ตััวหารร่วม


ตัวหารร่วม

ความรู้เรื่องตัวหารร่วม

 

ก.      พิจารณาจำนวนนับที่หาร  16  และ  24  ได้ลงตัว

จำนวนนับที่หาร  16  ได้ลงตัวได้แก่         1   ,   2   ,   4   ,   8   ,  16

จำนวนนับที่หาร  24  ได้ลงตัวได้แก่         1 ,  2  ,  3  ,  4  ,  6  ,  8   ,   12  ,  24

จำนวนนับที่หาร  16  และ  24  ได้ลงตัวคือ  ได้แก่         1   ,   2   ,  4    ,   8   

เราเรียก    1 ,  2  ,  4  ,  8    ว่าเป็น ตัวหารร่วม หรือ ตัวประกอบร่วม ของ  16 และ 24

 

ข.      พิจารณาจำนวนนับที่หาร  12 , 18   และ  32  ได้ลงตัว

จำนวนนับที่หาร  12  ได้ลงตัวได้แก่    1   ,   2    ,    3   ,    4   ,    6   ,  12

จำนวนนับที่หาร  18  ได้ลงตัวได้แก่    1   ,   2    ,    3   ,    6   ,    9   ,   18

จำนวนนับที่หาร  32  ได้ลงตัวได้แก่    1   ,   2    ,    4   ,    8   ,    16   ,   32

จำนวนนับที่หาร  12  ,  18   และ  32  ได้ลงตัวคือ  ได้แก่      1   ,   2   

เราเรียก  ได้แก่   1 ,  2  ว่าเป็น ตัวหารร่วม หรือ ตัวประกอบร่วม ของ  12 , 18  และ  32

 

 

      สรุป    จำนวนนับที่หารจำนวนตั้งแต่สองจำนวนขึ้นไป

                  เรียกว่า  ตัวหารร่วม หรือ ตัวประกอบร่วม

 

 

                                                                          

คำสำคัญ (Tags): #ตัวหารร่วม
หมายเลขบันทึก: 267608เขียนเมื่อ 12 มิถุนายน 2009 11:51 น. ()แก้ไขเมื่อ 23 มิถุนายน 2012 22:15 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (11)

ได้ความรู้มาก

ได้ความรู้มาก

ได้ความรู้มาก

ได้ความรู้มากครับ

ได้ความรู้มากมาย

ได้ความรู้มากครับ

ได้เรียนรู้

ดีใจมากค่ะ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท