สิทธิในการมีชื่อและสัญชาติ สิทธิในการได้รับการจดทะเบียนการเกิด และมาตรา 7 ทวิ


Shadow Report to Thailand’s Initial Periodic Report to the Human Rights Committee โดย Asian Human Rights Centre ( Delhi ประเทศ India เมื่อ 13 กรกฎาคม 2005

ในการสรุปย่อนี้ ผู้เขียนจะสรุปความที่ยกมา ซึ่งปรากฏเป็นตัวเอียง ในวงเล็บก้ามปู ([...]) และหากมีข้อข้อคิดเห็นที่เป็นของผู้เขียน จะปรากฏนอกวงเล็บก้ามปู

ประเด็นสำคัญที่เกี่ยวกับคนชายขอบในรายงานนี้ อยู่ในส่วน ต่างๆ ของรายงาน ดังนั้ี

"Nothing to Answer: The Right to Citizenship"

The government of Thailand had expressed reservations to Article 7 of the Convention on the Rights of the Child relating to birth registration and the right from birth to a name, the right to acquire a nationality and as far as possible, the right to know and be cared for by his or her parents and Article 22 relating to refugee children. The government in its reservation stated that ‘The application of articles 7, 22 .... of the Convention on the Rights of the Child shall be subject to the national laws, regulations and prevailing practices in Thailand.’

[กล่าวถึงข้อสงวนด้านการจดทะเบียนการเกิดที่ในอนุสัญญาสิทธิเด็ก (CRC) ข้อ 7 หรือ "สิทธิในการมีชื่อและสัญชาติ (a nationality)]

Thailand's reservation is contrary to Article 2 of the CRC which states that ‘States Parties shall respect and ensure the rights set forth in the present Convention to each child within their jurisdiction without discrimination of any kind, irrespective of the child's or his or her parent's or legal guardian's race, colour, sex, language, religion, political or other opinion, national, ethnic or social origin, property, disability, birth or other status’. It is also ‘incompatible with the object and purpose’ of the CRC as provided under the Vienna Convention on the Law of Treaties. [กล่าวว่าการตั้งข้อสงวนดังกล่าวขัดต่อข้อ 2 ของอนุสัญญาสิทธิเด็ก คือ รัฐจะต้องไม่เลือกปฏิบัติต่อเด็กภายในเขตอำนาจรัฐของตนเอง ไม่ว่าเด็กหรือบิดามารดา หรือผู้ปกครองจะอยู่ในสถานะใด]

โปรดสังเกตว่า ในส่วนนี้ รายงานทางเลือก หรือรายงานเงา ไม่ได้ "ฟันธง" ว่า แม้ประเทศไทยจะตั้งข้อสงวนใน CRC เรื่องการจดทะเบียนการเกิด แต่ประเทศไทยมิได้ตั้งข้อสงวนใน CCPR ข้อ 24 ในเรื่องเดียวกันแต่อย่างใด (โปรดพิจารณา อนุสัญญาฯ ข้อ 24 เพิ่มเติม)

The hill tribes of Thailand have been adversely affected by Thailand's Nationality Act of 1965 as amended in 1992. Section 7 provides that

[ผลกระทบของ พรบ. สัญชาติฯ ฉบับแก้ไข2535 มาตรา 7] ซึ่งปัจจุบันสถานการณ์ได้เปลี่ยนไปแล้ว เพราะเรามีการแก้ไขกฎหมายดังกล่าว รายละเอียดสถานการณ์การแก้ไข และการติดตามการบังคับใช้ "กฎหมายสัญชาติ" ใหม่ นั้น สามารถติดตามได้ตามแหล่งข้อมูลของผู้ทำงานด้านสัญชาติต่อไป ผู้เขียนจะไม่กล่าวรายละเอียดในที่นี้

A person born within the Thai Kingdom of alien parents does not acquire Thai nationality if at the time of his birth, his lawful father or his father who did not marry his mother, or his mother was:

(1) the person having been given leniency for temporary residence in Kingdom as a special case;

(2) the person having been permitted to stay temporarily in the Kingdom; and

(3) the person having entered and resided in the Thai Kingdom without permission under the law on immigration.


[กล่าวถึงมาตรา 7 ทวิ ว่าด้วยบุคคลที่ไม่ได้สัญชาติไทยโดยการเกิด]

Under this Act, hundreds of thousands of indigenous peoples were declared ‘aliens’ and continue to be denied their rights. The first population census was conducted in 1956 according to the National Household Registration Act. However, the hill tribes were not covered due to the lack of access to their villages, lack of officers and prejudices. An official survey of the hill-tribes was conducted in 1969-70 covering 16 provinces of Northern Thailand and an estimated 111,591 people were officially recorded. However, the enforcement of the Citizenship Act had already made most hill-tribes aliens. The fact that most hill-tribes could not speak in Thai made it difficult to prove their origin even if they have been living for hundreds of years.

[กล่างถึงผลของ 7 ทวิ ต่อกลุ่มชาติพันธุ์ เช่น ไม่ได้รับการลงทะเบียนในระบบทะเบียนราษฎร การที่ "คนบนพื้นที่สูง" ตกหล่นจากทะเบียนราษฎร และกลายเป็น "คนต่างด้าว"]

เมื่อนับจากวันที่นำเสนอรายงาน ประเทศไทยมีความคืบหน้า และการเยียวยาบุคคลไร้รัฐ ไร้สัญชาติอย่างไรบ้าง เป็นสิ่งที่คณะกรรมการฯ และคณะอนุกรรมการต้องนำเสนอ นอกจากควาก้าวหน้าแล้ว ผู้เขียนเห็นว่า คงจะเป็นการดีที่เราจะยอมรับว่ามี "ความยากลำบาก" หรือ"อุปสรรค" ใดๆ บ้าง ในรายงานของประเทศไทย คงดีกว่ารอให้ NGOs ที่ทำรายงานทางเลือก หรือรายงานเงา เป็นผู้บอกเล่าตามลำพัง เพราะรายงานทางเลือก ไม่ใช่รายงานที่ทำเพื่อ discredit รายงานของรัฐ แต่เป็นรายงานที่นำเสนออีกมุมมองหนึ่งเพื่อวิพากษ์สิ่งที่รัฐอาจมองไม่เห็น หรือละเลยไป เพื่อให้ผู้ได้รับผลกระทบได้รับการเยียวยามากขึ้น จะไม่ดีกว่าหรือที่รายงานของรัฐ สามารถเล่าเรื่องความสำเร็จ และข้อท้าทาย รวมทั้งวิพากษ์การทำงานของตัวเอง แทนที่จะรอให้ "เขา" ถามอย่างเดียว

รายงานส่วนนี้ยังไม่จบ แต่มีปัญหาเรื่องการฟอร์แมท html จากงานที่เขียนใน wordpad มาแปะที่เว็บที่ โปรดติดตามตอนต่อไป ...

หมายเลขบันทึก: 188847เขียนเมื่อ 18 มิถุนายน 2008 23:17 น. ()แก้ไขเมื่อ 30 มีนาคม 2012 14:39 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท