คนรักคณิตศาสตร์
ศศิธร คนรักคณิตศาสตร์ สีดา(ฝรั่ง)

ทฤษฎีความน่าจะเป็น


ผมพร้อม

ผมสมปอง  บุตรดี  ภูมิใจนำเสนอ

ทฤษฎีความน่าจะเป็น

ทฤษฎีความน่าจะเป็น คือการศึกษาความน่าจะเป็นแบบคณิตศาสตร์

นักคณิตศาสตร์จะมองความน่าจะเป็นว่าเป็นตัวเลขระหว่างศูนย์กับหนึ่ง ที่กำหนดให้กับ "เหตุการณ์" (ความน่าจะเป็นที่เท่ากับ 0 ก็คือไม่มีโอกาสที่เหตุการณ์นั้นจะเกิดขึ้น แต่ถ้าความน่าจะเป็นเท่ากับ 1 แสดงว่าเหตุการณ์เหล่านั้นเกิดขึ้นได้อย่างแน่นอน) ที่เกิดขึ้นแบบสุ่ม ความน่าจะเป็น P(E) ถูกกำหนดให้กับเหตุการณ์ E ตามสัจพจน์ของความน่าจะเป็น

ความน่าจะเป็นที่เหตุการณ์ E จะเกิดขึ้น เมื่อ กำหนด ให้อีกเหตุการณ์ F เกิดขึ้น เรียกว่าความน่าจะเป็นมีเงื่อนไข ของ E เมื่อให้ F โดยค่าความน่าจะเป็นคือ P(E \cap F)/P(F) (เมื่อ P(F) ไม่เป็นศูนย์) ถ้าความน่าจะเป็นมีเงื่อนไขของ E เมื่อให้ F มีค่าเช่นเดียวกับความน่าจะเป็น (แบบไม่มีเงื่อนไข) ของ E เราจะกล่าวว่าเหตุการณ์ E และ F เป็นเหตุการณ์ที่เป็นอิสระต่อกันเชิงสถิติ เราจะสังเกตได้ว่าความสัมพันธ์นี้เป็นความสัมพันธ์สมมาตร ทั้งนี้เนื่องจากการเป็นอิสระต่อกันนี้เขียนแทนได้เป็น P(E \cap F) = P(E)P(F).

แนวคิดหลักของทฤษฎีความน่าจะเป็นคือตัวแปรสุ่มและการแจกแจงความน่าจะเป็น โปรดดูบทความหลักสำหรับข้อมูลเพิ่มเติม

ทฤษฎีความน่าจะเป็นมีหลายแนวคิด แนวคิดหนึ่งที่ได้รับความนิยมมากในสาขาปัญญาประดิษฐ์ และเศรษฐศาสตร์คือ ทฤษฎีความน่าจะเป็นแบบเบย์

คำสำคัญ (Tags): #ความน่าจะเป็น
หมายเลขบันทึก: 210285เขียนเมื่อ 20 กันยายน 2008 15:27 น. ()แก้ไขเมื่อ 9 มิถุนายน 2012 13:07 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (3)

ทฤษฎีความน่าจะเป็น คือการศึกษาความน่าจะเป็นแบบคณิตศาสตร์

นักคณิตศาสตร์จะมองความน่าจะเป็นว่าเป็นตัวเลขระหว่างศูนย์กับหนึ่ง ที่กำหนดให้กับ "เหตุการณ์" (ความน่าจะเป็นที่เท่ากับ 0 ก็คือไม่มีโอกาสที่เหตุการณ์นั้นจะเกิดขึ้น แต่ถ้าความน่าจะเป็นเท่ากับ 1 แสดงว่าเหตุการณ์เหล่านั้นเกิดขึ้นได้อย่างแน่นอน) ที่เกิดขึ้นแบบสุ่ม ความน่าจะเป็น P(E) ถูกกำหนดให้กับเหตุการณ์ E ตามสัจพจน์ของความน่าจะเป็น

ความน่าจะเป็นที่เหตุการณ์ E จะเกิดขึ้น เมื่อ กำหนด ให้อีกเหตุการณ์ F เกิดขึ้น เรียกว่าความน่าจะเป็นมีเงื่อนไข ของ E เมื่อให้ F โดยค่าความน่าจะเป็นคือ (เมื่อ P(F) ไม่เป็นศูนย์) ถ้าความน่าจะเป็นมีเงื่อนไขของ E เมื่อให้ F มีค่าเช่นเดียวกับความน่าจะเป็น (แบบไม่มีเงื่อนไข) ของ E เราจะกล่าวว่าเหตุการณ์ E และ F เป็นเหตุการณ์ที่เป็นอิสระต่อกันเชิงสถิติ เราจะสังเกตได้ว่าความสัมพันธ์นี้เป็นความสัมพันธ์สมมาตร ทั้งนี้เนื่องจากการเป็นอิสระต่อกันนี้เขียนแทนได้เป็น .

แนวคิดหลักของทฤษฎีความน่าจะเป็นคือตัวแปรสุ่มและการแจกแจงความน่าจะเป็น โปรดดูบทความหลักสำหรับข้อมูลเพิ่มเติม

ทฤษฎีความน่าจะเป็นมีหลายแนวคิด แนวคิดหนึ่งที่ได้รับความนิยมมากในสาขาปัญญาประดิษฐ์ และเศรษฐศาสตร์คือ ทฤษฎีความน่าจะเป็นแบบเบย์

กฏ กติกา การแสดงความคิดเห็น

เว็บไซต์ GotoKnow.org ขอความกรุณาทุกท่านปฏิบัติตามกฏ กติกา ดังต่อไปนี้ เพื่อส่งเสริมให้เกิดการใช้งานที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของเว็บไซต์ และเพื่อการส่งเสริมชุมชนออนไลน์ที่มีคุณภาพ

กรุณางดการใช้ข้อความ ภาพ เสียง วิดีโอ และสื่อมัลติมีเดียใดๆ ที่ไม่สุภาพ คำหยาบ ส่อเสียด กล่าวร้าย ดูหมิ่น พาดพิงทำให้ผู้อื่นเสียหาย และทำให้เกิดความแตกแยกทางสังคม และกระทบต่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์

ควรแสดงความคิดเห็นอย่างให้ความเคารพต่อสิทธิของผู้อื่นและตนเอง เนื่องจากความคิดเห็นดังกล่าวจะเผยแพร่ต่อสาธารณะชน

กรุณางดการคัดลอกความคิดเห็น หรือข้อความจากแหล่งข้อมูลใดๆ มาใช้โดยไม่ได้รับอนุญาต และงดการเผยแพร่ข้อมูลเพื่อโฆษณาสินค้าและบริการใดๆ ที่มีผลประโยชน์ทางการค้า

ควรแจ้งแหล่งอ้างอิงข้อมูลอย่างชัดเจน เมื่อมีการอ้างอิงข้อมูลจากแหล่งอื่นๆ ในการแสดงความคิดเห็น เพื่อเป็นการแสดงเจตนาถึงการไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ของผู้อื่น

ความคิดเห็นที่แสดงในบันทึก ไม่เกี่ยวข้องกับเว็บไซต์ โดยถือเป็นความรับผิดชอบทางกฏหมายของผู้แสดงความคิดเห็น

เว็บไซต์ GotoKnow ขอสงวนสิทธิ์ในการลบความคิดเห็นที่ขัดต่อกฏ กติกาข้างต้น และขัดต่อเงื่อนไขการใช้บริการของเว็บไซต์โดยไม่ต้องชี้แจงเหตุผลใดๆ ต่อเจ้าของบล็อกและเจ้าของความคิดเห็นดังกล่าว

ขอยาวๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท