์อิ + ฝนทอง+ตัว ย
เอือ

เกิดจาก

ไม้หน้า + พินทุ์อิ + ฟันหนู+ตัว อ
สระ ๕ รูปได้แก่    
เอียะ

เกิดจาก

ไม้หน้า + พินทุ์อิ + ฝนทอง+ตัว ย+ วิสรรชนีย์
เอือะ

เกิดจาก

ไม้หน้า + พินทุ์อิ + ฟันหนู+ตัว อ + วิสรรชนีย์

 

 

การประสมรูปสระ

สระรูปเดียวได้แก่ ะ อั อ็ า อิ อุ อู เ ใ ไ โ ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ
สระ ๒ รูปได้แก่    
เสียงสระ เกิดจาก รูปสระ
อี

เกิดจาก

พินทุ์อิ + ฝนทอง
อึ

เกิดจาก

พินทุ์อิ + หยาดน้ำค้าง (นฤคหิต)
อื

เกิดจาก

พินทุ์อิ + ฟันหนู
เ-ะ

เกิดจาก

ไม้หน้า + วิสรรชนีย์
เอ็-

เกิดจาก

ไม้หน้า + ไม้ไต่คู้
แอ

เกิดจาก

ไม้หน้า + ไม้หน้า
โ-ะ

เกิดจาก

ไม้โอ + วิสรรชนีย์
เ-อ

เกิดจาก

ไม้หน้า + ตัว อ
อัว

เกิดจาก

ไม้หันอากาศ + ตัว ว
-ำ

เกิดจาก

หยาดน้ำค้าง + ลากข้าง
เ-า

เกิดจาก

ไม้หน้า + ลากข้าง
สระ ๓ รูปได้ แก่    
เสียงสระ เกิดจาก รูปสระ
แ-ะ

เกิดจาก

ไม้หน้า+ไม้หน้า + วิสรรชนีย์
อัวะ

เกิดจาก

ไม้หันอากาศ+ ตัว ว + วิสรรชนีย์
เ-อะ

เกิดจาก

ไม้หน้า + ตัว อ + วิสรรชนีย์
เ-าะ

เกิดจาก

ไม้หน้า + ลากข้าง + วิสรรชนีย์
สระ ๔ รูปได้แก่    
เอีย

เกิดจาก

ไม้หน้า + พินทุ์อิ + ฝนทอง+ตัว ย
เอือ

เกิดจาก

ไม้หน้า + พินทุ์อิ + ฟันหนู+ตัว อ
สระ ๕ รูปได้แก่    
เอียะ

เกิดจาก

ไม้หน้า + พินทุ์อิ + ฝนทอง+ตัว ย+ วิสรรชนีย์
เอือะ

เกิดจาก

ไม้หน้า + พินทุ์อิ + ฟันหนู+ตัว อ + วิสรรชนีย์

สระมี ๓๒ เสียง

สระเดี่ยว
(สระที่เกิดจากการเคลื่อนไหว
ของลิ้นและริมฝีปาก
เพียงส่วนเดียว)
สระประสม
(สระที่เกิดจากการ เคลื่อนไหว
ของลิ้นทั้งส่วนหน้า - กลางและหลัง ทำให้รูปริมฝีกปาก
เปลี่ยนไป)
สระเกิน
(สระที่มีเสียงพยัญชนะ
ประสมอยู่)

๑. อะ ๑๙.. อัวะ ๒๕. อำ
๒. อา ๒๐. อัว ๒๖. ใอ
๓.อิ ๒๑. เอียะ ๒๗. ไอ
๔. อี ๒๒. เอีย ๒๘. เอา
๕. อึ ๒๓. เอือะ ๒๙. ฤ
๖. อือ(เมื่อใช้สระอือ ต้องมี อ ตามหลัง) ๒๔. เอือ ๓๐. ฤๅ
๗.อุ   ๓๑. ฦ
๘. อู   ๓๒. ฦา
๙. เอะ    
๑๐. เอ    
๑๑. แอะ    
๑๒. แอ    
๑๓. โอะ    
๑๔. โอ    
๑๕. เอาะ    
๑๖.ออ    
๑๗. เออะ    
๑๘. เออ    

สระในรูปแบบต่าง ๆ

รร ( ร หัน) อ, ว, และ ย สระลดรูป สระเปลี่ยนรูป
รร (ร หัน) ใช้แทน
สระอะ ได้ มักพบใน
คำที่มาจากภาษาอื่น
เช่นภาษาสันสกฤต
หรือภาษาเขมร
เช่น
บรรทม บรรทัด บรรเทา
บรรเทิง บรรจบ กรรไกร
สรรค์ สรร จำนรรจ์
ครรไล

อ, ว , และ ย
เป็นได้ทั้ง สระและ
พยัญชนะ เช่น
อ เป็นสระเช่น
ขอ, มือ, เสือ, เธอ ฯลฯ
ว เป็น สระ เช่น
กลัว, บัว มั่ว ฯลฯ
ย เป็นสระ เช่น
เสีย, เพียะ ฯลฯ



บ่ได้ (บ่อ ลดรูป อ)
ณ โอกาสนี้
(ณะ ลด วิสรรชนีย์ ะ)
นก คน จน ครบ ฯลฯ
(ลดรูปสระโ-ะ)
ก็ (ลดรูป สระเอาะ)
ขืน (ลดตัว อ มาจาก
ขือ+น)




สังข์ รัก กัน ลับ
(เกิดจาก สะ+ง, ระ+ง
กะ+น, ละ+บ
เปลี่ยนรูปวิสรรชนีย์ ะ
เป็นไม้ผัด หรือไม้หัน
อากาศ)
เป็ด เห็น แข็ง
(ป+เ-ะ+ด เป็ด เปลี่ยนวิสรรชนีย์เป็นไม้ไต่คู้)
เดิน (เดอ+น เปลี่ยน อ เป็นพินทุ์อิ)
เพชร (เพะ+ช เปลี่ยน วิสรรชนีย์ เป็นไม้ไต่คู้)

เห็น (เหะ+น เปลี่ยน
วิสรรชนีย์ เป็นไม้ไต่คู้)
แข็ง (แขะ+ง เปลี่ยน
วิสรรชนีย์เป็นไม้ไต่คู้)


การวางตำแหน่งสระ

หน้าพยัญชนะ
ต้น
หลัง
พยัญชนะต้น
หน้า + หลัง
พยัญชนะต้น
บน
พยัญชนะต้น
หน้า+บน+หลัง
พยัญชนะต้น
ล่าง
พยัญชนะต้น
ตัวอย่างเช่น
เปล แต่ โธ่

ตัวอย่างเช่น
ตา จ๋า


ตัวอย่างเช่น
เขา เตะ เบาะ
เลอะเทอะ

ดี
ถึง
หรือ (บน+หลัง)
กลัว (บน+หลัง)

เสีย
เกลือ



สู่
คุณ



 

........สระไทยใช้หลายท่า
พยัญชนะดูแยบยล
เกิดพยางค์คำและความ
สื่อสารงานทั้งหลาย
ทั้งหลังหน้าใต้และบน
วรรณยุกต์ใช้ได้ความหมาย
เรียบเรียงตามคิดแยบคาย
ลุล่วงดีมีคุณอนันต์
อ.ฐะปะนีย์ นาครทรรพและคณะ

 

 

สวัสดีค่ะ

  • จริงหรือคะ  เจ้าตัว เธอรู้ไหมคะ ว่าอาจารย์ทราบแล้วน่ะค่ะ 
  • เอ หาก เป็นผลงานของครูอ้อย ถูกลอกไป  แล้วไม่อ้างที่มา  ต้องคิดกันหนักล่ะค่ะ

ขอบคุณมากค่ะ อาจารย์

ในเว็บนี้ของครูภาทิพ  มีข้อมูลเรื่องสระที่ยังไม่ได้ปรับปรุงก็คือ

ปัจจุบันนับสระเพียง ๒๑ เสียง  โดยตัดสระที่มีเสียงพยัญชนะประสม

อยู่ออกไป  และตัดสระประสมเสียงสั้นออกด้วย คือ เอียะ  เอือะ และอัวะ

สวัสดีค่ะครูอ้อย   สงสัยครูภาทิพ  กำลังอยู่ในช่วงอารมณ์

(โกรธคือโง่  โมโหคือบ้า)

 

               ยินดีให้แต่จะรับไม่ได้กับการฉกฉวย  

  • ไม่อยากได้ยินเลยว่ามีเรื่องเช่นนี้เกิดขึ้นในวงการครู
  • เป็นกำลังใจให้คุณครูภาทิพนะครับ
  • ขอบคุณมากครับ

สวัสดีค่ะ ผอ.บวร ที่สำคัญเว็บไซต์ที่ฝากผลงานเป็นของ สพฐ.ด้วยค่ะ

 

ลอกทุกอย่างจริงๆ 

ในภาษาไทยมีตัวอักษรที่ใช้แทนเสียง ๓ ชนิด ได้แก่ สระ พยัญชนะ และวรรณยุกต์

พยัญชนะไทย  มี ๔๔ รูป ๒๑ เสียง

เสียง
รูป
๑. ก
๒. ข
ข ค ฅ ฆ
๓. ง
๔. จ
๕. ช
ช ฉ ฌ
๖. ซ
ซ ศ ษ ส
๗. ย
ญ ย
๘. ด
ด ฎ
๙. ต
ต ฏ
๑๐. ท
ฐ ฑ ฒ ถ ท ธ
๑๑. น
น ณ
๑๒. ป
๑๓. พ
พ ผ ภ
๑๔. ฟ
๑๕. ม
๑๖. ย
ย ญ
๑๗. ร
๑๘. ล
ล ฬ
๑๙. ว
๒๐. ฮ
ฮ ห
๒๑. อ

หน้าที่ของพยัญชนะ

๑. เป็นพยัญชนะต้น า เ็น ัตว์ ใกล้สูญันธ์
ก ป ส กล ส พ เป็นพยัญชนะต้น
๒. เป็นพยัญชนะท้ายพยางค์(ตัวสะกด) เกิดเป็นชายหมายรักนี้หนักอก
อักษรที่ขีดเส้นใต้เป็นพยัญชนะท้ายพยางค์หรือตัวสะกด
๓. เป็นอักษรควบ (ควบแท้และ ไม่แท้) ควบแท พลาดพลั้ง ครั้งคราว กราวกรครคลุ้มคลั่ง ขวักไขว่
ควบไม่แท้ เศร้า สร้อย ศรี จริง
ที่เรียกว่าควบแท้เพราะออกเสียงอักษรทั้งสองตัวพร้อมกัน
ที่เรียกควบไม่แท้เพราะไม่ได้ออกเสียงตัวที่ควบด้วย กล่าวคือ
ไม่ได้ออกเสียง ร นั่นเอง
๔. เป็นอักษรนำ-อักษรตาม ตลาด ต อักษรกลาง นำ ล อักษรต่ำ ออกเสียงวรรณยุกต์ตาม ต
สนาม ส อักษรสูง นำ น อักษรต่ำ ออกเสียงวรรณยุกต์ตาม ส
ผลิต ผ อักษรสูงนำ ล อักษรต่ำ ออกเสียงวรรณยุกต์ตาม ผ
อย่า อยู่ อย่าง อยาก อ อักษรกลาง นำ ย อักษรต่ำ ออกเสียง
วรรณยุกต์ตาม อ
หรู หรา ห อักษรสูง นำ ร อักษรต่ำ ออกเสียงวรรณยุกต์ตาม ห
หญิง หญ้า ใหญ่ ห อักษรสูง นำ ญอักษรต่ำ ออกเสียง
วรรณยุกต์ตาม ห
๕. เป็นสระ (อ ว ย ร) รรค์ รร ทำหน้าที่แทนวิสรรชนีย์ หรือสระอะ
น ว เป็นสระอัวลดรูป
เสี ย เป็นส่วนประกอบของสระเอีย
เสื มือ เป็นสระ และเป็นส่วนหนึ่งของสระ
๖. เป็นตัวการันต์ จันทร์ (ทร์ เป็นตัวการันต์ ลักษณ์ ษณ์ เป็นตัวการันต์
ศิล์ ป์ เป็นตัวการันต์

อักษรนำ
อักษรควบ
ตัวอย่างคำอักษรนำ-อักษรตาม
ขยะขยาดตลาดเสนอ.........ฉลาดเสมอเฉลิมไฉน
สนิมสนองฉลองไสว..........เถลไถลหวาดหวั่นแสวง
อย่าอยู่อย่างอยากเผยอ..........ตลิ่งตลบเสนอถลอกแถลง
จมูกถนัดขยะแขยง...............สวะสวิงหน่ายแหนงขยับขยาย
หรูหราหรุบหรับ(สา)หร่าย... สลับสลายเสนาะสนุกสนาน
สลิดเสลดสลัดสมาน ...หวังหลอกเหลนหลานหลากหลาย
ตัวอย่างคำอักษรควบแท้และไม่แท้
กราดเกรี้ยวเกลียวคลื่นคล้าย
ปลุกปลอบควายคลายโกรธเกรี้ยว
ตรวจตรากล้าจริงเพรียว
ขวักไขว่คว่ำกล้ำกลบคลอง
ทรายเศร้าเคล้าคลึงศรี
ทราบโทรมตรีปลีกล้วยพร่อง
ครึ้มครึกตริตรึกตรอง
เปล่าพลิกกลองแปรเปลี่ยนแปลง

อักษร ๓ หมู่ (ไตรยางค์)
เสียง สามัญ
เสียงเอก
เสียงโท
เสียงตรี
เสียงจัตวา
หมายเหตุ
อักษรกลาง
ก จ ด ฎตฏ บ ป อ
คำเป็น
คำตาย
ปา
ป่า
กัด
ป้า
กั้ด
ป๊า
กั๊ด
ป๋า
กั๋ด
คำเป็นพื้นเสียงเป็น
เสียงสามัญ
คำตายพื้นเสียงเป็น
เสียงเอก
อักษรสูง
ข ฃ ฉ ฐ ถ ผ ฝ ศ ษ ส ห
คำเป็น
คำตาย
-
-

ข่า
ขัด
ข้า
ขั้ด
-
-
ขา
-
คำเป็นพื้นเสียงเป็น
เสียงจัตวา
คำตายพื้นเสียงเป็น
เสียงเอก
อักษรต่ำ
(อักษรที่เหลือ ๒๔ ตัว)
คำเป็น
คำตายเสียงยาว
คำตายเสียงสั้น
คา
-
-
-
-
-
ค่า
คาด
ค่ะ
ค้า
ค้าด
คะ
-
-
-
คำเป็นพื้นเสียงเป็น
เสียงสามัญ หากผัน
ร่วมกับอักษรสูงจะผัน
ได้ครบ ๕ เสียง เช่น
คา ข่า ค่า(ข้า) ค้า ขา

ออกแบบและจัดทำโดย ครูกนกวรรณ ปัญญาหลวง
โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๐ สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ
๗๗ หมู่ที่ ๒ ต.แม่อาย อ.แม่อาย จ.เชียงใหม่ ๕๐๒๘๐
ไม่อนุญาตให้แสดงความเห็น
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท