ถอดบันทึกเรื่องราวจากกระดาษ...ลำปาง 2


ลำปาง
 

1.       แนวคิด

2.       สภาชุมชน

3.       การบริหารจัดการ กำลังอยู่ในการเคลื่อนตัวยังไม่รู้ชัดว่าจะเป็นแบบไหน

ทำอย่างไรจะให้คนได้รับรู้ว่า

1.       ต้องการขายแนวคิดที่เป็นกระบวนทัศน์ ทุนนิยม

2.       รูปแบบ

สภาชุมชน ให้แกนนำได้มีโอกาสคุยและแลกเปลี่ยนกันเรื่องเศรษฐกิจโดยใช้ทุนที่มีอยู่ในการบริหารจัดการ

แนวคิด

                -  เมื่อเราอยู่ในระบบทุนนิยม เราไม่สามารถที่จะต้านได้ สะท้อนข้อมูลความรู้เรื่องการบริหารให้ชัดเจนทำงานด้วยใจ และทำงานด้วยเงิน

                หน่วยงานสนับสนุนมองว่า ต่างคนต่างทำ (มองชุมชน)

                -  จุดเด่นของลำปางในระดับกลุ่ม

                *  มีความเข้มแข็ง คนทำงานด้วยใจ เช่น บ้านเหล่า เถิน ป่าตัน แม่ทะ แม่พริก และบ้านดอนไชย

                “ใจมา แต่คิดเรื่องการบริหารจัดการส่วนนี้ที่ต้องเสริมเข้าไป

โครงสร้างของทีมจังหวัดลำปางมี 2 รูปแบบด้วยกันคือ

1.       แบบเวทีเรียนรู้สหประชาชาติ  คือ ทำกับกลุ่มประเทศที่มีความรู้ไม่เท่ากัน

2.       แบบสหรัฐ คือ บางรัฐ/กลุ่มอยากอิสระมากขึ้น แต่ส่วนกลางไม่ยอมรับ

แบ่งกลุ่มเป็น 2 กลุ่ม 1) กลุ่มนักวิจัย และ 2) กลุ่มคุณกิจ+คุณอำนวย

กลุ่มคุณกิจ

การสื่อสาร

-          คน

-          กลุ่ม

-          สื่อสารมวลชน

ช่องทางการสื่อสาร

1.  เทคโนโยลีที่เหมาะสม                 -    เสียงตามสาย

-          วิทยุชุมชน

-          VCD

-          CD

 

-          PPT

 

2.  พูด เขียน อธิบาย                   -    สร้างแรงบันดาลใจ

-          ให้ความรู้ ความเข้าใจ

-          ชักชวน ชวนคุย

-          อธิบายซ้ำ

-          เล่าสู่กันฟัง

3.  พูดและแจกเอกสาร                 -  บันทึกประสบการณ์

4.  เอกสาร แผ่นพับ

5.  จัดเวทีประชาคม

6.       ประชุม                          -    ประจำเดือน ผู้ใหญ่บ้าน กำนัน

-          อำเภอ

-          องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เช่น เทศบาล อบต.

7.       สัมมนา

8.       ขยายผลผ่านองค์กรในชุมชนต่าง ๆ (กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มอาชีพ)

9.       แทรกซึม

10.    คาราโอเกะ

11.    เอกสารสำหรับชาวบ้าน รูปภาพ

12.    E-mail  และ Website

13.    ทำให้ดู (ผลตอบแทน ครอบครัวดีขึ้น ให้เห็นผลดีผลที่ได้หลังทำ อ้างอิงจากสิ่งที่เกิดขึ้นจริง)

14.    ภาพการ์ตูน

ถ่ายทอดอารมณ์ ความรู้สึก เช่น อึดอัดประทับใจ สู้

ให้ความคิด”       แต่ไม่คิดแทน

การถ่ายทอดความรู้ (ช่องทางสื่อสาร)

-          เล่าเรื่อง พูด

-          เขียน

-          ประชาสัมพันธ์บ่อย ๆ (คนไม่ชอบอ่าน)

-          ทำบ่อย ๆ จนเกิดเป็นจิตวิญญาณ

-          ประชุมบ่อย (วิเคราะห์)

-          ขยายผล โดยเขียนเป็นชุดความรู้เพื่อเผยแพร่ไปยังกลุ่มอื่น

-          เขียนให้ดูก่อน

-          คุยเพื่อให้ติดตาม พูดซ้ำ ๆ

-          พบข้าราชการหรือผู้ที่มีบทบาm/อำนาจ

-          ทำให้เห็นพัฒนาการจริงเป็นระยะ

-          เขียนโปสเตอร์ วาดการ์ตูน รูปภาพบรรยายใต้ภาพสั้น ๆ

-          ดูช่องทางการรับสาร (ผู้รับ + ผู้ให้)

-          ทำให้ดู พูดให้เห็นภาพ

-          วิทยุชุมชน

-          ฟังอย่างเดียว เชื่อน้อย

-          เสียงตามสาย หอกระจายข่าว

-          มีเอกสารสนับสนุน

-          ใช้ทั้งการพูดเพื่อสร้างความคุ้นเคย และเอกสาร (ใช้แผ่นพับและใบปลิว)

-          ทำงานไปอธิบายประกอบพร้อมเอกสาร

-          พูดคุยแลกเปลี่ยนชักชวนเพื่อน ญาติ พูดคุยตัวต่อตัว

-          คาราโอเกะ

-          ทำให้เห็นสิ่งดี ๆ (เป็นตัวอย่าง)

ช่องทางการสื่อสาร

จะมีผู้ส่งและผู้รับ

ประสาทสัมผัสของเรา (อายตน = 6) ประกอบด้วย ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ (ชอบอ่าน ชอบเขียน ชอบทำสื่อ)

1.       บุคคลต่อบุคคล (ชวนคุย เจาะแจ๊ะ)

2.       กลุ่ม (ประชุม ดูงาน เวที)

3.       มวลชน (วิทยุ ทีวี เว็บไซด์ เอกสาร แผ่นพับ นิทรรศการ บอร์ด)

คุณกิจประกอบด้วย

1.       วิธีคิด

2.       ทักษะปฏิบัติ

3.       ใจ อารมณ์

คุณกิจอาจจะต้องมีตัวช่วยในการรวบรวม และถอดความรู้

ข้อค้นพบเพื่อการขยายผล

-          ปฏิบัติ

-          นโยบาย

-          ความรู้

ช่องทางสื่อสาร

-          รวบรวมสิ่งที่เรารู้ (จากการเข้าร่วมโครงการ)

-          ถ่ายทอดให้เพื่อนรู้ กลุ่มนักคิด (คุณวิจัย/คุณอำนวย) กลุ่มนักทำ (คุณกิจ)

คำสำคัญ (Tags): #สรุปการประชุม
หมายเลขบันทึก: 21375เขียนเมื่อ 28 มีนาคม 2006 15:37 น. ()แก้ไขเมื่อ 11 กุมภาพันธ์ 2012 14:38 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท