เผยแพร่ผลงานทางวิชาการศึกษานิเทศก์


บทคัดย่อการพัฒนาชุดฝึกอบรมเรื่องผลิตสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน โดยใช้โปรแกรม CAI EZ 2000

ชื่อเรื่อง รายงานผลการพัฒนาชุดฝึกอบรมเรื่อง การผลิตบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน โดยใช้โปรแกรม CAI EZ 2000

ผู้รายงาน นางรัชนี พรมพุฒ ตำแหน่งศึกษานิเทศก์ วิทยฐานะชำนาญการ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพิจิตร เขต 1

บทคัดย่อ

รายงานผลการพัฒนาชุดฝึกอบรมเรื่อง การผลิตบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน โดยใช้โปรแกรม CAI EZ 2000 มีวัตถุประสงค์ 1)เพื่อรายงานผลการพัฒนาประสิทธิภาพชุดฝึกอบรม เรื่อง การผลิตบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน โดยใช้โปรแกรม EZ 2000 2)เพื่อเปรียบเทียบความรู้ความเข้าใจเรื่อง การผลิตบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน โดยใช้โปรแกรม CAI EZ 2000 ของผู้เข้ารับการอบรม 3)เพื่อศึกษาความคิดเห็นของผู้เข้ารับการอบรมที่มีต่อชุดฝึกอบรมเรื่อง การผลิตบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน โดยใช้โปรแกรม CAI EZ 2000 4)เพื่อศึกษาความคิดเห็นของผู้บริหารที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนของครูซึ่งผ่านการอบรมผลิตและใช้ในการจัดการเรียนการสอน 5) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนรู้ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนของครูที่ผ่านการอบรมผลิต กลุ่มตัวอย่าง 1)ครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ช่วงชั้นที่ 1-3โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพิจิตร เขต 1 ที่มีความรู้พื้นฐานด้านคอมพิวเตอร์เบื้องต้นและใช้คอมพิวเตอร์ภายใต้ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows โดยการสุ่มแบบเจาะจง(Purposive sampling)จำนวน 30 คน 2)ผู้บริหารโรงเรียนของครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ช่วงชั้นที่ 1-3 โรงเรียนในสังกัดที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง โดยการสุ่มแบบเจาะจง (Purposive Sampling) จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาประกอบด้วย 1)ชุดฝึกอบรมเรื่อง การผลิตบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน โดยใช้โปรแกรม CAI EZ 2000 ที่มีประสิทธิภาพ 88.36/83.83 2)แบบประเมินคุณภาพชุดฝึกอบรมเรื่อง การผลิตบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโดยใช้โปรแกรม CAI EZ 2000 3)แบบทดสอบความรู้ความเข้าใจเรื่อง การผลิตบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน โดยใช้โปรแกรม CAI EZ 2000 ของผู้เข้ารับการอบรม 4)แบบสอบถามความคิดเห็นของผู้เข้ารับการอบรมที่มีต่อชุดฝึกอบรมเรื่อง การผลิตบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน โดยใช้โปรแกรม CAI EZ 2000 5)แบบสอบถามความคิดเห็นของผู้บริหารที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนของครูซึ่งผ่านการอบรมผลิตและใช้ในการจัดการเรียน การสอน 6)แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่เรียนรู้ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนของครูที่ผ่านการอบรมผลิต ผลการพัฒนาสรุปได้ดังนี้ 1)ชุดฝึกอบรมเรื่อง การผลิตบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโดยใช้โปรแกรม CAI EZ 2000 มีประสิทธิภาพเท่ากับ 88.36/83.83 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้คือ 80/80 2)ผู้เข้ารับการอบรมกลุ่มตัวอย่างจำนวน 30 คน มีคะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบความรู้ความเข้าใจเรื่อง การผลิตบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน โดยใช้โปรแกรม CAI EZ 2000 หลังการฝึกอบรมสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยก่อนการอบรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3)ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความคิดเห็นต่อชุดฝึกอบรมเรื่อง การผลิตบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน โดยใช้โปรแกรม CAI EZ 2000 อยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.78 4)ผู้บริหารมีความคิดเห็นต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนของครูที่ผ่านการอบรมผลิตและใช้ในการจัดการเรียนการสอน อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.43 5)นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนรู้ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่ครูที่ผ่านการอบรมผลิต อยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.65

หมายเลขบันทึก: 261903เขียนเมื่อ 18 พฤษภาคม 2009 16:24 น. ()แก้ไขเมื่อ 19 มิถุนายน 2012 22:16 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (4)

ขอบคุณมากน๊ะค๊ะที่ท่านได้นำบทคัดย่อนี้ขึ้นเว็บ ดิฉันกำลังหาตัวอย่างการเขียนบทคัดย่อที่คล้ายกับงานของดิฉันพอดี จริงๆแล้วอยากเห็นภาพงานทั้งหมดด้วยค่ะหวังว่าท่านคงจะนำมาไว้เป็นตัวอย่างให้วันหลังนะคะ จะรอดูค่ะ

วรรณดา

จุไรลักษณ์ กัณธิจัย

ขอให้เอาตัวนวัตกรรมขึ้นให้ดูหน่อยได้ไหม มีบางตอนที่ดิฉันสร้างแล้วติดปัญหาบางส่วนอยากเห็นชุดฝึกตัวเต็มของท่านกรุณาให้เป็นวิทยาทานหน่อยเถอะค่ะ เพื่อเด็กบนดอยจะมีโอกาสใช้สื่อที่หลากหลายเพราะโปรแกรมนี้ทำได้ไวและง่ายแต่กิฉันก็ติดบางจุดคือตอนแพ็กรวมกันนะคะ ขอขอบคุณล่วงหน้า

จุไรลักษณ์ ครูดอย

ชื่อเรื่อง รายงานการพัฒนาแบบฝึกทักษะทางวิทยาศาสตร์ หน่วยที่ 1

เรื่อง การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

โรงเรียนชุมชนบ้านกุดปลาดุก

กลุ่มสาระ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

หน่วยงาน โรงเรียนชุมชนบ้านกุดปลาดุก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามหาสารคาม เขต 3

ปีที่พิมพ์ 2552

ผู้ศึกษา นางสงวน ดีอันกอง

ที่ปรึกษา นายสำราญ บุตรคำโชติ

บทคัดย่อ

การศึกษาค้นคว้าครั้งนี้มีความมุ่งหมายดังนี้ 1) เพื่อแบบฝึกทักษะทางวิทยาศาสตร์

หน่วยที่ 1 เรื่อง การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เพื่อศึกษาดัชนีประสิทธิผลของแบบฝึกทักษะทางวิทยาศาสตร์ หน่วยที่ 1 เรื่อง การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 3) เพื่อหาประสิทธิภาพความคงทนทางการเรียนของแบบฝึกทักษะทางวิทยาศาสตร์ หน่วยที่ 1 เรื่อง

การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 4) เพื่อศึกษาความพึงพอใจ

ของนักเรียนที่มีต่อการเรียนด้วยแบบฝึกทักษะทางวิทยาศาสตร์ หน่วยที่ 1 เรื่อง การดำรงพันธุ์

ของสิ่งมีชีวิต สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/1 โรงเรียนชุมชนบ้านกุดปลาดุก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามหาสารคาม เขต 3 จำนวน 27 คน กลุ่มตัวอย่างได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ 1) แบบฝึกทักษะทางวิทยาศาสตร์ สำหรับนักเรียน

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่มีประสิทธิภาพ 4.29 อยู่ในระดับเหมาะสมมาก 2) แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบการพัฒนาทักษะทางวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หน่วยที่ 1 เรื่อง การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต จำนวน 29 แผน 38 ชั่วโมง มีประสิทธิภาพ 92.00 3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ก่อน – หลังเรียน จำนวน 20 ข้อ ที่มีค่าความเชื่อมั่นที่ 0.70 และ แบบวัดความพึงพอใจ

ของนักเรียนที่มีต่อการเรียนรู้ด้วยแบบฝึกทักษะทางวิทยาศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา

ปีที่ 5

ผลการศึกษาค้นคว้าปรากฏว่า

การศึกษาครั้งนี้ เป็นการศึกษาเชิงทดลอง (Experimental Design) เพื่อแบบฝึกทักษะ

ทางวิทยาศาสตร์ หน่วยที่ 1 เรื่อง การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา

ปีที่ 5 โรงเรียนชุมชนบ้านกุดปลาดุก ผู้ศึกษาได้ดำเนินการตามลำดับ ผลการศึกษาพบว่า

1. แบบฝึกทักษะทางวิทยาศาสตร์ หน่วยที่ 1 เรื่อง การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 E1/E2 = 83.60 /81.67

2. ดัชนีประสิทธิผลของดัชนีประสิทธิผลของแบบฝึกทักษะทางวิทยาศาสตร์ หน่วยที่ 1 เรื่อง การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 มีค่าเท่ากับ 0.7517 แสดงว่าผู้เรียนมีความรู้หรือมีพัฒนาการในการเรียนรู้เพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ 74.15

3. ประสิทธิภาพความคงทนทางการเรียนของแบบฝึกทักษะทางวิทยาศาสตร์ หน่วยที่ 1 เรื่อง การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เปรียบเทียบกับ

การทำแบบทดสอบหลังเรียน ซึ่งได้ค่าเฉลี่ยที่ 81.56 และคะแนนจากการทำแบบทดสอบ

หลังการเรียน 15 วัน ประสิทธิภาพความคงทนของแบบฝึกทักษะทางวิทยาศาสตร์ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 80.56

4. ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่มีต่อการเรียนด้วยแบบฝึกทักษะทางวิทยาศาสตร์ หน่วยที่ 1 เรื่อง การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา

ปีที่ 5 มีค่าเฉลี่ยที่ 4.24 S.D. 1.45 อยู่ในระดับเหมาะสมมาก

โดยสรุป แบบฝึกทักษะทางวิทยาศาสตร์ หน่วยที่ 1 เรื่อง การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่ผู้ศึกษาค้นคว้าพัฒนาขึ้น มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล สามารถนำไปใช้ในการเรียนการสอนได้ และสามารถนำไปใช้สอนเพื่อให้ผู้เรียนบรรลุผลตามจุดมุ่งหมายของรายวิชาได้

ชื่อเรื่อง รายงานการพัฒนาแบบฝึกทักษะทางวิทยาศาสตร์ หน่วยที่ 1

เรื่อง การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

โรงเรียนชุมชนบ้านกุดปลาดุก

กลุ่มสาระ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

หน่วยงาน โรงเรียนชุมชนบ้านกุดปลาดุก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามหาสารคาม เขต 3

ปีที่พิมพ์ 2552

ผู้ศึกษา นางสงวน ดีอันกอง

ที่ปรึกษา นายสำราญ บุตรคำโชติ

บทคัดย่อ

การศึกษาค้นคว้าครั้งนี้มีความมุ่งหมายดังนี้ 1) เพื่อแบบฝึกทักษะทางวิทยาศาสตร์

หน่วยที่ 1 เรื่อง การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เพื่อศึกษาดัชนีประสิทธิผลของแบบฝึกทักษะทางวิทยาศาสตร์ หน่วยที่ 1 เรื่อง การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 3) เพื่อหาประสิทธิภาพความคงทนทางการเรียนของแบบฝึกทักษะทางวิทยาศาสตร์ หน่วยที่ 1 เรื่อง

การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 4) เพื่อศึกษาความพึงพอใจ

ของนักเรียนที่มีต่อการเรียนด้วยแบบฝึกทักษะทางวิทยาศาสตร์ หน่วยที่ 1 เรื่อง การดำรงพันธุ์

ของสิ่งมีชีวิต สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/1 โรงเรียนชุมชนบ้านกุดปลาดุก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามหาสารคาม เขต 3 จำนวน 27 คน กลุ่มตัวอย่างได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ 1) แบบฝึกทักษะทางวิทยาศาสตร์ สำหรับนักเรียน

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่มีประสิทธิภาพ 4.29 อยู่ในระดับเหมาะสมมาก 2) แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบการพัฒนาทักษะทางวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หน่วยที่ 1 เรื่อง การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต จำนวน 29 แผน 38 ชั่วโมง มีประสิทธิภาพ 92.00 3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ก่อน – หลังเรียน จำนวน 20 ข้อ ที่มีค่าความเชื่อมั่นที่ 0.70 และ แบบวัดความพึงพอใจ

ของนักเรียนที่มีต่อการเรียนรู้ด้วยแบบฝึกทักษะทางวิทยาศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา

ปีที่ 5

ผลการศึกษาค้นคว้าปรากฏว่า

การศึกษาครั้งนี้ เป็นการศึกษาเชิงทดลอง (Experimental Design) เพื่อแบบฝึกทักษ

ะทางวิทยาศาสตร์ หน่วยที่ 1 เรื่อง การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา

ปีที่ 5 โรงเรียนชุมชนบ้านกุดปลาดุก ผู้ศึกษาได้ดำเนินการตามลำดับ ผลการศึกษาพบว่า

1. แบบฝึกทักษะทางวิทยาศาสตร์ หน่วยที่ 1 เรื่อง การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 E1/E2 = 83.63 /81.67

2. ดัชนีประสิทธิผลของแบบฝึกทักษะทางวิทยาศาสตร์ หน่วยที่ 1 เรื่อง การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 มีค่าเท่ากับ 0.7415 แสดงว่าผู้เรียนมีความรู้หรือมีพัฒนาการในการเรียนรู้เพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ 74.15

3. ประสิทธิภาพความคงทนทางการเรียนของแบบฝึกทักษะทางวิทยาศาสตร์ หน่วยที่ 1 เรื่อง การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เปรียบเทียบกับ

การทำแบบทดสอบหลังเรียน ซึ่งได้ค่าเฉลี่ยที่ 81.56 และคะแนนจากการทำแบบทดสอบ

หลังการเรียน 15 วัน ประสิทธิภาพความคงทนของแบบฝึกทักษะทางวิทยาศาสตร์ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 80.56

4. ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่มีต่อการเรียนด้วยแบบฝึกทักษะทางวิทยาศาสตร์ หน่วยที่ 1 เรื่อง การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา

ปีที่ 5 มีค่าเฉลี่ยที่ 4.24 S.D. 1.45 อยู่ในระดับเหมาะสมมาก

โดยสรุป แบบฝึกทักษะทางวิทยาศาสตร์ หน่วยที่ 1 เรื่อง การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่ผู้ศึกษาค้นคว้าพัฒนาขึ้น มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล สามารถนำไปใช้ในการเรียนการสอนได้ และสามารถนำไปใช้สอนเพื่อให้ผู้เรียนบรรลุผลตามจุดมุ่งหมายของรายวิชาได้

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท