อนุทินล่าสุด


นาย สว่าง พิมพิชัย
เขียนเมื่อ

ผู้นำเสนอ   นางวราภรณ์    วุฒิสาร    เลขที่ 12

ชื่อเรื่อง  การเปรียบเทียบความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษและพฤติกรรมด้านความมีระเบียบวินัยของ            

               นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ได้รับการสอนแบบมุ่งประสบการณ์ภาษา(รูปแบบที่ 1) กับการ    

               สอนตามคู่มือครู

ข้อดี  นำเสนอละเอียด

ข้อปรับปรุง  ขนาดตัวอักษรมีขนาดเล็ก  สีอักษรไม่น่าสนใจ

ข้อเสนอแนะ  ควรเพิ่มขนาดตัวอักษรให้มีขนาดใหญ่ขึ้น เนื้อหาตัดไปใส่อีกเฟรม

 

เกณฑ์การประเมิน

รายการประเมิน

ผลการประเมิน

น้อย  (1)

ปานกลาง (2)

มาก (3)

1.  ขนาดตัวอักษร

/

 

 

2.  สีตัวอักษร

/

 

 

3.  การออกแบบพื้นหลัง

 

 

/

4.  ภาพประกอบ

 

 

/

5.  เสียงประกอบ

/

 

 

6.  เทคนิคการเคลื่อนไหวระหว่างหน้า

 

 

/

7.  วิธีการนำเสนอ  การพูดออกเสียง

 

 

/

8.  เทคนิคพิเศษอื่น ๆ (ถ้ามี)

/

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ผู้นำเสนอ   นางทิวากร    วงศ์วิชิต    เลขที่ 24

ชื่อเรื่อง  การพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูงและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยวิธี

              สืบเสาะหาความรู้

ข้อดี  นำเสนอได้ละเอียด เสียงดังฟังชัด

ข้อปรับปรุง  ตัวอักษรในเฟรมที่ 3 อ่านไม่ชัด  เฟรมนิยามศัพท์เฉพาะ  จัดวางตัวอักษรไม่สมดุล

ข้อเสนอแนะ  สีตัวอักษรและสีพื้นควรใช้สีตัดกันให้อ่านง่ายขึ้น  อย่าให้เนื้อหาล้นเฟรม

 

เกณฑ์การประเมิน

รายการประเมิน

ผลการประเมิน

น้อย  (1)

ปานกลาง (2)

มาก (3)

1.  ขนาดตัวอักษร

 

 

/

2.  สีตัวอักษร

 

/

 

3.  การออกแบบพื้นหลัง

 

 

/

4.  ภาพประกอบ

 

 

/

5.  เสียงประกอบ

/

 

 

6.  เทคนิคการเคลื่อนไหวระหว่างหน้า

 

 

/

7.  วิธีการนำเสนอ  การพูดออกเสียง

 

 

/

8.  เทคนิคพิเศษอื่น ๆ (ถ้ามี)

/

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ผู้นำเสนอ   นางนิตยา    นวลมณี    เลขที่ 6

ชื่อเรื่อง  การพัฒนาแบบฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในขั้นพื้นฐาน

ข้อดี  นำเสนอ เสียงดังฟังชัด  สรุปได้กระชับ

ข้อปรับปรุง  ไม่มี

ข้อเสนอแนะ  ไม่มี

 

เกณฑ์การประเมิน

รายการประเมิน

ผลการประเมิน

น้อย  (1)

ปานกลาง (2)

มาก (3)

1.  ขนาดตัวอักษร

 

 

/

2.  สีตัวอักษร

 

 

/

3.  การออกแบบพื้นหลัง

 

 

/

4.  ภาพประกอบ

 

 

/

5.  เสียงประกอบ

/

 

 

6.  เทคนิคการเคลื่อนไหวระหว่างหน้า

 

 

/

7.  วิธีการนำเสนอ  การพูดออกเสียง

 

 

/

8.  เทคนิคพิเศษอื่น ๆ (ถ้ามี)

/

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ผู้นำเสนอ   นางสาวอมรพันธ์   บุญมาวงษา    เลขที่ 17

ชื่อเรื่อง  การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและจิตวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4  ที่เรียนโดย

              ใช้ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์บูรณาการ

ข้อดี  นำเสนอ เสียงดังฟังชัด  สรุปได้กระชับ

ข้อปรับปรุง  ใช้ขนาดตัวอักษรให้มีขนาดใหญ่ขึ้นกว่านี้  และใช้แบบตัวอักษรที่อ่านง่าย

ข้อเสนอแนะ  ควรใช้ตัวอักษรแบบเดียวกันทั้งหมดทุกเฟรม

 

เกณฑ์การประเมิน

รายการประเมิน

ผลการประเมิน

น้อย  (1)

ปานกลาง (2)

มาก (3)

1.  ขนาดตัวอักษร

 

/

 

2.  สีตัวอักษร

 

 

/

3.  การออกแบบพื้นหลัง

 

 

/

4.  ภาพประกอบ

 

 

/

5.  เสียงประกอบ

/

 

 

6.  เทคนิคการเคลื่อนไหวระหว่างหน้า

 

 

/

7.  วิธีการนำเสนอ  การพูดออกเสียง

 

 

/

8.  เทคนิคพิเศษอื่น ๆ (ถ้ามี)

/

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ผู้นำเสนอ   นางสุธิดา    ศรีลาดเลา    เลขที่ 37

ชื่อเรื่อง  ผลการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 5 ขั้นที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะกระบวนการ

               เรียนรู้วิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

ข้อดี  นำเสนอ เสียงดังฟังชัด 

ข้อปรับปรุง  ไม่มี

ข้อเสนอแนะ  ไม่มี

 

เกณฑ์การประเมิน

รายการประเมิน

ผลการประเมิน

น้อย  (1)

ปานกลาง (2)

มาก (3)

1.  ขนาดตัวอักษร

 

 

/

2.  สีตัวอักษร

 

 

/

3.  การออกแบบพื้นหลัง

 

 

/

4.  ภาพประกอบ

 

 

/

5.  เสียงประกอบ

/

 

 

6.  เทคนิคการเคลื่อนไหวระหว่างหน้า

 

 

/

7.  วิธีการนำเสนอ  การพูดออกเสียง

 

 

/

8.  เทคนิคพิเศษอื่น ๆ (ถ้ามี)

/

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ผู้นำเสนอ   นายชูชีพ    เหลือผล    เลขที่ 2

ชื่อเรื่อง  การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ด้วยการเรียนรู้ร่วมกับการใช้

              เทคนิคการใช้ปัญหาพื้นฐานร่วมกับเทคนิคจิกซอว์ เรื่องอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

ข้อดี  สีพื้นสบายตา  ตัวอักษรอ่านง่าย

ข้อปรับปรุง  ไม่ควรทำแบบการนำเสนอหนังสืออิเล็กทรอนิกส์

ข้อเสนอแนะ  ให้ทำแบบการนำเสนอเค้าโครงงานวิจัย

 

เกณฑ์การประเมิน

รายการประเมิน

ผลการประเมิน

น้อย  (1)

ปานกลาง (2)

มาก (3)

1.  ขนาดตัวอักษร

 

 

/

2.  สีตัวอักษร

 

 

/

3.  การออกแบบพื้นหลัง

 

 

/

4.  ภาพประกอบ

 

 

/

5.  เสียงประกอบ

/

 

 

6.  เทคนิคการเคลื่อนไหวระหว่างหน้า

 

 

/

7.  วิธีการนำเสนอ  การพูดออกเสียง

 

 

/

8.  เทคนิคพิเศษอื่น ๆ (ถ้ามี)

 

 

/

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ผู้นำเสนอ   นางสาวภัทรนันต์     บุญมาก    เลขที่ 13

ชื่อเรื่อง  การใช้นิทานอิงธรรมประกอบคำถามปลายเปิดเพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดเชิงเหตุผลของ  

               เด็กอนุบาลโรงเรียนบ้านห้วยทราย  อำเภอบำเหน็จณรงค์  จังหวัดชัยภูมิ

ข้อดี  นำเสนอได้ละเอียด

ข้อปรับปรุง  ตัวอักษรขนาดเล็กเกินไป

ข้อเสนอแนะ  ให้เพิ่มขนาดตัวอักษรใหญ่ขึ้นจะได้อ่านง่ายขึ้น

 

เกณฑ์การประเมิน

รายการประเมิน

ผลการประเมิน

น้อย  (1)

ปานกลาง (2)

มาก (3)

1.  ขนาดตัวอักษร

 

/

 

2.  สีตัวอักษร

 

 

/

3.  การออกแบบพื้นหลัง

 

 

/

4.  ภาพประกอบ

 

 

/

5.  เสียงประกอบ

/

 

 

6.  เทคนิคการเคลื่อนไหวระหว่างหน้า

 

 

/

7.  วิธีการนำเสนอ  การพูดออกเสียง

 

 

/

8.  เทคนิคพิเศษอื่น ๆ (ถ้ามี)

/

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ผู้นำเสนอ   นางสาวอนุธิดา    สารทอง    เลขที่ 28

ชื่อเรื่อง  การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์และความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์

              ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3  โรงเรียนโยธินบำรุง  ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็น     

              ฐานและการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้

ข้อดี  นำเสนอได้ละเอียดดี

ข้อปรับปรุง  สีพื้นกับตัวอักษรกลมกลืนใกล้เคียงกันทำให้อ่านยาก

ข้อเสนอแนะ  สีตัวอักษรและสีพื้นควรตัดกันทำให้อ่านง่ายขึ้น

 

เกณฑ์การประเมิน

รายการประเมิน

ผลการประเมิน

น้อย  (1)

ปานกลาง (2)

มาก (3)

1.  ขนาดตัวอักษร

 

 

/

2.  สีตัวอักษร

 

/

 

3.  การออกแบบพื้นหลัง

 

 

/

4.  ภาพประกอบ

 

 

/

5.  เสียงประกอบ

/

 

 

6.  เทคนิคการเคลื่อนไหวระหว่างหน้า

 

 

/

7.  วิธีการนำเสนอ  การพูดออกเสียง

 

 

/

8.  เทคนิคพิเศษอื่น ๆ (ถ้ามี)

/

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ผู้นำเสนอ   นางสาวเกศิณี    คำเกษ    เลขที่ 9

ชื่อเรื่อง  การเปรียบเทียบความเข้าใจในการอ่านและเจตคติต่อวิชาภาษาไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา                

               ปีที่ 3  ระหว่างการจัดการเรียนรู้แบบ 4 MAT  กับแบบปกติ

ข้อดี  นำเสนอได้กระชับ

ข้อปรับปรุง  ไม่มี

ข้อเสนอแนะ  ไม่มี

 

เกณฑ์การประเมิน

รายการประเมิน

ผลการประเมิน

น้อย  (1)

ปานกลาง (2)

มาก (3)

1.  ขนาดตัวอักษร

 

 

/

2.  สีตัวอักษร

 

 

/

3.  การออกแบบพื้นหลัง

 

 

/

4.  ภาพประกอบ

 

 

/

5.  เสียงประกอบ

/

 

 

6.  เทคนิคการเคลื่อนไหวระหว่างหน้า

 

 

/

7.  วิธีการนำเสนอ  การพูดออกเสียง

 

 

/

8.  เทคนิคพิเศษอื่น ๆ (ถ้ามี)

/

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ผู้นำเสนอ   นางเกษร   พรหมวงษ์ซ้าย    เลขที่ 33

ชื่อเรื่อง  การพัฒนาแผนการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่องการแปลงทางเรขาคณิต                    

               ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้แผนผังความคิด (Mind  Mapping)

ข้อดี  นำเสนอเสียงชัดเจน

ข้อปรับปรุง  ไม่มี

ข้อเสนอแนะ  ไม่มี

 

เกณฑ์การประเมิน

รายการประเมิน

ผลการประเมิน

น้อย  (1)

ปานกลาง (2)

มาก (3)

1.  ขนาดตัวอักษร

 

 

/

2.  สีตัวอักษร

 

 

/

3.  การออกแบบพื้นหลัง

 

 

/

4.  ภาพประกอบ

 

 

/

5.  เสียงประกอบ

/

 

 

6.  เทคนิคการเคลื่อนไหวระหว่างหน้า

 

 

/

7.  วิธีการนำเสนอ  การพูดออกเสียง

 

 

/

8.  เทคนิคพิเศษอื่น ๆ (ถ้ามี)

/

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ผู้นำเสนอ   นางอัจฉรา     เหลือผล    เลขที่ 1

ชื่อเรื่อง  การพัฒนาชุดการเรียนคณิตศาสตร์ที่เน้นทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์โดยการสอนแบบ     

              ค้นพบ เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

ข้อดี  นำเสนอได้ละเอียด

ข้อปรับปรุง  วิธีการทำเฟรมนำเสนอ  ไม่ควรทำแบบ E-book

ข้อเสนอแนะ  ควรทำแบบการนำเสนอเค้าโครงงานวิจัย

 

เกณฑ์การประเมิน

รายการประเมิน

ผลการประเมิน

น้อย  (1)

ปานกลาง (2)

มาก (3)

1.  ขนาดตัวอักษร

 

 

/

2.  สีตัวอักษร

 

 

/

3.  การออกแบบพื้นหลัง

 

/

 

4.  ภาพประกอบ

 

 

/

5.  เสียงประกอบ

/

 

 

6.  เทคนิคการเคลื่อนไหวระหว่างหน้า

 

 

/

7.  วิธีการนำเสนอ  การพูดออกเสียง

 

 

/

8.  เทคนิคพิเศษอื่น ๆ (ถ้ามี)

 

 

/

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ผู้นำเสนอ   นางสุรีพร    ประภาหาร    เลขที่ 35

ชื่อเรื่อง  การพัฒนาการจัดกิจกรรมเล่านิทานส่งเสริมพฤติกรรมจริยธรรมด้านการช่วยเหลือและแบ่งปัน              

               ผู้อื่นของเด็กปฐมวัย

ข้อดี  นำเสนอได้ละเอียด

ข้อปรับปรุง  บางเฟรมขนาดตัวอักษรเล็กเกินไป

ข้อเสนอแนะ  ทุกเฟรมควรมีขนาดและแบบตัวอักษรเหมือนกัน

 

เกณฑ์การประเมิน

รายการประเมิน

ผลการประเมิน

น้อย  (1)

ปานกลาง (2)

มาก (3)

1.  ขนาดตัวอักษร

 

 

/

2.  สีตัวอักษร

 

/

 

3.  การออกแบบพื้นหลัง

 

/

 

4.  ภาพประกอบ

 

 

/

5.  เสียงประกอบ

/

 

 

6.  เทคนิคการเคลื่อนไหวระหว่างหน้า

 

 

/

7.  วิธีการนำเสนอ  การพูดออกเสียง

 

 

/

8.  เทคนิคพิเศษอื่น ๆ (ถ้ามี)

/

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ผู้นำเสนอ   นางนิตยา     นวลมณี    เลขที่ 6

ชื่อเรื่อง  การพัฒนาแบบฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานประกอบการจัดการเรียนรู้แบบ

               สืบเสาะ เรื่อง สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

ข้อดี  นำเสนอได้ละเอียด

ข้อปรับปรุง  ชื่อเรื่องสีตัวอักษรกลมกลืนกับสีพื้นหลัง

ข้อเสนอแนะ  ขนาดและสีตัวอักษรควรเน้นเรื่องการอ่านง่าย

 

เกณฑ์การประเมิน

รายการประเมิน

ผลการประเมิน

น้อย  (1)

ปานกลาง (2)

มาก (3)

1.  ขนาดตัวอักษร

 

 

/

2.  สีตัวอักษร

 

/

 

3.  การออกแบบพื้นหลัง

 

/

 

4.  ภาพประกอบ

 

 

/

5.  เสียงประกอบ

/

 

 

6.  เทคนิคการเคลื่อนไหวระหว่างหน้า

 

 

/

7.  วิธีการนำเสนอ  การพูดออกเสียง

 

 

/

8.  เทคนิคพิเศษอื่น ๆ (ถ้ามี)

/

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ผู้นำเสนอ   นางชินตา     สุภาชาติ    เลขที่ 22

ชื่อเรื่อง  การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในการแก้ปัญหาทางฟิสิกส์ของนักเรียน              

              ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ด้วยวิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้โดยเสริมการแก้ปัญหาตามเทคนิค              

              ของโพลยา

ข้อดี  นำเสนอได้ละเอียด

ข้อปรับปรุง  จัดตัวอักษรชิดขอบเฟรมเกินไป

ข้อเสนอแนะ  ควรจัดตัวอักษรเนื้อหาให้อยู่กลางเฟรม

 

เกณฑ์การประเมิน

รายการประเมิน

ผลการประเมิน

น้อย  (1)

ปานกลาง (2)

มาก (3)

1.  ขนาดตัวอักษร

 

 

/

2.  สีตัวอักษร

 

 

/

3.  การออกแบบพื้นหลัง

 

/

 

4.  ภาพประกอบ

 

 

/

5.  เสียงประกอบ

/

 

 



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
นาย สว่าง พิมพิชัย
เขียนเมื่อ

E1/E2
การกำหนดเกณฑ์ประสิทธิภาพกระทำได้ โดยการประเมินผลพฤติกรรมของผู้เรียน 2 ประเภทคือ พฤติกรรมต่อเนื่อง (กระบวนการ) กำหนด ค่าประสิทธิภาพเป็น E1 =Efficiency of Process (ประสิทธิภาพของกระบวนการ) และพฤติกรรมสุดท้าย (ผลลัพธ์) กำหนดค่าประสิทธิภาพเป็น (Do the thing right=Efficiency)
(Do the right thing=Effectiveness)
E2 =Efficiency of Product (ประสิทธิภาพของผลลัพธ์)
การกำหนดเกณฑ์ประสิทธิภาพ
1. ประเมินพฤติกรรมต่อเนื่อง (Transitional Behavior) คือประเมินผลต่อเนื่อง ซึ่งประกอบด้วยพฤติกรรมย่อยของผู้เรียน เรียกว่า “กระบวนการ” (Process) ที่เกิดจากการประกอบกิจกรรมกลุ่ม ได้แก่ การทำโครงการ หรือทำรายงานเป็นกลุ่ม และรายงานบุคคล ได้แก่งานที่มอบหมาย และกิจกรรมอื่นใดที่ผู้สอนกำหนดไว้
2. ประเมินพฤติกรรมสุดท้าย (Terminal Behavior) คือประเมินผลลัพธ์ (Product) ของผู้เรียน โดยพิจารณาจากการสอบหลังเรียนและการสอบไล่
ประสิทธิภาพของสื่อหรือชุดการสอนจะกำหนดเป็นเกณฑ์ ที่ผู้สอนคาดหมายว่าผู้เรียนจะเปลี่ยน พฤติกรรมเป็นที่พึงพอใจ โดยกำหนดให้ผลเฉลี่ยของคะแนนการทำงานและ การประกอบกิจกรรมของผู้เรียนทั้งหมด ต่อ ร้อยละของผลการประเมินหลังเรียนทั้งหมด
E1/E2 = ประสิทธิภาพของกระบวนการ/ประสิทธิภาพของผลลัพธ์
ตัวอย่าง
80/80 หมายความว่าเมื่อเรียนจากสื่อหรือชุดการสอนแล้ว ผู้เรียนจะสามารถทำแบบฝึกปฏิบัติ หรืองานได้ผลเฉลี่ย 80% และประเมินหลังเรียนและงานสุดท้ายได้ผลเฉลี่ย 80%
การที่จะกำหนดเกณฑ์ E1/E2 ให้มีค่าเท่าใดนั้น ให้ผู้สอนเป็นผู้พิจารณาตามความพอใจโดยพิจารณาพิสัยการเรียนที่จำแนกเป็น
วิทยพิสัย (Cognitive Domain)
จิตพิสัย (Affective Domain) และ
ทักษพิสัย (Skill Domain)
ในขอบข่ายวิทยพิสัย (เดิมเรียกว่า พุทธิพิสัย) เนื้อหาที่เป็นความรู้ความจำมักจะตั้งไว้สูงสุดแล้วลดต่ำลงมาคือ 90/90 85/85 80/80
คำว่า พุทธิ เป็นคำในพระพุทธศาสนา แปลว่า ความรู้แจ้ง ครอบคลุมทั้งความรู้ที่เป็นรูปธรรมและนามธรรมจึงมีความหมายใหญ่กว่าคำว่า Cognitive ที่หมายถึงความรู้ความจำ ความเข้าใจ การนำไปใช้ การวิเคราะห์ สังเคราะห์และการประเมินตามแนวคิดของ Bloom’s Taxonomy ซึ่งตรงกับคำว่า “วิทยา” มากกว่า ผู้จึงใช้ วิทยพิสัย แทน พุทธิพิสัย เป็นคำแปลของ Cognitive Domainปัจจุบัน Bloom’s Taxonomy ได้เปลี่ยนไปจากเดิมคือ Knowledge, Comprehension, Application, Analysis, Synthesis, Evaluation เป็น Remembering, Understanding, Applying, Analyzing, Evaluating and Creating

วิธีการคำนวณหาประสิทธิภาพ
วิธีการคำนวณหาประสิทธิภาพ กระทำได้ 2 วิธี คือ โดยใช้สูตรและโดยการคำนวณธรรมดา โดยใช้สูตร
เมื่อ E1 คือ ประสิทธิภาพของกระบวนการ
วิธีการคำนวณหาประสิทธิภาพ E1
คือ คะแนนรวมของแบบฝึกปฏิบัติ กิจกรรมหรืองานที่ทำระหว่างเรียนทั้งที่เป็นกิจกรรมในห้องเรียน นอกห้องเรียนหรือออนไลน์ A คือ คะแนนเต็มของแบบฝึกปฏิบัติ ทุกชิ้นรวมกัน N คือ จำนวนผู้เรียน
เมื่อ E2 คือ ประสิทธิภาพของผลลัพธ์ คือ คะแนนรวมของผลลัพธ์ของการประเมินหลังเรียน
B คือ คะแนนเต็มของการประเมินสุดท้ายของแต่ละหน่วย ประกอบด้วยผลการสอบหลังเรียนและคะแนนจากการประเมินงานสุดท้าย N คือ จำนวนผู้เรียน

แนวคิดการหาประสิทธิภาพที่เน้นความสัมพันธ์ระหว่างกระบวนการและผลลัพธ์ และสูตร E1/E2 เป็นลิขสิทธิ์ของ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์ ไม่ว่าจะเขียนในรูป E1:E2 E1ต่อE2 หรือในรูปแบบใดจะนำไปดัดแปลงเป็นอย่างอื่นเช่น P1/P2 X1/X2 และเปลี่ยนแปลงสูตร เช่น จาก SF เปลี่ยนเป็น SY กระทำไม่ได้
ลิขสิทธิ์นี้ รวมถึงการนำไปจัดทำโปรแกรมคำนวณทางคอมพิวเตอร์โดยไม่ได้ขออนุญาตจากผู้ทรงลิขสิทธิ์คือ ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์ ไม่ได้เช่นกัน
การตีความหมายผลการคำนวณค่า E1/E2
หลังจากคำนวณหาค่า E1 และ E2 ได้แล้ว ผู้หาประสิทธิภาพต้องตีความหมายของผลลัพธ์โดยยึดหลักการและแนวทางดังนี้
ความคลาดแคลื่อนของผลลัพธ์ ให้มีความคลาดเคลื่อนหรือความแปรปรวนของผลลัพธ์ ได้ไม่เกิน .05 (ร้อยละ 5) จากช่วงต่ำไปสูง= ±2.5  นั่นคือผลลัพธ์ของค่า E1 หรือ E2 ที่ถือว่า เป็นไปตามเกณฑ์ มีค่าต่ำกว่าเกณฑ์ ไม่เกิน 2.5% และสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ไม่เกิน 2.5%หากคะแนน E1 หรือ E2 ห่างกันเกิน 5% แสดงว่า กิจกรรมที่ให้นักเรียนทำกับการสอบหลังเรียนไม่สมดุลกัน  เช่น ค่า E1 มากกว่า E2 แสดงว่า งานที่มอบหมายอาจจะง่ายกว่า การสอบ หรือ หากค่า E2 มากกว่าค่า E1แสดงว่า การสอบยากกว่าหรือไม่สมดุลกับงานที่มอบหมายให้ทำ จำเป็นที่จะต้องปรับแก้ หากสื่อหรือชุดการสอนได้รับการออกแบบและพัฒนาอย่างดีมีคุณภาพ ค่า E1 และ E2 ที่คำนวณได้จากการทดสอบประสิทธิภาพ จะต้องใกล้เคียงกันและห่างกันไม่เกิน 5% ซึ่งเป็นตัวชี้ที่จะยืนยันได้ว่า นักเรียนได้มีการเปลี่ยนพฤติกรรมต่อเนื่องตามลำดับขั้นหรือไม่ก่อนที่จะมีการเปลี่ยนพฤติกรรมขั้นสุดท้าย หรืออีกนัยหนึ่งต้องประกันได้ว่านักเรียนมีความรู้จริง ไม่ใช่ทำกิจกรรมหรือทำสอบได้เพราะการเดา การประเมินในอนาคตจะเสนอผลการประเมินเป็นเลขสองตัว คือ E1คู่E2 เพราะจะทำให้ผู้อ่านผลการประเมินทราบลักษณะนิสัยของผู้เรียนระหว่างนิสัยในการทำงานอย่างต่อเนื่อง คงเส้นคงวาหรือไม่ (ดูจากค่า E1 คือกระบวนการ) กับการทำงานสุดท้ายว่ามีคุณภาพมากน้อยเพียงใด (ดูจากค่า E2 คือผลลัพธ์) เพื่อประโยชน์ของการกลั่นกรองบุคลากรเข้าทำงาน 2.5% 82.50+ E1/E2 80/80 82.50/77.50-2.5% 77.50 83.40/81.50 ต้องปรับเพิ่ม E2 เพื่อยกเกณฑ์เป็น 85/85หรือ ลดค่าE1 เพื่อคงเกณฑ์ 80/80  81.85/89.35 ค่า E1 และห่างกันมาก ต้องปรับเพิ่ม E1 หรือลด E2 เพื่อให้ได้เกณฑ์ 85/85



ความเห็น (1)

น่าจะเอาไปเขียนเก็บไว้ในบันทึกนะคะ และอ้างอิงถึงที่มาเพื่อให้ง่ายต่อการค้นหาด้วย รู้สึกเมื่อวานก็เห็นของอีกท่านเหมือนกันเป๊ะๆเลย...

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
นาย สว่าง พิมพิชัย
เขียนเมื่อ

Blended Learning  เป็นการเรียนรู้แบบผสมผสานหลากหลายวิธี เพื่อให้ผู้เรียนได้มีการเรียนรู้ที่หลากหลาย และเพื่อผู้เรียนได้พัฒนาเต็มศักยภาพเหมาะกับบริบทและสถานการณ์ การเรียนรู้และตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลเกิดการเรียนรู้และเกิดทักษะ ด้านการปฏิบัติ (Practice Skill )โดยใช้เทคโนโลยี เช่น การเรียนการสอนในชั้นเรียนร่วมกับการ เรียนการสอนแบบออนไลน์(a combination of face-to-face and Onine Learning) การเรียนแบบหมวก 6 ใบ, สตอรี่ไลน์ จุดมุ่งหมายสูงสุดอยู่ที่ผู้เรียน โดยอัตราส่วนการผสมผสาน จะขึ้นอยู่กับลักษณะเนื้อหา และการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน กรณี - ครูผู้สอนสั่งงานทาง e-mail หรือ chatroom หรือ webbord ถือเป็นการเรียนรู้แบบผสมผสาน- ครูสั่งให้ส่งงานเป็นรูปเล่มรายงานถือว่าเป็นการเรียนรู้แบบผสมผสานเช่นกัน เพราะต้องไปค้นคว้าสืบค้นข้อมูลและนำมาอภิปราย สรุป เนื้อหาเป็นแนวเดียวกัน ผู้เรียนทุกคนเข้าใจตรงกัน


Blended Learning การใช้งานจริง ณ ขณะนี้ ในองค์กร หรือบริษัท ช่วยในการประชุม การสั่งงาน โดยมีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตระบบเครือข่าย ส่วนมาก นิยมใช้ระบบ LMS เป็นระบบการบริหาร ผ่าน Sever เป็นระบบเครือข่ายผู้ใช้งานในระบบ
        -  กลุ่มผู้บริหาร Administrator ทำหน้าที่ดูแลระบบ
        -  กลุ่ม ครู อาจารย์ Instructor/ teacher ทำหน้าที่สอน
        -  กลุ่มผู้เรียน Student /Guest นักเรียน นักศึกษา

การออกแบบการเรียนรู้แบบผสมผสานของ Beijing Normal University (BNU) ประกอบด้วย 3 ขั้นตอนหลัก ดังนี้
1. ขั้นก่อนการวิเคราะห์ (Pre-Analysis) เป็นขั้นตอนแรกของการออกแบบการเรียนรู้แบบผสมผสาน ประกอบการพิจารณาข้อมูลทั่ว ๆ ไป ได้แก่
        1.1 การวิเคราะห์คุณสมบัติของผู้เรียน
        1.2 การวิเคราะห์วัตถุประสงค์ในการเรียนรู้
        1.3 การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมของการเรียนรู้แบบผสมผสานผลลัพธ์ที่ได้จากขั้นตอนแรก จะเป็นรายงานผลที่จะนำไปใช้ในขั้นต่อไป
2. ขั้นการออกแบบกิจกรรมและการออกแบบวัสดุการเรียนรู้ (Design of Activity and Resources) เป็นขั้นตอนที่สองที่นำผลลัพธ์ที่ได้จากขั้นตอนแรกมาออกแบบกิจกรรมและวัสดุ การเรียนรู้ ซึ่งจำแนกออกเป็น 3 ส่วนย่อย ๆ ได้แก่
       2.1 การออกแบบภาพรวมของการเรียนรู้แบบผสมผสาน ประกอบด้วยกิจกรรมการเรียนรู้แต่ละหน่วยเรียนกลยุทธ์การนำส่งบทเรียนในการเรียนรู้แบบผสมผสาน ส่วนสนับสนุนการเรียนรู้แบบผสมผสาน
       2.2 การออกแบบกิจกรรมแต่ละหน่วยเรียนประกอบด้วยนิยามผลการกระทำของผู้เรียนกิจกรรมในแต่ละวัตถุประสงค์การจัดกลุ่มของกิจกรรมทั้งหมดการประเมินผลในแต่ละหน่วยเรียน
       2.3 การออกแบบและพัฒนาวัสดุการเรียนรู้ประกอบด้วยการเลือกสรรเนื้อหาสาระการพัฒนากรณีต่าง ๆ
การนำเสนอผลการออกแบบและการพัฒนาผลที่ได้จากขั้นตอนที่สอง จะเป็นรายละเอียดของการออกแบบบทเรียนในแต่ละส่วน
3. ขั้นการประเมินผลการเรียนการสอน (Instructional Assessment) เป็นขั้นตอนสุดท้ายในการออกแบบการเรียนรู้แบบผสมผสานประกอบด้วย
       3.1 การประเมินผลขั้นตอนการเรียนรู้
       3.2 การจัดการสอบตามหลักสูตร
       3.3 การประเมินผลกิจกรรมทั้งหมดผลที่ได้จากขั้นตอนสุดท้าย จะนำไปพิจารณาตรวจปรับกระบวนการออกแบบในแต่ละขั้นที่ผ่านมาทั้งหมด เพื่อให้การเรียนรู้แบบผสมผสานมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลกับผู้เรียน อย่างแท้จริง


ขั้นตอนการออกแบบการเรียนรู้แบบผสมผสาน
การเรียนรู้แบบผสมผสานมีสิ่งต่างๆจะต้องพิจารณา ดังนี้
1. เพิ่มทางเลือกของวิธีการนำส่งการเรียนรู้ไปยังผู้เรียนให้มีความหลากหลายมากขึ้น จะเป็นปัจจัยสำคัญสำหรับผู้ออกแบบ
2. เกณฑ์การตัดสินความสำเร็จในการเรียนรู้แบบผสมผสานไม่ได้มีเพียงเกณฑ์เดียว เช่น รูปแบบการเรียนรู้และวิธีการเรียนรู้ ซึ่งสามารถนำมาพิจารณาร่วมกันได้
3. การออกแบบการเรียนรู้แบบผสมผสานจะต้องพิจารณาประเด็นของความเร็วในการเรียนรู้ ขนาดของผู้เรียน และการสนับสนุนช่วยเหลือผู้เรียน
4. สภาพแวดล้อมทางการเรียนของผู้เรียน จะมีความแตกต่างกันเป็นธรรมชาติซึ่งการจัดการเรียนรู้จะต้องสนับสนุนให้ผู้ เรียนบรรลุตามวัตถุประสงค์เป็นสำคัญ
5. หน้าที่ของผู้เรียน จะต้องศึกษาและค้นพบตัวเอง เพื่อสร้างสรรค์ความรู้ตามศักยภาพของตนเอง
6. การออกแบบการเรียนรู้แบบผสมผสานต้องการทีมงานออกแบบที่มีความรู้เรื่องการปรับปรุงด้านธุรกิจด้วย เช่นกันการเรียนการสอนทางไกลของ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (มสธ) ถือว่าเป็นการเรียนการสอนแบบผสมผสานเช่นกันคอร์สการเรียนภาษาอังกฤษทางไกล ของ แอนดรูส์ บิ๊ก ที่ใช้ระบบ(Bkended Learning for Distance Learning) ซึ่งสามารถสอนนักเรียนพร้อมกันทีเดียวได้เป็นพันคน

ประโยชน์ ข้อดี และข้อจำกัด
ประโยชน์ ข้อดี
1. แบ่งเวลาเรียนอย่างอิสระ
2. เลือกสถานที่เรียนอย่างอิสระ
3. เรียนด้วยระดับความเร็วของตนเอง
4. สื่อสารอย่างใกล้ชิดกับครูผู้สอน
5. การผสมผสานระหว่างการเรียนแบบดั้งเดิมและแบบอนาคต
6. เรียนกับสื่อมัลติมีเดีย
7. เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง Child center
8. ผู้เรียนสามารถมีเวลาในการค้นคว้าข้อมูลมาก สามารถวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลได้อย่างดี
9. สามารถส่งเสริมความแม่นยำ ถ่ายโอนความรู้จากผู้หนึ่งไปยังผู้หนึ่งได้ สามารถทราบผลปฏิบัติย้อนกลับได้รวดเร็ว (กาเย่)
10. สร้างแรงจูงใจในบทเรียนได้(กาเย่)
11. ให้แนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้(กาเย่)
12. สามารถทบทวนความรู้เดิม และสืบค้นความรู้ใหม่ได้ตลอดเวลา (กาเย่)
13. สามารถหลีกเลี่ยงสิ่งที่รบกวนภายในชั้นเรียนได้ ทำให้ผู้เรียนมีสมาธิในการเรียน
14. ผู้เรียนมีช่องทางในการเรียน สามารถเข้าถึงผู้สอนได้
15. เหมาะสำหรับผู้เรียนที่ค่อนข้างขาดความมั่นใจในตัวเอง
16. ใช้ในบริษัท หรือองค์กรต่างๆ สามารถลดต้นทุนในการอบรม สัมมนาได้

ข้อจำกัด
1. ไม่สามารถแสดงความคิดเห็น หรือถ่ายทอดความคิดเห็นอย่างรวดเร็ว
2. มีความล่าช้าในการปฏิสัมพันธ์
3. การมีส่วนร่วมน้อย โดยผู้เรียนไม่สามารถมีส่วนร่วมทุกคน
4. ความไม่พร้อมด้าน ซอฟแวร์ Software บางอย่างมีราคาแพง (ของจริง)
5. ใช้งานค่อนข้างยาก สำหรับผู้ไม่มีความรู้ด้าน ซอฟแวร์ Software
6. ผู้เรียนบางคนคิดว่าไม่คุ้มค่าต่อการลงทุน เพราะราคาอุปกรณ์ค่อนข้างสูง
7. ผู้เรียนต้องมีความรู้ ความเข้าใจด้านการใช้งานคอมพิวเตอร์ เพื่อเข้าถึงข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
8. ผู้เรียนต้องมีความรับผิดชอบต่อตนเองอย่างสูง ในการเรียนการสอนแบบนี้
9. ความแตกต่างของผู้เรียนแต่ละคนเป็นอุปสรรคในการเรียนการสอนแบบผสมผสาน
10. สภาพแวดล้อมไม่เหมาะสมในการใช้เครือข่าย หรือระบบอินเทอร์เน็ต เกิดปัญหาด้านสัญญาณ
11. ขาดการปฏิสัมพันธ์แบบ face to faec (เรียลไทม์)


ความเป็นไปได้ในการไปใช้งานจริงของ Blened Learning การเรียนการสอนแบบผสมผสาน
1. มีการเปลี่ยนแปลงไปสู่ยุค ICT ทำให้มีการเรียนรู้ที่หลากหลายวิธี เช่น 2 วิธี หรือมากกว่านั้นได้
2. ดำเนินกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้ e-Learning
3. สามารถนำไปใช้ได้จริงในสถานศึกษา เช่น โรงเรียน หรือมหาวิทยาลัย รวมไปถึง บริษัท องค์กร ต่าง ๆ เพื่อประหยัดงบประมาณและต้นทุน
4. เป็นไปได้หรือไม่ในการนำไปใช้งานได้จริงขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อม ความเหมาะสมขององค์ประกอบในการจัดการเรียนการสอน อุปกรณ์ ผู้เรียน และผู้สอน

 

 



ความเห็น (1)

อนุทินนี้ก็เหมือนกับท่านที่ลงเมื่อวานเลยค่ะ น่าไปลงไว้ในบันทึกและอ้างอิงที่มาเพื่อให้ง่ายต่อการค้นหาด้วยนะคะ

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
นาย สว่าง พิมพิชัย
เขียนเมื่อ

1. นางกุลกนก  เสียงล้ำ  เลขที่  36

การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงานวิทยาศาสตร์กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โดยประยุกต์ทฤษฎีพหุปัญญาสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

ข้อดี  สีพื้นสดใสน่าสนใจ 

ข้อปรับปรุง ตัวอักษรมีขนาดเล็กเกินไป

ข้อเสนอแนะ  ให้เพิ่มขนาดตัวอักษร

สรุปผลการประเมิน  มาก 3



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
นาย สว่าง พิมพิชัย
เขียนเมื่อ

ชื่อผู้นำเสนอ ชื่อเรื่องที่นำเสนอ ข้อดี ข้อควรปรับปรุง ข้อเสนอแนะ สรุปผลการประเมิน ระดับน้อย(1) ปานกลาง(2) มาก(3) เกณฑ์การให้คะแนน 1.ขนาดตัวอักษรเหมาะสม 2.สีตัวอักษร 3.การออกแบบพื้นหลัง 4.ภาพประกอบ 5.เสียงประกอบ 6.เทคนิคการเคลื่อนไหว 7.เทคนิคการเคลื่อนไหว 8.เทคนิคพิเศษอื่นๆ



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท