Theory of Multiple Intelligences : Howard Gardner


ทฤษฎีพหุปัญญาเป็นทฤษฎีที่ช่วยให้เข้าใจว่า คนไม่ได้ฉลาดแค่ความจำดีหรือทำคณิตศาสตร์ยาก ๆ ได้

ทฤษฎีพหุปัญญา

ทฤษฎีพหุปัญญาของศาสตราจารย์ โฮเวริ์ด  การ์ดเนอร์ แห่งมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด  กล่าวถึง
ความฉลาดของมนุษย์ไม่ว่าจะในเด็กหรือผู้ใหญ่  จะมีอยู่ด้วยกัน 9 ประการคือ

1. ความฉลาดในการใช้ภาษา
2. ความฉลาดในด้านตรรกะและคณิตศาสตร์
3. ความฉลาดในด้านจินตนาการ
4. ความฉลาดในด้านควบคุมร่างกาย
5. ความฉลาดในด้านดนตรี
6. ความฉลาดในด้านความมีมนุษย์สัมพันธ์
7. ความฉลาดในด้านการเข้าใจตนเอง
8. ความฉลาดในการเข้าใจธรรมชาติ

ทฤษฎีของโฮวาร์ด การ์ดเนอร์  ได้รับมีการเพิ่มเติมขึ้นเป็น 9 ประการคือ

9. ความฉลาดในการใช้ชีวิต
Existentialist intelligence ("Life smart")

ทฤษฎีพหุปัญญาเป็นทฤษฎีที่ช่วยในการจัดการศึกษาและอธิบายความแตกต่างระหว่างบุคคลได้ดีเป็นอย่างยิ่ง
ความแตกต่างระหว่างบุคคลที่จะต้องเข้าใจให้ลึกซึ้งว่า  คนเราไม่ได้เน้นความฉลาดกันเพียงแค่สติปัญญาคือ
คนความจำดีเรียนหนังสือเก่งคือคนที่ฉลาดกว่าคนอื่น ๆ   หรือคนที่มีความสามารถในการคำนวณทำโจทย์ยาก ๆ ได้
คือคนที่มีสติปัญญาฉลาดเนื้อผู้อื่น    แต่ความฉลาดยังมีอีกหลายประเภทที่คนฉลาดเพียงแค่ความจำดี
หรือคณิตศาสตร์เก่ง  อาจไม่ได้หมายถึงฉลาดไปทุกเรื่อง

 

 


Theory of Multiple Intelligences

The theory of multiple intelligences was developed in 1983 by Dr. Howard Gardner, professor of

education at Harvard University. It suggests that the traditional notion of intelligence, based on I.Q.

testing, is far too limited. Instead, Dr. Gardner proposes eight different intelligences to account for a

broader range of human potential in children and adults. These intelligences are:

 Linguistic intelligence ("word smart"):
 Logical-mathematical intelligence ("number/reasoning smart")
 Spatial intelligence ("picture smart")
 Bodily-Kinesthetic intelligence ("body smart")
 Musical intelligence ("music smart")
 Interpersonal intelligence ("people smart")
 Intrapersonal intelligence ("self smart")
 Naturalist intelligence ("nature smart")


http://eduscapes.com/tap/topic68h.htm


http://www.howardgardner.com/

http://www.pz.harvard.edu/PIs/HG.htm

http://www.education-world.com/a_curr/curr054.shtml

http://www.thomasarmstrong.com/multiple_intelligences.htm

http://www.happyhomeclinic.com/a01-multiple%20intelligence.htm

http://www2.bgfl.org/bgfl2/custom/resources_ftp/client_ftp/ks3/ict/multiple_int/index.htm

http://www.student.chula.ac.th/~47437779/story.html

 

คำสำคัญ (Tags): #theory#mi
หมายเลขบันทึก: 66567เขียนเมื่อ 11 ธันวาคม 2006 23:19 น. ()แก้ไขเมื่อ 16 มิถุนายน 2012 14:31 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (9)

เห็นด้วยคะอาจารย์...มันเป็นการศึกษาที่ช่วยทำให้เราสามารถสนับสนุนผู้เรียนที่แตกต่างกัน....และช่วยตอบสนองหากผู้เรียนขาดสติปัญหาด้านใด  หรือมีแต่มีน้อย... 

 และในฐานะที่เป็นนักการศึกษา  หรือนัก IT จะได้สามารถพัฒนาระบบให้สามารถจัดกระบวนการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับผู้เรียนรายบุคคลให้มากยิ่งขึ้น  และช่วยต่อเติมในส่วนที่ผู้เรียนขาดไป

ขอบพระคุณคะ ที่แบ่งปันความรู้ :)

 

อาจารย์ย้ายไปอยู่พระนครเหนือแล้วเหรอคะ  เห็นตอนแรกอาจารย์อยู่มหาสารคาม  หรือไงเนี่ย !!

เห็นด้วยครับอาจารย์ครับ ผมเคยเรียนที่วิทยาลัยเทคนิคสมุทรสงครามครับ แล้วก็มาต่อที่พระนครเหนือตอนนี้จบแล้ว ดีใจครับที่อาจารย์มาสอนที่นี่ครับ แต่ก็เสียใจที่วท.สมุทรสงครามก็จะเสียบุคคลากรที่มีคุณค่าไปครับ

เป็นทฤษฏีที่น่าสนใจครับ...

สามารถอธิบายได้ครอบคลุมครับ...

ขอบคุณนะครับ...

เป็นทฤษฎีที่ดีเยี่ยมจริงๆ ครับ

ดีจริงๆค่ะอาจารย์ ที่อื่นยังมีแค่ 8 ด้านอยู่เลยค่ะ

ส่วนใหญ่ทฤษฎีเหล่านี้ใช้กับเด็กเล็กใช่ไหมค่ะ

แล้วเด็กวัยรุ่นมีทฤษฎีไหนใช้ได้บ้างค่ะ

ขอบคุณค่ะ

ขอบพระคุณท่านอาจารย์มากนะค่ะ สำหรับความรู้เรื่องทฤษฎี

เป็นทฤษฎีที่ผมสนใจครับ ซึ่งตอนนี้ผมกำลังศึกษาที่นิด้า แต่ก็เห็นตามเวปแล้วมันมีแค่ 8 ด้าน

ในส่วนด้านที่เพิ่มมา (ผมขอความรู้หน่อยว่ามาได้ยังไงครับ) แล้วอาจารย์คิดว่าทั้ง 9 ด้าน

นอกจากความเห็นที่ 2 แล้วมันสามารถนำมาใช้ประโยชน์กับหลักการการเรียนรู้ได้อย่างไรครับ

ผมขอคำชี้แนะด้วย

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท