การปฏิรูปการศึกษารอบสอง


ผลการปฏิรูปการศึกษาที่ผ่านมา

นายสุเทพพ  ตั๊นประเสริฐ รองปลัดกระทรวงศึกษาธิการ

ข้อเสนอการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ. 2552 - 2561 )

ความเป็นมาและความสำคัญ

    รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (นายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์) เห็นชอบให้สำนักงานเลขาธิการสถาน

ศึกษาดำเนินการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง โดยร่วมกันหกน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้แล้วเสร็จโดยเร็ว

โดยให้แต่ตั้งคณะอนุกรรมการสภาการศึกษาเฉพาะกิจปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สองเพื่อดำเนินการจัด

ทำข้อเสนอการปฏิรุปการศึกษาในภาพรวม และให้คำปรึกษาแนะนำ และให้แต่งตั้งเพิ่มเติมอีกคณะเพื่อจัด

ทำข้อเสนอยุธศาสตร์และมาตรการในการปฏิรูปการศึกษา รวม 9 ประเด็น

    สรุปผลการปฏิรูปการศึกษาที่ผ่านมา

พัฒนา ปรับปรุงและต่อยอดโดยเฉพาะด้านคุณภาพผู้เรียน ครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา

ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการ รวมทั้งการเพิ่มโอกาสทางการศึกษาดังนี้

1.ด้านการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน/สถานศึกษา

2.ด้านการผลิตและพัผมนาครู คณาจารย์ อาจารย์ให้มีความรู้ ความสามารถและมีปริมาณเพียงพอ

3.ด้านการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารและการจัดการศึกษาและการส่งเสริมการมีส่วนร่วม รวมทั้งการ

จัดการศึกษาจากส่วนกลางสู่เขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา

4.ด้านการเพิ่มโอกาสทางการศึกษา

5.ด้านการผลิตและพัฒนากำลังคน

6.ด้านการเงินเพื่อการศึกษาฃ

7.ด้านเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา

8.ด้านกฎหมายการศึกษา

9.ด้านการศึกษาตลอดชีวิต การศึกษานอระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

  ข้อเสนอการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง

1.หลักการและกรอบแนวคิด

2.ระบการศึกษา

3.ระบบการเรียนรู้

วิสัยทัศน์ คนไทยได้เรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ

เป้าหมาย เน้นยประเด็นหลัก 3 ประการ

1.คุณภาพและมาตรฐานการศึกษา

2.โอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้

3.ส่งเสริมการมีส่วนร่วม

  ประเด็นสำคัญของระบบการศึกษาและเรียนรู้ที่ต้องปฏิรูปอย่างเร่งด่วน 4 ประการ

1.พัฒนาคุณภาพคนไทยยุคใหม่

2.พัฒนาครูยุคใหม่

3.พัฒนาคุรภาพสถานศึกษาและแหล่งเรียนรู้ยุคใหม่

4.พัฒนาคุณภาพการบริหารการจัดการใหม่

      การปฏิรูปการศึกษารอบสองเป็นเรื่องที่ดี แต่ต้องมีความชัดเจน สามารถตรวจสอบ วัดความกว้าหน้า

ได้เป็นรูปธรรม เรื่องการใช้งบประมาณควรคำนึงถึงปัจจัยนำเข้าที่มีประสิทธิภาพส่งผลให้เกิดกระบวนการ

การทำงานที่ดี ที่จะทำให้ผลผลิตคือผู้เรียนมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล นอกจากนี้การบริหารภายใน

สภานศึกาษต้องกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษา การบริหารต้องมีความโปร่งใส สามารถ

ตรวจสอบได้ การบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล  ทุกคนมีส่วนร่วมตามความเหมาะสม

     ข้อเสนอเพื่อพัฒนาคุณภาพของครูไทยในปัจจุบันที่เป็นปัญหาพบกันมากคือครูเป็นหนี้สินมาก เนื่องจากเงินเดือนไม่พอโดยเฉพาะครูจากสถานศึกษาเอกชนที่ได้รับเงินเดือนไม่เติมวุฒิทางการศึกษาทั้งๆที่รัฐบาลช่วยเหลืแต่ทางสถานศึกษามีข้ออ้างในการจ่ายจริงไม่เติม(เรื่อเศร้าของครู)

แสดงความคิดเห็นได้เติมที่

หมายเลขบันทึก: 290426เขียนเมื่อ 23 สิงหาคม 2009 22:36 น. ()แก้ไขเมื่อ 9 มิถุนายน 2012 06:09 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท