ส้มโอ อ่างกะป่อง
นางสาว เรณู ส้มโอ อ่างกะป่อง หิริโอตัปปะ

หลักในการทำงาน


หลักในการทำงานร่วมกับผู้อื่น

หลักการในการทํางานร่วมกับผู้อื่น

1. หลักการใชเสียงส่วนใหญ (Majority) เป็นที่ทราบโดยทั่วไปว่ากระบวนการตัดสินใจที่สําคัญๆ ของสังคมไทย และสังคมโลกมักจะใชเสียงส่วนใหญเป็นเครื่องตัดสินในสังคม การทํางานก็เชนกัน หลักการเสียงสวนใหญตอบปญหาไดครอบคลุมแทบทุกพื้นที่ของการทํางานมียกเวนบางในบางสถานการณคนทํางานที่ชาญฉลาดจะหลีกเลี่ยงที่จะใชอยกเว


2.
หลักการปรึกษา (Consult) ผูที่มีความรูความชํานาญเฉพาะดานคนทํางานที่ประสบความสําเร็จ มักรวบรวมขอมูลจากผูรูผูเชี่ยวชาญเฉพาะดาน หรือจากผูที่ไดรับการยอมรับในสังคมนั้นๆ อนนําเสนอใหคนกลุมใหญตัดสินใจ


3.
หลักการมีสวนรวม (Participaion) หากจะใหงานสําเร็จ องไดรับความรวมมือ ถาอยากจะไดรับความรวมมือ องเปดโอกาสใหผูที่เกี่ยวของในองคกรเขามามีสวนรวม รวมคิด รวมวางแผน วมปฏิบัติ และรวมรับผิดชอบดวยกัน


4.
หลักการใหเกียรติผูอื่น ถือเปนเทคนิคขั้นสูง ที่ผูมีประสบการณจะไดรับผลสําเร็จของงานเปนการตอบแทน หากผูริเริ่มทํางาน รูจักใหเกียรติผูอื่นกอน ยอมใหผูอื่นไดรับเกียรติ มีคุณคาทางสังคมกอนตัวเอง เชน ยอมยกตําแหนงประธานการทํางานใหผูอื่น ขณะที่ตัวเองเปนผูลงมือทํางาน


5.
หลักความโปรงใส (Transparency) หมายความถึง ผูวมงานตองรวมกันรับรูผลประโยชนของงาน ผลลัพธของงานทั้งที่เกิดผลดีและผลเสีย ความโปรงใส จะกอใหเกิดศรัทธาจากผูวมงาน และผูวมรับรูทําใหเกิดพลังในการทํางาน


6.
หลักความเกี่ยวพันเชิงสรางสรรค (Constructive Engagement) หมายความถึง การรวมมือกันในทางสรางสรรคหากงานที่จะลงมือปฏิบัติ เปนงานเชิงสรางสรรคเราควรลงมือปฏิบัติรวมกัน แตหากภารกิจใดเปนไปในทางตรงกันขาม เชน รวมกันนินทา ใสาย หมิ่นประมาทคนอื่นเปนเรื่องไมสรางสรรคเราควรหลีกหนีเสีย เพื่อมงคลกับชีวิต และมงคลของงานที่ทําก็จะไมเสียไป

 

7. หลักความสามัคคี ไมเลือกปฏิบัติ (Discrimination) ในตางประเทศ บางประเทศการเลือกปฏิบัติเปนเรื่องผิดกฎหมาย เพราะกอใหเกิดผลเสียในทางสังคมสูง



คนตางชาติจะเลือกปฏิบัติในเรื่องสีผิว, เผาพันธุและศาสนา ในสังคมไทย ในชนชั้นสูง มีการเลือกปฏิบัติกันบาง โดยคิดแบงแยกกันโดยกลุมอาชีพ เชน กลุมนักธุรกิจ กลุมนักวิชาการ ที่แยมากๆ คือ แบงพวกโดยอาศัยทัศนคติทางการเมืองที่แตกตางกัน คนทํางานที่ชาญฉลาดจะตองไมเลือกปฏิบัติ ไมแบงพรรคแบงพวก จึงจะทํางานสรางสรรคสิ่งดีๆ ใหกับสังคมได

คำสำคัญ (Tags): #ข้อคิด
หมายเลขบันทึก: 229921เขียนเมื่อ 16 ธันวาคม 2008 13:20 น. ()แก้ไขเมื่อ 12 กุมภาพันธ์ 2012 04:02 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)

เป็นบทความที่เป็นประโยชน์มากเพราะสามารถนำไปใช้ในการทำงานและใช้ในชีวิตประจำวันได้ค่ะ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท