นวัตกรรมสนามความคิด


นวัตกรรมสนามความคิด

นวัตกรรมสนามความคิด1.  ชื่อผลงาน  นวัตกรรมสนามความคิด
2.  สนองกลยุทธ์ การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา
3.  จุดประสงค์  1.  พัฒนาแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน
   2.  เพื่อแก้ปัญหาการจัดการเรียนการสอนในด้านกระบวนการคิด
   3.  เพื่อเป็นเวทีในการพัฒนาผลงานของนักเรียน
4.  แรงบันดาลใจในการออกแบบผลงาน
   1.  ตอบสนองความถนัดผู้เรียน
   2.  พัฒนากระบวนการคิด
   3.  กิจกรรมการเรียนการปฏิบัติจริง
   4.  การบูรณาการกลุ่มสาระ
   5.  การจัดแหล่งเรียนรู้
   6.  การจัดทรัพยากรชุมชนเพื่อสนับสนุน

5.  วิธีการ
  1.  การพัฒนาสนามความคิดโครงการพัฒนากระบวนการคิด
   1.1  การพัฒนาแหล่งเรียนรู้สถานศึกษา
   1.2  การนำเสนอผลงานนักเรียน
  2.  การพัฒนาและดำเนินการในการจัดการเรียนการสอน
   2.1  การสร้างความต้องการของนักเรียน
   2.2  การวางแผนตอบสนองความต้องการพื้นฐาน
   2.3  การคัดเลือกนักเรียนต้นแบบในการพัฒนากระบวนการคิด
   2.4  การนำเสนอผลงาน

6.  ผลสำเร็จของโครงการ
 6.1  ผลการวิจัยความสำเร็จของการพัฒนานักเรียน 108 ผลงาน
 6.2  การพัฒนาโครงการเรียนรู้
 6.3  รางวัลของการพัฒนาจากการแข่งขันในเวทีต่าง ๆ  32 รางวัล
 6.4  การศึกษาดูงานภาคเอกชน และภาครัฐ 10 คณะ

7.  ผู้นำเสนอผลงาน
 -  นางศิริพร  อุดมกุลศรี  (โรงเรียนวัดพัวโพ)
 -  โรงเรียนวัดพัวโพ  (พัวโพประศาสน์วิทยา)  สพท. ราชบุรี เขต 2
    หมู่ 1  ตำบลพัวโพ  อำเภอบางแพ  จังหวัดราชบุรี    โทร.  032  383-725

1.  ชื่อผลงาน  วิธีการจัดการเรียนรู้แบบปัญจปัญญา  (Five  Intellectual)

2.  สนองกลยุทธ การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษากลุ่มสาระคณิตศาสตร์

3.  จุดประสงค์  3.1  พัฒนาผลสัมฤทธิ์สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
   3.2  พัฒนาคุณธรรมจริยธรรมผู้เรียน
   3.3  พัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
    -  แก้ปัญหา   -  การให้เหตุผล
    -  การสื่อความหมาย  -  การบูรณาการ

4.  แนวคิดหลักในการออกแบบผลงาน
   -  มุ่งเน้นกระบวนการพัฒนาความรู้  ความคิด
   -  มุ่งเน้นการพัฒนาคุณธรม  จริยธรรม
   -  มุ่งเน้นทักษะทางคณิตศาสตร์ตามหลัก 5 ขั้น
    1.  รู้รัก  การสืบแสวงหาความรู้
    2.  รู้ใจ  การคิดวิเคราะห์
    3.  รู้ใช้  การนำเสนอผลงาน
    4.  รู้จบ  การประเมินผล
    5.  รู้แจกจ่าย การเผยแพร่นวัตกรรม

5.  วิธีการปฏิบัติ -  การพัฒนากระบวนการกำหนดคณิตศาสตร์ตามหลัก 5 ขั้น
   -  การบูรณาการรายวิชาที่
   -  การเสนอผลงานนักเรียนรายบุคคล

6.  ข้อมูลที่แสดงว่าประสบผลสำเร็จ
   6.1  การเผยแพร่ผลงานตามหน่วยงานต่าง ๆ เช่น
    -  สนจ. วิจัยแห่งชาติ  (วช.)
    -  สสวท.
   6.2  การเผยแพร่แผนการจัดการเรียนรู้ปัญจปัญญา 1 ชุด

7.  ผู้นำเสนอ  นายมารุต  พัฒผล  และคณะ  โทร. 034  531-519
   โรงเรียนศรีสวัสดิ์พิทยาคม 80 ม. 2  ตำบลท่ากระดาน  อำเภอศรีสวัสดิ์  จังหวัดกาญจนบุรี

 

1.  ชื่อผลงาน  หนังสืออ่านเพิ่มเติมหลักสูตรท้องถิ่น  “สืบสานเพลงพื้นบ้าน"

2.  สนองกลยุทธ์  การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา

3.  จุดประสงค์  1.  พัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติมหลักสูตร  ได้แก่
   2.  พัฒนาการบูรณาการสาระภาษาไทย
   3.  ส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน
   4.  อนุรักษ์และส่งเสริมคุณค่าเพลงพื้นบ้านในท้องถิ่น

4.  แรงบันดาลใจในการออกแบบผลงาน 4.1  อนุรักษ์เพลงพื้นบ้านสุพรรณบุรี
      4.2  ส่งเสริมและอนุรักษ์ศิลปะในชุมชน

5.  วิธีการและการปฏิบัติ 5.1  การรวบรวมข้อมูลพื้นฐานเพลงพื้นบ้านในท้องถิ่น
    5.2  การจัดทำหนังสืออ่านเพิ่มเติม 6 รายการ
    5.3  การพัฒนาการบูรณาการวิชาภาษาไทยทุกชั้นเรียน
    5.4  กิจกรรมส่งเสริมด้วย
     -  การเขียนแผนการสอน
     -  การแสดงผลงานนักเรียน
     -  การฝึกเพลงพื้นบ้านแก่นักเรียน
     -  การใช้วิทยากรท้องถิ่น

6.  ข้อมูลความสำเร็จ 6.1  หนังสืออ่านเพิ่มเติมเพลงพื้นบ้าน 6 เพลง
   6.2  ศิลปินแห่งชาติสุพรรณบุรีร่วมจัดกิจกรรมให้การสนับสนุน
   6.3  การแสดงเผยแพร่ในชุมชนใกล้เคียง
   6.4  การแสดงผลงานในงานวันครูโลก ปี 2528

7.  ชื่อผู้นำเสนอผลงาน นางสุนันทา   สุนทรประเสริฐ
    โรงเรียนสุวรรณภูมิ  อำเภอเมือง  จังหวัดสุพรรณบุรี
    โทร.   035  511-005

 

 


1.  ชื่อผลงาน  “การพัฒนา   อีเล็คทรอนิกส์ภาษาอังกฤษ”

2.  สนองกลยุทธ การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาสาระภาษาอังกฤษ

3.  จุดประสงค์  1.  เพื่อพัฒนาสื่อ       ภาษาอังกฤษ  CD  VCD
   2.  นักเรียนได้ฝึกสะกดคำและออกเสียงภาษาอังกฤษ
   3.  ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาที่       สื่ออีเล็คทรอนิกส์

4.  แนวคิดในการออกแบบผลงาน 1.  เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาอังกฤษในทักษะการเขียน
     2.  จัดทำสื่อในรูป  CD   VCD  เนื่องจากใช้ง่าย
     3.  เพื่อเผยแพร่แก่หน่วยงานทางการศึกษาต่าง ๆ

5.  วิธีการปฏิบัติ 1.  ศึกษาสภาพปัญหาในการจัดการเรียนการสอน
   2.  การวิเคราะห์คำศัพท์ที่มีปัญหาในการใช้ของนักเรียน
   3.  การจัดทำสื่อ  CD   VCD
   4.  การนำไปทดลองและปรับปรุงแก้ไข

6.  ผลสำเร็จของนวัตกรรม 1.  แก้ปัญหาในการเรียนการสอนภาษาอังกฤษได้ตามเป้าหมาย
    2.  โรงเรียนประสบความสำเร็จในการพัฒนาสิ่งนวัตกรรมภาษาอังกฤษ
    3.  การแสดงผลงานตามหน่วยงานต่าง ๆ  9  แห่ง

7.  ชื่อผู้นำเสนอผลงาน นายบุญเลิศ   แสงดี     และคณะ
    โรงเรียนวัดท่าไชย  (ประชานุกูล)   อำเภอสองพี่น้อง  จังหวัดสุพรรณบุรี
    โทร.     035  417-111

 

 

 

 

หมายเลขบันทึก: 150846เขียนเมื่อ 2 ธันวาคม 2007 10:09 น. ()แก้ไขเมื่อ 24 พฤษภาคม 2012 14:09 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท