aor
นางสาวสุภาพร โคตรวิทย์

สมการพยากรณ์


สมการพยากรณ์บั้งไฟพญานาค

          การปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ  (Best Practice)

               สมการพยากรณ์บั้งไฟพญานาค

ผลงาน

     การพัฒนาทักษะเรื่องความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูล                                 

             โดยวิธีจัดการเรียนการสอนแบบแก้ปัญหา           

นางสาวสุภาพร    โคตรวิทย์          ตำแหน่ง ครู คศ.1    

ปัญหา

นักเรียนขาดทักษะกระบวนการแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเรื่องความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูล

กิจกรรม       1)  กำหนดขอบเขตของปัญหาเกี่ยวกับการเกิดบั้งไฟพญานาค

               2)  ตั้งสมมติฐานการแก้ปัญหา  นักเรียนตั้งสมมติฐานเกี่ยวกับการเกิด

                       บั้งไฟพญานาคในปี พ.. 2551

                     3)       ทดลองและรวบรวมข้อมูล  นักเรียนสืบค้นข้อมูลจำนวนบั้งไฟพญานาคที่เกิดขึ้น   

ในแต่ละปี  โดยการสัมภาษณ์  สืบค้นทางอินเตอร์เนท

              4)  เก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับบั้งไฟพญานาค ปัจจัยที่ทำให้เกิดมาก

         หรือน้อยในแต่ละปีนำข้อมูลที่ไดมาวิเคราะห์โดยใช้ความรู้เรื่องความสัมพันธ์เชิง ฟังก์ชันระหว่างข้อมูล

5) สรุปและอภิปรายผลการวิเคราะห์ข้อมูล   

สื่อ / นวัตกรรม

          ใบกิจกรรมสมการพยากรณ์บั้งไฟพญานาค

 แบบสัมภาษณ์  การสืบค้นทางอินเตอร์เน็ต    

(www.nongkhai.ac.th)

ผลสำเร็จ                 

นักเรียนมีทักษะกระบวนการแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ

เรื่องความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูลประยุกต์ใช้

ในชีวิตประจำวัน และส่งเสริมอนุรักษ์ประเพณีท้องถิ่น

มีความภาคภูมิใจในท้องถิ่นตนเองเพิ่มมากขึ้น

คำสำคัญ (Tags): #สมการพยากรณ์
หมายเลขบันทึก: 249271เขียนเมื่อ 18 มีนาคม 2009 11:52 น. ()แก้ไขเมื่อ 19 มิถุนายน 2012 21:18 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (2)

อยากด้ายข้อมูลเกี่ยวกับสมการ+พยากรณ์

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท