รายงานสด E-to U-Learning เทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์


U-Learning
สว้สดีครับชาว Blog ทุกท่าน วันนี้อาจารย์ณัฏฐกรณ์  ปะพาน (อ.ด่วน)มีโอกาสสัมมนาเรื่อง E-to U-Learning ก็จะขอรายงานสุดให้ทุกท่านได้รับทรายเลยนะครับ
ศาสตาราจารย์ดร.ชัยยงค์  พรหมวงศ์ กล่าวว่า
ตามพรบ การศึกษา มาตรา
15 เปิดโอกาสให้มีช่องทางในการจัดการศึกษา 3 ทาง จะกลับเข้าไปสู่แบบเก่าคือจะกลับไปจัดการศึกษาที่บ้านคือใช้บ้านเป็นฐาน  แต่จะต้องมีเครื่องมือมาใช้คือเทคโนโลยี  เราจะเน้นเรื่องสื่อมากเกินไปจะไม่ได้เน้นช่องทางสื่อสาร อินเทอร์เน็ตก็เป็นช่องทางหนึ่ง e-Learning  เป็นช่องทางของหน่วยงานทุกภาคส่วนแล้วไม่ได้จำกัดเฉพาะการเรียนการสอน
U-Learning  เป็นการเรียนที่เป็นสรรพวิทยาการ การเรียนการสอนที่เป็นช่องทางที่ดึงการเรียนการสอนจากแหล่งข้อมูลสำคัญต่างๆ เช่น google
1.ไร้ขีดจำกัด
2.เข้าถึงได้โดยสะดวก
ช่องทางที่จะทำให้สำเร็จ.ในการจัดการศึกษา U-Learning
1.       เปิดใจ
2.       มีความมุ่งมั่นที่จะไปแสวงหา
3.       มีความสำคัญ
4.       กระตือรือร้น
5.       สัญญา
6.       ความคงเส้นคงวา
หมายเลขบันทึก: 135102เขียนเมื่อ 5 ตุลาคม 2007 10:01 น. ()แก้ไขเมื่อ 26 มีนาคม 2012 15:22 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (4)

ดร.ถนอมพร  เลาหจรัสแสงได้นำเสนอแนวคิดไว้ตาม Link ครับ

http://www.nattakorn4.th.gs/web-n/attakorn4/ScreenShot022.jpg

(Ubiquitous ) เป็นคำหนึ่งที่กล่าวถึงในการสัมมนาในครั้งนี้ คืออะไรสังคมที่สามารถติดต่อสื่อสาร ควบคุมหรือทำกิจกรรมต่างๆได้ในทุกที่ทุกเวลา ได้ถูกนำมาใช้การศึกษาก็จะเป็นการเรียนรู้รอบๆตัวจากที่ใดบ้าง จาก networks, terminals, and services areintegrated and connected systematically,small PDA 

ประเทศเกาหลีเป็นประเทศหนึ่งที่มีการพัฒนาด้านเทคโนโลยีอย่างสูงจึงขอนำมาเปรียบเทียบกับการศึกษาในไทยว่ามีการพัฒนาอย่างไรบ้างจาก Power Point ของ ดร.ถนอมพร http://www.nattakorn4.th.gs/web-n/attakorn4/ScreenShot023.jpg

In 2005
More Systemic change in school education through
§ e-Learning & u-Learning
§ Self-directed Learning

ดร.ใจทิพย์ ณ  สงขลา (จุฬาฯ) ได้พูดถึงในเรื่อง M -Learning ซึ่งก่อนจะเป็น U-Learning “ubiquitous learning environment” มีที่มาจาก“ubiquitous computing”,   อธิบายการเปลี่ยนแปลงจากการใช้คอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะไปเป็นระบบพกพา U-Learning E-learning  +  M-Learning ตัวอย่าง  Electronic visitor guides SMS text msg.  
Mobile :  Personal use                   Information management                   Communication  (work + home)                   One-to-one social useM-learning: Personal use to edu/training                   การเรียนที่เกิดขึ้นได้ทุกหนทุกแห่ง ทุกเวลา                       ไร้ขอบเขตของการเรียนรู้   Play + Learn =  Plearn                    Work  + Entertainment  + Leisure                  สันทนาการ   ฟังเพลง   เล่นเกม                 สื่อสาร E-learning  to M-learning                               Location   หลากหลายแตกต่าง                    Immediate  ทุกเวลา อยู่ในชีวิตประจำวัน                    Interaction  บุคคล/กลุ่ม  กว้างขึ้น                    Size  ฝ่ามือ    2.8  3.5                    Access    ไร้สาย   wireless  ปัจจัยของ m-learning                   การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต                   Lan   Wifi  Bluetooth                 Mobile network   Wireless broadband   GPRS                    Single content repository                 ลำบากในการ update เนื้อหาในแต่ละที่ให้คู่ขนานกันไป                  เก็บ เนื้อหาไว้ใน repository เดียว  และgenerate xml                    ความแตกต่างของการแสดงผลในแต่ละเครื่อง                  ขนาดของข้อความ  ภาพ  ระบบการนำทาง                  การแสดงผลที่ต้องใช้การปฏิสัมพันธ์ ที่อาจจำกัดด้วยความสามารถของเบาร์เซอร์ในแต่ละเครื่อง องค์ประกอบของ M-learning                   Learning object  ประกอบด้วยเนื้อหาสาระในแต่ละโมดูล ได้แก่  ข้อความ   กราฟิก  เสียงและภาพ  หรือ สื่ออื่นๆ                    ภาระกิจการเรียน   ซึ่งผู้เรียนจะต้องปฏิบัติ เพื่อให้เกิดความเข้าใจในเนื้อหาสาระนั้น   ได้แก่   การจดบันทึก  การทำแบบฝึกปฏิบัติ การทดสอบ   หรือการปฏิบัติตามงานที่มอบหมาย                    Learning exposition วิธีการที่ใช้ในการอธิบาย เช่น  ให้ผู้เรียน อ่านจากสื่อ   ดูหรือฟังคลิปวีดิโอ   หรือใช้วิธีการปฏิสัมพันธ์โดยตรงกับผู้สอน รูปประกอบ http://www.nattakorn4.th.gs/web-n/attakorn4/ScreenShot024.jpg
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท