สาเหตุ และผลสะท้อนต่อผู้หญิงที่ไม่ได้รับการศึกษา


2. ทัศนะของผู้หญิงต่อการศึกษา

การค้นคว้าถึงสภาพโดยรวมของภูมีประเทศเห็นว่าบางเขตที่อยู่ไกลความเจริญต่อกับการดำรงชีวิตเพราะการไปเรียนรู้จักการดำรงชีวิต เพราะการไปเรียนได้เรียนรู้จากการดำรงชีวิตจากพ่อแม่ที่ได้สอนวิชา ทัศนะในการดำรงชีวิตที่เขาได้เรียนรู้อยู่เขตชนเผ่า ห่างไกล เพราะการศึกษาไม่ได้เป็นปัจจัย อันสร้างความสนใจให้แก่เขาเพราะในแนวความคิด และสภาพแวดล้อมของพวกเขา การศึกษาไม่สามารถนำใช้เข้าในการดำรงชีวิตประจำวันของเขา โดยเฉพาะต่อกับผู้หญิง หรือเด็กหญิง เพราะการไปมาในตอนที่ค่ำมืดมันไม่มีความปลอดภัยต่อเขาเอง เพราะฉะนั้น อยู่ในเขตห่างไกลพบความยุ้งยากในการเรียน ในเบื้องต้นเขาเริ่มเรียนโดยเฉพาะห้องชั้นปอ 1 ห้อง ปอ 2 ย้อนว่าใช้เวลานานไปพวกเขาไม่ได้ภาษาลาวลุ่มที่เป็นภาษากาง อยู่ในครอบครัว และชุมชนเขา เหตุผลทั้งหมดนี้เป็นสาเหตุที่ทำให้พวกเขาทิ้งการเรียน และบางเขตในแต่ละจังหวัดยังมีการสอนแบบประถมประฐานนำใช้คนในหมู่บ้านของตนที่จบประถม หรือมัธยมตอนต้นให้สอนเด็กผู้เยาพอให้รู้ถึงภาษาลาว แต่ครูส่วนใหญ่เป็นผู้หญิงเพราะส่วนมากจะไปหากิน และทำงานหาเงินให้กับครอบครัว แต่เงินเดือนของครูเป็นเงินเดือนที่ได้จากการผลักดันภายในบ้าน จะไม่ใช่เงินเดือนของรัฐบาล

ตัวอย่าง สำหรับอำเภอเมือง สังทองเขตที่มีการศึกษา เห็นว่าให้ความสำคัญเกือบเท่าๆกัน แต่ก็ยังมีบางครอบครัวที่ ให้ทัศนะว่า ควรให้ความสำคัญแก่ลูกชายเพราะลูกชายจะเป็นผู้นำพาทางด้านเศรษฐกิจภายในครอบครัวเช่น ช่วยงานธุรกิจครอบครัว มีสิทธิ สืบทอดตรากุน หรือ สืบมูลมอระดก และเหตุผลอื่นๆ

 

2.1. ด้านตั้งหน้าของผู้หญิงต่อกับการศึกษา

การศึกษามีความจำเป็นอย่างยิ่งในชีวิตของมนุษย์ก็คือในอานาคดข้างหน้า ในปัจจุบันนี้พวกเราพวกเราก็สามารถเห็นได้ว่า สังคมมนุษย์ในปัจจุบันได้มองเห็นความหมาย และความสำคัญของการศึกษามากกว่าแต่ก่อน ซึ่งมันได้แสดงให้เห็นอย่างชัดแจ้ง โดยการเพิ่มขึ้นของจำนวนโรงเรียนต่างๆ ซึ่งรวมไปถึงการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องของจำนวนนักเรียนและนักศึกษา

ผู้หญิงในโลกนี้ก็คือ ผู้หญิงที่อยู่ในประเทศลาว ที่มีความรู้สูงเห็นว่าเขาได้มีบทบาทในสังคมสูงขึ้นกว่าเก่า ผู้หญิงได้มีหน้าที่ตำแหน่งงานที่ดี และเป็นพนักงานการนำอยู่ขั้นต่างๆมากขึ้นเป็นก้าวๆ ไม่ว่าจะอยู่ในองค์การจัดตั้งของรัฐ หรือเอกชน ย้อนว่าผู้หญิงที่ให้ความสำคัญต่อการศึกษาก็ได้สุมใส่การเล่าเรียนมากขึ้นไม่ว่าจะเป็นการศึกษานอกโมงเรียนหรือหลังจากการเลิกเรียนปกติแล้ว เด็กก็ต้องการที่จะเรียนเพิ่มเพราะมันก็เป็นโอกาสที่ดีอันช่วยให้เด็กได้เรียนเพิ่มเติมหรือสำหรับผู้ที่ออกโรงเรียนไปประกอบอาชีพใดหนึ่งแล้ว

ตามการสำพาดผู้หญิงจำนวน 5 คน (นักศึกษา ภาควิชารัฐศาสตร์ลาวปี 2007) เห็นว่ามีสตรีจำนวนมากได้ให้ความสำคัญแก่การศึกษา ย้อนว่านอกจากการศึกษาจะสามารถสนองความรู้ให้แก่นักศึกษาแล้ว สิ่งที่สำคัญไปกว่านั้นการศึกษายังสามารถให้พวกเรามีงานทำที่ดีในอานาคด เพราะการทำงานทางนอกแล้ว ยังทำให้ส่งเสริมความสามารถในการตัดสินใจของผู้หญิง และพร้อมกันนั้น เป็นการเพิ่มทวีความเชื่อมั่นของตนซึ่งหมายถึงความสามารถในการพัฒนาชีวิตการเป็นอยู่ของตนเองให้ดีขึ้นรวมทั้งการพัฒนาประเทศชาติไปพร้อมๆกัน และพร้อมนั้นลาวเป็นประเทศกำลังพัฒนา และเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจก็คือสังคมและมันอาจหลีกไม่ได้ที่เพศหญิงจะมีส่วนร่วมในการงานนั้นๆ

โดยรวมแล้วประชากรที่มีอายุอยู่ในระหว่าง 10 หา 19 ปีเป็นระยะเป็นวัยรุ่น เขากำลังมีการขยายตัวไม่ว่าทางร่างกายก็คือทางจิตใจ เป็นระยะที่เขา อยู่ในวัยการศึกษาเล่าเรียนเพื่อประกอบความรู้ ความสามารถให้แก่ตนเอง ฉะนั้นแน่นอนแนวความคิดของผู้หญิงส่วนมาก ก็ต้องการให้ตนเองได้รับการศึกษาขั้นสูงเพื่อจะได้มีงานทำที่ดีในอานาคดข้างหน้า

 

2.2. ด้านท้อถอยของผู้หญิงต่อกับการศึกษา

ปัจจัยที่ให้เด็กหญิงออกจากโรงเรียน เพราะพวกเขามีความรู้สึกว่าการเรียนไม่ได้ช่วยให้เขาหางานทำได้ในตอนที่เรียนจบ หรือ ได้ทำงานก็ได้เงินเดือนน้อย และผู้หญิงบางกลุ่มก็คิดว่า ถ้าเขาแต่งงานแล้วความรู้ที่ได้เรียนมานั้นก็ไม่ได้ถูกนำใช้ เพราะเมื่อก้าวเข้าสู่ชีวิตครอบครัวเวลาที่ไปงานนอกของเขาจะสั้นลง หมายความว่าผู้หญิงจะต้องรับภาระเป็นแม่เรือน และเลี้ยงลูก มีแต่ผู้เป็นผัวเท่านั้นหาเลี้ยงครอบครัว อีกอย่างหนึ่ง ย้อนตัวผู้เกี่ยวเองมีแนวคิดท้อถอยเองไม่เอาใส่ใจต่อการเรียน และบางครอบครัวก็รู้สึกว่าลูกสาวไม่จำเป็นเรียนสูง ความต้องการแรงงานช่วยครอบครัว การขาดแรงงานเพื่อหารายรับให้แก่ครอบครัว อันหนึ่งย้อนโรงเรียนอยู่ไกลจากบ้าน ทำบทบาทของผู้หญิงตามประเพณี ขาดความรับรู้ถึงความสำคัญของการศึกษาที่ต่อผู้หญิง การไปเข้าโรงเรียนที่อยู่ห่างไกล พ่อแม่ไม่ต้องการให้ลูกสาวไปเข้าโรงเรียนประถมกับเพศชาย หรือ ที่ไม่มีครูสอนความไม่พึ่งพอใจที่ลูกหญิงเกิดมา และการที่พ่อ แม่ยินดีจ่ายค่าเรียนสำหรับลูกชายในเมื่อครอบครัวมีเงินจำกัด ผู้หญิงได้ถูกแสดงให้เป็นคนที่ต้องอยู่บ้านอยู่เรือน ไม่กล้าพอ ขี้อาย อ่อนแอ และมีความกดดันทางด้านแนวความคิด ในขณะนะที่เด็กชายถูกมองว่าเป็นคนผจญภัย ห้าวหัน ยากรู้ ยากเห็น กล้าหาร เข้มแข็ง และ สลาด

คำสำคัญ (Tags): #การศึกษา
หมายเลขบันทึก: 253273เขียนเมื่อ 4 เมษายน 2009 09:43 น. ()แก้ไขเมื่อ 13 มิถุนายน 2012 21:46 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท