บัวชูฝัก
นาย เศกสรร ครูเศก แสงจินดาวงศ์เมือง (สายวงศ์คำ)

ระบำตะเกียง


จากสภาพวิถีชีวิตของชาวชนบทแบบดั้งเดิม เมื่อยังยังไม่มีไฟฟ้าใช้ การเดินทางไปในที่ต่างๆ ในยามค่ำคืน โดยเฉพาะการไปอาบน้ำของชาวบ้าน จำเป็นต้องใช้ตะเกียงให้แสงสว่าง

ระบำตะเกียง

  <p style="margin: 0cm 0cm 0pt" class="MsoNormal">          วันนี้จะพาท่านไปเยือนแถบอีสานตอนใต้อีกครั้ง ไปดูวิถีชีวิตของชาวบ้านในชนบทตั้งแต่ยังไม่มีไฟฟ้าใช้ ของจังหวัดบุรีรัมย์ เป็นการแสดงชุดหนึ่งที่บ่งบอกถึงวิถีชีวิตแบบดั้งเดิม </p><table border="6" cellspacing="6" cellpadding="10" width="96" align="center" style="width: 96px; height: 58px; border-width: 6px; border-color: #ffcc00"><tbody><tr><td>  </td></tr></tbody></table><p style="margin: 0cm 0cm 0pt" class="MsoNormal">          ระบำตะเกียงเป็นการแสดงที่นักศึกษาวิชาเอกนาฏศิลป์ วิทยาลัยครูบุรีรัมย์ ช่วยกันคิดประดิษฐ์สร้างสรรค์ขึ้น จากสภาพวิถีชีวิตของชาวชนบทแบบดั้งเดิม เมื่อยังยังไม่มีไฟฟ้าใช้  การเดินทางไปในที่ต่างๆ ในยามค่ำคืน โดยเฉพาะการไปอาบน้ำของชาวบ้าน  จำเป็นต้องใช้ตะเกียงให้แสงสว่าง</p><table border="6" cellspacing="6" cellpadding="10" width="154" align="center" style="width: 154px; height: 58px; border-width: 6px; border-color: #ff0000"><tbody><tr><td>  </td></tr></tbody></table>          ตะเกียงในสมัยนั้น จึงมีความสำคัญมาก การประดิษฐ์ท่ารำจึงได้นำตะเกียงมาเป็นอุปกรณ์ประกอบการร่ายรำ  การแต่งกายแบบเรียบง่ายแต่เพิ่มสีสันเพื่อให้เกิดความเหมาะสมกับการแสดง  และสิ่งที่เป็นเอกลักษณ์ของชาวอีสานใต้ก็คือ การใช้เพลงกันตรึมมาประกอบในการร่ายรำนั่นเอง  <table border="6" cellspacing="6" cellpadding="10" width="154" align="center" style="width: 154px; height: 58px; border-width: 6px; border-color: #33ff00"><tbody><tr><td>  </td></tr></tbody></table>  

หมายเลขบันทึก: 126623เขียนเมื่อ 9 กันยายน 2007 19:43 น. ()แก้ไขเมื่อ 6 กันยายน 2013 18:19 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (12)
  • สวัสดีครับคุณชาญวิทย์P
  • ขอบคุณที่แวะเข้ามาร่วมแบ่งปันครับ

สวัสดีค่ะ

P

สวยมากและชอชื่นชมในความคิดสร้างสรรค์ค่ะ

ตามมาเยี่ยมค่ะ

  • ติดตามมาชมครับชุดการแสดงครับ
  • ถ้ามีภาพเคลื่อนไหวพร้อมเสียงประกอบน่าจะดีมากๆนะครับอาจารย์

ขอบคุณมากครับ

สวัสดีค่ะ

 จะมีการแสดงเผยแพร่ ในท้องถิ่นบ่อยไหม เหมือนทางเหนือมีฟ้อนเล็บ เวลามีแขกมาเยือน ฟ้อนกันตั้งแต่ระดับหมู่บ้านขึ้นไปเลย ชอบมาก

  • เวลาแสดงต้องดับไฟฟ้าก่อนไหมค่ะ   ( เห็นตะเกียงจุดอยู่น๊ะ )
  • จะติดตามชมบันทึกต่อไปนะค่ะ
  • ขอบคุณค่ะ
  • แหม...ตะเกียงดูใหม่จังเลยค่ะ
  • ขอบคุณค่ะสำหรับภาพสวยๆ
  • สวัสดีครับคุณsasinandaP
  • ขอบคุณครับที่มาเยี่ยมชมและให้กำลังใจ
  • จะพัฒนาและสร้างสรรค์ต่อไปครับ
  • สวัสดีครับคุณพี่สะ-มะ-นึ-กะP
  • มีภาพเคลื่อนไหวพร้อมเสียงประกอบ อาจเป็นได้ครับ แต่ต้องรอก้าวใหม่ของgotgknow ในอนาคตข้างหน้าน่าจะทำได้ครับ
  • ขอบคุณพี่ชายที่ติดชมและฝากถึงพี่สาวให้ดูแลสุขภาพบ้างนะครับ(ขยันจังเลย)
  • สวัสดีครับคุณตันติราพันธ์P
  • ส่วนมากการเผยแพร่ในท้องถิ่น จะมีตอนงานประจำปีของท้องถิ่น หรืองานสำคัญๆครับ
  • งานที่ยิ่งใหญ่ที่สุดคือ งานมหกรรมวัฒนธรรมแห่งชาติและนานาชาติ จะรวมการแสดงของทุกๆภาค ตลอดจนเชิญต่างชาติเข้ามาร่วมงานด้วยครับ
  • ปีนี้ได้ข่าวแว่วๆว่าจัดที่กรุงเทพฯ แต่จำไม่ได้ว่าวันไหนแต่เร็วๆนี้แหละครับ
  • ทราบวันเวลาจะรีบแจ้งให้ทราบครับ
  • ขอบคุณครับ
  • สวัสดีครับคุณครูหญ้าบัวP
  • ถูกต้องแล้วครับ ช่วงที่นักแสดงรำออกมาจากหลังเวทีจะปิดไฟ เพื่อโชว์ความงามของแสงตะเกียง แล้วค่อยๆรี่ไฟขึ้นเรื่อยๆ จนสว่างทั้งเวทีครับ
  • ขอบคุณครูหญ้าบัวครับ
  • สวัสดีครับอ.ลูกหว้าP
  • ตะเกียงใหม่เป็นเพราะหาตะเกียงเก่าๆไม่ได้แล้วครับ
  • ตัวผมเองก็รู้สึกผิดหวังนิดๆ ช่วงที่การแสดงชุดนี้แสดงครั้งแรก ผิดหวังเรื่องความใหม่ของตะเกียง เหมือนอ.ลูกหว้านั้นแหละครับ แต่ก็ต้องทำใจ
  • ขอบคุณอ.ลูกหว้าครับ จะพัฒนาต่อๆไปครับ
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท