แลกเปลี่ยนเรียนรู้กันท้ายชั่วโมง


การลงทุน

หลังจากการนำเสนอของแต่ละกลุ่ม..ให้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกันในห้องเรียนนะค่ะ...

คำสำคัญ (Tags): #การลงทุน
หมายเลขบันทึก: 272140เขียนเมื่อ 30 มิถุนายน 2009 08:28 น. ()แก้ไขเมื่อ 22 มิถุนายน 2012 21:47 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (45)
กลุ่มที่ 4.จ้า อะเด๊ะ!!!

คำถาม : ถ้าขาดสภาพคล่องในการซื้อขายตราสารหนี้ จะมีการแก้ไขอย่างไร?

ตอบ    : 1. ขายตราสารหนี้ต่ำกว่าราคาที่ตราไว้

            2. ทำให้บริษัทมีชื่อเสียงและความน่าเชื่อถือมากขึ้น เพื่อให้มีคนต้องการที่จะซื้อตราสารมากขึ้น

คำถาม : ผลตอบแทนดอกเบี้ยแบบลอยตัว มีปัจจัยใดที่ทำให้ดอกเบี้ยนั่นขึ้นหรือลง

ตอบ    : ผลตอบแทนดอกเบี้ยแบบลอยตัวมีปัจจัยที่ทำให้ขึ้นลง

มาจากสภาพเศรษฐกิจ

       - ซึ่งถ้ายกตัวอย่างจากในปัจจุบัน รัฐบาลได้เตรียมการที่จะออกพันธบัตรรัฐบาล

กำหนดไถ่ถอน 5 ปี เพื่อละดมเงินทุน เพื่อการลงทุนในอนาคฅ

อัตราดอกเบี้ยในปีแรกอยู่ที่ 3%+ / แต่ผมฟังจาก TV บอกที่ 4.5% / จากธนาคารบอกที่ 5% จะเห็นได้ว่าอัตราดอกเบี้ยที่ค่อยค้างสูงหรือสูงเลยที่เดียว เป็นตัวดึงดูดให้นักลงทุนทั้งหลายต่างพากันมาลงทุน  

       - ปัจจัยต่อมาที่ทำให้อัตราดอกเบี้ยลดต่ำลง เกิดจากที่รัฐบาลเมื่อมีเงินทุนมากพอที่นำไปลงทุนแล้ว ก็จะลดอัตราดอกเบี้ยลง

เพื่อไม่ให้เป็นที่น่าดึงดูดความสนใจแก่นักลงทุน ทำให้รัฐไม่ต้องเสียดอกเบี้ยสูงโดยไม่จำเป็น หันเหความสนใจของนักลงทุน

ไปลงทุนในหุ้นตัวอื่นๆ ที่มีอัตราผลตอบแทนหรือดอกเบี้ยสูงกว่าแทน

กลุ่มที่ 4.ก๊าฟ อะโจ๊ะ!!!

คำถาม : หลักทรัพย์ของกองทุนร่วมที่สามารถครอบครองโดยที่ไม่ต้องติดต่อซื้อโดยตรงมีอะไรบ้าง

ตอบ : หุ้นสามัญ หุ้นบริมสิทธิ ใบสำคัญในการแสดงสิทธิใบหุ้น หน่อยลงทุนในกองทุนรวม ตราสารสิทธิ ตราสารอนุพันธ์ที่มีหลักทรัพย์อ้างอิงในหุ้น

คำถาม : ผู้ลงทุนในตราสารอนุพันธ์ควรมีวินัยในการจัดการกับเงินลงทุนอย่างไร

คำตอบ : ผู้ลงทุนสถาบันที่มีความเชี่ยวชาญและความชำนาญรวมทั้งทีมบุคลากรที่มีประสบการณ์ต้องพร้อมที่จะติดตามและปรับเปลี่ยนกลยุทธ์ให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของเงื่อนไขต่างๆ ของตลาดทุน ในขณะที่ผู้ลงทุนทั่วไปนั้นต้องมีวินัยในการจัดการเงินลงทุนของตนเอง และมีความพร้อมที่จะติดตามดูแลอย่างใกล้ชิดสำหรับการซื้อขายอนุพันธ์ รวมถึงความเข้าใจและการยอมรับได้ในผลกำไรหรือขาดทุนที่เกิดขึ้น

คำถาม : call option กับ put option ต่างกันอย่างไร

ตอบ : call option จะให้สิทธิซื้อ

ส่วน put option จะให้สิทธิขาย

คำถาม: ระหว่างกองทุนปิดกับกองทุนเปิดนักลงทุนรายย่อยควรที่จะลงทุนในกองทุนแบบใดกับสภาวะเศรษฐกิจในปัจจุบัน

คำตอบ: ควรที่จะลงทุนในกองทุนเปิด เพราะ ว่ามีสภาพคล่องที่ดีกว่า มีเสถียรภาพที่ดีกว่า

คำถามที่1: จงอธิบายสมาชิกผู้ซื้อและผู้ขายเป็นรายเดียวกัน

คำตอบที่1: คือ ผู้ซื้อและผู้ขายเป็นสมาชิกของบริษัท Broker เดียวกัน

คำถามที่2: ระหว่างผู้ซื้อและผู้ขายเป็นรายเดียวกันกับผู้ซื้อและผู้ขายคนละรายแบบไหนให้ประโยชน์หรือผลดีกับผู้ลงทุนมากที่สุด

คำตอบที่2: คือ แบบผู้ซื้อและผู้ขายเป็นรายเดียวกัน เพราะว่าถ้าผู้ซื้อและผู้ขายเป็นสมาชิกของบริษัท Broker เดียวกันเวลาที่มีการซื้อขายกันเกิดขึ้นนั้น บริษัท Broker จะทำการตรวจสอบจับคู่ดูว่าเป็นการซื้อขายหุ้นชนิดเดียวกันหรือไม่ ถ้าใช่แล้วดูว่าในเรื่องของราคาซื้อขายกันนั้นทั้งสองฝ่ายมีความเห็นตรงกันหรือไม่ ถ้ามีความเห็นตรงกันแล้วก็จะทำการส่งข้อมูลทั้งผู้ซื้อและผู้ขายไปยัง ต.ล.ท.เพื่อทำการซื้อขายกัน ส่วนผู้ซื้อและผู้ขายคนละรายนั้น ผู้ซื้อและผู้ขายเป็นสมาชิกบริษัท Broker คนละบริษัทกัน ถ้าจะซื้อขายก็จะต้องถูกส่งไปตรวจข้อมูลที่ ต.ล.ท.โดยบริษัท Broker เป็นผู้ส่ง ทำให้เสียเวลาในการตรวจสอบมากกว่าแบบแรก

คำถาม ถ้ามีเงินทุนอยุ่ จำนวนหนึ่ง อยากจะเข่าลงทุนในกองทุนรวม

ต้องทำยังไง

ตอบ ต้องทำการศึกษาข้อมูล ให้ดีก่อน การติดสินใจ

คำถาม ทำไมต้องมีการจัดตั้งตลาดหลักทรัพย์ mai ที่แยกจากตลาด set

คำตอบ เพราะตลาดหลักทนัพย์ mai เปิดโอกาสให้ผู้ลงทุนที่มีเงินทุนมากกว่า 20 ล้านบาท ส่วนตลาดหลักทรัพย์ set ให้ผูลงทุนที่มีเงินทุน 300 ล้านขึ้นไป จึงมีการเปิดตลาด mai ออกมา

1.คำถาม หากมีการซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์ที่มีอยุ่แล้ว และต้องการจะซื้อขายหุ้นในตลาดหลักทรัพย์ mai เพิ่มต้องทำอย่างไร

คำตอบ ผุ้ลงทุนสามารถซื้อขายหลักทรัพย์ได้เลย โดยใช้บัญชีที่มีอยุ่แล้วในตลาดหลักทรัพย์

2.คำถาม การซื้อขายหลักทรัพย์คำนวณหาราคาเปิด และราคาปิด พิจารณาจากอะไร

คำตอบ พิจารราจากราคาที่ทำให้เกิดการซื้อขายมากที่สุดและใช้ราคาที่สูงกว่าราคาปิดครั้งก่อน

คำถาม การลงทุนในกองทุนรวม ควรพิจารณาจากอะไรเป็นสำคัญ

ตอบ นโยบายในการลงทุน เช่น

กองทุนเปิดเอ็มเอฟซี แฮปปี้ ดี ไฟฟ์ ฟันด์ (HAPPY D5)

ชนิด : กองทุนเปิด
วันที่จดทะเบียน : 24 ตุลาคม 2549
อายุโครงการ : ไม่กำหนด
มูลค่าที่จดทะเบียน : 500 ล้านบาท
มูลค่าสุทธิในปัจจุบัน : 73.76 ล้านบาท
นโยบายการลงทุน : ลงทุนในตราสารแห่งทุน ตราสารแห่งหนี้
ตราสารกึ่งหนี้กึ่งทุน และหรือเงินฝาก
 
นโยบายเงินปันผล : อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง อัตราไม่น้อยกว่า
ร้อยละ 50 ของการเพิ่มขึ้นในสินทรัพย์สุทธิ
จากการดำเนินงาน (realized and unrealized) ในแต่ละงวดบัญชีที่จะจ่ายเงินปันผล
ความเสี่ยงหลัก : Credit risk, Market risk
Liquidity risk, Derivatives

คำถาม การลงทุนในกองทุนรวม ควรพิจารณาจากอะไรเป็นสำคัญ

ตอบ นโยบายในการลงทุน เช่น

กองทุนเปิดเอ็มเอฟซี แฮปปี้ ดี ไฟฟ์ ฟันด์ (HAPPY D5)

ชนิด : กองทุนเปิด
วันที่จดทะเบียน : 24 ตุลาคม 2549
อายุโครงการ : ไม่กำหนด
มูลค่าที่จดทะเบียน : 500 ล้านบาท
มูลค่าสุทธิในปัจจุบัน : 73.76 ล้านบาท
นโยบายการลงทุน : ลงทุนในตราสารแห่งทุน ตราสารแห่งหนี้
ตราสารกึ่งหนี้กึ่งทุน และหรือเงินฝาก
 
นโยบายเงินปันผล : อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง อัตราไม่น้อยกว่า
ร้อยละ 50 ของการเพิ่มขึ้นในสินทรัพย์สุทธิ
จากการดำเนินงาน (realized and unrealized) ในแต่ละงวดบัญชีที่จะจ่ายเงินปันผล
ความเสี่ยงหลัก : Credit risk, Market risk
Liquidity risk, Derivatives
กลุ่มที่ 4 จ้า อะจุ๊กกะดิ๊ก!!!

คำถาม : ถ้าพวกเราจะทำการลงทุนในตลาดหลักทรัพย์ MAI

ควรจะซื้อขายแบบใดจึงจะเป็นผลดีต่อผู้ลงทุนมือใหม่

ตอบ : มีการซื้อขายที่มีจำนวนหุ้นน้อยหรือพอสมควร ทำให้เหมาะแก่การที่นักลงทุนมือใหม่อย่างเราที่มีเงินลงทุน แต่อาจจะไม่ต้องการความเสี่ยงนัก และควรมีการกระจายความเสี่ยง ไปยังหุ้นตัวอื่นๆด้วย

เช่นถ้าเราต้องการนำเงินมาลงทุนในจำนวน 1 ล้านบาท

และเราต้องการที่จะซื้อหุ้นในกลุ่มทางด้านการท่องเที่ยว แต่เนื่องจากเกิดการละบาทของไข้หวัด 2009 มีผลทำให้การท่องเที่ยวซบเซา

เราก็อาจจะวิเคราะห์ว่าในอนฅตหุ้นในกลุ่มการท่องเที่ยวอาจจะมีการโต เราก็ลงทุ้นในกลุ่มนี้ซัก 40% ของเงินที่จะนำมาลงทุน

และอีก 60% ที่เหลือเราก็อาจจะนำไปลงทุนในหุ้นกลุ่มพลังงาน ที่ในตอนนี้มีแนวโน้มที่จะโตเพื้มมากขึ้นในเร็วๆนี้ เป็นต้น

 

คำถาม : ช่วยยกตัวอย่างหลักพรัพย์ที่มีการซื้อขาย

แบบ Put through ว่ามีอะไรบ้าง

ตอบ : หุ้นกู้ หุ้นบุริมสิทธิ หุ้นแปลงสภาพ

คำถาม ในตลาด MAI ทำใมถึงไม่มีหุ้นบุริมสิทธิ

ตอบ เพราะตลาด MAI เป็นตลาดขนาดเล็ก มีการลง ทุนน้อยกว่าตลาด SET จึงไม่มีหุ้นบุริมสิทธิ

คำถาม  บริษัท สิงห์คอมเปอร์เรชั่นต้องการจดทะเบียนเพื่อซื้อขายหุ้นในตลาดหลักทรัพย์ต้องทำอย่างไร

ตอบ   1 ต้องแปรสภาพเป็นบริษัทมหาชนจำกัด

2.บริษัทที่ปรึกษายื่นคำขอ+filing+ร่างหนังสือชี้ชวนที่ฝ่ายจดทะเบียนหลักทรัพย์

3.ตรวจสอบเอกสาร ถ้าครบฝ่ายทะเบียนมีหนังสือแจ้งบริษัท     ถ้าไม่ครบขอเอกสาร/ข้อมูลเพิ่มเติม

4.สำนัก ก.ล.ต. มีหนังสือแจ้ง  อนุญาติ/ไม่อนุญาติ 

อนุญาติ   ทำต่อ     ไม่อนุญาติ  หยุด

5.เริ่มขาย  แจกจ่ายหนังสือชี้ชวน

6.ปิดขาย

7.รายงานผลการขายต่อสำนักงาน ก.ล.ต.

รายละเอียดเพิ่มเติม หนังสือหลักการลงทุน

                             

คำถามที่ 1 : ถ้าชาวนาทำสัญญาขายล่วงหน้ากับก.ส.ล.ไว้ ก่อนถึงเวลาการส่งมอบสินค้าได้เกิดเหตุอุทกภัยขึ้นทำให้ข้าวได้รับความเสียหาย ก.ส.ล.ต้องรับผิดชอบสินค้าหรือไม่ หรือหน่วยงานใดเป็นผู้รับผิดชอบ

คำตอบที่ 1 : ก.ส.ล.ไม่ต้องรับผิดชอบสินค้าที่เสียหาย แต่ชาวนาหรือผู้ขายจะต้องรับผิดชอบเอง เพราะสินค้ายังไม่มีการส่งมอบกัน แต่ก.ส.ล.จะรับผิดชอบในส่วนของผู้ซื้อสินค้านั้นตามที่ตกลงกันไว้ คือเมื่อถึงวันครบกำหนดส่งมอบสินค้ากันชาวนายังไม่สามารถหาสินค้ามาให้ได้ ก.ส.ล.จะรับผิดชอบในการทำหน้าที่ติดตามจากชาวนาหรือผู้ขาย อาจได้รับกลับมาเป็นตัวเงินแทนสินค้ามาให้กับผู้ซื้อ

คำถามที่ 2 : สินค้าโภคภัณฑ์ชนิดต่างๆที่นอกเหนือจากสินค้าเกษตรกรรมมีอะไรบ้าง

คำตอบที่ 2 : ทองคำ น้ำมัน อัญมณี เงิน

คำถาม

1.การซื้อขายแบบ rael time เป็นการซื้อขายแบบไหน

ตอบ

เป็นการซื้อขายแบบสดๆ มีการส่งรับรับ กันในตอนนั้นตามเวลาจริง

2.

คำถาม เครื่องหมาย NP,NR,DS,SP and H แปลว่าอะไร

ตอบ เครื่องหมาย NP เป็นเครื่องหมายแจ้งให้ผู้ลงทุนทราบว่า ตลาดหลักทรัพย์อยู่ในระหว่างการรอรายงานข้อมูลจากบริษัทนั้นอยู่

เครื่องหมาย NR เป็นเคื่องหมายแจ้งให้ผู้ลงทุนทราบว่า ตลาดหลักทรัพย์ได้รับรายงานข้อมูลหรือข่างสารจากบริษัทจามที่ตลาดสอบถามไปแล้ว

เครื่องหมาย DS เป้นเครื่องหมายแจ้งให้ผู้ลงทุนใช้ความระมัดระวังในการซื้อขายหลักทรัพย์ และป้องกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นกับผู้ลงทุน

เครื่องหมาย SP เป็นการแจ้งว่าตลาดหลักทรัพย์ ได้สั่งห้ามการซื้อขายหุ้นนั้นชั่วคราว(ระยะเวลาเกินกว่าหนึ่งรอบการซื้อขาย)

เครื่องหมาย H เป็นการแจ้งว่าตลาดหลักทรัพย์ห้ามซื้อหรือขายหลักทรัพย์จดทะเบียนเป็นเวลาสั้นๆไม่เกินช่วงเวลาการซื้อขายรอบนั้น

คำถาม : สินค้าเกษตรมีปัญหาจะส่งผลกระทบต่อประเทศไทยอย่างไร

ตอบ : เมื่อสินค้าเกษตรมีปัญหาทำให้ส่งผลต่อการส่งออกสินค้าเกษตรเศรษฐกิจของประเทศก็ได้รับผลกระทบ ดั้งนั้นเมื่อทราบว่าสินค้าเกษตรมีปัญหา ควรรีบดำเนินการแก้ไข

คำถาม : ช่วงเวลาไหนที่ควรลงทุนในตราสารหนี้

ตอบ : สามารถลงทุนได้ทุกช่วงเวลา เนื่องจากเป็นหลักทรัพย์ที่มีคึวามเสี่ยงต่ำสุด เมื่อตลาดห้นผันผวน ผลตอบแทนที่มั่นคงในตราสารหนี้จะช่วยชดเชยผลตอบแทนที่เสียไปจากการลงทุนประเภทอื่น

คำถาม : ออปชันบนสัญญาฟิวเจอร์ส หมายความว่าอย่างไร

ตอบ : สัญญาซื้อขายล่วงหน้าที่ส่งมอบในอนาคต ที่จะใช้สิทธิซื้อและใช้สิทธิขายได้ ในเวลาที่เราซื้อและขาย ไม่ต้องตามราคาที่ระบุไว้ก็ได้

คำถาม : ทำไมต้องซื้อขายในตลาด BEX ผ่านโบรกเกอร์ สามารถซื้อขายผ่านทางอื่นได้หรือไม่

ตอบ : ตราสารในตลาด BEX เป็นตราสารที่เคยซื้อผ่านในตลาดแรกมาแร้ว เพราะฉะนั้น ต้องซื้อชายผ่านโบรกเกอร์เท่านั้น

คำถามที่1 หลักทรัพย์ที่ซื้อขายในตลาด TFEX มีอะไรบ้าง

ตอบ 1.ฟิวเจอร์

2.ออปชั่น

3.ออปชั่นบนสัญญาฟิวเจอร์

คำถามที่ 2วันที่ตลาดอนุพันือธ์ได้เปิดการซื้อขายอนุพันธ์คือวันที่เท่าไหร่

ตอบ 28 เม.ย.49 SET50 Index Futures

29 ต.ค.50 SET50 Index Options

24 พ.ย.51 Single Stock Futures

02 ก.พ.52 Gold stock Futures

กลุ่มที่ 4 จ้า อะจุ๊กรูๆ!!! (^0^)

ถาม 1 : 1ทำไม SET Index ถึงเอาปี 2518 เป็นปีฐาน

ตอบ : ต้องนำมาเปรียบเทียบกับปี2518 เพราะ เป็นปีที่มีการก่อตั้ง

         เป็นครั้งแรก เสมอ ดัชนีอุตสาหะกรรม

ถาม 2 : ทำไมไม่นำหลักทรัพย์ที่มีเครื่องหมาย SP ที่เกิน 1ปี

         มาคำนวนด้วย

ตอบ : เพราะหุ้นที่ติดเครื่องหมาย SP เป็นหุ้นที่มีการสั่งห้ามซื้อขาย

         จึงไม่นำมาคำนวนดัชนีอุตสาหกรรม

คำถาม หลักทรัพย์ที่อยู่ในดัชนี FTSE/ASEAN มีอะไรบ้าง

คำตอบ - DBS Group Holdings (สิงคโปร์)

- Malayan Banking (มาเลเซีย)

- PTT (ไทย)

- Bank Central Asia (อินโดนีเซีย)

- Phil Long Dist Tel (ฟิลิปินส์)

คำถามข้อที1 จากการคำนวณดัชนีตลาดหลักทรัพย์ วัตถุประสงค์นำไปใช้เพื่ออะไร

คำตอบ เพื่อใช้ในการประกอบการตัดสินใจในการลงทุน

คำถามข้อที่2 ดัชนีผลตอบแทนรวม TRI ย่อมาจากคำว่าอะไร หมายถึงอะไรและมีการคำนวณอย่างไร

คำตอบ TRI มาจากคำว่า total return index คือ การคำนวณผลตอบแทนทุกประเภทของการลงทุนในหลักทรัพย์ให้สะท้อนออกมาในค่าดัชนี ทั้งผลตอบแทนที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่าหลักทรัพย์ที่ลงทุน (Capital gain/loss) สิทธิในการจองซื้อหุ้น (Rights) ซึ่งเป็นสิทธิที่ให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมในการซื้อหุ้นเพิ่มทุน ซึ่งมักจะให้สิทธิซื้อในราคาที่ต่ำกว่าราคาตลาด ณ ขณะนั้น และเงินปันผล (Dividends) ซึ่งเป็นส่วนแบ่งของกำไรที่จ่ายให้กับผู้ถือหุ้น โดยมีสมมติฐานเพิ่มเติมว่าเงินปันผลที่ได้รับนี้จะถูกนำไปลงทุนในหลักทรัพย์ด้วย (Reinvest)

คำถาม : ถ้าสนใจลงทุนในบริษัทขนาดกลางจะดูรายชื่ของบริษัทใน SET 100 และใน SET 50 ได้หรือไม่

ตอบ : ไม่ได้ เพราะบริษัทใน SET 100 และ SET 50 เป็นบริษัทขนาดใหญ่ถ้าสนใจลงทุนในบริษัทขนาดกลางต้องไปดูหลักทรัพย์ MAT

คำถาม : มีการปรับปรุงรายชื่อหลักทรัพย์ที่นำมาคำนวน SET 50Index เมื่อใด

ตอบ : จะมีการปรับปรุงรายชื่อหลักทรัพย์ทุกๆ 6 เดือน

คำถาม ปัจจุบันกลุ่ม OPEC มีสมาชิกกี่ประเทศ และในทวีบเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ มีประเทศใดบ้างที่เป็นสมาชิก

ตอบ ปัจจุบันมี 13 ประเทศ ประเทศในกลุ่มเอเซียตะวันออกเฉียงใต้มีประเทศอินโดนีเซียเป็นสมาชิก

กลุ่มที่ 4 จ้ากระดึ๊บอึ๊บจึ๊กๆ!!!

คำถาม : สินค้าทดแทนของธนาคารนั้นมีหรือไม่ ถ้ามี เช่น อะไรบ้าง?

ตอบ : มี อย่างในด้านการระดมเงินฝาก จะมี สินค้าทดแทน เช่น พันธบัตร, ตราสารทุน เป็นต้น

คำถาม ในการแข่งขันมากราย บริษัทจะมีวีธีการอย่างไรให้การดำเนินงานให้เหนือคุ่แข่งขัน

คำตอบ ทำการพัฒนาสินค้าของบริษัทและวิจัยตลาด

คำถาม ถ้าผู้ลงทุนสนใจจะลงทุนกับบริษัทใดบริษัทหนึ่งจะดูงบอะไร ?

ตอบ ส่วนมากจะไม่นิยมดูงบ แต่จะดูกำไรและผลตอบแทนของบริษัทนั้นๆแล้วค่อยตัดสินใจว่าจะลงทุนหรือไม่

คำถาม ถ้าบริษัทอยู่ในสภาวะที่กำลังรุ่งเรืองจะมีวิธีการใดที่จะทำให้บริษัทไม่ถดถอยลงไป

คำตอบ ก็ต้องศึกษาในด้านของคู่แข่งขันและพยายามปรับปรุงผลิตภัณฑ์อยู่เสมอ

คำถาม จงยกตัวอย่างบริษัทที่มีอำนาจในการต่อรองกับผู้ขายวัตถุดิบทั้งๆๆที่วัตถุดิบที่ใช้ในอุตสาหกรรมมีจำนวนไมมาก บริษัทที่สามารถมีอำนาจในการต่อรองนั้นจะต้องมีลักาณะอย่างไรบ้าง

คำตอบ เสนอว่าเราจะรับซื้อวัตถุดิบของผู้ขายในระยะเวลายาวนานเช่น เราต้องตกลงต่อรองกับผู้ขายโดยเสนอว่าเราจะรับซื้อวัตถุดิบของผุ้ขายในระยะเวลายาวและจะรวมทำสัญญาอย่างเป็นทางการเพื่อที่จะรับรองวัตถุดิบของผู้ขายไปตลอดอายุในสัญญา

คำถาม : สำหรับผู้ที่ชอบความเสียงตำหรือไม่ชอบความเสี่ยง

มีเกณฑ์ในการดู ค่าเบี่ยงเบนมาตราฐาน ค่าความแปรปรวน และ CV อย่างไร

ตอบ : ดูค่าเบี่ยงเบนมาตราฐาน ดูค่าความแปรปรวน และดู CV ต่ำ

คือความเสี่ยงที่ต่ำผลตอบแทนก็จะต่ำลงด้วย

คำถาม เส้นอรรถประโยชน์เลื่อนต่ำลงจะส่งผลอย่างไร

คำตอบ เป็นอรรถประโยชน์ของผู้ลงทุนที่ไม่ชอบความเสี่ยงสูง ยอมรับความเสี่ยงต่ำ

สัมมนาการลงทุนในสัญญาการซื้อขายทองคำล่วงหน้า (GOLD FUTURES) วันเสาร์ที่ 26 กันยายน 2552

เมื่อใดที่คนเกิดความไม่มั่นใจในระบบสถาบันการเงินคนจะหันมาลงทุนในทองคำเพิ่มขึ้นซึ่งจะทำให้ราคาทองคำพุ่งสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว

TFEX Gold Futures

1.เป็นสัญญาจะซื้อจะขายทองคำล่วงหน้า ตามเงื่อนไขที่ระบุในสัญญา

2.ผู้ซื้อผู้ขายตกลงราคา จำนวนในวันนี้ และชำระเงินในอนาคตตามเงื่อนไขในสัญญา คือ 2, 4, 6 เดือน

3.ไม่มีการส่งมอบทองจริง ชำระราคาจากส่วนต่างราคาซื้อขาย

4.ผู้ซื้อและผู้ขายมีภาระผูกพันตามสัญญา วางเงินประกันเพื่อป้องกันการบิดพริ้วประมาณ 10%

การซื้อสัญญาทองคำล่วงหน้า (Long Position)

นักลงทุนจะได้กำไรจาการซื้อสัญญาทองคำล่วงหน้า เมื่อราคาสัญญาล่วงหน้าเพิ่มขึ้น ในทางตรงกันข้ามจะขาดทุนเมื่อราคาสัญญาล่วงหน้าลดลง

การขายสัญญาทองคำล่วงหน้า (Short Position)

นักลงทุนจะได้กำไรจากการขายสัญญาทองคำล่วงหน้า เมื่อราคาสัญญาล่วงหน้าลดลง ในทางตรงกันข้ามจะขาดทุนเมื่อราคาสัญญาล่วงหน้าเพิ่มขึ้น

หน่วยวัดน้ำหนักทองคำที่สำคัญ

1 Troy Ounce = 31.1034768 gram

1 Tael (Hong Kong) = 36.7 gram

1 Baht (Thailand) = 15.244 gram

ทองคำบริสุทธิ์ 96.5 % (มาตรฐานในประเทศไทย)

ปัจจัยที่ส่งผลต่อราคาทองคำในตลาดโลก

เงินดอลลาร์สหรัฐ

ความกลัวเรื่องเงินเฟ้อ

ปัจจัยเสี่ยงทางภูมิศาสตร์การเมือง

ปัจจัยทางด้าน Demand and Supply

ปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อราคาทองคำในประเทศไทย

ค่าเงินดอลลาร์สหรัฐ (USD)

ควมกลัวเงินเฟ้อ

ความเสี่ยงทางภูมิศาสตร์

ระบบสถาบันการเงิน

อุปสงค์และอุปทานของโลก

ฤดูกาล

ผู้นำเข้าและส่งออกทองคำในประเทศไทยมี 5 ราย

1.ห้างทองแม่ทองสุข

2.ห้างทองจินฮั้วเฮง

3.บริษัท Greatest Gold

4.บริษัท Y.L.G. (ยุ่หลิน)

5.บริษัทออสสิริส

ได้รู้เรื่องเกี่ยวกับการลงทุนในฟิวเจอร์สของหุ้นรายตัว , ขั้นตอนการซื้อขายฟิวเจอร์สในตลาดอนุพันธ์ , การปรับราคาเพื่อความยุติธรรม , กลยุทธการลงทุน , กลยุทธการลงทุน( เก็งกำไร) , กลยุทธการลงทุน Calendar Spread Trade , กลยุทธการลงทุน Outperform / Underperperform Ttrad , กลยุทธการลงทุน Long Correlation Trade และ กลยุทธการลงทุน Short Corrlation Trade

และยังได้รับความรู้เกี่ยวกับความเป็นจริงที่เกิดขึ้น ที่ไม่มีในบทเรียน อีกด้วย เป็นการเข้ารับฟังที่ให้ประโยชน์ได้มากเลยครับ

กลุ่ม 2 การเงินการธนาคาร

การบ้าน

1. ตราสารอนุพันธ์แบ่งออกเป็นกี่ประเภทหลักๆ อะไรบ้าง

ตอบ แบ่งออกเป็น 3 ประเภท ดังนี้

1. สัญญาซื้อขายล่วงหน้า (Futures & Forward Contract) เป็นสัญญาซึ่งทำการตกลงกันระหว่างบุคคล หรือสถาบัน 2 ฝ่าย โดยมีฝ่ายของผู้ซื้อ และฝ่ายของผู้ขาย ทำการตกลงกันในสัญญาว่า จะมีการซื้อขายสินทรัพย์ (ซึ่งอาจเป็นสินทรัพย์ที่มีตัวตน หรือสินทรัพย์ทางการเงิน) ในอนาคต โดยทั้งผู้ซื้อและผู้ขายจะมีภาระผูกพันที่จะต้องทำตามสัญญาที่กำหนดไว้ ดังนั้นภาระของทั้งสองฝ่าย คือ ฝ่ายผู้ขายจะต้องนำสินทรัพย์มาทำการส่งมอบในอนาคต และฝ่ายผู้ซื้อจะทำการชำระราคาในอนาคต เช่น คู่สัญญาทำการตกลงจะซื้อขายเงินสกุลดอลลาร์สหรัฐในอีก 3 เดือนข้างหน้า เมื่อระยะเวลาถึงกำหนดตามข้อตกลงในสัญญาทั้งฝ่ายผู้ซื้อและผู้ขายจะต้องทำตามสัญญา (มักจะเรียกว่าวันที่สัญญาครบกำหนดอายุ หรือ Maturity Date) คือ ผู้ซื้อจะต้องนำเงินบาทมาชำระค่าเงินดอลลาร์สหรัฐ และฝ่ายผู้ขายก็จะต้องนำเงินดอลลาร์สหรัฐมาส่งมอบเช่นเดียวกัน

2. ออปชัน (Option) เป็นสัญญาที่มีลักษณะคล้ายกันกับ สัญญาซื้อขายล่วงหน้าในประเภทแรก แต่แตกต่างกันที่สัญญาประเภท ออปชัน เป็นสัญญาที่ให้สิทธิแก่ผู้ที่ทำการซื้อสัญญาออปชัน ว่าจะมีสิทธิในการซื้อหรือขายสินทรัพย์ใด ๆ ตามสัญญา ดังนั้นสิทธิของการทำตามสัญญานั้นจะเป็นของฝ่ายผู้ซื้อสัญญาซื้อหรือขายล่วงหน้า สิทธินั้นขึ้นอยู่กับว่าสัญญาเป็นการซื้อหรือขาย สำหรับฝ่ายผู้ขายเป็นฝ่ายที่ไม่มีสิทธิเลือกใด ๆ เพราะฝ่ายขายเป็นผู้ที่เขียนสัญญาขึ้นมาขาย และเป็นผู้ที่ได้รับค่าสัญญาไปตั้งแต่ต้น จึงไม่มีสิทธิในการเลือกใด ๆ

3. สัญญาสวอป (Swap) เป็นสัญญาที่มีการแลกเปลี่ยนกระแสเงินสดที่จะเกิดขึ้นในอนาคตระหว่างคู่สัญญา หรือเป็นสัญญาที่มีการแลกเปลี่ยนภาระการลงทุน หรือภาระดอกเบี้ยของคู่สัญญา นอกจากนี้ยังมีตราสารอนุพันธ์ประเภทอื่นๆ ได้แก่ swaption หุ้นกู้อนุพันธ์ (Structure note) เป็นต้น

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

2. จงยกตัวอย่างของอนุพันธ์ในชีวิตประจำวัน

ตอบ การซื้อใบจองรถในงานมอเตอร์โชว์ การจองคอนโด การจองบ้านจัดสรร

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

3. ความแตกต่างระหว่างฟอร์เวิร์ด และ ฟิวเจอร์

ตอบ มีข้อแตกต่างกันดังนี้

1. สัญญาฟิวเจอร์สเป็นสัญญามาตรฐานระหว่างคู่สัญญาสองฝ่ายที่มีข้อกำหนดแน่นอนเหมือนกันทุกสัญญา เงื่อนไขที่ทำให้สัญญาฟิวเจอร์สเป็นมาตรฐานเป็นเงื่อนไขที่ระบุจำนวนและคุณภาพของสินทรัพย์ที่จะรับมอบส่งมอบ ตลอดจนวันเวลาและสถานที่ของการรับมอบส่งมอบ แต่ข้อกำหนดต่าง ๆ ของสัญญาฟอร์เวิร์ดสามารถตกลงกันได้ ขึ้นกับการต่อรองและตกลงกันเป็นคราว ๆ ไปของคู่สัญญา

2. สัญญาฟิวเจอร์สจะทำการซื้อขายกันในตลาดที่มีการจัดตั้งอย่างเป็นทางการ ทำให้การซื้อขายสัญญาฟิวเจอร์สที่เป็นมาตรฐานมีสภาพคล่อง และสามารถลดต้นทุนในการเสาะหาข้อมูลว่าผู้ใดต้องการซื้อและผู้ใดต้องการขายได้ ในขณะที่สัญญาฟอร์เวิร์ดเป็นสัญญาซึ่งคู่สัญญาตกลงกันเองโดยตรง เมื่อการตกลงทำขึ้นโดยตรง ข้อความในสัญญาจึงสามารถระบุให้ตรงกับความต้องการของคู่สัญญาได้มากที่สุด แต่ข้อเสียก็กลับไปอยู่ที่การหาคู่สัญญาฝ่ายตรงข้ามที่มีความต้องการตรงกัน สัญญาจึงเกิดได้ยากมาก และไม่เหมาะกับการซื้อขายกันในตลาดที่มีการจัดตั้งอย่างเป็นทางการ

3. สัญญาฟิวเจอร์สได้รับการประกันการส่งมอบและชำระราคาจากตลาดฟิวเจอร์ส และมีสำนักหักบัญชี (Clearing House) เป็นตัวกลาง การประกันการส่งมอบและชำระราคาช่วยขจัดควมเสี่ยงด้านเครดิตของคู่สัญญา ซึ่งอาจเกิดขึ้นได้จากการที่คู่สัญญาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งไม่สามารถปฏิบัติตามข้อตกลงได้ แต่สัญญาฟอร์เวิร์ดไม่มีผู้ใดเข้ามาทำหน้าที่เป็นนายประกันให้แก่คู่สัญญา คู่สัญญาจึงต้องแบกรับความเสี่ยงของคู่สัญญาอีกฝ่ายไว้เองโดยตรง

4. ในทางปฏิบัติที่ผ่านมาในตลาดต่างประเทศทั่วโลก สัญญาฟิวเจอร์สมักจะไม่มีการรับมอบส่งมอบเกิดขึ้นจริง แต่ส่วนใหญ่จะใช้การชำระราคาเป็นเงินสดเป็นจำนวนเงินเท่ากับส่วนต่างของราคาฟิวเจอร์สกับราคาตลาดของสินทรัพย์อ้างอิง ณ วันส่งมอบ ในขณะที่ สัญญาฟอร์เวิร์ดจะมีการรับมอบส่งมอบสินค้าอ้างอิงกันจริง และจ่ายเงินสดเท่ากับราคาที่ตกลงจะซื้อจะขายกันที่ได้ทำไว้ในอดีต การชำระราคาเป็นเงินสดมีผลดี คือ ทำให้คู่สัญญาสามารถใช้สัญญาฟิวเจอร์สในการทำธุรกรรมจะซื้อจะขายสินทรัพย์ที่ไม่สามารถทำการรับมอบส่งมอบได้จริง เช่น ดัชนีราคาหลักทรัพย์ ดัชนีค่าระวางเรือ หรือดัชนีราคาเนื้อสัตว์ เป็นต้น

5. สัญญาฟิวเจอร์สมีสภาพคล่องในการซื้อขายมากกว่าสัญญาฟอร์เวิร์ด สัญญาฟิวเจอร์สสามารถขายต่อในตลาดให้กับผู้อื่นได้ตลอดเวลา จนกว่าสัญญาจะถึงวันครบกำหนดรับมอบส่งมอบ แต่สัญญาฟอร์เวิร์ด คู่สัญญาไม่สามารถยกเลิกสัญญาได้โดยอิสระแต่เพียงฝ่ายเดียว คู่สัญญาอีกฝ่ายต้องยินยอมพร้อมใจยกเลิกสัญญาด้วย

6. สัญญาฟิวเจอร์สมีการคำนวณและการปรับมูลค่าให้เป็นมูลค่าของสัญญาไปตามระดับราคาฟิวเจอร์สทุกสิ้นวันที่มีการซื้อขาย (Mark to Market) โดยเปรียบเทียบกับราคาฟิวเจอร์สที่เกิดขึ้นในวันก่อนหน้า การลงทุนในสัญญาฟิวเจอร์สจึงมีผลกระทบต่อกระแสเงินของผู้ลงทุน โดยผู้ลงทุนในสัญญาฟิวเจอร์สจะมีกระแสเงินสดเข้าและออกเกิดขึ้นตามส่วนได้ส่วนเสียนั้น ในขณะที่ผู้ลงทุนในสัญญาฟอร์เวิร์ดจะไม่มีกระแสเงินสดเข้ามาเกี่ยวข้องระหว่างกาล ตั้งแต่วันทำสัญญาจนถึงวันสัญญาครบกำหนด ส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมดของสัญญาจะหักล้างชำระกันในวันที่ครบกำหนดในสัญญาเท่านั้น

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

4. ออปชั่นที่มีภาระ In the money หมายความว่า

ตอบ ออปชันที่มีสภาวะ in the money เกิดขึ้นเมื่อราคาของสินทรัพย์อ้างอิง ณ วันปัจจุบันอยู่สูงกว่าราคาใช้สิทธิในกรณี

คอลออปชัน ส่วนในกรณีที่เป็นพุทออปชัน จะถือว่าออปชันอยู่ในสภาวะ in the money เมื่อราคาใช้สิทธินั้นสูงกว่าราคาตลาดของ

สินทรัพย์อ้างอิง

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

5. ออปชั่นที่มีสภาวะ out of the money หมายความว่า

ตอบ ออปชันที่มีสภาวะ out of the money ในกรณีคอลออปชันจะเกิดขึ้นเมื่อราคาของสินทรัพย์อ้างอิง ณ วันปัจจุบันอยู่ต่ำกว่าราคาใช้สิทธิ ส่วนในกรณีที่เป็นพุทออปชันจะถือว่าอยู่ในสภาวะ out of the money เมื่อราคาใช้สิทธินั้นต่ำกว่าราคาตลาดของสินทรัพย์อ้างอิง

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

กลุ่มที่ 1 เอกการเงินการธนาคาร

การบ้าน

1. ตราสารอนุพันธ์แบ่งออกเป็นกี่ประเภทหลักๆ อะไรบ้าง

Ans แบ่งออกเป็น 3 ประเภทดังนี้

1.1 สัญญาซื้อขายล่วงหน้า (Futures & Forward Contract) เป็นสัญญาซึ่งทำการตกลงกันระหว่างบุคคล หรือสถาบัน 2

ฝ่าย โดยมีฝ่ายของผู้ซื้อ และฝ่ายของผู้ขาย ทำการตกลงกันในสัญญาว่า จะมีการซื้อขายสินทรัพย์ (ซึ่งอาจเป็นสินทรัพย์ที่มีตัวตน หรือสินทรัพย์ทางการเงิน) ในอนาคต โดยทั้งผู้ซื้อและผู้ขายจะมีภาระผูกพันที่จะต้องทำตามสัญญาที่กำหนดไว้ ดังนั้นภาระของทั้งสองฝ่าย คือ ฝ่ายผู้ขายจะต้องนำสินทรัพย์มาทำการส่งมอบในอนาคต และฝ่ายผู้ซื้อจะทำการชำระราคาในอนาคต เช่น คู่สัญญาทำการตกลงจะซื้อขายเงินสกุลดอลลาร์สหรัฐในอีก 3 เดือนข้างหน้า เมื่อระยะเวลาถึงกำหนดตามข้อตกลงในสัญญาทั้งฝ่ายผู้ซื้อและผู้ขายจะต้องทำตามสัญญา (มักจะเรียกว่าวันที่สัญญาครบกำหนดอายุ หรือ Maturity Date) คือ ผู้ซื้อจะต้องนำเงินบาทมาชำระค่าเงินดอลลาร์สหรัฐ และฝ่ายผู้ขายก็จะต้องนำเงินดอลลาร์สหรัฐมาส่งมอบเช่นเดียวกัน

1.2 ออปชัน (Option) เป็นสัญญาที่มีลักษณะคล้ายกันกับ สัญญาซื้อขายล่วงหน้าในประเภทแรก แต่แตกต่างกันที่สัญญาประเภท ออปชัน เป็นสัญญาที่ให้สิทธิแก่ผู้ที่ทำการซื้อสัญญาออปชัน ว่าจะมีสิทธิในการซื้อหรือขายสินทรัพย์ใด ๆ ตามสัญญา ดังนั้นสิทธิของการทำตามสัญญานั้นจะเป็นของฝ่ายผู้ซื้อสัญญาซื้อหรือขายล่วงหน้า สิทธินั้นขึ้นอยู่กับว่าสัญญาเป็นการซื้อหรือขาย สำหรับฝ่ายผู้ขายเป็นฝ่ายที่ไม่มีสิทธิเลือกใด ๆ เพราะฝ่ายขายเป็นผู้ที่เขียนสัญญาขึ้นมาขาย และเป็นผู้ที่ได้รับค่าสัญญาไปตั้งแต่ต้น จึงไม่มีสิทธิในการเลือกใด ๆ

1.3 สัญญาสวอป (Swap) เป็นสัญญาที่มีการแลกเปลี่ยนกระแสเงินสดที่จะเกิดขึ้นในอนาคตระหว่างคู่สัญญา หรือเป็นสัญญาที่มีการแลกเปลี่ยนภาระการลงทุน หรือภาระดอกเบี้ยของคู่สัญญา

2. จงยกตัวอย่างของอนุพันธ์ในชีวิตประจำวัน

Ans 2.1ใบจองซื้อรถยนต์

นาย ก. ไปงานแสดงรถยนต์ ถูกใจรถยี่ห้อหนึ่ง จึงชำระเงิน 10,000 บาท เพื่อจองซื้อรถในราคาที่แสดงไว้ คือ 1,000,000 บาท โดยมีกำหนดรับรถในอีก 3 เดือนข้างหน้า บริษัทได้ออกใบจองให้แก่นาย ก.ใบจองนี้เทียบเคียงได้กับอนุพันธ์ เนื่องจากเป็นสัญญาที่จะซื้อขายรถยนต์ในเงื่อนไขที่ตกลงกัน โดยจะส่งมอบรถยนต์ในอนาคต ทั้งนี้ มูลค่าของใบจองขึ้นอยู่กับราคารถยนต์ เช่น หลังงานแสดงรถยนต์ บริษัทปรับราคารถขึ้นเป็น 1,100,000 บาท แต่นาย ก. จะซื้อรถได้ในราคาเพียง 1,000,000 บาทตามที่ตกลงกันไว้ จึงอาจกล่าวได้ว่า มูลค่าของใบจองหลังงานแสดง เพิ่มขึ้น 100,000 บาท เมื่อราคารถยนต์เพิ่มเป็น 1,100,000 บาท

2.2คูปองของโรงแรม

ราคาห้องพักต่อคืนของโรงแรมแห่งหนึ่งเท่ากับ 5,000 บาทในช่วงฤดูท่องเที่ยว หรือเท่ากับ 3,000 บาทนอกฤดูท่องเที่ยว โรงแรมแห่งนี้เข้าร่วมงานมหกรรมเที่ยวทั่วไทย และเสนอขายคูปองห้องพักในราคาเพียง 2,000 บาท โดยลูกค้าจะนำคูปองไปใช้ในช่วงเวลาใดก็ได้ตลอดปี 2545 คูปองนี้เทียบเคียงได้กับอนุพันธ์ เนื่องจากเป็นข้อตกลงทีจะให้เข้าพักในโรงแรมได้ในราคาที่ตกลงกัน โดยลูกค้าจะใช้บริการในอนาคต หากลูกค้าใช้คูปองเข้าพักในโรงแรมในช่วงฤดูท่องเที่ยว นั่นหมายความว่าลูกค้าได้รับส่วนลดจากโรงแรม 3,000 บาทกรณีที่ลูกค้าใช้คูปองเข้าพักในโรงแรมนอกฤดูท่องเที่ยว นั่นหมายความว่าลูกค้าได้รับส่วนลดจากโรงแรม 1,000 บาท

2.3 สัญญาจะซื้อจะขายบ้านและที่ดิน

ซึ่งปกติการซื้อขายบ้านและที่ดินเป็นการทำสัญญาจะซื้อจะขายกัน โดยผู้ซื้อทำการวางเงินมัดจำจำนวนหนึ่ง ให้แก่ผู้ขาย เช่น บ้านมีราคา 3,000,000 บาท ผู้ซื้อได้ตกลงที่จะวางเงินมัดจำจำนวน 500,000 บาทในวัน ทำสัญญา และจะมีการส่งมอบบ้านกันในอนาคต เช่น อีก 6 เดือนข้างหน้า ในระหว่างสัญญานั้นผู้ซื้อก็จะดำเนินการขอกู้เงินจากธนาคาร เพื่อนำมาซื้อบ้านและที่ดินดังกล่าว หากธนาคารอนุมัติเงินกู้ ผู้ซื้อก็จะนำเงิน มาชำระค่าบ้านตามสัญญา หรือหากผู้ซื้อไม่สามารถกู้เงินจากธนาคารได้ ผู้ซื้อก็จะไม่สามารถทำตามสัญญาได้ผู้ขายก็จะยึดเงินมัดจำไป หรือหากผู้ซื้อสามารถขายสัญญาดังกล่าวให้แก่ผู้อื่นได้ ผู้ซื้อก็จะได้รับเงินค่ามัดจำคืน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับราคาที่ผู้ซื้อสามารถที่จะขายสัญญาจะซื้อจะขายได้ หากราคาบ้านมีราคาสูงขึ้นในระหว่าง เวลา 6 เดือน สัญญาดังกล่าวอาจมีมูลค่าเพิ่มขึ้น และถ้าราคาบ้านมีราคาลดลงในระหว่าง 6 เดือนสัญญาดังกล่าวอาจมีมูลค่าลดลง

3. ความแตกต่างระหว่างฟอร์เวิร์ด และ ฟิวเจอร์

Ans 3.1. สัญญาฟิวเจอร์สเป็นสัญญามาตรฐานระหว่างคู่สัญญาสองฝ่ายที่มีข้อกำหนดแน่นอนเหมือนกันทุกสัญญา

3.2. สัญญาฟิวเจอร์สจะทำการซื้อขายกันในตลาดที่มีการจัดตั้งอย่างเป็นทางการ ทำให้การซื้อขายสัญญาฟิวเจอร์สที่เป็นมาตรฐานมีสภาพคล่อง และสามารถลดต้นทุนในการเสาะหาข้อมูลว่าผู้ใดต้องการซื้อและผู้ใดต้องการขายได้ ในขณะที่สัญญาฟอร์เวิร์ดเป็นสัญญาซึ่งคู่สัญญาตกลงกันเองโดยตรง เมื่อการตกลงทำขึ้นโดยตรง ข้อความในสัญญาจึงสามารถระบุให้ตรงกับความต้องการของคู่สัญญาได้มากที่สุด แต่ข้อเสียก็กลับไปอยู่ที่การหาคู่สัญญาฝ่ายตรงข้ามที่มีความต้องการตรงกัน สัญญาจึงเกิดได้ยากมาก และไม่เหมาะกับการซื้อขายกันในตลาดที่มีการจัดตั้งอย่างเป็นทางการ

3.3. สัญญาฟิวเจอร์สได้รับการประกันการส่งมอบและชำระราคาจากตลาดฟิวเจอร์ส และมีสำนักหักบัญชี (Clearing House) เป็นตัวกลาง การประกันการส่งมอบและชำระราคาช่วยขจัดควมเสี่ยงด้านเครดิตของคู่สัญญา

3.4. ในทางปฏิบัติที่ผ่านมาในตลาดต่างประเทศทั่วโลก สัญญาฟิวเจอร์สมักจะไม่มีการรับมอบส่งมอบเกิดขึ้นจริง แต่ส่วนใหญ่จะใช้การชำระราคาเป็นเงินสดเป็นจำนวนเงินเท่ากับส่วนต่างของราคาฟิวเจอร์สกับราคาตลาดของสินทรัพย์อ้างอิง ณ วันส่งมอบ ในขณะที่ สัญญาฟอร์เวิร์ดจะมีการรับมอบส่งมอบสินค้าอ้างอิงกันจริง และจ่ายเงินสดเท่ากับราคาที่ตกลงจะซื้อจะขายกันที่ได้ทำไว้ในอดีต การชำระราคาเป็นเงินสดมีผลดี คือ ทำให้คู่สัญญาสามารถใช้สัญญาฟิวเจอร์สในการทำธุรกรรมจะซื้อจะขายสินทรัพย์ที่ไม่สามารถทำการรับมอบส่งมอบได้จริง เช่น ดัชนีราคาหลักทรัพย์ ดัชนีค่าระวางเรือ หรือดัชนีราคาเนื้อสัตว์ เป็นต้น

3.5. สัญญาฟิวเจอร์สมีสภาพคล่องในการซื้อขายมากกว่าสัญญาฟอร์เวิร์ด สัญญาฟิวเจอร์สสามารถขายต่อในตลาดให้กับผู้อื่นได้ตลอดเวลา จนกว่าสัญญาจะถึงวันครบกำหนดรับมอบส่งมอบ แต่สัญญาฟอร์เวิร์ด คู่สัญญาไม่สามารถยกเลิกสัญญาได้โดยอิสระแต่เพียงฝ่ายเดียว คู่สัญญาอีกฝ่ายต้องยินยอมพร้อมใจยกเลิกสัญญาด้วย

3.6. สัญญาฟิวเจอร์สมีการคำนวณและการปรับมูลค่าให้เป็นมูลค่าของสัญญาไปตามระดับราคาฟิวเจอร์สทุกสิ้นวันที่มีการซื้อ ขาย (Mark to Market) โดยเปรียบเทียบกับราคาฟิวเจอร์สที่เกิดขึ้นในวันก่อนหน้า การลงทุนในสัญญาฟิวเจอร์สจึงมีผลกระทบต่อกระแสเงินของผู้ลงทุน โดยผู้ลงทุนในสัญญาฟิวเจอร์สจะมีกระแสเงินสดเข้าและออกเกิดขึ้นตามส่วนได้ส่วนเสียนั้น ในขณะที่ผู้ลงทุนในสัญญาฟอร์เวิร์ดจะไม่มีกระแสเงินสดเข้ามาเกี่ยวข้องระหว่างกาล ตั้งแต่วันทำสัญญาจนถึงวันสัญญาครบกำหนด ส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมดของสัญญาจะหักล้างชำระกันในวันที่ครบกำหนดในสัญญาเท่านั้น

4. ออปชั่นที่มีภาระ In the money หมายความว่า

Ans ออปชั่นจะมีสถานะเป็น In-the-money เมื่อผู้ถือออปชั่นนั้นได้รับประโยชน์หากมมีการใช้สิทธิขณะนั้นดังนี้

คอลออปชั่นจะมีสถานะเป็น In-the-moneyเมื่อราคาตลาดหุ้นแม่สูงกว่าราคาใช้สิทธิ

พุทออปชั่นจะมีสถานะเป็น In-the-money เมื่อราคาใช้สิทธิสูงกว่าราคาตลาดหุ้นแม่

5. ออปชั่นที่มีสภาวะ out of the money หมายความว่า

Ans เช่นเดียวกับกรณีออปชั่นที่มีสถานะเป็น At-the-moneyผู้ถือออปชั่นจะไม่ได้รับ ประโยชน์จากการใช้สิทธิตามออปชั่นโดย

ออปชั่นจะมีสถานะเป็น Out-of-the-moneyตามเงื่อนไขดังนี้

คอลออปชั่นจะมีสถานะเป็น Out-of-the-moneyเมื่อราคาตลาดหุ้นแม่ต่ำกว่าราคาใช้สิทธิ

พุทออปชั่นจะมีสถานะเป็น Out-of-the-moneyเมื่อราคาใช้สิทธิต่ำกว่าราคาตลาด

ผู้ประสงค์ดีกลุ่ม 5

การบ้านของกลุ่ม 3

คำตอบจากผู้ประสงค์ดีกลุ่ม 5

1. ตราสารอนุพันธ์แบ่งออกเป็นกี่ประเภทหลักๆ อะไรบ้าง

1.1 สัญญาซื้อขายล่วงหน้า (Futures & Forward Contract) เป็นสัญญาซึ่งทำการตกลงกันระหว่างบุคคล หรือสถาบัน 2 ฝ่าย โดยมีฝ่ายของผู้ซื้อ และฝ่ายของผู้ขาย ทำการตกลงกันในสัญญาว่า จะมีการซื้อขายสินทรัพย์ (ซึ่งอาจเป็นสินทรัพย์ที่มีตัวตน หรือสินทรัพย์ทางการเงิน) ในอนาคต โดยทั้งผู้ซื้อและผู้ขายจะมีภาระผูกพันที่จะต้องทำตามสัญญาที่กำหนดไว้ ดังนั้นภาระของทั้งสองฝ่าย คือ ฝ่ายผู้ขายจะต้องนำสินทรัพย์มาทำการส่งมอบในอนาคต และฝ่ายผู้ซื้อจะทำการชำระราคาในอนาคต เช่น คู่สัญญาทำการตกลงจะซื้อขายเงินสกุลดอลลาร์สหรัฐในอีก 3 เดือนข้างหน้า เมื่อระยะเวลาถึงกำหนดตามข้อตกลงในสัญญาทั้งฝ่ายผู้ซื้อและผู้ขายจะต้องทำตามสัญญา (มักจะเรียกว่าวันที่สัญญาครบกำหนดอายุ หรือ Maturity Date) คือ ผู้ซื้อจะต้องนำเงินบาทมาชำระค่าเงินดอลลาร์สหรัฐ และฝ่ายผู้ขายก็จะต้องนำเงินดอลลาร์สหรัฐมาส่งมอบเช่นเดียวกัน

1.2 ออปชัน (Option) เป็นสัญญาที่มีลักษณะคล้ายกันกับ สัญญาซื้อขายล่วงหน้าในประเภทแรก แต่แตกต่างกันที่สัญญาประเภท ออปชัน เป็นสัญญาที่ให้สิทธิแก่ผู้ที่ทำการซื้อสัญญาออปชัน ว่าจะมีสิทธิในการซื้อหรือขายสินทรัพย์ใด ๆ ตามสัญญา ดังนั้นสิทธิของการทำตามสัญญานั้นจะเป็นของฝ่ายผู้ซื้อสัญญาซื้อหรือขายล่วงหน้า สิทธินั้นขึ้นอยู่กับว่าสัญญาเป็นการซื้อหรือขาย สำหรับฝ่ายผู้ขายเป็นฝ่ายที่ไม่มีสิทธิเลือกใด ๆ เพราะฝ่ายขายเป็นผู้ที่เขียนสัญญาขึ้นมาขาย และเป็นผู้ที่ได้รับค่าสัญญาไปตั้งแต่ต้น จึงไม่มีสิทธิในการเลือกใด ๆ

1.3 สัญญาสวอป (Swap) เป็นสัญญาที่มีการแลกเปลี่ยนกระแสเงินสดที่จะเกิดขึ้นในอนาคตระหว่างคู่สัญญา หรือเป็นสัญญาที่มีการแลกเปลี่ยนภาระการลงทุน หรือภาระดอกเบี้ยของคู่สัญญา

นอกจากนี้ยังมีตราสารอนุพันธ์ประเภทอื่นๆ ได้แก่ swaption หุ้นกู้อนุพันธ์ (Structure note) เป็นต้น

2. จงยกตัวอย่างของอนุพันธ์ในชีวิตประจำวัน

ตัวอย่างของอนุพันธ์ทางการเงินที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวันนั้น เช่น สัญญาจะซื้อจะขายบ้านและที่ดินซึ่งปกติการซื้อขายบ้านและที่ดินเป็นการทำสัญญาจะซื้อจะขายกัน โดยผู้ซื้อทำการวางเงินมัดจำจำนวนหนึ่ง ให้แก่ผู้ขาย เช่น บ้านมีราคา 3,000,000 บาท ผู้ซื้อได้ตกลงที่จะวางเงินมัดจำจำนวน 500,000 บาทในวัน ทำสัญญา และจะมีการส่งมอบบ้านกันในอนาคต เช่น อีก 6 เดือนข้างหน้า ในระหว่างสัญญานั้นผู้ซื้อก็จะดำเนินการขอกู้เงินจากธนาคาร เพื่อนำมาซื้อบ้านและที่ดินดังกล่าว หากธนาคารอนุมัติเงินกู้ ผู้ซื้อก็จะนำเงิน มาชำระค่าบ้านตามสัญญา หรือหากผู้ซื้อไม่สามารถกู้เงินจากธนาคารได้ ผู้ซื้อก็จะไม่สามารถทำตามสัญญาได้ผู้ขายก็จะยึดเงินมัดจำไป หรือหากผู้ซื้อสามารถขายสัญญาดังกล่าวให้แก่ผู้อื่นได้ ผู้ซื้อก็จะได้รับเงินค่ามัดจำคืน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับราคาที่ผู้ซื้อสามารถที่จะขายสัญญาจะซื้อจะขายได้ หากราคาบ้านมีราคาสูงขึ้นในระหว่าง เวลา 6 เดือน สัญญาดังกล่าวอาจมีมูลค่าเพิ่มขึ้น และถ้าราคาบ้านมีราคาลดลงในระหว่าง 6 เดือนสัญญาดังกล่าวอาจมีมูลค่าลดลง

3. ความแตกต่างระหว่างฟอร์เวิร์ด และ ฟิวเจอร์

เปรียบเทียบความเหมือนความแตกต่าง

future contract

1. มีการกำหนดมาตรฐานของสัญญาอย่างชัดเจน เช่น ขนาดของสัญญาและสินทรัพย์อ้างอิง วันหมดอายุ

2. การซื้อขายกระทำในตลาดที่เป็นทางการ (Exchange)

3. การเปลี่ยนมือหรือเลิกสัญญาทำได้ง่าย

4. มีความเสี่ยงต่ำเพราะมีการวางเงินมัดจำ

5. การซื้อขายในตลาดมีจำนวนมาก สัญญามีทั้ง ขนาดใหญ่และขนาดเล็ก

forward contract

1. ไม่มีการกำหนดมาตรฐานของสัญญา สาระสำคัญของสัญญาเป็นไปตามความตกลงของคู่สัญญา 2 ฝ่าย

2. การซื้อขายเป็นการตกลงกันเองของผู้ที่เกี่ยวข้อง 2 ฝ่าย (OTC)

3. การเปลี่ยนมือหรือเลิกสัญญาทำได้ยาก

4. มีความเสี่ยงสูงอันเนื่องมาจากคู่สัญญาไม่ปฏิบัติตามสัญญา

5. การตกลงซื้อขายในตลาดมีจำนวนน้อยแต่ขนาดของสัญญามักมีขนาดใหญ่

4.ออปชั่นที่มีภาระ In the money หมายความว่า

สัญญา Option ที่ซื้อมา ถ้ามีค่าคุ้มกับการที่จะ Exercise สัญญานั้นเรียกว่า In-the-money สัญญา Call Option จะเป็นสัญญา In-the-money ถ้า Option Exercise Price ต่ำกว่าราคาของ Futures contract นั้นๆ และ Put Option จะเป็นสัญญา In-the-money ถ้า Option Exercise Price สูงกว่าราคาของ Futures contract นั้นๆ ตัวอย่างเช่น ราคาทองคำเดือน August 2007 ของวันศุกรที่ 1 มิถุนายน ปิดที่ $676.9/Troy Ounce สัญญา Call Option ที่ซื้อในวันนั้น จะเป็นสัญญา In-the-money เมื่อราคาตลาด สูงขึ้นกว่า Exercise Price $676.9 มูลค่าของ Option ที่ In-the-money เรียกว่า Option’s Intrinsic Value

5. ออปชั่นที่มีสภาวะ out of the money หมายความว่า

สัญญา Option ที่ซื้อมา ถ้ามีค่าไม่คุ้มกับการที่จะ Exercise สัญญานั้นเรียกว่า Out-of-the-money สัญญา Call Option จะเป็นสัญญา Out-of--the-money ถ้า Option Exercise Price สูงกว่าราคาของ Futures contract นั้นๆ และ Put Option จะเป็นสัญญา Out-of--the-money ถ้า Option Exercise Price ต่ำกว่าราคาของ Futures contract นั้นๆ ตัวอย่างเช่น ราคาทองคำเดือน August 2007 ของวันศุกรที่ 1 มิถุนายน ปิดที่ $676.9/Troy Ounce สัญญา Call Option ที่ซื้อในวันนั้น จะเป็นสัญญา Out-of--the-money เมื่อราคาตลาด ต่ำกว่า Exercise Price $676.9 มูลค่าของ Option ที่ Out-of-the-money ไม่มี Option’s Intrinsic Value และไม่คุ้มค่าที่จะ Exercise

คำตอบจากผู้ประสงค์ดีกลุ่ม 5 (^_^)

ผู้ประสงค์ดีกลุ่ม 5

ขอโทษด้วยคับลืมบอกไป

คำตอบของกลุ่ม 5 ข้างบน

มาจากกลุ่ม 5 เอกการเงินการธนาคาร

วิชาหลักการลงทุน วันอังคาร 10.30 นะคับ

กลุ่มที่3 เอก การเงินการธนาคาร

กลุ่มที่ 3 การเงิน

การบ้าน

1. ตราสารอนุพันธ์แบ่งออกเป็นกี่ประเภทหลักๆ อะไรบ้าง

ตอบ แบ่งออกเป็น 3 ประเภท ดังนี้

1. สัญญาซื้อขายล่วงหน้า (Futures & Forward Contract) เป็นสัญญาซึ่งทำการตกลงกันระหว่างบุคคล หรือสถาบัน 2 ฝ่าย โดยมีฝ่ายของผู้ซื้อ และฝ่ายของผู้ขาย ทำการตกลงกันในสัญญาว่า จะมีการซื้อขายสินทรัพย์ (ซึ่งอาจเป็นสินทรัพย์ที่มีตัวตน หรือสินทรัพย์ทางการเงิน) ในอนาคต โดยทั้งผู้ซื้อและผู้ขายจะมีภาระผูกพันที่จะต้องทำตามสัญญาที่กำหนดไว้ ดังนั้นภาระของทั้งสองฝ่าย คือ ฝ่ายผู้ขายจะต้องนำสินทรัพย์มาทำการส่งมอบในอนาคต และฝ่ายผู้ซื้อจะทำการชำระราคาในอนาคต เช่น คู่สัญญาทำการตกลงจะซื้อขายเงินสกุลดอลลาร์สหรัฐในอีก 3 เดือนข้างหน้า เมื่อระยะเวลาถึงกำหนดตามข้อตกลงในสัญญาทั้งฝ่ายผู้ซื้อและผู้ขายจะต้องทำตามสัญญา (มักจะเรียกว่าวันที่สัญญาครบกำหนดอายุ หรือ Maturity Date) คือ ผู้ซื้อจะต้องนำเงินบาทมาชำระค่าเงินดอลลาร์สหรัฐ และฝ่ายผู้ขายก็จะต้องนำเงินดอลลาร์สหรัฐมาส่งมอบเช่นเดียวกัน

2. ออปชัน (Option) เป็นสัญญาที่มีลักษณะคล้ายกันกับ สัญญาซื้อขายล่วงหน้าในประเภทแรก แต่แตกต่างกันที่สัญญาประเภท ออปชัน เป็นสัญญาที่ให้สิทธิแก่ผู้ที่ทำการซื้อสัญญาออปชัน ว่าจะมีสิทธิในการซื้อหรือขายสินทรัพย์ใด ๆ ตามสัญญา ดังนั้นสิทธิของการทำตามสัญญานั้นจะเป็นของฝ่ายผู้ซื้อสัญญาซื้อหรือขายล่วงหน้า สิทธินั้นขึ้นอยู่กับว่าสัญญาเป็นการซื้อหรือขาย สำหรับฝ่ายผู้ขายเป็นฝ่ายที่ไม่มีสิทธิเลือกใด ๆ เพราะฝ่ายขายเป็นผู้ที่เขียนสัญญาขึ้นมาขาย และเป็นผู้ที่ได้รับค่าสัญญาไปตั้งแต่ต้น จึงไม่มีสิทธิในการเลือกใด ๆ

3. สัญญาสวอป (Swap) เป็นสัญญาที่มีการแลกเปลี่ยนกระแสเงินสดที่จะเกิดขึ้นในอนาคตระหว่างคู่สัญญา หรือเป็นสัญญาที่มีการแลกเปลี่ยนภาระการลงทุน หรือภาระดอกเบี้ยของคู่สัญญา นอกจากนี้ยังมีตราสารอนุพันธ์ประเภทอื่นๆ ได้แก่ swaption หุ้นกู้อนุพันธ์ (Structure note) เป็นต้น

2. จงยกตัวอย่างของอนุพันธ์ในชีวิตประจำวัน

ตอบ การซื้อใบจองรถในงานมอเตอร์โชว์ การจองคอนโด การจองบ้านจัดสรร

3. ความแตกต่างระหว่างฟอร์เวิร์ด และ ฟิวเจอร์

ตอบ มีข้อแตกต่างกันดังนี้

1. สัญญาฟิวเจอร์สเป็นสัญญามาตรฐานระหว่างคู่สัญญาสองฝ่ายที่มีข้อกำหนดแน่นอนเหมือนกันทุกสัญญา เงื่อนไขที่ทำให้สัญญาฟิวเจอร์สเป็นมาตรฐานเป็นเงื่อนไขที่ระบุจำนวนและคุณภาพของสินทรัพย์ที่จะรับมอบส่งมอบ ตลอดจนวันเวลาและสถานที่ของการรับมอบส่งมอบ แต่ข้อกำหนดต่าง ๆ ของสัญญาฟอร์เวิร์ดสามารถตกลงกันได้ ขึ้นกับการต่อรองและตกลงกันเป็นคราว ๆ ไปของคู่สัญญา

2. สัญญาฟิวเจอร์สจะทำการซื้อขายกันในตลาดที่มีการจัดตั้งอย่างเป็นทางการ ทำให้การซื้อขายสัญญาฟิวเจอร์สที่เป็นมาตรฐานมีสภาพคล่อง และสามารถลดต้นทุนในการเสาะหาข้อมูลว่าผู้ใดต้องการซื้อและผู้ใดต้องการขายได้ ในขณะที่สัญญาฟอร์เวิร์ดเป็นสัญญาซึ่งคู่สัญญาตกลงกันเองโดยตรง เมื่อการตกลงทำขึ้นโดยตรง ข้อความในสัญญาจึงสามารถระบุให้ตรงกับความต้องการของคู่สัญญาได้มากที่สุด แต่ข้อเสียก็กลับไปอยู่ที่การหาคู่สัญญาฝ่ายตรงข้ามที่มีความต้องการตรงกัน สัญญาจึงเกิดได้ยากมาก และไม่เหมาะกับการซื้อขายกันในตลาดที่มีการจัดตั้งอย่างเป็นทางการ

3. สัญญาฟิวเจอร์สได้รับการประกันการส่งมอบและชำระราคาจากตลาดฟิวเจอร์ส และมีสำนักหักบัญชี (Clearing House) เป็นตัวกลาง การประกันการส่งมอบและชำระราคาช่วยขจัดควมเสี่ยงด้านเครดิตของคู่สัญญา ซึ่งอาจเกิดขึ้นได้จากการที่คู่สัญญาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งไม่สามารถปฏิบัติตามข้อตกลงได้ แต่สัญญาฟอร์เวิร์ดไม่มีผู้ใดเข้ามาทำหน้าที่เป็นนายประกันให้แก่คู่สัญญา คู่สัญญาจึงต้องแบกรับความเสี่ยงของคู่สัญญาอีกฝ่ายไว้เองโดยตรง

4. ในทางปฏิบัติที่ผ่านมาในตลาดต่างประเทศทั่วโลก สัญญาฟิวเจอร์สมักจะไม่มีการรับมอบส่งมอบเกิดขึ้นจริง แต่ส่วนใหญ่จะใช้การชำระราคาเป็นเงินสดเป็นจำนวนเงินเท่ากับส่วนต่างของราคาฟิวเจอร์สกับราคาตลาดของสินทรัพย์อ้างอิง ณ วันส่งมอบ ในขณะที่ สัญญาฟอร์เวิร์ดจะมีการรับมอบส่งมอบสินค้าอ้างอิงกันจริง และจ่ายเงินสดเท่ากับราคาที่ตกลงจะซื้อจะขายกันที่ได้ทำไว้ในอดีต การชำระราคาเป็นเงินสดมีผลดี คือ ทำให้คู่สัญญาสามารถใช้สัญญาฟิวเจอร์สในการทำธุรกรรมจะซื้อจะขายสินทรัพย์ที่ไม่สามารถทำการรับมอบส่งมอบได้จริง เช่น ดัชนีราคาหลักทรัพย์ ดัชนีค่าระวางเรือ หรือดัชนีราคาเนื้อสัตว์ เป็นต้น

5. สัญญาฟิวเจอร์สมีสภาพคล่องในการซื้อขายมากกว่าสัญญาฟอร์เวิร์ด สัญญาฟิวเจอร์สสามารถขายต่อในตลาดให้กับผู้อื่นได้ตลอดเวลา จนกว่าสัญญาจะถึงวันครบกำหนดรับมอบส่งมอบ แต่สัญญาฟอร์เวิร์ด คู่สัญญาไม่สามารถยกเลิกสัญญาได้โดยอิสระแต่เพียงฝ่ายเดียว คู่สัญญาอีกฝ่ายต้องยินยอมพร้อมใจยกเลิกสัญญาด้วย

6. สัญญาฟิวเจอร์สมีการคำนวณและการปรับมูลค่าให้เป็นมูลค่าของสัญญาไปตามระดับราคาฟิวเจอร์สทุกสิ้นวันที่มีการซื้อขาย (Mark to Market) โดยเปรียบเทียบกับราคาฟิวเจอร์สที่เกิดขึ้นในวันก่อนหน้า การลงทุนในสัญญาฟิวเจอร์สจึงมีผลกระทบต่อกระแสเงินของผู้ลงทุน โดยผู้ลงทุนในสัญญาฟิวเจอร์สจะมีกระแสเงินสดเข้าและออกเกิดขึ้นตามส่วนได้ส่วนเสียนั้น ในขณะที่ผู้ลงทุนในสัญญาฟอร์เวิร์ดจะไม่มีกระแสเงินสดเข้ามาเกี่ยวข้องระหว่างกาล ตั้งแต่วันทำสัญญาจนถึงวันสัญญาครบกำหนด ส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมดของสัญญาจะหักล้างชำระกันในวันที่ครบกำหนดในสัญญาเท่านั้น

4. ออปชั่นที่มีภาระ In the money หมายความว่า

ตอบ ออปชันที่มีสภาวะ in the money เกิดขึ้นเมื่อราคาของสินทรัพย์อ้างอิง ณ วันปัจจุบันอยู่สูงกว่าราคาใช้สิทธิในกรณี

คอลออปชัน ส่วนในกรณีที่เป็นพุทออปชัน จะถือว่าออปชันอยู่ในสภาวะ in the money เมื่อราคาใช้สิทธินั้นสูงกว่าราคาตลาดของ

สินทรัพย์อ้างอิง

5. ออปชั่นที่มีสภาวะ out of the money หมายความว่า

ตอบ ออปชันที่มีสภาวะ out of the money ในกรณีคอลออปชันจะเกิดขึ้นเมื่อราคาของสินทรัพย์อ้างอิง ณ วันปัจจุบันอยู่ต่ำกว่าราคาใช้สิทธิ ส่วนในกรณีที่เป็นพุทออปชันจะถือว่าอยู่ในสภาวะ out of the money เมื่อราคาใช้สิทธินั้นต่ำกว่าราคาตลาดของสินทรัพย์อ้างอิง

กลุ่มที่ 6 (การเงินการธนาคาร)

กลุ่มที่ 6 การเงินการธนาคาร

1. ตราสารอนุพันธ์แบ่งออกเป็นกี่ประเภทหลักๆ อะไรบ้าง

ตอบ แบ่งออกเป็น 3 ประเภท

1.สัญญาซื้อขายล่วงหน้า ได้แก่ Futures และ Forwards หมายถึง สัญญาที่ถูกจัดทำขึ้นระหว่างคู่สัญญาสองฝ่ายโดยกำหนดว่าจะมีการซื้อขายสินค้าอ้างอิงอย่างใดอย่างหนึ่งในอนาคตตามราคาที่ตกลงกันไว้

2.ออปชัน (Option) เป็น หนังสือสำคัญ หรือหนังสือสัญญา หรือตราสาร ระหว่าง คนสองคน ที่ระบุ ในหนังสือสำคัญ มีรายละเอียด ชื่อผู้ ซื้อสิทธิ์ และ ชื่อผู้ ขายสิทธิ์ ในสินค้าอะไร มีกำหนดหมดอายุสัญญาเมื่อไร กำหนดราคาเช่นไร เช่นนี้ในอดีต โดยเริ่มต้นทำกันเอง ในการซื้อขาย ล่วงหน้าสินค้าเกษตร ต่อเมื่อมีความเจริญติดต่อกันซื้อขายมากขึ้น จึงมีสถานที่เป็นตลาดกลาง ออพชั่นก็ได้พัฒนา มาจนได้รับความนิยมมากขึ้น

3.สัญญาสวอป (Swap) เป็นสัญญาที่มีการแลกเปลี่ยนกระแสเงินสดที่จะเกิดขึ้นในอนาคตระหว่างคู่สัญญา หรือเป็นสัญญาที่มีการแลกเปลี่ยนภาระการลงทุน หรือภาระดอกเบี้ยของคู่สัญญา นอกจากนี้ยังมีตราสารอนุพันธ์ประเภทอื่นๆ ได้แก่ swaption หุ้นกู้อนุพันธ์ (Structure note) เป็นต้น

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

2. จงยกตัวอย่างของอนุพันธ์ในชีวิตประจำวัน

ตอบ 1.การจองซื้อรถยนต์

2.การจองบ้านจัดสรรหรือโรงแรม

3.การซื้อขายบ้านและที่ดิน

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

3. ความแตกต่างระหว่างฟอร์เวิร์ด และ ฟิวเจอร์

ตอบ

1. สัญญาฟิวเจอร์สเป็นสัญญามาตรฐานระหว่างคู่สัญญาสองฝ่ายที่มีข้อกำหนดแน่นอนเหมือนกันทุกสัญญาเงื่อนไขที่ทำให้สัญญาฟิวเจอร์สเป็นมาตรฐานเป็นเงื่อนไขที่ระบุจำนวนและคุณภาพของสินทรัพย์ที่จะรับมอบส่งมอบ ตลอดจนวันเวลาและสถานที่ของการรับมอบส่งมอบ แต่ข้อกำหนดต่าง ๆ ของสัญญาฟอร์เวิร์ดสามารถตกลงกันได้ ขึ้นกับการต่อรองและตกลงกันเป็นคราว ๆ ไปของคู่สัญญา

2. สัญญาฟิวเจอร์สจะทำการซื้อขายกันในตลาดที่มีการจัดตั้งอย่างเป็นทางการ ทำให้การซื้อขายสัญญาฟิวเจอร์สที่เป็นมาตรฐานมีสภาพคล่อง และสามารถลดต้นทุนในการเสาะหาข้อมูลว่าผู้ใดต้องการซื้อและผู้ใดต้องการขายได้ ในขณะที่สัญญาฟอร์เวิร์ดเป็นสัญญาซึ่งคู่สัญญาตกลงกันเองโดยตรง เมื่อการตกลงทำขึ้นโดยตรง ข้อความในสัญญาจึงสามารถระบุให้ตรงกับความต้องการของคู่สัญญาได้มากที่สุด แต่ข้อเสียก็กลับไปอยู่ที่การหาคู่สัญญาฝ่ายตรงข้ามที่มีความต้องการตรงกัน สัญญาจึงเกิดได้ยากมาก และไม่เหมาะกับการซื้อขายกันในตลาดที่มีการจัดตั้งอย่างเป็นทางการ

3. สัญญาฟิวเจอร์สได้รับการประกันการส่งมอบและชำระราคาจากตลาดฟิวเจอร์ส และมีสำนักหักบัญชี (Clearing House) เป็นตัวกลาง การประกันการส่งมอบและชำระราคาช่วยขจัดควมเสี่ยงด้านเครดิตของคู่สัญญา ซึ่งอาจเกิดขึ้นได้จากการที่คู่สัญญาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งไม่สามารถปฏิบัติตามข้อตกลงได้ แต่สัญญาฟอร์เวิร์ดไม่มีผู้ใดเข้ามาทำหน้าที่เป็นนายประกันให้แก่คู่สัญญา คู่สัญญาจึงต้องแบกรับความเสี่ยงของคู่สัญญาอีกฝ่ายไว้เองโดยตรง

4. ในทางปฏิบัติที่ผ่านมาในตลาดต่างประเทศทั่วโลก สัญญาฟิวเจอร์สมักจะไม่มีการรับมอบส่งมอบเกิดขึ้นจริง แต่ส่วนใหญ่จะใช้การชำระราคาเป็นเงินสดเป็นจำนวนเงินเท่ากับส่วนต่างของราคาฟิวเจอร์สกับราคาตลาดของสินทรัพย์อ้างอิง ณ วันส่งมอบ ในขณะที่ สัญญาฟอร์เวิร์ดจะมีการรับมอบส่งมอบสินค้าอ้างอิงกันจริง และจ่ายเงินสดเท่ากับราคาที่ตกลงจะซื้อจะขายกันที่ได้ทำไว้ในอดีต การชำระราคาเป็นเงินสดมีผลดี คือ ทำให้คู่สัญญาสามารถใช้สัญญาฟิวเจอร์สในการทำธุรกรรมจะซื้อจะขายสินทรัพย์ที่ไม่สามารถทำการรับมอบส่งมอบได้จริง เช่น ดัชนีราคาหลักทรัพย์ ดัชนีค่าระวางเรือ หรือดัชนีราคาเนื้อสัตว์ เป็นต้น

5. สัญญาฟิวเจอร์สมีสภาพคล่องในการซื้อขายมากกว่าสัญญาฟอร์เวิร์ด สัญญาฟิวเจอร์สสามารถขายต่อในตลาดให้กับผู้อื่นได้ตลอดเวลา จนกว่าสัญญาจะถึงวันครบกำหนดรับมอบส่งมอบ แต่สัญญาฟอร์เวิร์ด คู่สัญญาไม่สามารถยกเลิกสัญญาได้โดยอิสระแต่เพียงฝ่ายเดียว คู่สัญญาอีกฝ่ายต้องยินยอมพร้อมใจยกเลิกสัญญาด้วย

6. สัญญาฟิวเจอร์สมีการคำนวณและการปรับมูลค่าให้เป็นมูลค่าของสัญญาไปตามระดับราคาฟิวเจอร์สทุกสิ้นวันที่มีการซื้อขาย (Mark to Market) โดยเปรียบเทียบกับราคาฟิวเจอร์สที่เกิดขึ้นในวันก่อนหน้า การลงทุนในสัญญาฟิวเจอร์สจึงมีผลกระทบต่อกระแสเงินของผู้ลงทุน โดยผู้ลงทุนในสัญญาฟิวเจอร์สจะมีกระแสเงินสดเข้าและออกเกิดขึ้นตามส่วนได้ส่วนเสียนั้น ในขณะที่ผู้ลงทุนในสัญญาฟอร์เวิร์ดจะไม่มีกระแสเงินสดเข้ามาเกี่ยวข้องระหว่างกาล ตั้งแต่วันทำสัญญาจนถึงวันสัญญาครบกำหนด ส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมดของสัญญาจะหักล้างชำระกันในวันที่ครบกำหนดในสัญญาเท่านั้น

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

4. ออปชั่นที่มีภาระ In the money หมายความว่า

ตอบ ออปชันที่มีสภาวะ in the money เกิดขึ้นเมื่อราคาของสินทรัพย์อ้างอิง ณ วันปัจจุบันอยู่สูงกว่าราคาใช้สิทธิในกรณี คอลออปชัน ส่วนในกรณีที่เป็นพุทออปชัน จะถือว่าออปชันอยู่ในสภาวะ in the money เมื่อราคาใช้สิทธินั้นสูงกว่าราคาตลาดของสินทรัพย์อ้างอิง

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

5. ออปชั่นที่มีสภาวะ out of the money หมายความว่า

ตอบ ออปชันที่มีสภาวะ out of the money ในกรณีคอลออปชันจะเกิดขึ้นเมื่อราคาของสินทรัพย์อ้างอิง ณ วันปัจจุบันอยู่ต่ำกว่าราคาใช้สิทธิ ส่วนในกรณีที่เป็นพุทออปชันจะถือว่าอยู่ในสภาวะ out of the money เมื่อราคาใช้สิทธินั้นต่ำกว่าราคาตลาดของสินทรัพย์อ้างอิง

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

กลุ่มที่ 6 การเงินการธนาคาร

กลุ่มที่ 6

1. บทบาทหน้าที่ของตลาดตราสารหนี้ มีกี่อย่างอะไรบ้าง

ตอบ

1. การเป็นองค์กรกำกับดูแลตนเอง (SRO)

ThaiBMA ทำหน้าที่กำกับดูแลสมาชิกเพื่อให้การประกอบธุรกรรมด้านค้าตราสารหนี้เป็นไปอย่างโปร่งใสและเป็นธรรม และสร้างความเชื่อมั่นให้แก่นักลงทุน การดำเนินงานประกอบด้วย

1) ตรวจสอบรายงานและเผยแพร่ข้อมูลการซื้อขายตราสารหนี้ สำนักงาน ก.ล.ต.ได้กำหนดให้ Dealer ทุกรายต้องรายงานข้อมูลซื้อขายตราสารหนี้มายัง ThaiBMA เพื่อให้เกิดความสมบูรณ์ของข้อมูลและความโปร่งใสของตลาดตราสารหนี้ โดย ThaiBMAทำหน้าที่ประมวลผลและตรวจสอบข้อมูลการซื้อขาย และนำออกเผยแพร่ทุกสิ้นวันเพื่อรายงานภาวะตลาดและใช้เป็นข้อมูลอ้างอิงในการลงทุน

2) ติดตามภาวะตลาดและตรวจสอบการซื้อขายตราสารหนี้ (Market Monitoring & Surveillance) ThaiBMA จะตรวจสอบข้อมูลซื้อขายซึ่ง Dealer รายงานเข้ามา เพื่อกำกับดูแลพฤติกรรมการซื้อขายของสมาชิกและผู้ค้าตราสารหนี้ให้เป็นไปตามกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องและไม่ให้เกิดการกระทำที่ไม่เป็นธรรมแก่ลูกค้า

3) ตรวจสอบ (Member inspection) และลงโทษสมาชิก (Enforcement) หากมีการปฏิบัติขัดต่อกฎเกณฑ์ที่กำหนด โดย ThaiBMA จะออกตรวจสอบสมาชิกเป็นประจำ และหากพบการกระทำผิดจะเสนอเข้าสู่การพิจารณาของอนุกรรมการวินัยเพื่อกำหนดบทลงโทษ ทั้งนี้เพื่อสร้างความมั่นใจในมาตรฐานการปฏิบัติงานของผู้ค้าตราสารหนี้แก่นักลงทุน

4) กำหนดจรรยาบรรณและมาตรฐานการปฏิบัติงานในตลาดรองตราสารหนี้ รวมถึงกำหนดกระบวนการพิจารณาความผิด และบทลงโทษผู้ค้าตราสารหนี้ที่ไม่ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เกิดความเป็นธรรมในการทำธุรกรรมการซื้อขายตราสารหนี้

5) ขึ้นทะเบียนผู้ค้าตราสารหนี้ (Bond Trader Registration) สำนักงาน ก.ล.ต.กำหนดให้ Bond trader ทุกคนต้องขึ้นทะเบียนกับ ThaiBMA โดย ThaiBMA ได้กำหนดให้มีการทดสอบความรู้ความสามารถ ซึ่งครอบคลุมถึงเรื่องจรรยาบรรณในการปฏิบัติหน้าที่ เพื่อส่งเสริมคุณภาพของผู้ปฏิบัติงานในตลาด

2. การให้บริการและเป็นศูนย์กลางข้อมูลในตลาดตราสารหนี้

1) ThaiBMA ทำหน้าที่ขึ้นทะเบียนตราสารหนี้ (Bond Registration) ทั้งตราสารหนี้ภาครัฐและหุ้นกู้เอกชน โดยมีจุดประสงค์เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและความโปร่งใสในการเปิดเผย ติดตามและตรวจสอบข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับตราสารหนี้และผู้ออกตราสารหนี้ สำนักงาน ก.ล.ต. กำหนดให้ตราสารหนี้ที่ออกเสนอขายเป็นการทั่วไป ต้องขึ้นทะเบียนกับ ThaiBMA เพื่อความโปร่งใสของตลาด ดังนั้น ThaiBMA จึงทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางข้อมูลทั้งในตลาดแรกและตลาดรองได้อย่างสมบูรณ์

2) ThaiBMA เป็นศูนย์กลางในการรวบรวมและเผยแพร่ข้อมูลต่างๆในตลาดตราสารหนี้ โดยผ่านช่องทางต่างๆ รวมถึง website www.thaibma.or.th และ www.thaibond.com โดยประกอบด้วยข้อมูลพื้นฐานของตราสารหนี้ในตลาดแรก และข้อมูลการซื้อขายในตลาดรอง ข้อมูลราคาอ้างอิงต่างๆ (Reference yield) ของตลาด Yield Curve, Bond Index ตลอดจนข้อมูลเกี่ยวกับการวิเคราะห์การลงทุน ตลอดจนข่าวสารต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการลงทุน

3. การกำหนดวิธีปฏิบัติและมาตรฐานต่างๆของตลาดตราสารหนี้ (Market Convention / Standard)

ThaiBMA ทำหน้าที่กำหนดมาตรฐานต่างๆที่ใช้ในตลาดตราสารหนี้ เพื่อให้สมาชิกและทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องดำเนินธุรกรรมอย่างมีมาตรฐานเดียวกัน เช่น มาตรฐานการคำนวณราคาและอัตราผลตอบแทนของตราสารหนี้ประเภทต่างๆ การกำหนดสัญลักษณ์มาตรฐานของตราสารหนี้ การกำหนดมาตรฐานด้านงานทะเบียนตราสารหนี้ การจัดทำสัญญาซื้อคืนมาตรฐานของตลาดตราสารหนี้ เป็นต้น

4. การพัฒนาตลาดตราสารหนี้ (Market Development)

ThaiBMA สนับสนุนการพัฒนาอย่างต่อเนื่องของตลาดตราสารหนี้ โดยพัฒนาเครื่องมือและโครงสร้างพื้นฐานเพื่อส่งเสริมการซื้อขายและลงทุนในตลาดตราสารหนี้ เช่น การพัฒนา benchmark ต่างๆ เช่น Yield curve, Bond index รวมถึงการพัฒนาเพื่อรองรับนวัตกรรมทางการเงินประเภทใหม่ๆ การจัดอบรมความรู้ด้านตราสารหนี้ เพื่อพัฒนาบุคลากรด้านตราสารหนี้ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น รวมทั้งการให้ความรู้ความเข้าใจด้านการลงทุนในตราสารหนี้แก่นักลงทุนรายย่อย นักลงทุนสถาบันทั้งภาครัฐและเอกชน นักศึกษา ประชาชน และผู้สนใจทั่วไป

5. การทำหน้าที่ Bond Pricing Agency

ThaiBMA ทำหน้าที่เผยแพร่ราคาอ้างอิงตราสารหนี้ทุกรุ่นสำหรับการ mark-to-market ของผู้ลงทุน โดยเฉพาะกองทุนต่างๆ เพื่อให้มีราคายุติธรรมโดยเฉพาะสำหรับตราสารหนี้ที่มีสภาพคล่องในการซื้อขายน้อย

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

2.จรรยาบรรณของตลาดอนุพันธ์มีอะไรบ้าง

ตอบ

จรรยาบรรณของตลาดอนุพันธ์

เพื่อดำรงไว้ซึ่งความไว้วางใจของสาธารณชน บมจ. ตลาดอนุพันธ์ฯ จึงกำหนดข้อพึงปฏิบัติไว้ให้กรรมการ อนุกรรมการ ที่ปรึกษา พนักงานบริษัท ตลาดอนุพันธ์ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) ยึดถือเพื่อเป็นหลักการและคุณธรรมประจำใจในการปฏิบัติงาน โดยมีหัวข้อ ดังนี้

• ข้อพึงปฏิบัติทั่วไป

o ข้อพึงปฏิบัติต่อตนเอง

o ข้อพึงปฏิบัติต่อผู้ลงทุน ผู้ใช้บริการ ผู้เกี่ยวข้อง และสาธารณชน

o ข้อพึงปฏิบัติต่อองค์กร

• ข้อพึงปฏิบัติระหว่างพนักงาน

• ข้อพึงปฏิบัติเมื่อมีปัญหา

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

3.หลักทรัพย์ซื้อขายในตลาดอนุพันธ์มีอะไรบ้างและสินค้าตัวใดเปิดขายเป็นตัวแรก

ตอบ

หลักทรัพย์ที่ซื้อขายกันในตลาดอนุพันธ์หรือTFEX

1.SET50 (SET50 Index Futures) ในวันที่ 28 เมษายน 2549 เป็นสินค้าที่เปิดขายเป็นตัวแรก

2.SET50 Index Options ในวันที่ 29 ตุลาคม 2550

3.Single Stock Futures ในวันที่ 24 พฤศจิกายน 2551

4.Gold Futures ในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2552

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

1.บทบาทหน้าที่ของตลาดตราสารหนี้ มีกี่อย่างอะไรบ้าง

Ans สมาคมตลาดตราสารหนี้ไทยมีบทบาทและหน้าที่ในการพัฒนาตลาดตราสารหนี้ของประเทศอยู่ 5 ด้านดังนี้

1. การเป็นองค์กรกำกับดูแลตนเอง (SRO)

ThaiBMA ทำหน้าที่กำกับดูแลสมาชิกเพื่อให้การประกอบธุรกรรมด้านค้าตราสารหนี้เป็นไปอย่างโปร่งใสและเป็นธรรม และสร้างความเชื่อมั่นให้แก่นักลงทุน การดำเนินงานประกอบด้วย

1) ตรวจสอบรายงานและเผยแพร่ข้อมูลการซื้อขายตราสารหนี้ สำนักงาน ก.ล.ต.ได้กำหนดให้ Dealer ทุกรายต้องรายงานข้อมูลซื้อขายตราสารหนี้มายัง ThaiBMA เพื่อให้เกิดความสมบูรณ์ของข้อมูลและความโปร่งใสของตลาดตราสารหนี้ โดย ThaiBMAทำหน้าที่ประมวลผลและตรวจสอบข้อมูลการซื้อขาย และนำออกเผยแพร่ทุกสิ้นวันเพื่อรายงานภาวะตลาดและใช้เป็นข้อมูลอ้างอิงในการลงทุน

2) ติดตามภาวะตลาดและตรวจสอบการซื้อขายตราสารหนี้ (Market Monitoring & Surveillance) ThaiBMA จะตรวจสอบข้อมูลซื้อขายซึ่ง Dealer รายงานเข้ามา เพื่อกำกับดูแลพฤติกรรมการซื้อขายของสมาชิกและผู้ค้าตราสารหนี้ให้เป็นไปตามกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องและไม่ให้เกิดการกระทำที่ไม่เป็นธรรมแก่ลูกค้า

3) ตรวจสอบ (Member inspection) และลงโทษสมาชิก (Enforcement) หากมีการปฏิบัติขัดต่อกฎเกณฑ์ที่กำหนด โดย ThaiBMA จะออกตรวจสอบสมาชิกเป็นประจำ และหากพบการกระทำผิดจะเสนอเข้าสู่การพิจารณาของอนุกรรมการวินัยเพื่อกำหนดบทลงโทษ ทั้งนี้เพื่อสร้างความมั่นใจในมาตรฐานการปฏิบัติงานของผู้ค้าตราสารหนี้แก่นักลงทุน

4) กำหนดจรรยาบรรณและมาตรฐานการปฏิบัติงานในตลาดรองตราสารหนี้ รวมถึงกำหนดกระบวนการพิจารณาความผิด และบทลงโทษผู้ค้าตราสารหนี้ที่ไม่ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เกิดความเป็นธรรมในการทำธุรกรรมการซื้อขายตราสารหนี้

5) ขึ้นทะเบียนผู้ค้าตราสารหนี้ (Bond Trader Registration) สำนักงาน ก.ล.ต.กำหนดให้ Bond trader ทุกคนต้องขึ้นทะเบียนกับ ThaiBMA โดย ThaiBMA ได้กำหนดให้มีการทดสอบความรู้ความสามารถ ซึ่งครอบคลุมถึงเรื่องจรรยาบรรณในการปฏิบัติหน้าที่ เพื่อส่งเสริมคุณภาพของผู้ปฏิบัติงานในตลาด

2. การให้บริการและเป็นศูนย์กลางข้อมูลในตลาดตราสารหนี้

1) ThaiBMA ทำหน้าที่ขึ้นทะเบียนตราสารหนี้ (Bond Registration) ทั้งตราสารหนี้ภาครัฐและหุ้นกู้เอกชน โดยมีจุดประสงค์เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและความโปร่งใสในการเปิดเผย ติดตามและตรวจสอบข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับตราสารหนี้และผู้ออกตราสารหนี้ สำนักงาน ก.ล.ต. กำหนดให้ตราสารหนี้ที่ออกเสนอขายเป็นการทั่วไป ต้องขึ้นทะเบียนกับ ThaiBMA เพื่อความโปร่งใสของตลาด ดังนั้น ThaiBMA จึงทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางข้อมูลทั้งในตลาดแรกและตลาดรองได้อย่างสมบูรณ์

2) ThaiBMA เป็นศูนย์กลางในการรวบรวมและเผยแพร่ข้อมูลต่างๆในตลาดตราสารหนี้ โดยผ่านช่องทางต่างๆ รวมถึง website www.thaibma.or.th และ www.thaibond.com โดยประกอบด้วยข้อมูลพื้นฐานของตราสารหนี้ในตลาดแรก และข้อมูลการซื้อขายในตลาดรอง ข้อมูลราคาอ้างอิงต่างๆ (Reference yield) ของตลาด Yield Curve, Bond Index ตลอดจนข้อมูลเกี่ยวกับการวิเคราะห์การลงทุน ตลอดจนข่าวสารต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการลงทุน

3. การกำหนดวิธีปฏิบัติและมาตรฐานต่างๆของตลาดตราสารหนี้ (Market Convention / Standard)

ThaiBMA ทำหน้าที่กำหนดมาตรฐานต่างๆที่ใช้ในตลาดตราสารหนี้ เพื่อให้สมาชิกและทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องดำเนินธุรกรรมอย่างมีมาตรฐานเดียวกัน เช่น มาตรฐานการคำนวณราคาและอัตราผลตอบแทนของตราสารหนี้ประเภทต่างๆ การกำหนดสัญลักษณ์มาตรฐานของตราสารหนี้ การกำหนดมาตรฐานด้านงานทะเบียนตราสารหนี้ การจัดทำสัญญาซื้อคืนมาตรฐานของตลาดตราสารหนี้ เป็นต้น

4. การพัฒนาตลาดตราสารหนี้ (Market Development)

ThaiBMA สนับสนุนการพัฒนาอย่างต่อเนื่องของตลาดตราสารหนี้ โดยพัฒนาเครื่องมือและโครงสร้างพื้นฐานเพื่อส่งเสริมการซื้อขายและลงทุนในตลาดตราสารหนี้ เช่น การพัฒนา benchmark ต่างๆ เช่น Yield curve, Bond index รวมถึงการพัฒนาเพื่อรองรับนวัตกรรมทางการเงินประเภทใหม่ๆ การจัดอบรมความรู้ด้านตราสารหนี้ เพื่อพัฒนาบุคลากรด้านตราสารหนี้ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น รวมทั้งการให้ความรู้ความเข้าใจด้านการลงทุนในตราสารหนี้แก่นักลงทุนรายย่อย นักลงทุนสถาบันทั้งภาครัฐและเอกชน นักศึกษา ประชาชน และผู้สนใจทั่วไป

5. การทำหน้าที่ Bond Pricing Agency

ThaiBMA ทำหน้าที่เผยแพร่ราคาอ้างอิงตราสารหนี้ทุกรุ่นสำหรับการ mark-to-market ของผู้ลงทุน โดยเฉพาะกองทุนต่างๆ เพื่อให้มีราคายุติธรรมโดยเฉพาะสำหรับตราสารหนี้ที่มีสภาพคล่องในการซื้อขายน้อย

++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++

2.จรรยาบรรณของตลาดอนุพันธ์มีอะไรบ้าง

Ans เพื่อดำรงไว้ซึ่งความไว้วางใจของสาธารณชน บมจ. ตลาดอนุพันธ์ฯ จึงกำหนดข้อพึงปฏิบัติไว้ให้กรรมการ อนุกรรมการ ที่ปรึกษา พนักงานบริษัท ตลาดอนุพันธ์ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) ยึดถือเพื่อเป็นหลักการและคุณธรรมประจำใจในการปฏิบัติงาน โดยมีหัวข้อ ดังนี้

• ข้อพึงปฏิบัติทั่วไป

- ข้อพึงปฏิบัติต่อตนเอง

- ข้อพึงปฏิบัติต่อผู้ลงทุน ผู้ใช้บริการ ผู้เกี่ยวข้อง และสาธารณชน

- ข้อพึงปฏิบัติต่อองค์กร

• ข้อพึงปฏิบัติระหว่างพนักงาน

• ข้อพึงปฏิบัติเมื่อมีปัญหา

++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++

3. หลักทรัพย์ซื้อขายในตลาดอนุพันธ์มีอะไรบ้างและสินค้าตัวใดเปิดขายเป็นตัวแรก

Ans บมจ. ตลาดอนุพันธ์ฯ เป็นศูนย์กลางการซื้อขายอนุพันธ์ที่อ้างอิงกับตราสารทุน ตราสารหนี้ และสินค้าโภคภัณฑ์ชนิดต่างๆ ที่นอกเหนือจากสินค้าเกษตรกรรม โดยตราสารอนุพันธ์ บมจ. ตลาดอนุพันธ์ฯ สามารถจัดให้มีการซื้อขายภายใต้พระราชบัญญัติสัญญาซื้อขายล่วงหน้า พ.ศ. 2546 ได้แก่ ฟิวเจอร์ส (Futures) ออปชัน (Options) และออปชันบนสัญญาฟิวเจอร์ส (Options on Futures) ของสินทรัพย์อ้างอิงประเภทต่าง ๆ ดังนี้

• อ้างอิงกับตราสารทุน ได้แก่ ดัชนีราคาหลักทรัพย์ หลักทรัพย์

• อ้างอิงกับตราสารหนี้ ได้แก่ พันธบัตรรัฐบาล อัตราดอกเบี้ย

• อ้างอิงกับราคาหรือดัชนีราคาอื่นๆได้แก่ ทองคำ น้ำมันดิบ อัตราแลกเปลี่ยน

ในปัจจุบัน บมจ. ตลาดอนุพันธ์ฯ ได้เปิดซื้อขายอนุพันธ์ทั้งสิ้น 4 ประเภทด้วยกัน ได้แก่ SET50 Index Futures, SET50 Index Options, Single Stock Futures และ Gold Futures โดยมีรายละเอียดดังนี้

วันที่ 28 เมษายน 2549 เปิดซื้อขาย SET50 Index Futures

วันที่ 29 ตุลาคม 2550 เปิดซื้อขาย SET50 Index Options

วันที่ 24 พฤศจิกายน 2551 เปิดซื้อขาย Single Stock Futures

วันที่ 02 กุมภาพันธ์ 2552 เปิดซื้อขาย Gold Futures

ทั้งนี้ ในลำดับถัดไป บมจ. ตลาดอนุพันธ์ฯ จะเปิดซื้อขายฟิวเจอร์สที่อ้างอิงกับอัตราดอกเบี้ยหรือพันธบัตรรัฐบาล (Interest rate Futures)

++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++

ขอโทษนะค่ะลืมบอกไป

คำตอบข้างบนของกลุ่มที่ 1

เอกการเงินการธนาคาร

กลุ่ม 2 เอก-การเงินการธนาคาร

กลุ่ม 2 เอก-การเงินการธนาคาร

การบ้านกลุ่ม 5

1.บทบาทหน้าที่ของตลาดตราสารหนี้ มีกี่อย่างอะไรบ้าง

ตอบ สมาคมตลาดตราสารหนี้ไทยมีบทบาทและหน้าที่ในการพัฒนาตลาดตราสารหนี้ของประเทศอยู่ 5 ด้านดังนี้

1. การเป็นองค์กรกำกับดูแลตนเอง (SRO)

ThaiBMA ทำหน้าที่กำกับดูแลสมาชิกเพื่อให้การประกอบธุรกรรมด้านค้าตราสารหนี้เป็นไปอย่างโปร่งใสและเป็นธรรม และสร้างความเชื่อมั่นให้แก่นักลงทุน การดำเนินงานประกอบด้วย

1) ตรวจสอบรายงานและเผยแพร่ข้อมูลการซื้อขายตราสารหนี้ สำนักงาน ก.ล.ต.ได้กำหนดให้ Dealer ทุกรายต้องรายงานข้อมูลซื้อขายตราสารหนี้มายัง ThaiBMA เพื่อให้เกิดความสมบูรณ์ของข้อมูลและความโปร่งใสของตลาดตราสารหนี้ โดย ThaiBMAทำหน้าที่ประมวลผลและตรวจสอบข้อมูลการซื้อขาย และนำออกเผยแพร่ทุกสิ้นวันเพื่อรายงานภาวะตลาดและใช้เป็นข้อมูลอ้างอิงในการลงทุน

2) ติดตามภาวะตลาดและตรวจสอบการซื้อขายตราสารหนี้ (Market Monitoring & Surveillance) ThaiBMA จะตรวจสอบข้อมูลซื้อขายซึ่ง Dealer รายงานเข้ามา เพื่อกำกับดูแลพฤติกรรมการซื้อขายของสมาชิกและผู้ค้าตราสารหนี้ให้เป็นไปตามกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องและไม่ให้เกิดการกระทำที่ไม่เป็นธรรมแก่ลูกค้า

3) ตรวจสอบ (Member inspection) และลงโทษสมาชิก (Enforcement) หากมีการปฏิบัติขัดต่อกฎเกณฑ์ที่กำหนด โดย ThaiBMA จะออกตรวจสอบสมาชิกเป็นประจำ และหากพบการกระทำผิดจะเสนอเข้าสู่การพิจารณาของอนุกรรมการวินัยเพื่อกำหนดบทลงโทษ ทั้งนี้เพื่อสร้างความมั่นใจในมาตรฐานการปฏิบัติงานของผู้ค้าตราสารหนี้แก่นักลงทุน

4) กำหนดจรรยาบรรณและมาตรฐานการปฏิบัติงานในตลาดรองตราสารหนี้ รวมถึงกำหนดกระบวนการพิจารณาความผิด และบทลงโทษผู้ค้าตราสารหนี้ที่ไม่ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เกิดความเป็นธรรมในการทำธุรกรรมการซื้อขายตราสารหนี้

5) ขึ้นทะเบียนผู้ค้าตราสารหนี้ (Bond Trader Registration) สำนักงาน ก.ล.ต.กำหนดให้ Bond trader ทุกคนต้องขึ้นทะเบียนกับ ThaiBMA โดย ThaiBMA ได้กำหนดให้มีการทดสอบความรู้ความสามารถ ซึ่งครอบคลุมถึงเรื่องจรรยาบรรณในการปฏิบัติหน้าที่ เพื่อส่งเสริมคุณภาพของผู้ปฏิบัติงานในตลาด

2. การให้บริการและเป็นศูนย์กลางข้อมูลในตลาดตราสารหนี้

1) ThaiBMA ทำหน้าที่ขึ้นทะเบียนตราสารหนี้ (Bond Registration) ทั้งตราสารหนี้ภาครัฐและหุ้นกู้เอกชน โดยมีจุดประสงค์เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและความโปร่งใสในการเปิดเผย ติดตามและตรวจสอบข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับตราสารหนี้และผู้ออกตราสารหนี้ สำนักงาน ก.ล.ต. กำหนดให้ตราสารหนี้ที่ออกเสนอขายเป็นการทั่วไป ต้องขึ้นทะเบียนกับ ThaiBMA เพื่อความโปร่งใสของตลาด ดังนั้น ThaiBMA จึงทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางข้อมูลทั้งในตลาดแรกและตลาดรองได้อย่างสมบูรณ์

2) ThaiBMA เป็นศูนย์กลางในการรวบรวมและเผยแพร่ข้อมูลต่างๆในตลาดตราสารหนี้ โดยผ่านช่องทางต่างๆ รวมถึง website www.thaibma.or.th และ www.thaibond.com โดยประกอบด้วยข้อมูลพื้นฐานของตราสารหนี้ในตลาดแรก และข้อมูลการซื้อขายในตลาดรอง ข้อมูลราคาอ้างอิงต่างๆ (Reference yield) ของตลาด Yield Curve, Bond Index ตลอดจนข้อมูลเกี่ยวกับการวิเคราะห์การลงทุน ตลอดจนข่าวสารต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการลงทุน

3. การกำหนดวิธีปฏิบัติและมาตรฐานต่างๆของตลาดตราสารหนี้ (Market Convention / Standard)

ThaiBMA ทำหน้าที่กำหนดมาตรฐานต่างๆที่ใช้ในตลาดตราสารหนี้ เพื่อให้สมาชิกและทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องดำเนินธุรกรรมอย่างมีมาตรฐานเดียวกัน เช่น มาตรฐานการคำนวณราคาและอัตราผลตอบแทนของตราสารหนี้ประเภทต่างๆ การกำหนดสัญลักษณ์มาตรฐานของตราสารหนี้ การกำหนดมาตรฐานด้านงานทะเบียนตราสารหนี้ การจัดทำสัญญาซื้อคืนมาตรฐานของตลาดตราสารหนี้ เป็นต้น

4. การพัฒนาตลาดตราสารหนี้ (Market Development)

ThaiBMA สนับสนุนการพัฒนาอย่างต่อเนื่องของตลาดตราสารหนี้ โดยพัฒนาเครื่องมือและโครงสร้างพื้นฐานเพื่อส่งเสริมการซื้อขายและลงทุนในตลาดตราสารหนี้ เช่น การพัฒนา benchmark ต่างๆ เช่น Yield curve, Bond index รวมถึงการพัฒนาเพื่อรองรับนวัตกรรมทางการเงินประเภทใหม่ๆ การจัดอบรมความรู้ด้านตราสารหนี้ เพื่อพัฒนาบุคลากรด้านตราสารหนี้ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น รวมทั้งการให้ความรู้ความเข้าใจด้านการลงทุนในตราสารหนี้แก่นักลงทุนรายย่อย นักลงทุนสถาบันทั้งภาครัฐและเอกชน นักศึกษา ประชาชน และผู้สนใจทั่วไป

5. การทำหน้าที่ Bond Pricing Agency

ThaiBMA ทำหน้าที่เผยแพร่ราคาอ้างอิงตราสารหนี้ทุกรุ่นสำหรับการ mark-to-market ของผู้ลงทุน โดยเฉพาะกองทุนต่างๆ เพื่อให้มีราคายุติธรรมโดยเฉพาะสำหรับตราสารหนี้ที่มีสภาพคล่องในการซื้อขายน้อย

************************************************************************************

2.จรรยาบรรณของตลาดอนุพันธ์มีอะไรบ้าง

ตอบ เพื่อดำรงไว้ซึ่งความไว้วางใจของสาธารณชน บมจ. ตลาดอนุพันธ์ฯ จึงกำหนดข้อพึงปฏิบัติไว้ให้กรรมการ อนุกรรมการ ที่ปรึกษา พนักงานบริษัท ตลาดอนุพันธ์ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) ยึดถือเพื่อเป็นหลักการและคุณธรรมประจำใจในการปฏิบัติงาน โดยมีหัวข้อ ดังนี้

• ข้อพึงปฏิบัติทั่วไป

- ข้อพึงปฏิบัติต่อตนเอง

- ข้อพึงปฏิบัติต่อผู้ลงทุน ผู้ใช้บริการ ผู้เกี่ยวข้อง และสาธารณชน

- ข้อพึงปฏิบัติต่อองค์กร

• ข้อพึงปฏิบัติระหว่างพนักงาน

• ข้อพึงปฏิบัติเมื่อมีปัญหา

************************************************************************************

3. หลักทรัพย์ซื้อขายในตลาดอนุพันธ์มีอะไรบ้างและสินค้าตัวใดเปิดขายเป็นตัวแรก

ตอบ บมจ. ตลาดอนุพันธ์ฯ เป็นศูนย์กลางการซื้อขายอนุพันธ์ที่อ้างอิงกับตราสารทุน ตราสารหนี้ และสินค้าโภคภัณฑ์ชนิดต่างๆ ที่นอกเหนือจากสินค้าเกษตรกรรม โดยตราสารอนุพันธ์ บมจ. ตลาดอนุพันธ์ฯ สามารถจัดให้มีการซื้อขายภายใต้พระราชบัญญัติสัญญาซื้อขายล่วงหน้า พ.ศ. 2546 ได้แก่ ฟิวเจอร์ส (Futures) ออปชัน (Options) และออปชันบนสัญญาฟิวเจอร์ส (Options on Futures) ของสินทรัพย์อ้างอิงประเภทต่าง ๆ ดังนี้

• อ้างอิงกับตราสารทุน ได้แก่ ดัชนีราคาหลักทรัพย์ หลักทรัพย์

• อ้างอิงกับตราสารหนี้ ได้แก่ พันธบัตรรัฐบาล อัตราดอกเบี้ย

• อ้างอิงกับราคาหรือดัชนีราคาอื่นๆได้แก่ ทองคำ น้ำมันดิบ อัตราแลกเปลี่ยน

ในปัจจุบัน บมจ. ตลาดอนุพันธ์ฯ ได้เปิดซื้อขายอนุพันธ์ทั้งสิ้น 4 ประเภทด้วยกัน ได้แก่ SET50 Index Futures, SET50 Index Options, Single Stock Futures และ Gold Futures โดยมีรายละเอียดดังนี้

วันที่ 28 เมษายน 2549 เปิดซื้อขาย SET50 Index Futures

วันที่ 29 ตุลาคม 2550 เปิดซื้อขาย SET50 Index Options

วันที่ 24 พฤศจิกายน 2551 เปิดซื้อขาย Single Stock Futures

วันที่ 02 กุมภาพันธ์ 2552 เปิดซื้อขาย Gold Futures

ทั้งนี้ ในลำดับถัดไป บมจ. ตลาดอนุพันธ์ฯ จะเปิดซื้อขายฟิวเจอร์สที่อ้างอิงกับอัตราดอกเบี้ยหรือพันธบัตรรัฐบาล (Interest rate Futures)

************************************************************************************

กลุ่ม2 การเงินการธนาคาร

กลุ่มที่ 2 เอก การเงิน-การธนาคาร

การบ้านกลุ่ม 6

1.ดัชนีราคาหุ้นตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (SET Index) หมายถึงอะไร

ตอบ ดัชนีราคาหุ้นตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (SET Index) คือ ดัชนีที่สะท้อนความเคลื่อนไหวของราคาหลักทรัพย์ทั้งหมด โดยคำนวณจากหุ้นสามัญจดทะเบียนทุกตัวในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (รวมหน่วยลงทุนของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์) ยกเว้นหุ้นที่ถูกขึ้นเครื่องหมาย SP เกิน 1 ปี

ดัชนีราคาหุ้นตลาดหลักทรัพย์ (SET Index) คำนวณโดยใช้วิธีถ่วงน้ำหนักด้วยมูลค่าตามราคาตลาด (Market Capitalization weighted) ด้วยการเปรียบเทียบมูลค่าตลาดในวันปัจจุบันของหลักทรัพย์ (Current Market Value) กับมูลค่าตลาดหลักทรัพย์ในวันฐานของหลักทรัพย์ (Base Market Value) คือ วันที่ 30 เมษายน 2518 ซึ่งดัชนีมีค่าเริ่มต้นที่ 100 จุด

*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*

2. จงบอกประโยชน์ของ SET Index Set 50 Index และ SET 100 Index

ตอบ -SET 50 Index และ SET 100 Index ต่างเป็นดัชนีเป็นประโยชน์ในการเป็นบรรทัดฐานเพื่อวัดผลตอบแทนและความเสี่ยงจากการลงทุน หรือ Performance Benchmark สำหรับการจัดพอร์ตลงทุนของกองทุนรวม   โดยส่วนของ SET 50 นั้น มีประโยชน์สำหรับเป็นดัชนีอ้างอิง (Underlying Index) สำหรับตราสารอนุพันธ์ได้อีกด้วย

-SET100 จะเป็นการส่งเสริมให้มีการกระจายการลงทุนไปสู่บริษัทขนาดรองลงมาเพิ่มมากขึ้น ช่วยลดการกระจุกตัวของการลงทุนในบริษัทขนาดใหญ่ใน SET50 และยังเป็นการช่วยเพิ่มสภาพคล่องให้แก่บริษัทขนาดกลางได้อีกทางหนึ่ง “พร้อมทั้งยังใช้เป็นเครื่องมือในการเปรียบเทียบกับบริษัทอื่น ๆ ที่อยู่ในกลุ่มเดียวกัน

Index ในตลาดหลักทรัพย์ก็คือดัชนีราคาประเภทหนึ่ง ซึ่งประโยชน์ก็จะเหมือนกับดัชนีอื่นๆ เช่น ดัชนีราคาผู้บริโภค ที่ใช้วัดการเปลี่ยนแปลงในราคาสินค้า ในกรณีของดัชนีราคาหลักทรัพย์ ไม่ว่าจะเป็น SET Index SET50 Index หรือ SET100 Index การเพิ่มขึ้นหรือลดลงของค่าดัชนี ก็จะบอกถึงการเคลื่อนไหวของราคาหลักทรัพย์ที่อยู่ในดัชนีนั้น ๆ นักลงทุนจึงสามารถใช้ Index เหล่านี้ในการวัดผลตอบแทน และความเสี่ยงจากการลงทุนในกลุ่มหลักทรัพย์ที่ใช้คำนวณ Index นั้นได้ รวมถึง ถ้าสนใจลงทุนในบริษัทขนาดกลาง ก็สามารถเข้าดูรายชื่อของบริษัทใน SET100 เพื่อเป็นทางเลือกในการเข้าลงทุนได้

*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*

3.จงบอกประโยชน์ของดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย์ ?

ตอบ -ประการที่1 คือ เพื่อใช้เป็นตัววัดทางสถิติ เพื่อการวัดผล สำหรับใช้ในการเปรียบเทียบและการวิเคราะห์ เรียกว่าเป็น Benchmark index ยกตัวอย่างเช่น Standard & Poor’s 500 และ SET Index เป็นต้น

-ประการที่2 เป็นประโยชน์ในด้านนวัตกรรมทางการเงิน เป็นการใช้ดัชนีเพื่อการอ้างอิงในการสร้างผลิตภัณฑ์ทางการเงิน เรียกว่าเป็น tradable index ยกตัวอย่างเช่น SET50 Index ซึ่งปัจจุบันเป็น Underlying Index ของ TDEX, SET50 Index Futures และ SET50 Index Options ทำให้ผู้ลงทุนสามารถใช้ประโยชน์จากดัชนีในการกระจายการลงทุนและสร้างกลยุทธ์การลงทุนได้อย่างหลากหลาย

*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*

กลุ่ม2 การเงินการธนาคาร

กลุ่ม 2 เอก การเงินการธนาคาร

การบ้านกลุ่ม 4

ตอบ ควรลงทุนในตราสารหนี้ เพราะ

ตราสารหนี้ คือ ตราสารทางการเงินประเภทหนึ่งที่บุคคลฝ่ายหนึ่งได้ผูกพันตนเองเป็นลูกหนี้ (ผู้กู้ หรือ ผู้ออกตราสารหนี้) โดยมีภาระหน้าที่ในการจ่ายกระแสเงินสด ได้แก่ ดอกเบี้ย และมูลค่าไถ่ถอนให้แก่เจ้าหนี้ (ผู้ให้กู้ หรือนักลงทุนในตราสารหนี้)

การลงทุนในตราสารหนี้นั้น นับเป็นทางเลือกที่น่าสนใจอีกทางหนึ่งสำหรับนักลงทุนทั่วไป เพราะนักลงทุนจะได้รับดอกเบี้ยที่สม่ำเสมอตามระยะเวลาที่กำหนด เช่น ทุก 6 เดือน หรือทุกปีตามที่ได้มีการกำหนดจ่ายดอกเบี้ยไว้ตั้งแต่ต้น ดังนั้น อาจจะกล่าวได้ว่า นักลงทุนในตราสารหนี้จะแบกรับความเสี่ยงไม่มากนัก หากเทียบกับการลงทุนในทางเลือกอื่นที่ขาดความสม่ำเสมอในกระแสเงินสดที่นักลงทุนจะได้รับ เราจึงเรียก ตราสารหนี้ว่า “ตราสารที่ให้รายได้คงที่” ด้วยคุณลักษณะตามที่ได้กล่าวไปแล้ว

การลงทุนในตราสารหนี้ที่มีความเสี่ยงต่ำแล้ว ตราสารหนี้ยังเหมาะกับผู้ที่ต้องการออมเงินไว้เพื่ออนาคตอีกด้วย เพราะ ตราสารหนี้มีอายุที่แน่นอน (ทั้งระยะสั้นไม่เกิน 1 ปี จนถึง ระยะยาวเป็นหลายสิบปี) เมื่อถึงเวลาสิ้นอายุที่เรียกว่าการครบกำหนดไถ่ถอน ผู้ถือตราสารหนี้ (เจ้าหนี้) ก็จะได้รับกระแสเงินสดคืน (เรียกว่ามูลค่าไถ่ถอน หรือมูลค่าที่ตราไว้) หรือที่มักจะเข้าใจกันโดยทั่วไปว่าได้เงินต้นคืน ดังนั้น จะเห็นได้ว่าการลงทุนในตราสารหนี้มีความแตกต่างจากตราสารทุน (หุ้นสามัญ) อย่างชัดเจน คือ หากถือหุ้นสามัญไว้ต้องการเงินลงทุนนั้นคืนต้องทำการขายออกไปในตลาดรองเท่านั้น ในขณะที่การลงทุนหรือการออมโดยผ่านการถือครองตราสารหนี้นั้น อาจจะมีทางเลือกทั้งการขายออกไปในตลาดรองตราสารหนี้ หรือหากนักลงทุนยังต้องการได้รับดอกเบี้ยไปเรื่อยๆ ก็ถือตราสารหนี้และจะไปได้รับเงินก้อนใหญ่ ซึ่งเป็นมูลค่าไถ่ถอนคืนเมื่อถึงเวลาครบกำหนดสิ้นอายุ

ความหลากหลายในตราสารหนี้เป็นอีกคุณสมบัติหนึ่งเฉพาะสำหรับตราสารหนี้ที่ทางเลือกในการลงทุนอย่างอื่นไม่มี นักลงทุนสามารถเลือกตราสารหนี้ประเภทต่างๆ ให้เหมาะสมกับความต้องการได้ ตัวอย่างเช่น

นักลงทุนที่ต้องการกระแสเงินสดทุกงวดสม่ำเสมอไม่ต้องแบกรับความเสี่ยงมากนัก ก็อาจจะเลือกลงทุนในพันธบัตรที่ออกโดยภาครัฐ ในขณะที่นักลงทุนอื่นอาจจะต้องการผลตอบแทนที่สูงขึ้นในขณะเดียวกันก็อาจจะยินยอมแบกรับความเสี่ยงเพิ่มขึ้นบ้างก็เลือกลงทุนในหุ้นกู้ภาคเอกชน ซึ่งก็มีอันดับความน่าเชื่อถือที่หลากหลาย

นักลงทุนที่ต้องการดอกเบี้ยที่สามารถแปรเปลี่ยนได้ตามภาวะดอกเบี้ยในตลาด ก็อาจจะลงทุนในหุ้นกู้ประเภทอัตราดอกเบี้ยลอยตัว หรือแม้กระทั่งจะลงทุนในตราสารหนี้ที่มีสิทธิแฝงอยู่ด้วย เช่น หุ้นกู้ไถ่ถอนคืนก่อนกำหนด หรือหุ้นกู้แปลงสภาพที่สามารถจะเปลี่ยนเป็นหุ้นสามัญได้เมื่อถึงกำหนด เป็นต้น

หุ้นกู้ประเภททยอยคืนเงินต้นก็เป็นหุ้นกู้อีกประเภทหนึ่งที่น่าสนใจ กล่าวคือ กระแสเงินสดที่นักลงทุนจะได้รับในแต่ละงวดจะประกอบด้วย ดอกเบี้ยและส่วนของเงินต้นชำระคืน จะเห็นได้ว่านักลงทุนมีความสามารถในการเลือกประเภทของหุ้นกู้ได้อย่างมากมายให้ตรงกับวัตถุประสงค์ของการลงทุนที่มีความหลากหลาย

นักลงทุนในตราสารหนี้จะอยู่ในสถานะที่เป็นเจ้าหนี้ของผู้ออกตราสารหนี้ ในขณะที่นักลงทุนในหุ้นสามัญอยู่ในสถานะเจ้าของกิจการที่ออกหุ้นสามัญ หากพิจารณาถึงเรื่องลำดับสิทธิในการเรียกร้องที่เจ้าของเงินทุนทั้งสองคน ได้แก่ เจ้าของกิจการ (ผู้ถือหุ้นสามัญ) กับ เจ้าหนี้กิจการ (ผู้ถือหุ้นกู้) มีต่อผู้ออกจะพบว่าเจ้าหนี้มีลำดับสิทธิในการเรียกร้องต่อบริษัทผู้ออกสูงกว่าเจ้าของกิจการในทุกกรณี กล่าวคือ ในยามที่บริษัทผู้ออกดำเนินกิจการปกติ ผลกำไรที่เกิดขึ้นนั้นไม่ว่าจะมีกำไรจากการดำเนินงานมากหรือน้อย หรือแม้กระทั่งประสบภาวะขาดทุน บริษัทผู้ออกก็ต้องจ่ายดอกเบี้ยให้เจ้าหนี้ก่อนที่จะจ่ายเงินปันผลให้กับเจ้าของ (ซึ่งอาจจะได้รับเงินปันผลหรือไม่ได้รับก็ได้) และหากมีการเลิกกิจการเกิดขึ้น บริษัทผู้ออกก็ต้องนำเงินที่ได้จากขายสินทรัพย์มาจ่ายให้กับเจ้าหนี้เต็มจำนวน หากมีเหลือจึงจะนำไปเฉลี่ยคืนให้กับเจ้าของผู้ถือหุ้นสามัญ เห็นได้ว่าการลงทุนในตราสารหนี้มีความเสี่ยงน้อยกว่าการลงทุนในหุ้นสามัญทุกกรณี

นักลงทุนถือครองตราสารหนี้ไม่ว่าจะได้มาจากตลาดแรกหรือมาจากตลาดรองก็ตาม สามารถทำการซื้อ ขาย เปลี่ยนมือ ในตลาดตราสารหนี้ BEX (Bond Electronic Exchange) ที่ดำเนินการภายใต้ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย อำนวยความสะดวกให้นักลงทุนในการซื้อขายเปลี่ยนมือ ซึ่งจะทำให้นักลงทุนไม่ต้องเผชิญกับความเสี่ยงจากการขาดสภาพคล่องจากการลงทุนในตราสารหนี้ หรือสนใจที่ลงทุนในตราสารหนี้ก็ทำได้ง่าย โดยลงทุนขั้นต่ำเพียง 100,000 บาท เท่านั้น

น.ส ลัทธวรรณ สุขบุญเพ็ญ

สรุป วัยจ๊าบ กับวัย โจ๋

สำหรับวัยจ๊าบแล้ว มีความสามารถในการรับความเสี่ยงได้สู้ ในการจัดการลงทุนให้ควรลงทุนในหุ้นสามัญ มากกว่าที่จะนำเงินไปฝากเนื่องจาก ความต้องการของวัยจ๊าบ คือมีความต้องการฝลกำไร ในการซื้อรถ และ คอมพิวเตอร์

สำหรับวัยโจ๋ ความเลือกที่จะลงทุนใน ตราสารหนี้ กับตราสารทุน มากกว่าที่จะนำมา ลงทุนในหุ้นสามมัญเนื่องจาก หุ้นมีความเสี่ยงสูงและ ผลตอบที่ที่วัยยโจ๋ต้องการคือ นำเงินไปท่องเที่ยว กับ เก็บไว้รักษา พยาบาล ยามป่าว ซื้อไม่ต้องการความเสี่ยง

นางสาวลัทธวรรร สุขบุญเพ็ญ

รหัส 51127312034 เอกการเงินการธนาคาร ปี สี่

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท