ประโยชน์จากการบริหารห่วงโซ่อุปทาน


บริหารห่วงโซ่อุปทาน

1. การผสานข้อมูล (Information Integration) โดยจะเป็นเรื่องของการนำข้อมูลที่ไหลผ่านระบบ SCM มาเปิดเผยให้รับรู้ภายในกลุ่มคนที่เกี่ยวข้อง

2. การร่วมมือกัน (Collaboration) หมายถึง การร่วมมือกันตัดสินใจ ภายในองค์กร และภายนอกองค์กร เพื่อที่จะมอบหมายงานให้กับผู้ที่ทำหน้าที่ดีที่สุดภายใน SCM เช่น กรณีมี Supplier จำนวนหลายราย สามารถที่จะคัดเลือก Supplier ที่มีควาเชี่ยวชาญหรือความชำนาญในการผลิตวัตถุดิบ ที่มีคุณภาพมากที่สุด เพื่อเป็นการเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้า หรือให้ Supplier ร่วมวางแผนการผลิต กับบริษัทผุ้ผลิต

3. การเชื่อมโยงระหว่างองค์กร (Organizational Linkage) การติดต่อสื่อสารระหว่างองค์กร เพื่อให้ได้ข้อมุลที่ครบถ้วน สามารถทำได้โดยการนำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ เช่น EDI

หมายเลขบันทึก: 151376เขียนเมื่อ 4 ธันวาคม 2007 15:35 น. ()แก้ไขเมื่อ 23 มิถุนายน 2012 00:30 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (4)
นางสาวสุวภัทร แหยมประเสริฐ
*-* ในที่สุดนู๋ก็หาบันทึกของจารย์เจอ เหอๆๆ พอดีมัวเข้าไปหาในที่นู๋สมัครอะค่ะ ลืมไปว่าอาจารย์ไม่ได้สมัครของนักศึกษา กำ หานาน เลยมานั่งมองรูปที่จารย์ส่งมาให้เลยรู้ค่ะ OK. เริ่มเข้าใจมาทีละนิดค่ะ แต่งงนิดหน่อยเวลาสร้างบล็อคอ่ะค่ะ *-*  Good Night  ค่ะ เหอๆๆๆ
นางสาวบุตรี เนืองนิตย์

หาบันทึกของอาจารย์เจอแล้วค่ะ

ซัพพลายเชนเป็นกระบวนการที่เริ่มตั้งแต่การ ออกแบบและผลิตสินค้า จนถึงการย่อยสลายสินค้าให้ถึงผู้บริโภคคนสุดท้าย

           

ศิริภัทท์ คำเคลือ
หวัดดีคะ ฮัลโหล ๆ อาจารย์ ถ่ายซีดตัวใหญ่มาก(ดีคะ) เรียนเข้าใจบ้างไม่เข้าใจบ้าง(งง)......หุ หุ หุ หุ หุ หุ หุ หุ หุ
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท