เคียงดาว


ความลับของคณิตศาสตร์

     


 
ารหา ห.ร.ม.
1
. แยกตัวประกอบของแต่ละจำนวน
2. ตรวจดูเฉพาะตัวที่เหมือนกันทุกบรรทัด แล้วชักมาตัวเดียว แล้วคูณกัน
ตัวอย่าง หา ห.ร.ม. ของ 24, 36, 43
24 = 2 x 2 x 2 x 2 x 3
36 = 2 x 2 x 3 x 3
43 = 2 x 2 x 2 x 2 x 3
ดังนั้น ห.ร.ม. คือ 2 x 2 x 3 = 12
การหา ค.ร.น.
1. แยกตัวประกอบของแต่ละจำนวน
2. พิจารณาตัวที่เหมือนกันเอามาตัวเดียว ตัวที่ต่างกันหมดเอามาทุกตัวแล้วนำมาคูณกัน
ตัวอย่าง หา ค.ร.น. ของ
6, 12, 24
6 = 3 x 2
12 = 3 x 2 x 2
24 = 3 x 2 x 2 x 2
เอาตัวกรอบซึ่งมีเลข 3, 2, 2 ส่วนนอกนั้นเอามาทุกตัวคือ 2 แล้วนำมาคูณกัน จะได้
3 x 2 x 2 x 2 = 24 ความสัมพันธ์ระหว่าง ห.ร.ม. และ ค.ร.น. 1. ถ้า a, b เป็นจำนวนเต็มบวก และ c
เป็น ห.ร.ม. ของ a, b จะได้ว่า ค.ร.น. ของ a และ b เท่ากับ ab หรือท่องว่า ห.ร.ม. x ค.ร.น. = เลข 2
จำนวนนั้นคูณกัน
ตัวอย่างจำนวนนับสองจำนวนมีผลคูณเท่ากับ 80 และมี ห.ร.ม.เท่ากับ 2 จงหา ค.ร.น.ของจำนวนทั้งสอง วิธีทำ ห.ร.ม. x ค.ร.น. =เลข 2 จำนวนคูณกัน 2 x ค.ร.น. = 80

จาก  ครูบ้านนอก.คอม

 
 
คำสำคัญ (Tags): #วงกลมมหัศจรรย์
หมายเลขบันทึก: 208871เขียนเมื่อ 15 กันยายน 2008 16:59 น. ()แก้ไขเมื่อ 12 กุมภาพันธ์ 2012 02:07 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (2)

Oh! แตกฉานคณิตศาสตร์ครานี้แหละหนา

อยากรู้ส่วนประกอบของวงกลมมากกว่านี้และสูตรต่าๆของวงกลมจ๊ะ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท