ปราชญ์แห่งล้านนา


15032552

สุดสัปดาห์ในวันอาทิตย์ที่ 15 มีนาคม 2552 ที่ผ่านมาได้มีโอกาสไปศึกาข้อเท็จจริง พร้อมกับอาจารย์จากหลายสถาบัน โดยมีอาจารย์แหว และ อาจารย์ต๊อก เป็นผู้เปิดโอกาสแก่กระผม ให้ได้ไปดูงานที่ อ.แม่วางจังหวัดเชียงใหม่ เพื่อดูวิถีการศึกษาของนักศึกษาระดับปริญาเอก ด้วยตัวผมเองขออาศัยการถอดความรู้ที่ได้ไปดูงานจากข้อเท็จจริงที่ได้ศึกษาครั้งนี้ ซึ่งผมคิดว่าเป็นของใหม่ในชีวิต และก็เป็นเรื่องดีที่ได้พบวิธีคิดใหม่ในรูปแบบการศึกษาดูงาน

ในช่วงเช้านั้น ผมขออภัยที่ไม่ได้จดรายละเอียดของชื่อหมู่บ้านไว้ เลยไม่ได้นำมาประกอบ คำว่า "โฉนดชุมชน" ไม่ได้เป็นสิ่งเก่าผมเอง ผมคิดว่าเป็นเรื่องเดิมที่น่าศึกษา ว่าโฉนดชุมชนนั้นต้องมีเอกสารสิทธิหรือไม่

ได้เห็นหลายหมูบ้านใช้วิธีการจัดการทรัพยากรตามแบบของตนหรือสิทธิของตนผ่าน วลีที่ว่า โฉนดชุมชนจะกลับมาเขียนใหม่นะครับ เพราะมันเพิ่งเริ่มต้นและผมเองอยู่ในช่วงพักผ่อนกับน้องทะเล

คำสำคัญ (Tags): #ถาม#ผู้รู้
หมายเลขบันทึก: 249338เขียนเมื่อ 18 มีนาคม 2009 17:05 น. ()แก้ไขเมื่อ 7 พฤษภาคม 2012 09:06 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)

          ที่เชียงใหม่ยังมีอีกหลายอำเภอที่ชาวบ้านและชาวเขามีการใช้ทรัพยากรที่พูดได้ว่าคนในเมืองอาจจะไม่เคยเห็น ถึงจะอยู่ห่างไกลความเจริญ แต่ตอนที่ดิฉันได้ออกไปพัฒนาชุมชนที่ หมู่บ้านกิ่วเสือ อำเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ ก็ได้เรียนรู้หลายๆ อย่างจากที่นั้น และก็คิดว่าบางทีการศึกษาที่สูงก็คงจะคิดไม่ได้อย่างที่ดิฉันเห็นมา ถ้าได้มาเชียงใหม่อีกมาดูงานที่ศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่บ้างนะค่ะ ที่นี้เราก็มีสิ่งที่น่าสนใจในเรื่องของเด็กๆ รอให้มาดูกันค่ะ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท