ลองเล่น palm pre webOS


Palm จะกลับมาได้ไหม?

เกริ่นนำ
สำหรับผม ค่อนข้างประทับใจมาก ส่วนตัวแอบเชียร์อยู่ เพราะเคยเล่น Palm III มาก่อน ผ่านมาถึงยุคที่คิดว่า palm ตายไปแล้ว (os ตาย แต่ brand ไม่ตาย) ซึ่งคิดแล้วก็ไม่น่าเชื่อว่า ชื่อนี้จะยังอยู่รอดได้ อันที่จริง palm เองก็มาทาง opensource อยู่พักหนึ่งแล้ว เพิ่งจะมี product ตัวนี้ที่ดึงความสนใจได้พอสมควร ผมเพิ่งศึกษามาเป็นวันแรก (มีคุณ up1 ศึกษาก่อนหน้านี้ โห อินเทรนมาก) เดี่ยวพรุ่งนี้จะลองดูว่า จะพัฒนาโปรแกรมบน palm pre ได้อย่างไรบ้าง แล้วมี tools อะไรบ้าง

ถ้าใครได้ติดตามแนวคิด Offline Web Applications มาก่อน คงจะรู้จัก Adobe AIR, Google Gear กันบ้างพอสมควร  และ Trends นี้กำลังมา โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเป็น jigsaw ตัวหนึ่งในแนวคิดของ SaaS ใครที่คิดว่า เอา HTML, JavaScript มาเขียนโปรแกรมแล้วช้าไหม ต้องคิดใหม่ อีกหน่อยพวกนี้จะไปวิ่งอยู่บน VM แล้วความเร็วที่ได้ ก็ไม่ได้ห่างจาก native สักเท่าไหร่ ส่วนในเรื่องการติดต่อกับ hardware นั้น คิดว่าทางผู้พัฒนา ก็ได้จัดเตรียม API ไว้ให้เข้าถึง hardware อยู่แล้ว ส่วนถ้าจะเขียนเกมส์ หรือจำเป็นจริงๆ ก็ยังเขียนเป็น native ได้

 


มีอะไรใน webOS


Hardware
Hardware นั้น เวบ phonewreck ได้ให้ข้อมูลดังนี้

http://www.phonewreck.com/wp-content/uploads/2009/06/prebd13.jpg

http://www.phonewreck.com/wp-content/uploads/2009/06/pre11.jpg

 

http://www.phonewreck.com/wp-content/uploads/2009/06/pre2.jpg

 


สรุปว่า

  • เป็น hardware ตัวแรกที่ใช้ OMAP3 (Open Media Applications Processor) platform
  • OMAP3 is powered by the 600MHZ ARM Cortex A8
  • PowerVR SGX 530 (GPU)
  • 430MHz C64x (เป็น DSP and ISP (Image Signal Processor) ของ TI
  • wifi/bluetooth ใช้ของ Marvell
  • CSR W8686 and 63823
  • USB, microUSB
  • multi-touch Touch Screen ใช้ CP6944BA ของ Cypress Semiconductor เหมือน iPhone
  • MSM6801A ของ Qualcomm สำหรับ CDMA นะ ส่วน GSM ยังไม่รู้
  • RF Tranceiver ใข้ RFR6500 ของ Qualcomm
  • communications board ใช้ของ PMIC (Maxim MAX8695Q)
  • Camera
  • Vibrational motor
  • 8GB internal memory ใช้ของ Samsung


รายละเอียดตามอ่านได้ที่ http://www.phonewreck.com/2009/06/07/palm-...ew-coming-soon/ พี่แกแยกชิ้นส่วนออกมาหมดจดเลย ฮาา

 

Software & System
ย่อยมาจาก บทความ palm pre ของคุณ Matthew Garrett ซึ่งในตอนสุดท้าย เค้าบอกว่าประทับใจทีเดียว

  • Linux kernel 2.6.24
  • package management ใช้ ipkg
  • Busybox
  • Boot loader ใช้ upstart (project ของ ubuntu)
  • Palm ใช้ standard GNU C, Linux File System (structure), low level binaries, /usr เป็น directory หลัก (ตั้งข้อสังเกตุว่า ต่างกับ android ที่ใช้ java - แต่ปัจจุบัน android ก็เปิดให้เขียนแบบ native แล้ว)
  • media player ใช้ gstreamer
  • audio ใช้ pulseaudio
  • ติดต่อกับ ipod ได้


package ใน palm pre

agg, alsa-lib, alsa-plugins, alsa-utils, Apache Harmony, Apache Velocity project, base-passwd, binutils, bitstream vera fonts, bootchart, busybox, bzip2, Cairo, c-ares, cifs, CJK Unicode TrueType Fonts, curl, datejs, dbus, dhcp-client, dnsmasq, dosfstools, Dropbear, e2fsprogs, expat, faac, Fast MD5 implementation in Java, fbset, ffmpeg, file-backed USB storage gadget, Flex, fnmbl-clientapi, fontconfig, freefont, freetype, fuse, gdata-java-client , gdbm, giflib, glib-2.0, google-rfc-2445, gst-, gst-plugins-base, gst-plugins-good, gstreamer, hostap, ipkg, iproute2, iptables, JArgs, jemalloc, joda-time, jpeg-6b, json, json-c, JWAP, ksoap, lame, lcu, libexslt, libfuse, libgcrypt, libgdbus, libgpg-error, libgpod, libmatthew, libogg, liboil, libpcap, Libpng, libpurple, libpurple-adapter, libsamplerate0, libsndfile1, libspeex, libtool, libunwind, libvorbis, libxml2, libxslt, linux-hotplug, Linux Kernel, makedevs, Md5, Minifier, module-init-tool, module-init-tools-cross, mtools, mupdf, Ncurses, netbase, netcat, ntp, openssl, oprofile, palmadpcmdecoder, pmeloop, pmipclib, poly9's polyvalent URLParser, PPP, procps, Prototype JavaScript Framework, psmisc, pulse, pulseaudio, PuTTY, readline, rsync, script.aculo.us, setserial, speex, sqlitejdbc, ssleay, stlport, strace, sudo, sysfsutils, Sysvinit, The Legion Of The Bouncy Castle, tiff, udev, UN Batang Korean True Type Font, update-modules, update-rc.d, upstart, upstart-initscripts, uriparser, usbmon, VLGothic Proportional Japanese Font, vpnc, wbxml.java, wbxmlparser.java, wbxmlserializer.java, wireless-tools, wpa_supplicant, wxwindows, zlib


Web Standards

  • WebKit
  • HTML 4.01
  • CSS 2.1
  • DOM level 1/2/3
  • JavaScript v1.8
  • XMLHTTPRequest / Ajax
  • HTML5, SQLite supported
  • JSON

User Interface

http://developer.palm.com/download/attachments/42214905/SceneAnatomy.png

http://developer.palm.com/download/attachments/37650627/Display.png

ข้อกำหนดต่างๆ เช่นขนาด icon ขนาดหน้าจอ และอื่นๆ อ่านได้ที่ User Interface Summary ที่เกี่ยวกับ web standard และ browser อ่านได้ที่ Web Design Guidelines ส่วน GUI นั้นก็จะใช้ CSS ในการกำหนดรูปแบบต่างๆ ลองดู ตัวอย่าง โปรแกรม ที่พัฒนาด้วย web standard


Application Mode

http://developer.palm.com/templates/images/book/palm_0101.png

 

Anatomy of a webOS Application

http://developer.palm.com/templates/images/book/palm_0109.png

Palm webOS Architecture


Application Environment

http://developer.palm.com/templates/images/book/palm_0112.png

ตัวอย่างหน้าจอ








resource


หมายเลขบันทึก: 280706เขียนเมื่อ 27 กรกฎาคม 2009 15:19 น. ()แก้ไขเมื่อ 9 เมษายน 2012 18:52 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท