มาตรฐานที่ 1


มาตรฐานที่ 1

มาตรฐานที่ 1  มาตรฐานด้านคุณภาพบัณฑิต

ตัวบ่งชี้ที่ 1.1

ร้อยละของบัณฑิตระดับปริญญาตีที่ได้งานทำและประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี

               

                ค่าน้ำหนักตัวบ่งชี้ของกลุ่มสาขา: 6.67

                ค่าเป้าหมายของสถาบัน: ร้อยละ 78

                ผลการดำเนินงานในปีการศึกษา 2550 :  มีบัณฑิตสำเร็จการศึกษา  ทั้งหมด 92 คน   ได้งานทำและประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี    ดังนี้

 

ได้งานทำทั้งหมด

43

คน

นักศึกษาที่ตอบแบบสำรวจ(ไม่รวมลาศึกษาต่อ)

71

คน

 

 

 

 คิดเป็นร้อยละ

60.50

 

 

ผลการดำเนินงานในปีการศึกษา 2550 :

                ในปีการศึกษา 2550 กลุ่มสาขาวิชาศิลปกรรมฯ มีความตระหนักที่จะพัฒนาระบบการศึกษาที่ส่งผลถึงคุณภาพของบัณฑิตที่ผลิตออกไป และสามารถผลิตบัณฑิตเพื่อรองรับสาขาวิชาที่ต้องการบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถมากขึ้น โดยคำนึงถึงการพัฒนาคุณภาพบัณฑิตให้เป็นที่ต้องการของตลาดแรงงาน และสามารถประกอบอาชีพอิสระได้ 

                ทั้งนี้ กลุ่มสาขาวิชาศิลปกรรมฯ  มีจำนวนผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี จำนวน 92  คน  ตอบแบบสำรวจ จำนวน 78 คน ในจำนวนนี้จำแนกเป็นบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ ศึกษาต่อ 7 คน  และมีงานทำเดิม 9 คน เมื่อพิจารณาเฉพาะจำนวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ได้งานทำภายใน 1 ปี (ไม่นับรวมผู้ที่ศึกษาต่อและผู้ที่มีงานทำอยู่เดิม) มีจำนวน 43 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 60.50  รายละเอียดดังต่อไปนี้ (1.1-1.1)

 

ข้อมูลการดำเนินงาน :

 

                      43 ÷ 71 × 100 = 60.50

                    

 

 

 

 เกณฑ์การให้คะแนนอิงเกณฑ์มาตรฐานขั้นต่ำของตัวบ่งชี้ (ร้อยละ)

 

1 คะแนน

2 คะแนน

3 คะแนน

1-59

60  - 79

 80

      

        ผลการประเมินเทียบเกณฑ์มาตรฐานตัวบ่งชี้                            2            คะแนน

        ผลการประเมินการบรรลุผลตามเป้าหมายของสถาบัน             0            คะแนน

        รวมระดับคะแนนผลการประเมินตัวบ่งชี้                                 2             คะแนน

        

ข้อมูลประกอบการรายงาน:

1.       จำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาทั้งหมด ในปีการศึกษานั้น

2.       จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำแล้ว ภายใน 1 ปี  นับจากวันที่สำเร็จการศึกษา

3.       จำนวนบัณฑิตที่มีกิจการของตนเองที่มีรายได้ประจำ ภายใน 1 ปี นับจากวันที่สำเร็จการศึกษา

4.       จำนวนบัณฑิตที่ศึกษาต่อในระดับบัณฑิตศึกษา ภายใน 1 ปี นับจากวันที่สำเร็จการศึกษา

 

ผลการประเมินตนเอง :

                - ผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้ที่ 1.1 กลุ่มสาขาวิชาศิลปกรรมฯ มีบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ได้งานทำและประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี คิดเป็นร้อยละ 60.50 ถือว่าผ่านเกณฑ์การประเมินได้ระดับคะแนน  2  คะแนน

                - ผลการดำเนินงานสามารถบรรลุเป้าหมายตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนดไว้ ร้อยละ 78 ถือว่าผลการดำเนินงานไม่สามารถบรรลุเป้าหมายได้ 0 คะแนน

                สรุป   ผลการประเมินตัวบ่งชี้ที่ 1.1 ในปีการศึกษา 2550  กลุ่มสาขาวิชาศิลปกรรมฯ มีผลการประเมินได้ระดับคะแนน 2 คะแนน

 

จุดแข็ง/แนวทางเสริม :

               บัณฑิตที่จบจากคณะศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมศาสตร์เป็นผู้ที่มีความสามารถในทางทักษะสูง  ปฏิบัติงานโดยใช้ความคิดสร้างสรรค์  สามารถทำงานทั้งในระบบราชการ  และประกอบอาชีพอิสระ   จึงควรเสริมระบบการสร้างเครือข่ายของโรงงาน  และศิษย์เก่า ให้เป็นแหล่งประสานงานในด้านของงาน

 

 

 

จุดที่ควรพัฒนา :

                คณะฯ เพิ่งเข้ามาบริหารงานไม่นานและมีการปรับเปลี่ยนโครงสร้างองค์กรใหม่ขาดการประสานงานระหว่างการบริหารงานเดิม กับระบบใหม่ควรอย่างยิ่งที่ต้องมีการพัฒนาระบบบริหารงานดังกล่าว

 

รายการเอกสาร:

 

หมายเลขเอกสาร

รายละเอียด

1.1-1.1

ตารางแสดงจำนวนร้อยละของบัณฑิต มทร.ล้านนา ปีการศึกษา 2549 ที่ได้งานทำและประกอบอาชีพอิสระ

 

 

 


 




ตัวบ่งชี้ที่ 1.2

ร้อยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ได้งานทำตรงสาขาที่สำเร็จการศึกษา

                ค่าน้ำหนักตัวบ่งชี้ของกลุ่มสาขา: 6.67

                ค่าเป้าหมายของสถาบัน: ร้อยละ 50

                ผลการดำเนินงานในปีการศึกษา 2550: มีบัณฑิตสำเร็จการศึกษา  ทั้งหมด 92 คน   ได้งานทำตรงสาขา  35 คน   ดังนี้                

ได้งานทำทั้งหมด

43

คน

ได้ทำงานตรงสาขา จำนวน

35

คน

คิดเป็นร้อยละ

81.39

 

      

ผลการดำเนินงานในปีการศึกษา 2550:

               ในปีการศึกษา 2550  กลุ่มสาขาวิชาศิลปกรรมฯ มีจำนวนผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีจำนวน  92  คน มีจำนวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ได้งานทำและประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี (ไม่นับรวมผู้ที่ศึกษาต่อและผู้ที่มีงานทำอยู่เดิม) จำนวน 43 คน และมีจำนวนบัณฑิตที่ได้ทำงานตรงสาขาที่สำเร็จการศึกษา จำนวน  35 คน หรือคิดเป็นร้อยละ   81.39   รายละเอียดดังต่อไปนี้ (1.2-1.1)

 

ข้อมูลการดำเนินงาน :

              35 ÷ 43 × 100 = 81.39

             

 

         เกณฑ์การให้คะแนนอิงเกณฑ์มาตรฐานขั้นต่ำของตัวบ่งชี้ (ร้อยละ)

1 คะแนน

2 คะแนน

3 คะแนน

1 - 59

60  - 79

 80

 

         ผลการประเมินเทียบเกณฑ์มาตรฐานตัวบ่งชี้                             3                   คะแนน

         ผลการประเมินการบรรลุผลตามเป้าหมายของสถาบัน                  1                    คะแนน

         รวมระดับคะแนนผลการประเมินตัวบ่งชี้                                 4                   คะแนน

       

 ข้อมูลประกอบการรายงาน:  

1.       จำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาทั้งหมด ในปีการศึกษานั้น

2.       จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำแล้วภายใน 1 ปี  นับจากวันที่สำเร็จการศึกษา

3.       จำนวนบัณฑิตที่ได้ทำงานตรงสาขา ภายใน 1 ปี นับจากวันสำเร็จการศึกษา

ผลการประเมินตนเอง :

                - ผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้ที่ 1.2 กลุ่มสาขาวิชาศิลปกรรมฯ มีบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ได้ทำงานตรงสาขาที่สำเร็จการศึกษา คิดเป็นร้อยละ 81.39  ซึ่งผ่านเกณฑ์การประเมินได้ระดับคะแนน  3 คะแนน

                - ผลการดำเนินงานไม่สามารถบรรลุเป้าหมายตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนดไว้ ร้อยละ 50  ถือว่าผลการดำเนินงานบรรลุเป้าหมายได้ 1 คะแนน

                สรุปผลการประ

คำสำคัญ (Tags): #มาตรฐานที่ 1
หมายเลขบันทึก: 227294เขียนเมื่อ 4 ธันวาคม 2008 13:58 น. ()แก้ไขเมื่อ 27 พฤษภาคม 2012 11:33 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)

ดีครับ..

ในปี 51 ข่าวครึกโครมว่า บัณทิตจะตกงานมาก .. ไม่รู้ว่าจะมีผลกระทบต่อการประเมินในข้อนี้ มากน้อย เพียงใด

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท