การจัดการอาการสับสนฉับพลัน : ความสําคัญและการประเมินผล


ผู้สูงอายุ

วันนี้ขอนำผลงานจากการเสนอผลงานของคณะพยาบาลศาสตร์ขอนแก่น มาเผยแพร่ครับ

การจัดการอาการสับสนฉับพลัน : ความสําคัญและการประเมินผล

โดยคุณนัดดา คํานิยม

ภาวะสับสนฉับพลัน (Acute Confusional State หรือ Delirium) เปนภาวะที่เกิดขึ้น จาก

ความบกพรองของหนาที่ของสมอง ซึ่งเปนความผิดปกติเกี่ยวกับระดับความรูสึกตัว การรับรู

ผิดปกติเกี่ยวกับวันเวลาและบุคคล ความผิดปกติของการหลับ-ตื่น การเคลื่อนไหว และความ

ผิดปกติทางอารมณ ซึ่งเกิดขึ้นทันทีทันใดในชวงระยะเวลาสั้นๆ เปนชั่วโมงหรือเปนวันมี

แนวโนมเปลี่ยนแปลงไปตามชวงเวลา และมักจะมีอาการรุนแรงมากขึ้นในชวงเวลากลางคืนซึ่ง

เรียกวา Sundown Syndrome สวนใหญพบในกลุมผูสูงอายุ เมื่อแรกรับเขาโรงพยาบาล โดยเฉพาะ

อยางยิ่งวันที่ 2-3 ผลกระทบที่เกิดขึ้นเปนสาเหตุของการเสียชีวิตของผูสูงอายุที่อยูในโรงพยาบาล

และหลังจากที่ออกจากโรงพยาบาล

ประเด็นปญหาในการประเมินภาวะสับสนฉับพลันในผูสูงอายุ คือการขาดความเขาใจ การ

ละเลยการประเมิน มีขอจํากัดในการประเมิน และการไมมีแนวทางการประเมินที่ชัดเจน ซึ่งเปน

อุปสรรคสําคัญในการวินิจฉัยภาวะสับสนฉับพลันในผูสูงอายุ และนําไปสูการวินิจฉัยที่ลาชาจนทํา

ใหกลายเปนภาวะสบสนเรื้อรังหรือเกิดภาวะสมองเสื่อม ซึ่งจะนําไปสูการดูแลรักษาที่เพิ่มมากขึ้น

ตองใชระยะเวลาในการอยูรักษาในโรงพยาบาลนานขึ้น เสียคาใชจายในการดูแลเพิ่มขึ้น และทํา

ใหมีอัตราการเสียชีวิตเพิ่มมากขึ้น สําหรับแนวทางการจัดการอาการสับสนฉับพลัน ทําไดดังนี้

1) การประเมินภาวะสับสนฉับพลัน โดยการเลือกใชเกณฑการประเมินเพื่อใชเปน

เครื่องมือในการวินิจฉัยภาวะสับสนฉับพลัน (เกณฑการวินิจฉัย, แบบประเมินภาวะสบสน

เฉียบพลัน) และการประเมินปจจัยที่ทําใหเกิดภาวะสับสนฉับพลัน

2) การกําหนดวิธีการ/แนวปฏิบัติในการจัดการอาการ หลังจากที่ผูสูงอายุเขารับการ

รักษา โดยเริ่มจากการประเมินพฤติกรรมผิดปกติ กรณีไมมีพฤติกรรมผิดปกติ ใหทําการเฝาระวัง/

ทําการปองกันไมใหเกิดความผิดปกติ สําหรับกรณีที่มีความผิดปกติ ขั้นแรกจะตองทําการ

ประเมินภาวะ Cognitive impair การประเมินภาวะสับสนฉับพลันและการวินิจฉัยแยกโรค เพื่อที่จะ

จําแนกวาเปนภาวะสมองเสื่อม หรือภาวะสับสนฉับพลัน หรือโรคทางจิตเวช และถาหากพบวา

ผูปวยมีภาวะสับสนฉับพลัน จะตองประเมินหาสาเหตุหรือปจจัยเพื่อที่จะจัดการเบื้องตน โดยใน

กรณีที่ทราบสาเหตุก็ใหการรักษาแกไขตามสาเหตุของอาการโดยไมใชยา หรือถาหากไมทราบ

สาเหตุก็จัดการแกไขโดยใชยา

ผลที่เกิดจากการใชวิธีการจัดการอาการ ทําใหอุบัติการณการเกิดภาวะสับสนลดลง ผูปวย/

ผูดูแลมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น มีความสามารถในการดูแลตนเอง และอัตราการเจ็บปวยและอัตราการ

เสียชีวิตลดลง ลดคาใชจาย ลดการใชทรัพยากรในการใหบริการทางดานสุขภาพ และมีมาตรฐาน

และคุณภาพในการใหบริการ ในสวนของบุคลากรที่ใหการดูแลเกิดการพัฒนาความรูและทักษะใน

การจัดการอาการ

คำสำคัญ (Tags): #uncategorized
หมายเลขบันทึก: 18571เขียนเมื่อ 13 มีนาคม 2006 06:47 น. ()แก้ไขเมื่อ 23 มิถุนายน 2012 03:14 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)

ชอบรูปเจ้าของบล็อคอันนี้จังค่ะ ... ท่านทั้งสองดูมีความสุขนะคะ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท