ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ Strategic Leadership


ทำรายงานเรื่องนี้ค่ะ

ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์

Strategic Leadership

แนวคิดทั่วไปด้านกลยุทธ์

                คำว่า กลยุทธ์หรือ              เป็นคำศัพท์ในภาษากรีกสองคำรวมกัน คือ           ซึ่งหมายถึงกองทัพและ           ซึ่งหมายถึงการนำหรือผู้นำเมื่อรวมกันกลยุทธ์จึงเป็นเรื่องของการวงยุทธศาตร์บัญชาการรบเพื่อนำกองทัพเข้าทำลายล้างศัตรู โดยใช้บรรดาสรรพกำลังตลอดจนอุบายเล่ห์เหลี่ยมอันชาญฉลาดให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุดนั้นเอง

                การเปลี่ยนแปลงแนวคิดในการประกอบธุรกิจจากาลักษณะที่เจ้าของกิจกรรมเป็นผู้ดำเนินการเอง ไปสู่รูปแบบธุรกิจสมัยใหม่ที่มีขนาดใหญ่ ที่ใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีสมัยใหม่ภายใต้การบริหาร โดยผู้จัดการมืออาชีพ                           ในช่างทศวรรษ 1980 เป็นต้นมา ก็มีส่วนผลักดันให้มีการนำแนวคิดเกี่ยวกับการบริหารเชิงกลยุทธ์                               และการวางแผนเชิงกลยุทธ์                              มาประยุกต์ใช้ในวงการธุรกิจและอุตสาหกรรมอย่างแพร่หลายมากขึ้น ทั้งนี้เพื่อเพิ่มขีดความสามารถและเพื่อเป็นเครื่องมือในการตอบโต้กับสภาพการแข่งขัน และการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ การเมืองและสังคม โดยเฉพาะผลกระทบต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตเกี่ยวกับตลาดลูกค้าคู่แข่งและผู้สนับสนุนปัจจัยการผลิตจากผลการสำรวจผู้บริหารของ บริษัทธุรกิจชั้นนำใน                                  พบว่าล้วนมีทัศนะที่สอดคล้องกันว่า การวางแผนเชิงกลยุทธ์ เป็นปัจจัยสำคัญที่ช่วยที่ให้การประกอบธุรกิจของตนประสบความสำเร็จเป็นอย่างสูงา ไม่ว่าในแง่ของการปรับเปลี่ยนทิศทางองค์การ ให้มีความเหมาะสมากับสภาวะการณ์และการเพิ่มผลผลิตขององค์การ

               

ผู้นำกับการบริหารเชิงกลยุทธ์

            ด้วยกระแสโลกาภิวัตน์ที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว นับตั้งแต่ช่างทศวรรษ 1980 เป็นต้นมาขน ถึงปัจจุบัน ได้ส่งผลกระทบอย่างยิ่งต่อองค์การ ผู้นำระดับสูงจำเป็นต้องปรับเปลี่ยนทิศทางวิธีการคิดและการบริการแบบใหม่ที่สอดคล้องทันต่อการเปลี่ยนแปลง ได้มีความพยายามในการวางแผนกลยุทธ์อย่างสมบูรณ์ที่ครอบคลุมกิจการทั้งหมดขององค์การ ทำให้มีการนำเอาเรื่องของกระบวนการบริหารงานโดยเฉพาะการนำกลยุทธ์ไปปฏิบัติ เช่น การจัดโครงการสร้าง องค์การวัฒนธรรมองค์การ   เทคโนโลยีสารสนเทศ ทรัพยากรบุคคล ตลอดจนการควบคุมและประมาณผลกลยุทธ์เข้ามาบูรณาการร่วมกัน เป็นรูปแบบการบริการเชิงกลยุทธ์                          โดยผู้นำระดับสูงขององค์การซึ่งเป็นระดับกลยุทธ์เป็ฯบุคคลที่ต้องมีหน้าที่รับผิดชอบโดยตรงต่อการบริหารเชิงกลยุทธ์ขององค์การในทุกขั้นตอน กล่าวโดยสรุปการบริหารเชิงกลยุทธ์ดังกล่าวประกอบขึ้นด้วย ขั้นตอนสำคัญ  3  ส่วนดังนี้

                1. ขั้นการวางกลยุทธ์              ได้แก่

                                -  การพิจารณาวิสัยทัศน์                                    และภารกิจ                 ขององค์การ

                                -  การกำหนดวัตถุประสงค์ขององค์การ

                                -  การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอกและขีดสมรรถนะภายใน

                                -  การสวิเคราะห์และเลือกกลยุทธ์

                2.  ขั้นการนำกลยุทธ์ไปปฏิบัติ           ได้แก่

                                -   การกำหนดเป้าหมายการดำเนินงาน

                                -   การวงแผนปฏิบัติการ

                                -  การสนับสนุนกลยุทธ์ด้วยโครงสร้างวัฒนธรรม บุคลากร เทคโนโลยีสารสนเทศ

                                   และกระบวนการทำงาน

                3.  ขั้นการควบคุมและการประเมินผลเชิงกลยุทธ์              ได้แก่

                                -  การตรวจสอบผลการดำเนินงาน

                                -  การติดตามสถานการณ์และเงื่อนไขต่าง ๆ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ขั้นการควบคุมเชิงกลยุทธ์

ผลย้อน

กลับ

ผลย้อน

กลับ

กลยุทธ์หลัก

การควบคุมและประเมินผล

เชิงกลยุทธ์

มาตรการ

สนับสนุนกลยุทธ์

กลยุทธ์เฉพาะ

แผนปฏิบัติการ

เป้าหมาย

วัตถุประสงค์ระยะยาว

การตัดสินใจ

เชิงกลยุทธ์

สภาพภายนอกองค์การ

สภาพภายในองค์การ

ภารกิจหลัก

ขั้นการวางแผนเชิงกลยุทธ์

จุดอ่อน

จุดแข็ง

โอกาส

ภัยอุปสรรค

ขั้นการนำกลยุทธ์ไปปฏิบัติ

 

 

 

รูปแบบของการบริหารเชิงกลยุทธ์

 

ระดับกลยุทธ์ขององค์การ

                การจัดวางกลยุทธ์ในองค์การออกเป็นระดับมากน้อยขึ้นอยู่กับลักษณะความสลับซับซ้อนของงานในแต่ละองค์การ สำหรับหน่วยงานที่มีขนาดค่อนข้างเล็กและดำเนินงานด้านหนึ่งด้านใดเพียงอย่างเดียว รูปแบบองค์ประกอบของกลยุทธ์ก็จะประกอบด้วยกลยุทธ์ใน 2 ระดับ

1.       กลยุทธ์ในระดับส่วนรวม

                                เป็นกลยุทธ์ที่ครอบคลุมภาพกว้างโดยรวมทั้งองค์การ ที่เกี่ยวข้องกับทิศทาง และเจตจำนงขององค์การในอนาคต เพื่อให้แน่ใจว่าสิ่งที่จะดำเนินการต่อปานั้น เป็นสิ่งที่ถูกต้องเหมาะสมที่สุด

2.       กลยุทธ์ในราดับส่วนรวม

                                เป็นกลยุทธ์เฉพาะที่เกี่ยวกับการปฏิบัติงานในแต่ละหน้าที่งาน เช่น  การตลาด การเงิน งานบุคลากร การผลิต การวิจัยและพัฒนา เป็นต้น เพื่อให้แต่ใจว่างานที่จะต้องทำในแต่ละส่วน นั้นเป็นไปอย่างถูกต้อง

กลยุทธ์โดยส่วนรวม

กลยุทธ์ด้าน

การตลาด

กลยุทธ์ด้าน

การเงิน

กลยุทธ์ด้าน

บุคลากร

กลยุทธ์ด้าน

การผลิต

รูปแบบองค์ประกอบของกลยุทธ์สำหรับองค์การที่ดำเนินงานเพียงด้านเดียว

                อย่างไรก็ตามในหลาย ๆ หน่วยงานที่มีขนาดค่อนข้างใหญ่และมีการดำเนินงานที่ค่อนข้างจะหลากหลาย จำเป็นที่จะต้องมีการแยกแยะกลยุทธ์ย่อยสำหนับแต่ละกลุ่มงานหรือหน่วยธุรกิจเชิงกลยุทธ์            ออกจากกันอย่างชัดเจน พร้อมทั้งทำการกำหนดกลยุทธ์ของแต่ละกลุ่มให้สอดคล้องกับกลยุทธ์รวมขององค์การ

 

 

 

กลยุทธ์โดยส่วนรวม

 

กลยุทธ์ย่อยสำหรับ

กลุ่มงาน 1

กลยุทธ์ย่อยสำหรับ

กลุ่มงาน 2

 

กลยุทธ์ย่อยสำหรับ

กลุ่มงาน 2

 

กลยุทธ์ด้าน

การตลาด

 

กลยุทธ์ด้าน

การเงิน

 

กลยุทธ์ด้าน

บุคลากร

 

กลยุทธ์ด้าน

การผลิต

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 


รูปแบบองค์ประกอบของกลยุทธ์สำหรับองค์กรที่ดำเนินงานหลากหลาย

ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ขององคาการ

                จากองค์ประกอบของกลยุทธ์ด้งกล่าวแล้ว ผู้บริหารในแต่ละระดับต่างจำเป็นต้องเข้ามามีบทบาทเกี่ยวข้องกับการวางกลยุทธ์ขององค์การทั้งสิ้น

                1. ภาวะผู้นำในระดับสูง                  ได้แก่ ผู้บริหารระดับสูงขององค์การ ซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบ โดยตรงในการวางแผนกลยุทธ์ เพื่อกำหนดทิศทางและจุดมุ่งหมายรวมขององค์การ ตลอดจนปรัชญาและหลักการพื้นฐานที่เกี่ยวกับการดำเนินงานต่าง ๆ ขององค์การโดยรวมทั้งทำการตัดสินใจในการเลือกกลยุทธ์และจัดสรรทรัพยากรระหว่างกลุ่มต่าง ๆ ให้มีความเหมาะสม ผู้บริหารระดับสูงดังกล่าวมีขอบเขตความรับผิดชอบครอบคลุมทั้งองค์การรวมทั้งเน้นการดำเนินงานภายนอกองค์การ จึงเป็นลักษณะภาวะผู้นำแบบมหภาค         คือ มีบทบาทที่ส่งผลกระทบในวงกว้างตลอดทั้งองค์การ จึงเรียกภาวะผู้นำในระดับสูงนี้ว่า ผู้นำเชิงกลยุทธ์

เพราะเป็นผู้ที่มีความสามารถในการคาดหมายเหตุการณ์ในอนาคตได้ดี เป็นผู้สร้างองค์การให้มีความสามารถในการยืดหยุ่นและปรับตัวอยู่เสมอ และมีมุมมองระยะยาวที่เป็นเป้าหมายในการนำทางให้แก่องค์การได้อย่างชัดเจน

                ผู้นำเชิงกลยุทธ์ดังกล่าว ได้แก่ ผู้บริหารสูงสุดที่รับผิดชอบต่อองค์การ โดยตรงเป็นบุคคลที่อาจเรียกชื่อแตกต่างกันตามตำแหน่งขององค์การนั้น ๆ เช่น รัฐมนตรี ประธานบริษัท อธิการบดี ผู้อำนวยการ หัวหน้าสูงสุดฝ่ายบริหาร                    หรือ        หัวหน้าสูงสุดฝ่ายปฏิบัติการ         นอกจากนี้ ผู้นำเชิงกลยุทธ์ยังอาจอยู่ในรูปองค์คณะบุคคลระดับสูงสุดขององค์การ เช่น คณะทีมบริหารสูงสุด          &

หมายเลขบันทึก: 206245เขียนเมื่อ 6 กันยายน 2008 04:20 น. ()แก้ไขเมื่อ 23 มิถุนายน 2012 22:49 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)

มาดูภาวะผู้นำเหมือนกันค่ะ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท