บันทึกธรรม


การปลูกฝังนิสัยที่ยึดมรรคมีองค์8เป็นแม่บท

ได้มีโอกาสไปปฏิบัติธรรมที่สวนพนวัฒน์ อำเภอฮอด จังหวัดเชียงใหม่  มีธรรมะที่น่าสนใจสำหรับการปลูกฝังนิสัยโดยใช้ มรรคมีองค์ 8 เป็นแม่บท ซึ่งท่านภาวนาวิริยคุณ              (พระเผด็จ ทตตชีโว) ได้กรุณาแสดงพระธรรมเทศนาแก่คณะครูและผู้บริหาร  คิดว่าหากได้นำไปปรับใช้ในโรงเรียนจะเกิดประโยชน์แก่นักเรียนอย่างมาก        ลองศึกษาดูนะคะ

พระธรรมเทศนา  หลักการฝึกนิสัย   พระภาวนาวิริยคุณแก่ผู้บริหารการศึกษาและคณะครู  อาจารย์     สวนพนาวัฒน์  จ.เชียงใหม่....................................................1.  การศึกษาในมุมมองของศาสนา                ศึกษามาจาก สิกขา  (ส   +  อิกข) หมายถึง                 การมองตน   คือ มองทั้งกาย(อวัยวะทุกส่วนของร่างกาย)  และใจ (ความคิด ความชอบ)                การเห็นตน  คือ  เห็นว่าใจเป็นนาย  กายเป็นบ่าว  และนิสัยเป็นนายของใจ          การพิจารณาตน  คือ  พิจารณาว่านิสัยเกิดอย่างไร นิสัยเกิดจากการกระทำซ้ำ ๆ จนเป็นนิสัย                การพัฒนาตน  คือ เมื่อได้มอง ได้เห็น ได้พิจารณา แล้วรู้ว่าจะพัฒนา ปรับปรุงอย่างไร ให้ดี                             ดี       ถือเป็น program ดี  / บุญ  / สวรรค์                นิสัย                              ไม่ดี  ถือเป็น program ชั่ว / บาป / นรก                             กาย    อาหารของใจ คือ  ข้าว  น้ำ                  คน                                                 ใจ    อาหารของใจ  คือ บุญ                  บุญ  คือ พลังงานรูปหนึ่ง (pure anergy) เป็นพลังงานบริสุทธิ์  ไม่สามารถเห็นได้ด้วยตาเปล่า  รู้ได้จากอาการ เช่น อิ่มใจ  สุขใจ   อานุภาพของบุญทำให้เกิดความสำเร็จ เพราะมีกำลังใจเข้มแข็ง                  นิสัย  สำคัญกว่าความรู้ทางด้านวิชาการ เช่น  เด็กที่มีนิสัยดี มีคุณธรรม มีวินัย  ถึงจะเรียนไม่เก่งแต่จะเป็นคนดีของสังคมได้ เพราะไม่เกเร และอาจเป็นคนเก่งในวันข้างหน้า เพราะมีความรับผิดชอบ  ส่วนเด็กนิสัยไม่ดี ไม่ได้รับการปลูกฝังด้านคุณธรรมจริยธรรม แม้จะเรียนเก่ง แต่ก็อาจสร้างปัญหาให้สังคมได้ เมื่อเติบโตขึ้น อาจขี้โกง ทำงานไม่สำเร็จเพราะไม่รับผิดชอบ  ไม่รู้จักบาปบุญคุณโทษ      2.  พระพุทธองค์ ให้ Systems สำเร็จรูป เพื่อแก้ไขนิสัยให้ดีขึ้น โดยยึดมรรคมีองค์ 8 เป็นแม่บท และต้องปฏิบัติให้ครบทั้ง 8  แต่ละอย่างต้องได้สัดส่วนเป็นเนื้อเดียวกัน ถือเป็น Program บุญของมนุษย์  ได้แก่               

เคารพ

                                 สัมมาทิฎฐิ(เข้าใจถูก)                                          สัมมาสังกัปปะ(คิดถูก)                         ถือเป็นแสงเงินแสงทองของชีวิต                  ไม่คิดพยาบาทจองเวร 
สัมมาสมาธี(ตั้งใจถูก)                                                                                                         สัมมาวาจา(พูดถูก)                                                                                  ปํญญา                                      ไม่พูดปด/หยาบ/ติเตียนผู้อื่น 
สัมมาสติ(ระลึกได้)                             สมาธิ                        ศีล                       สัมมากัมมันตะ(ทำถูก)                                 สัมมาวายามะ(พยายามถูก)                                                                สัมมาอาชีวะ(อาชีพถูก)

วินัย

                                                           ครูถือเป็นอาชีพสร้างคน
อดทน
 ได้สั่งสมบุญบารมี                                                                                     3.  การฝึกนิสัยของคน มี  5 ห้องที่คนต้องเข้าออกวนเวียนอยู่ตลอดชีวิต ได้แก่                1) ห้องมหามงคล  :  ห้องนอน  (โรงเรียน คือ หน้าสาธง ห้องประชุม ห้องอบรม)                              2) ห้องมหาพิจารณา : ห้องน้ำ   (โรงเรียน คือ ห้องน้ำ  ห้องส้วม)                3) ห้องมหาประมาณ : ห้องครัว (โรงเรียน คือ โรงอาหาร  ห้องทานอาหาร ร้านสวัสดิการ)                4) ห้องมหาสติ : ห้องแต่งตัว (ห้องหลอกตัวเอง) (โรงเรียนคือบริเวณประตูทางเข้า)                5) ห้องมหาสมบัติ : ห้องทำงาน (โรงเรียนคือห้องเรียน ห้องพักครู ห้องผู้บริหาร )                ต้องนำทั้ง 5 ห้องนี้ มาปลูกฝังนิสัยให้นักเรียน  ดังนี้                   


 

1. เข้าใจวัตถุประสงค์แท้จริงของพื้นที่ใช้งานแต่ละแห่งว่าใช้ฝึกนิสัยอะไร  2. ปฏิบัติตามกรอบความประพฤติที่โรงเรียนกำหนด- ต้องมองให้ออกว่าทุกตารางพื้นที่ของโรงเรียนมีประโยชน์ในการอบรม                           - ตีกรอบกำหนดว่าอะไรทำได้ อะไรทำไม่ได้ Do /Don t ในแต่ละ     บ่มนิสัยนักเรียน                                                                                  ห้อง- เข้าใจว่าเรื่องในเป็นเรื่องหลัก เรื่องใดเป็นเรื่องรอง                                                                 - กำหนดกรอบให้เหมาะสมกับนักเรียนแต่ละระดับชั้น  ตามวัย- กำหนดว่างานนั้น ๆ คืออะไร  และต้องอธิบายให้ชัดเจนว่าเพราะอะไร                                                 ของนักเรียน      จึงต้องทำงานนั้น ๆ                                                                                     - ลงมือปฏิบัติงานในแต่ละห้องให้ดี และปฏิบัติต่อเนื่องจนเป็นนิสัย- ต้องใช้ความระมัดระวัง ความประณีตในการทำงาน อย่ามองข้ามเรื่องละเอียดของจิตใจ 

หลักการฝึกนิสัย

       
ปฏิบัติตามกรอบความประพฤติด้วยเจตนาบริสุทธิ์-        เจตนาเพราะอยากให้ เด็กดี  มิใช่ทำเพราะอยากได้ผลงาน  เด็กดีและผลงานจะทำตามมาเอง-        เจตนาอยากสร้างคนดีให้กับบ้านเมือง


 

พระธรรมเทศนา การปลูกฝังนิสัยที่ยึดมรรคมีองค์ 8 เป็นแม่บท  พระภาวนาวิริยคุณ(ทุกการฝึกตามกรอบความประพฤติ จะมีสัมมาวายามะและสัมมาสติกำกับตลอด)

เจตนาการฝึก

สถานที่ กรอบความประพฤติ นิสัยที่ได้
ใจ กาย   ที่ต้องปฏิบัติซ้ำ ๆ จนเป็นนิสัย  
-  ปลูกสัมมาทิฎฐิ(เข้าใจถูก) เพื่อรู้เป้าหมายชีวิต-  ปลูกสัมมาสมาธิ(ตั้งใจ) เพื่อสร้างกำลังใจในการทำ         ความดี -  ทบทวน             บุญ บาปสิ่งที่ดี สิ่งที่ไม่ดี- อบรมกาย วาจา ใจ  ห้องประชุมห้องอบรมลานหน้าเสาธง 1. สวดมนต์ ไหว้พระ สมาทานศีลทุกเช้า2. นั่งสมาธิพร้อมกันทั้งโรงเรียนทุกเช้า3. ผู้บริหารให้โอวาททุกเช้า(ไม่เกิน 15 นาที โดยอาจให้เด็กบันทึกสรุปใจความและส่งรายงานให้ครู เพื่อฝึกการฟัง จับใจความ)4. ตักบาตรพร้อมกันทั้งโรงเรียนทุกสัปดาห์ หรือทุกวันพระ5. บำเพ็ญสาธารณประโยชน์ทุกเดือน - มากด้วยศรัทธา- มีความเสียสละไม่เห็นแก่ตัว มีจิตสาธารณะ 
- ปลูกสัมมาสังกัปปะ(คิดถูก)ให้เห็นความไม่งาม  ความทุกข์ความเสื่อม - ช่างสังเกต- พิจารณา ห้องน้ำ ห้องส้วม 1. มารยาทการใช้ห้องน้ำ  กำหนดเป็นกรอบปฏิบัติ เช่น-  ราดน้ำ 3 ขันหลังทำภารกิจเสร็จ - ใช้แล้วเช็ดพื้นให้แห้ง2. ผอ.ร.ร. / ครู / นักการภารโรง / นักเรียน  ช่วยกันทำความสะอาดล้างห้องน้ำโรงเรียนทุกวันศุกร์  โดยอาจแบ่งหน้าที่กันทำความสะอาดตามความเหมาะสมกับวัย - เข้มงวดกับการรักษาสุขภาพ- รักความสามัคคีเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน- มีความเอื้อเฟื้อเสียสละ
- ปลูกสัมมาวาจา- ปลูกสัมมากัมมันตะ                (ทำถูก) - การรับประทานอาหาร- การบริโภคใช้สอย น้ำ ไฟ สมุด ขนม เสื้อผ้า อุปกรณ์การเรียน ฯลฯ โรงอาหารห้องทานอาหารร้านสวัสดิการสนามกีฬา 1. เข้าแถวซื้ออาหาร ซื้อของ2. ทานอาหารหมดจาน ไม่เหลือทิ้ง (รู้จักประมาณการรับประทานของตนเอง)3. เก็บจาน เขี่ยเศษอาหาร แยกจาน ช้อน(ฝึกแยกขยะให้เป็น) - ตรงไปตรงมา- ไม่โอ้อวด ไม่มีมารยา- รับผิดชอบ- รู้จักประมาณ
  

เจตนาการฝึก

สถานที่ กรอบความประพฤติ นิสัยที่ได้
ใจ กาย   ที่ต้องปฏิบัติซ้ำ ๆ จนเป็นนิสัย  
- ปลูกสัมมาสติ(ระลึกถูก)- ปลูกสัมมาวายามะ            (พยายามถูก) - การแต่งกาย ของ              ผอ.ร.ร.  นักเรียน  ภายใน โรงเรียน หน้าประตูทางเข้าโรงเรียน และทุกแห่งในโรงเรียน 1. แต่งกายถูกระเบียบ2. ถอดรองเท้าเรียงเป็นระเบียบ3. สวดมนต์ ไหว้พระก่อนกลับบ้าน4. ท่องสูตรคูน อาขยาน ก่อนกลับบ้าน5. พิธีกรรมวันสำคัญ ทางพระพุทธศาสนา โรงเรียน6. ครูยืนหน้าประตูโรงเรียนเพื่อดูแลความประพฤตินักเรียนและปฏิสันถารกับผู้ปกครอง - ความเพียร- ใฝ่ดี- มีระเบียบวินัย 
- ปลูกสัมมาอาชีวะ - ทำงานตามหน้าที่ ห้องทำงานห้องพักครูห้องเรียนสนามกีฬา 1. ทำความสะอาดห้องเรียน2. ฟัง จดบันทึกคำสอน3. ครูอธิบายเป็นขั้นตอน4. จัดโต๊ะทำงานเป็นระเบียบ หาของง่าย จัดเก็บของเป็นหมวดหมู่5. นักเรียนยืนตรงต้อนรับครู6. พบคุณครูยกมือไหว้7. คุณครูทำความเคารพ ผอ.ร.ร. เมื่อมาถึงและกลับออกจากที่ทำงาน - เจ้าปัญญา- มีระเบียบ- อ่อนน้อม- มีสัมมาคารวะ
 
หมายเลขบันทึก: 163261เขียนเมื่อ 4 กุมภาพันธ์ 2008 11:31 น. ()แก้ไขเมื่อ 3 เมษายน 2012 08:27 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท