สาร


สมบัติของสาร

สมบัติของสาร

ารประกอบ     สารประกอบ  คือ  สารที่ประกอบด้วยธาตุตั้งแต่  2  ชนิด  ขึ้นไป  มาทำปฏิกิริยาเคมีกันด้วยสัดส่วนที่แน่นอน  กลายเป็นสารชนิดใหม่  มีสมบัติแตกต่างไปจากธาตุที่เป็นองค์ประกอบเดิม  ตัวอย่างของสารประกอบ  เช่น  เกลือแกง  น้ำ  คาร์บอนไดออกไซด์

ารละลาย

                สารละลาย  หมายถึง  สารเนื้อเดียวที่ประกอบด้วยธาตุหรือสารประกอบตั้งแต่  2  ชนิดไปมารวมกัน  โดยที่มีธาตุหรือสารประกอบตัวหนึ่งเดป็นตัวถูกละลาย  สานละลายอาจอยู่ในสถานะของแข็ง  ของเหลว  หรือแก๊สก็ได้

                เกณฑ์ที่จะกำหนดว่าสารใดเป็นตัวทำละลาย  และสารใดจะเป็นตัวถูกละลาย  ให้พิจารณาจากปริมาณ  และสถานะขององค์ประกอบ  ดังนี้

                1.  ถ้าตัวทำละลายและตัวถูกละลายอยู่ในสถานะเดียวกัน  เช่น  ของแข็งกับของแข็ง  จะกำหนดให้สารที่มีปริมาณมากกว่าเป็นตัวทำละลาย  และสารที่มีปริมาณน้อยกว่าเป็นตัวถูกละลาย

                2.  ถ้าตัวทำละลายและตัวถูกละลายอยู่ในสถานะต่างกัน  เช่น  ของแข็งกับของเหลว  เมื่อผสมกันแล้วมีสถานะเหมือนกับสารใด  ให้ถือว่าสารนั้นเป็นตัวทำละลายอีกสารหนึ่งเป็นตัวถูกละลาย  เช่น  เกลือ (  ของแข็ง )  กับน้ำ ( ของเหลว) เมื่อรวมกันแล้วเป็นของเหว  ดังนั้นนำจัดเป็นตัวทำละลาย  ส่วนเกลือเป็นตัวถูกละลาย

ออกซิเจน

            ทุก ๆวัน  เราอาจกล่าวถึงสารต่างๆ  ที่อยู่รอบตัวเรา  ตัวอย่างเช่น  นักเรียนพูดถึงเสื้อกันหนาวของครูว่า  " ดูสวยมากและทันสมัย"  สิ่งที่กล่าวนี้คือ  ความคิดเห็น ( opinion) ในกรณีเดียวกัน  ถ้านักเรียนอธิบายว่า  " เสื้อกันหนาวของครูเป็ยผ้าฝ้ายที่กันน้ำได้  และมีรูปมิกี้เมาส์อยู่ทางด้านหลังสูง  30  เซนติเมตร "  สิ่งที่กล่าวนี้คือ  ข้อเท็จจริง  (  facts ) (ถ้าสิ่งที่กล่าวมาเป็นความจริง )  ซึ่งในการอธิบายบถึงสารชนิดหนึ่งชนิดใดจะอธิบายได้ดีหรือไม่  ขึ้นอยู่กับว่าได้นำข้อเท็จจริงของสารชนิดนั้นมาอธิบายได้ครบถ้วนหรือไม่

              สารบางชนิดอาจอธิบายได้ยาก  เช่น  ถ้านักเรียนต้องการที่จะค้นคว้าเกี่ยวกับแก๊สที่เรามองไม่เห็น  เช่น  แก๊สออกซิเจน นักเรียนจะอธิบายได้เฉพาะสิ่งที่นักเรียนมองเห็นได้เท่านั้น  เช่น  ฟองแก๊สออกซิเจนที่เกิดขึ้นมีลักษณะกลมเล็ก

ไฮโดรเจน

            ไฮโดรเจนเป็นแก๊สอีกชนิดที่เรามองไม่เห็น  และเป็นแก๊สที่มนุษย์นำไปใช้ประโยชน์ได้หลายอย่าง  เช่น  ใช้เป็นเชื้อเพลิงขับดันจรวด  ใช้ทำเนยเทียม  ใช้บรรจุในบอลลูนตรวจอวกาศ  ใช้ทำปุ๋ยแอมโมเนีย

Copyright(c)2004 Missnonglak boodtatod. All  rights  reserved.

            สารแต่ละชนิดจะมีรูปร่างและสีต่างกัน  อย่างไรก็ตาม  สารทุกชนิดจะแบ่งเป็น  3  กลุ่ม  คือ  ของแข็ง  ของเหลว  และแก๊ส

คำสำคัญ (Tags): #สาร
หมายเลขบันทึก: 238259เขียนเมื่อ 28 มกราคม 2009 23:38 น. ()แก้ไขเมื่อ 22 มิถุนายน 2012 23:33 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท